The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eakapob2557, 2019-01-19 03:11:01

รายงาน

รายงาน



เรื่อง การล้มละลาย






เสนอ



อาจารย์ ชนาภา ข ากล่อม







จัดท าโดย


นางสาวกชกร เลิศปัญญา เลขที่ 10



นางสาวอนุธิดา เสงี่ยามงาม เลขที่ 41



ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 1/5










รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาหลักการขาย



ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561



วิทยาลัยเทคนิคระยอง


อ าเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

ค าน า







รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา กฎหมายธุรกิจ รหัสวิชา 3200-9001 ซึ่งได้รวบรวม

เนื้อหาเกี่ยวกับการล้มละลาย ความรู้เกี่ยวกับความหมายและลักษณะของการล้มละลาย,การฟ้องให้

บุคคลเป็นคนล้มละลาย ,การพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย,การพิทักษ์ทรัพย์,การพ้นจากการ


ล้มละลาย






ซึ่งทางผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ที่ได้มาศึกษา

รายงานฉบับนี้และหากมีข้อผิดพลาดประการใดทางผู้จัดท าต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

สารบัญ



หน้า



ความหมายและลักษณะของการล้มละลาย 1


การฟ้องให้บุคคลเป็นคนล้มละลาย 2-3



การพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย 3



การพิทักษ์ทรัพย์ 4



การพ้นจากการล้มละลาย 5


สรุป 5

1



ความหมายและลักษณะของการล้มละลาย


การล้มละลาย ตามกฎหมายไทยนั้นหมายถึงการพูดที่บุคคลสูญสิ้นความสามารถในการท านิติกรรมเนื่องจากเป็นผู้มีหนี้สินล้น

พ้นตัวโดยผู้นั้นต้องมีภูมิล าเนาในประเทศไทยขนาดยื่นฟ้องหรือประกอบกิจการในประเทศไทยทั้งด้วยตนเองหรือตัวแทน โดย
ถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลายซึ่งการที่บุคคลจะมีหนี้สินล้นพ้นตัวหรือไม่นั้นกฎหมายให้สันนิษฐานว่าหากมีเหตุอย่างหนึ่งอย่าง
ใดดังนั้น


1. ถ้าลูกหนี้โอนทรัพย์สินหรือสิทธิจัดการทรัพย์สินของตนให้แก่บุคคลอื่นเพื่อประโยชน์ แก่เจ้าหนี้ทั้งหลายของตน

2. ถ้าลูกหนี้โอนหรือส่งมอบทรัพย์สินของตนโดยเจตนาลวงหรือฉ้อฉล ไม่ว่าได้กระท าการนั้นในหรือนอกราชอาณาจักร

3. ถ้าลูกหนี้โอนทรัพย์สินของตนหรือก่อให้เกิดทรัพย์สิทธิขึ้นเหนือทรัพย์สินนั้นซึ่งถ้าลูกหนี้ ล้มละลายแล้วจะถือว่าเป็นการให้

เปรียบ ไม่ว่าได้กระท าการนั้นในหรือนอกราชอาณาจักร

4. ถ้าลูกหนี้กระท าอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ เพื่อประวิงการช าระหนี้หรือมิให้เจ้าหนี้ ได้รับช าระหนี้ โดยการอยู่นอกประเทศ
หลบซ่อนปิดสถานประกอบการยักย้ายทรัพย์ไปให้พ้นอ านาจศาลหรือกระทั่งยอมตนให้ต้องค าพิพากษาซึ่งบังคับให้ช าระเงินซึ่ง

ตนไม่ควรต้องช าระ

ค าพิพากษาฎีกาที่ 625/2539 พฤติการณ์ที่จ าเลยหลีกเลี่ยงไม่ยอมรับหนังสือ. ทวงถามให้ช าระหนี้ถึงสองครั้ง โดยเมื่อตัวแทน
โจทก์น าหนังสือมาส่งก็หลีกเสียไม่ยอมรับหนังสือถือได้ว่าจ าเลยประวิงการช าระหนี้


ค าพิพากษาฎีกาที่ 4732/2543 จะเปลี่ยนชื่อตัว แต่ยังคงอยู่ในบ้านที่ตนมีชื่ออยู่ในส าเนาทะเบียนบ้าน โดยมิได้ย้ายที่อยู่แต่อย่างใด
ทั้งข้อเท็จจริงก็ไม่ปรากฏว่าจ าเลยที่ 1 หลบหนี ส่วนจ าเลยที่ 2 และที่ 3เป็นเจ้าพนักงานต ารวจต้องย้ายที่อยู่ไปตามค าสั่งของ
ผู้บังคับบัญชามิใช่เป็นการหลบหนีไปจากเคหสถานที่เคยอยู่แต่อย่างใด พยานหลักฐานของโจทก์คงฟังได้แต่เพียงว่าโจทก์ไม่

ทราบภูมิล าเนาที่แน่นอนของจ าเลยทั้งสามและไม่สามารถที่จะสืบหาทรัพย์สินของจ าเลยทั้งสามได้เท่านั้น ยังถือไม่ได้ว่าจ าเลย
ทั้งสามมีหนี้สินล้นพ้นตัว


5. ถ้าลูกหนี้ถูกยึดทรัพย์ตามหมายบังคับคดี หรือไม่มีทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใดที่จะยึด มาช าระหนี้ได้

6. ถ้าลูกหนี้แถลงต่อศาลไม่ว่าคดีใด ๆ ว่าไม่สามารถช าระหนี้ได้

7. ถ้าลูกหนี้แจ้งแก่เจ้าหนี้คนหนึ่งคนใดของตนว่าไม่สามารถช าระหนี้ได้ ค าพิพากษาฎีกาที่ 2565/2533 เมื่อทวงถามหนี้จ าเลย

บอกให้รอไปก่อนยังไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามมาตรา 8

8. ถ้าลูกหนี้เสนอค าขอประนอมหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป .

9. ถ้าลูกหนี้ได้รับหนังสือทวงถามจากเจ้าหนี้ให้ช าระหนี้ไม่น้อยกว่า 2 ครั้งในเวลาห่างกัน ไม่น้อยกว่า 30 วัน และลูกหนี้ไม่ช าระ

หนี้

2



การฟ้องให้บุคคลเป็นคนล้มละลาย


เจ้าหนี้จะฟ้องลูกหนี้ให้เป็นคนล้มละลายได้เมื่อลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัวคือความปรากฏตามข้อสันนิษฐานว่าเป็นผู้มี
สิทธิ์หนี้สินล้นพ้นตัวจริง โดยหากลูกหนี้เป็นบุคคลธรรมดาเป็นหนี้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์คนเดียวหรือหลายคนเป็นจ านวนไม่น้อย

กว่า 1 ล้านบาท และกรณีลูกหนี้เป็นนิติบุคคลเป็นหนี้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์คนเดียวหรือหลายคนเป็นจ านวนไม่น้อยกว่า 2 ล้านบาท
โดยที่นี่นั้นอาจถึงก าหนดช าระในปัจจุบันหรือในอนาคตและก าหนดจ านวนได้แน่นอน

ค าพิพากษาฎีกาที่ 5525/2552 โจทก์จ าเลยตกลงกันใช้วิธีระงับข้อพิพาทตามสัญญาโดยให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาดตาม พ.ร.บ.

อนุญาโตตุลาการฯ และโจทก์น าข้อพิพาทเสนอต่ออนุญาโตตุลาการเพื่อตัดสินชี้ขาดแล้วถ้าคณะอนุญาโตตุลาการมีค าชี้ขาดข้อ
พิพาทไปอย่างไรก็จะมีผลผูกพันโจทก์จ าเลยไปตามค าชี้ขาดนั้นไม่ใช่ผูกพันกันตามสัญญาเดิมตราบใดที่คณะอนุญาโตตุลาการ
ยังไม่มีค าชี้ขาดย่อมไม่อาจถือได้ว่าหนี้ตามสัญญานั้นเป็นหนี้ที่อาจก าหนดจ านวนได้โดยแน่นอนโจทย์ยังฟ้องจ าเลยให้

ล้มละลายไม่ได้

ค าพิพากษาฎีกาที่ 2276/2531 หนี้ตามค าพิพากษาศาลชั้นต้นเป็นหนี้ที่ก าหนดจ านวนได้โดยแน่นอน


ค าพิพากษาฎีกาที่ 2653/2536 เบี้ยปรับที่ค านวณตามปริมาณของกลางถือได้ว่าเป็นหนี้ที่อาจก าหนดจ านวนได้โดยแน่นอน ค า
พิพากษาฎีกาที่ 471/2548 หนี้ที่น ามาฟ้องเป็นหนี้ตามสัญญาเงินกู้ก าหนดจ านวนได้แน่นอนฟ้องล้มละลายได้ไม่จ าเป็นต้องไป
ฟ้องเป็นคดีแพ่งให้ศาลในคดีแพ่งพิพากษาให้ชนะเสียก่อนแต่อย่างใด


ค าพิพากษาฎีกาที่ 5013/2547 หนี้เงินกู้พร้อมดอกเบี้ยทบต้นรวมกันมาฟ้องล้มละลายได้แต่เมื่อพิจารณาได้ว่าดอกเบี้ยเกิน
อัตราส่วนที่เป็นดอกเบี้ยเป็นโมฆะเมื่อเงินต้นซึ่งยังคงสมบูรณ์ไม่จะไม่ถึงจ านวน 1 ล้านบาทจึงฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลายไม่ได้


ค าพิพากษาฎีกาที่ 758/2533 มูลหนี้ฟ้องเกิดจากสัญญาเช่าซื้อที่ลูกหนี้ผิดสัญญาเช่าซื้อซึ่งต้องส่งมอบทรัพย์สินหรือหากส่งมอบ
ไม่ได้ให้ชดใช้ราคาทรัพย์สินเมื่อเจ้าหนี้ย่อมมีสิทธิติดตามเอาทรัพย์สินมาคืนได้อยู่การน ามาฟ้องล้มละลายโดยตีราคาจาก
เครื่องยนต์นั้นจึงเป็นหนี้ที่ไม่อาจก าหนดจ านวนได้แน่นอน


แต่หากเป็นเจ้าหนี้ที่มีประกันหมายถึงเจ้าหน้าที่ผู้มีสิทธิ์เหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในทางจ านองจ าน าหรือเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิ
ที่ที่บังคับได้ลักษณะเดียวกับผู้รับจ าน าจะฟ้องลูกหนี้ให้เป็นคนล้มละลายได้ก็ต่อเมื่อลูกหนี้ได้เป็นผู้ต้องห้ามไม่ให้บังคับการ
ช าระหนี้โดยการเอาทรัพย์สินของลูกหนี้เกินกว่าตัวทรัพย์ที่เป็นหลักประกัน และต้องกล่าวในค าฟ้องด้วยว่าหากศาลพิพากษาให้

ลูกหนี้เป็นคนล้มละลายแล้วลูกหนี้จะยอมสละหลักประกันของตนให้แก่เจ้าหนี้ทั้งหลายหรือเมื่อตีราคาหลักประกันมาให้ฟ้อง
ซึ่งเมื่อหักกับจ านวนหนี้ของลูกหนี้และเงินยังคงขาดอยู่ซึ่งส าหรับลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาเป็นจ านวนไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท

หรือลูกหนี้ซึ่งเป็นนิติบุคคลเป็นจ านวนไม่น้อยกว่า 2 ล้านบาท

ค าพิพากษาฎีกาที่ 737/2542 เอาโฉนดที่ดินไปวางเป็นประกันการประกันตัวผู้ต้องหากับพนักงานสอบสวนโดยไม่มีการจด
ทะเบียนจ านองไม่ใช่หนี้มีประกันเพราะไม่สามารถบังคับได้ท านองเดียวกับจ าน าต้องมีการฟ้องบังคับหนี้ทางแพ่งธรรมดา


ค าพิพากษาฎีกาที่ 1815/2534 มีสิทธิยึดหน่วงเหนือใบหุ้นแต่ได้มีการแปลงหนี้กันใหม่โดยตกลงท าสัญญาประนีประนอมยอม
ความกันที่เดิมจึงระงับไปตามที่ได้แปลงนี้จึงไม่มีสิทธิยึดหน่วงอีกต่อไปจึงไม่ใช่เจ้าหนี้มีประกัน

3



ค าพิพากษาฎีกาที่ 5478/2534 การรับฝากเงินเงินที่ฝากตกเป็นของผู้รับฝากทันทีที่ส่งมอบผู้รับฝากจะน าไปใช้อย่างไรก็ได้เพียงมี

หน้าที่ต้องคืนเงินให้ครบจ านวนเท่านั้นจึงไม่ใช่การจ าน าเงินฝากตัวสมุดคู่ฝากไม่ใช่ตราสารสิทธิใบฝากถอนเป็นเพียงหลักฐาน
การรับฝากเงินและการถอนเงินเท่านั้นไม่ใช่สิทธิซึ่งมีตราสารเช่นกัน

ค าพิพากษาฎีกาที่ 728/2548 สิทธิจ านองซึ่งเป็นทรัพย์สิทธิจะติดไปกับตัวทรัพย์เสมอไม่ว่าจะโอนกันกี่ทอดก็ตามตราบใดที่ยัง

ไม่มีการไถ่ถอนจ านองจึงเป็นเจ้าหนี้มีประกัน

ค าพิพากษาฎีกาที่ 5601/2552 เจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ล้มละลายมาตรา 10 นั้นจะต้องเป็นเจ้าหนี้ที่มีบุรินสิทธิเหนือ
ทรัพย์สินของลูกหนี้ในมูลหนี้ที่เจ้าหนี้น ามาฟ้องลูกหนี้เป็นคดีล้มละลายเมื่อมูลหนี้ตามค าพิพากษาคดีที่โจทก์น ามาฟ้องขอให้

จ าเลยที่ 2 ล้มละลายเป็นคดีที่โจทก์มิได้มี บุรินสิทธิเหนือทรัพย์สินของจ าเลยที่ 2 และจ าเลยที่ 2 ได้จ านองที่ดิน 2 แปลงไว้แก่
โจทก์เพื่อประกันหนี้ในมูลหนี้อื่นที่โจทก์ฟ้องร้องเป็นคดีแพ่ง และอยู่ระหว่างบังคับคดี แต่โจทก์มิได้น าข้อน ามูลหนี้ดังกล่าวมา
ฟ้องเป็นคดีล้มละลายด้วย ดังนี้ โจทก์จึงไม่ใช่เจ้าหนี้มีประกันไม่ต้องปฏิบัติตามมาตรา 10 ซึ่งเมื่อยื่นฟ้องศาลจะให้เจ้าหนี้วาง

หลักประกันไว้โดยปกติประมาณ5,000บาทซึ่งไม่ยื่นฟ้องแล้วจะถอนฟ้องไม่ได้เว้นแต่ศาลจะอนุญาต










การพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย


เมื่อศาลรับฟ้องแล้วศาลจะมีหมายเรียกก าหนดวัน นัดพิจารณาแต่ลูกหนี้มีสิทธิที่จะยื่นค าให้การหรือไม่ก็ได้เป็นหน้าที่ของ
ศาลที่จะต้องพิจารณาหลักเกณฑ์เงื่อนไขที่ลูกหนี้จะล้มละลายให้ครบถ้วนหากเข้าหลักเกณฑ์แล้วจึงมีค าสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
แต่หากศาลพิจารณาแล้วไม่ครบเงื่อนไขที่บุคคลจะต้องล้มละลายหรือลูกหนี้สามารถน าสืบได้ว่าสามารถช าระหนี้ได้ทั้งหมดศาล

จะยกฟ้องและตราบใดที่ลูกหนี้ยังมิได้ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดเจ้าหนี้คนหนึ่งคนใดจะฟ้องลูกหนี้นั้นเป็นคดีล้มละลายอีกก็ได้แต่
หากศาลมีค าสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดลูกหนี้ในคดีใดให้ศาลจ าหน่ายคดีล้มละลายซึ่งเจ้าหนี้อื่นได้ฟ้องลูกหนี้คนเดียวกัน

4




การพิทักษ์ทรัพย์


พิทักษ์ทรัพย์ คือ ค าสั่งที่ถือเสมือนเป็นหมายของสารให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เข้ายึดดวงตาสมุดบัญชีและเอกสารของ
ลูกหนี้ตลอดจนบรรดาทรัพย์สินซึ่งอยู่ในความครอบครองของลูกหนี้หรือของผู้อื่นอันอาจแบ่งได้ในคดีล้มละลายซึ่งมีผลให้

ลูกหนี้หมดอ านาจจัดการทรัพย์สินของตนโดยอ านาจจัดการทรัพย์สินของลูกหนี้ตกเป็นของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์โดยเมื่อ
ศาลมีค าสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้วกระบวนการพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้จะมีดังนี้


1. เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะประกาศแจ้งค าสั่งพิทักษ์ทรัพย์ทางหนังสือพิมพ์รายวันและลงประกาศแจ้งค าสั่งพิทักษ์
ทรัพย์ในราชกิจจานุเบกษา
2. เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะออกหมายเรียกลูกหนี้มาให้การเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้พร้อมแจ้งก าหนด

วันนัดตรวจค าขอรับช าระหนี้หากลูกหนี้มาให้การสอบสวน เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะแจ้งสิทธิและหน้าที่ของ
ลูกหนี้ให้ทราบ
3. เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะก าหนดระยะเวลาในการยื่นค าขอรับช าระหนี้ในประกาศโฆษณาค าสั่งพิทักษ์ทรัพย์และ

แจ้งให้บรรดาเจ้าหนี้ทราบก าหนดนัดตรวจค าขอรับช าระหนี้ในวันที่เจ้าหนี้มายื่นขอรับช าระหนี้โดยเจ้าหนี้จะต้องยื่น
ค าขอรับช าระหนี้ภายในก าหนดเวลา 2 เดือนนับแต่วันโฆษณาค าสั่งพิทักษ์ทรัพย์ในราชกิจจานุเบกษาโดยสามารถยื่น

ค าขอรับช าระหนี้ได้ที่ฝ่ายค าคู่ความกรมบังคับคดีหรือส านักงานบังคับคดีจังหวัดหรือสาขาโดยเจ้าหน้าที่ผู้รับค าสั่ง
ช าระหนี้จะออกใบรับให้แก่ผู้ยื่นค าขอรับช าระหนี้พร้อมกับแจ้งก าหนดวันเวลานัดตรวจค าขอรับช าระหนี้และสถานที่
ให้ผู้ยื่นค าขอรับช าระหนี้ทราบ

4. เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะท าการตรวจค าขอรับช าระหนี้เพื่อทราบว่าจะมีเจ้าหนี้รายใดโต้แย้งค าขอรับช าระหนี้ของ
เจ้าหนี้รายอื่นหรือไม่ตลอดจนลูกหนี้สามารถโต้แย้งมูลหนี้ที่เจ้าหนี้ยื่นค าขอรับช าระหนี้ไว้ได้เช่นกัน
5. ภายหลังก าหนดนัดตรวจค าขอรับช าระหนี้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะก าหนดนัดประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรกว่าจะยอมรับ

ค าขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายหรือไม่ห่างที่ประชุมเจ้าหนี้มีมติยอมรับค าขอประนอมหนี้ของลูกหนี้เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์จะต้องรายงานศาลขอให้พิจารณาค าขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายของลูกหนี้ต่อไปแต่หากที่ประชุม
เจ้าหนี้มีมติไม่ยอมรับค าขอประนอมหนี้ของลูกหนี้หรือมีมติให้ลูกหนี้ล้มละลายเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะต้อง

รายงานศาลขอให้พิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลายต่อไป
6. ในกรณีที่ศาลก าหนดวันนัดไต่สวนรุ่นนี้โดยเปิดเผยเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะต้องประกาศแจ้งก าหนดวันนัด

ดังกล่าวให้บรรดาเจ้าหนี้และลูกหนี้ทราบและหากศาลมีค าสั่งเห็นชอบด้วยการประนอมหนี้ก่อนล้มละลายแล้วเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะไม่มีอ านาจในการจัดการกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้อีกหาแต่ยังคงมีหน้าที่ก ากับให้
ลูกหนี้ปฏิบัติตามค าขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายซึ่งหากลูกหนี้ไม่ปฏิบัติตามค าขอประนอมหนี้เจ้าพนักงานพิทักษ์

ทรัพย์จะรายงานศาลขอให้พิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลายต่อไป

5



7. เมื่อศาลมีค าพิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลายแล้วเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะท าการขายทรัพย์สินของลูกหนี้ที่รวบรวมไว้
และแบ่งทรัพย์สินให้แก่บรรดาเจ้าหนี้ซึ่งกระบวนการรวบรวมทรัพย์สินออกขายนี้ให้อยู่ภายในระยะเวลา10ปีจากนั้น

เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะรายงานศาลขอให้มีค าสั่งยกเลิกการล้มละลายซึ่งทรัพย์ที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์นั้น
รวบรวมได้แก่


1.ทรัพย์สินทั้งหลายอันพรุ่งนี้มีอยู่ในเวลาเริ่มต้นแห่งการล้มละลายรวมทั้งสิทธิเรียกร้องเหนือทรัพย์สินของบุคคลอื่น
เว้นแต่ 1.เครื่องใช้สอยส่วนตัวอันจ าเป็นแก่การด าเนินชีวิตและจ าเป็น ต้องใช้ตามสมควรแก่ฐานะนุรูปของลูกหนี้คู่
สมรสและบุตรผู้เยาว์ของลูกหนี้


2.สัตว์พืชพรรณเครื่องมือและสิ่งของส าหรับใช้ในการประกอบอาชีพของลูกนี้ราคารวมกันไม่เกิน 100,000
บาท
2.ทรัพย์สินซึ่งลูกหนี้ได้มาภายหลังเวลาเริ่มต้นแห่งการล้มละลายจนถึงเวลาปลดจากล้มละลาย

3.สิ่งของซึ่งอยู่ในครอบครองหรืออ านาจสั่งจ าหน่ายของลูกหนี้ในทางการค้าของลูกหนี้ด้วยความยินยอมของเจ้าของ
อันแท้จริงโดยพฤติการณ์ซึ่งท าให้เห็นว่าลูกหนี้เป็นเจ้าของในขณะที่มีการขอให้ลูกหนี้ล้มละลาย


การพ้นจากการล้มละลาย

ลูกหนี้จะพ้นจากการล้มละลายได้ด้วยเหตุดังต่อไปนี้
1. จากการลงมติในการประชุมเจ้าหนี้ให้มติพิเศษในการพิจารณายอมรับค าขอประนีประนอมหนี้และสาร

เห็นชอบด้วยการประนอมหนี้ซึ่งการประนอมหนี้นี้จะมีผลเมื่อศาลเห็นชอบ
2. รูปนี้ได้รับการปลดจากล้มละลายทั้งโดยค าสั่งศาลและผลของกฎหมาย
3. ศาลมีค าสั่งให้ยกเลิกการล้มละลาย


สรุป เมื่อบุคคลมีหนี้ล้นพ้นตัวเจ้าหนี้เห็นว่าบุคคลที่เป็นลูกหนี้นั้นไม่สามารถจะช าระหนี้แก่ตนได้เจ้าหนี้มีสิทธิ์ที่จะร้องขอ

ต่อศาลขอให้บุคคลเป็นคนล้มละลายซึ่งหากศาลพิจารณาแล้วว่าลูกหนี้เข้าเงื่อนไขที่ควรจะเป็นบุคคลล้มละลายสารก็จะให้มี
กระบวนการพิทักษ์ทรัพย์ให้มาจัดการดูแลเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ซึ่งในขั้นต้น จะยังให้มีกระบวนการประนอมหนี้ก่อน
ล้มละลาย ก่อนและหากเจ้าหนี้เห็นชอบด้วยก็ให้เป็น ไปตามกระบวนการนี้แต่หากเจ้าหนี้มีมติไม่ยอมรับกระบวนการประนอม

หนี้หรือลูกหนี้ไม่ปฏิบัติตามที่ประนอมหนี้ศาลก็จะสั่งให้ลูกหนี้ล้มละลายและให้เจ้าหน้าที่พิทักษ์ทรัพย์น าทรัพย์ของลูกหนี้ออก
ขายซึ่งกระบวนการนี้ให้มีระยะเวลา 10 ปีจากนั้นจึงขอให้ศาลมีค าสั่งยกเลิกการล้มละลาย

บรรณานุกรม



หนังสือกฎหมาย รหัสวิชา 3200-9001




https://www.deka.in.th/



https://thippharat90.blogspot.com/2013/09/blog-

post_4317.html?m=1&fbclid=IwAR10F3s9_mCTW9N7QHvYmDkRzIjOJVbaY5djPSgm2S

gSNLUVcLLfneYabpo



https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%AB%E0%B8%A


1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%A

5%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2?fbclid=IwAR10F3s9_mCT

W9N7QHvYmDkRzIjOJVbaY5djPSgm2SgSNLUVcLLfneYabpo


Click to View FlipBook Version