The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

18_CP21405_การปฏิบัติต่อเด็ก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-01 20:21:12

18_CP21405_การปฏิบัติต่อเด็ก

18_CP21405_การปฏิบัติต่อเด็ก

วิชา ปป. (CP) ๒๑๔๐๕

แกลาะรผปู้มฏคี ิบวัตาติม่อผดิเดปก็ กเตยทิ าาวงชจนิตสตรี

ตําÃÒàÃÂÕ ¹

หลกั สตู ร นกั เรียนนายสบิ ตํารวจ

วชิ า ปป. (CP) ๒๑๔๐๕ การปฏิบตั ติ อ เด็ก เยาวชน สตรี
และผมู ีความผดิ ปกติทางจิต

เอกสารนี้ “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมิใหผูหน่ึงผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทงั้ หมดของเอกสารนเี้ พอื่ การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอื่นท่ีไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

กองบัญชาการศกึ ษา สาํ นกั งานตํารวจแหง ชาติ

พ.ศ.๒๕๖๔

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ŒÒ

ÇªÔ Ò ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ Í‹ à´ç¡ àÂÒǪ¹ ÊμÃÕ áÅмŒÙÁÕ¤ÇÒÁ¼´Ô »¡μÔ·Ò§¨μÔ ñ

ÊÇ‹ ¹·èÕ ñ Ç¸Ô Õ»¯ÔºÑμÔà¡èÕÂÇ¡ºÑ à´ç¡ ๑

º··èÕ ñ º··ÇÑè ä» ๔
- วตั ถปุ ระสงค ๕
- บทนํา ù
- บทบาทของเจาพนกั งานตํารวจที่เกยี่ วขอ งกับเด็กหรอื เยาวชน ๙
- การสรางสัมพนั ธภาพกบั เด็กหรอื เยาวชน ๙
- สาเหตุแหงการกระทําความผดิ ของเดก็ ๑๐
๑๒
º··èÕ ò ¡ÒäŒÁØ ¤ÃͧÊÔ·¸àÔ ´ç¡ ๑๒
- วัตถุประสงค ๑๔
- บทนํา ๑๖
- อนสุ ญั ญาวาดว ยสทิ ธเิ ดก็ ๒๖
- การคมุ ครองสิทธเิ ดก็ และเยาวชนในประเทศไทย ๒๗
- การคมุ ครองสิทธิเดก็ และเยาวชนตามประมวลกฎหมายอาญาฯ óñ
- การคุมครองสิทธเิ ด็กและเยาวชนตามประมวลกฎหมาย ๓๑
วิธพี จิ ารณาความอาญาฯ ๓๑
- การคมุ ครองสิทธเิ ดก็ และเยาวชนตามพระราชบัญญตั คิ มุ ครองเด็กฯ ๓๑
- การคุมครองสิทธเิ ดก็ และเยาวชนตามพระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชน ๓๒
และครอบครัว และวิธพี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครัวฯ ๓๕
- การคุมครองสทิ ธิเดก็ และเยาวชนตามพระราชบญั ญตั คิ มุ ครองแรงงาน ๓๙

º··èÕ ó á¹Ç·Ò§¡Òû¯ºÔ μÑ Ô¢Í§à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹μÒí ÃǨ
- วัตถปุ ระสงค
- บทนํา
- การออกหมายจับเด็กและเยาวชน
- การจับกุมเด็กหรือเยาวชน
- แนวทางการปฏบิ ตั ิของเจาพนักงานตํารวจในการจับกมุ เด็กและเยาวชน
- การตรวจสอบการจบั

˹Ҍ

- แนวทางการปฏบิ ัติของเจาพนักงานตาํ รวจในการคน ๔๑
- แนวทางปฏบิ ัติในการจดบนั ทกึ คํารอ งทุกขใ นคดที ีผ่ เู สียหายเปน เด็ก ๔๕

หรือเยาวชน

º··èÕ ô à·¤¹¤Ô ¡Òëѡ¶ÒÁà´¡ç ¡Òû͇ §¡Ñ¹áÅСÒÃÃÑ¡ÉÒʶҹ·èàÕ ¡Ô´àËμØ ôù
- วตั ถปุ ระสงค ๔๙
- บทนํา ๔๙
- เทคนคิ การซักถามเดก็ หรือเยาวชน ๔๙
- การสังเกตพฤติกรรมหรอื ภาษากายจากผูถ กู ซักถาม ๕๑
- การใชคาํ ถามในการซักถามเดก็ เพื่อแสวงหาขอ มลู ๕๒
- การปอ งกันและรักษาสถานท่ีเกดิ เหตุ ๕๓

ʋǹ·èÕ ò öñ
º··èÕ ñ á¹Ç·Ò§»¯ºÔ Ñμ¢Ô ͧ¾¹¡Ñ §Ò¹à¨ÒŒ ˹Ҍ ·èËÕ Ã×Íà¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨ
¡Ã³·Õ Õ¾è ººØ¤¤Å·ÕèÁÅÕ ¡Ñ ɳÐÁÀÕ ÒÇÐÍѹμÃÒÂáÅÐÁÕ¤ÇÒÁจํา໹š μŒÍ§ä´ÃŒ Ѻ¡ÒÃบาํ º´Ñ Ã¡Ñ ÉÒ
μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ梯 ÀÒ¾¨Ôμ ¾.È.òõõñ öó
- วัตถุประสงค ๖๓
- บทนาํ ๖๓
- วธิ กี ารสงั เกตลักษณะของผูท ่มี อี าการทางจติ ๖๓

ÀÒ¤¼¹Ç¡ ÷ó

àÍ¡ÊÒÃÍÒŒ §Í§Ô ñóñ

ʋǹ·Õè ñ
ÇÔ¸»Õ ¯ºÔ μÑ Ôà¡ÂÕè Ç¡ºÑ à´¡ç



º··èÕ ñ

º··ÑÇè ä»

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

๑. เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจ มีความเขาใจบทบาทและอํานาจหนาที่ของ
เจา พนักงานตาํ รวจท่คี วรปฏบิ ตั ิตอเด็กหรือเยาวชน

๑.๑ บทบาทของเจาพนักงานตํารวจเกี่ยวกับเด็กหรอื เยาวชน
๑.๒ สามารถสรางสมั พนั ธภาพกับเด็กหรอื เยาวชน
๑.๓ สามารถเขา ใจสาเหตแุ หง การกระทาํ ผิดของเด็ก
๑.๔ เขา ใจความหมายเด็กตามกฎหมายไทย
เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาท่ีตามบทบาทหนาท่ีของเจาพนักงานตํารวจ
ตอไป

º·นํา

เด็กคือทรัพยากรบุคคลท่ีมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพราะประเทศชาติจะมีความ
เจริญมั่นคงอยูไดมากนอยเพียงใดอยูท่ีเด็ก ซ่ึงเขาจะเจริญเติบโตมาเปนผูใหญท่ีมีคุณภาพหรือไม
รัฐจึงมีหนาท่ีสําคัญในการปกปองคุมครองเด็ก ตลอดจนแสวงหาวิธีการชวยเหลือเยียวยาหากเด็ก
เหลาน้ันหลงผิดไปกระทําการใดๆ ที่กอใหเกิดความเดือดรอนหรือกระทําความผิดตามกฎหมาย
การปฏิบัติตอเด็กและเยาวชนเปนส่ิงสําคัญเปนอยางยิ่งในการปฏิบัติงานของเจาพนักงานตํารวจ
ที่ตองมีความรอบรูและเชี่ยวชาญในแตพระราชบัญญัติที่เก่ียวของ เพ่ือใหเกิดความม่ันใจและถูกตอง
และวธิ ปี ฏิบัตเิ กี่ยวกับเด็ก

º·ºÒ·¢Í§à¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨ·àÕè ¡èÂÕ Ç¢ÍŒ §¡ºÑ à´¡ç ËÃÍ× àÂÒǪ¹

เจาพนักงานตํารวจมีสวนเก่ียวของกับเด็กหรือเยาวชน ทั้งในดานการปองกันมิใหเด็ก
หรอื เยาวชนกระทาํ ความผดิ ตลอดจนปอ งกนั มใิ หเ กดิ เหตรุ า ยทส่ี ง ผลกระทบตอ ชวี ติ รา งกาย และทรพั ยส นิ
ของเดก็ และเยาวชน ขณะเดียวกันเมอ่ื เกิดเหตุรายแรงท่มี ีเด็กหรอื เยาวชนไปมีสว นเกยี่ วของ ไมวาจะ
ในฐานะเปนผูกระทําความผิดหรือในฐานะของผูเสียหายก็ตาม เจาพนักงานตํารวจก็จะตองเปนผูท่ี
เผชิญเหตุการณเหลานั้น ดังน้ันเพ่ือเปนการปองกันมิใหเกิดเหตุการณรายแรงขึ้นกับเด็กหรือเยาวชน
ส่ิงท่ีเจาพนักงานตํารวจควรใหความสนใจกับเด็กหรือเยาวชนท่ีเด็กหรือเยาวชนท่ีเจาพนักงานตํารวจ
ควรใหค วามสนใจ

๑. เดก็ ทขี่ าดการเอาใจใสด ูแลจากครอบครัว ผปู กครอง ถูกทอดท้ิง
๒. เดก็ ทอ่ี าศยั อยใู นสภาพแวดลอ มทไี่ มเ หมาะสม เสย่ี งตอ การถกู ละเมดิ หรอื ถกู ชกั จงู
ใหกระทําความผิด



๓. เด็กท่ีมีรองรอยของการถูกทํารายตามเนื้อตัวรางกาย เชน มีรองรอยการถูกทุบตี
หรอื บาดแผล เดก็ ที่พยายามทํารา ยตัวเอง หรอื มีประวตั พิ ยายามฆา ตวั ตาย

๔. เด็กท่ีมีความแปรปรวนทางอารมณหรือมีความกาวราว ซึมเศรา เพราะส่ิงเหลาน้ี
อาจเกิดมาจากการถูกตําหนิ ถูกสบประมาท หรือถูกดูถูกดูแคลนเปนประจําจากบุคคลในครอบครัว
หรือบคุ คลทีใ่ กลชดิ

๕. เด็กที่หนีออกจากบาน ไมเรียนหนังสือ ตอตานสังคม แสดงพฤติกรรมเรียกรอง
ความสนใจที่ไมเหมาะสมเหลานี้ เจาพนักงานตํารวจควรจะใหความสนใจวาอะไรเปนสาเหตุที่ทําให
เดก็ มพี ฤตกิ รรมเชน น้ัน เพือ่ ชว ยในการปกปองคมุ ครองเด็ก

๖. เด็กที่ชอบพูดเกี่ยวกับเรื่องเพศสัมพันธหรือการแสดงพฤติกรรมทางเพศกอนวัย
อนั ควร เพราะเขาอาจเปน เด็กท่เี คยถกู ลวงละเมิดทางเพศมากอ น

๗. เด็กที่ไมมีปฏิกิริยาตอบโต เงียบขรึม แยกตัวออกจากสังคม หรือมีพฤติกรรม
ท่ีเปล่ียนไปจากเดิม เชน อาบน้ําหรือชําระลางรางกายบอยคร้ังหรือใชเวลาในการชําระลางรางกาย
นานผดิ ปกติไปจากเดมิ เพราะสิ่งเหลานี้อาจเปนเพราะเดก็ อาจถูกลวงละเมิดได

นอกจากที่กลาวมาแลว เจาพนักงานตํารวจควรจะตองใหความสําคัญกับเด็กท่ีเปน
เดก็ เรร อ น เดก็ กาํ พรา เดก็ พกิ าร เดก็ ทอี่ ยใู นสภาพลาํ บาก ตลอดจนเดก็ ทเ่ี สยี่ งตอ การกระทาํ ความผดิ ดว ย
ซึ่งพระราชบัญญัติคมุ ครองเด็กฯ ไดใหคาํ นิยามของเด็กเหลา น้ไี ว คือ

“เด็กเรรอน” หมายความวา เดก็ ท่ไี มมบี ิดามารดาหรอื ผูปกครองหรอื มีแตไมเล้ียงดู หรอื
ไมสามารถเล้ียงดูได จนเปนเหตุใหเด็กตองเรรอนไปในท่ีตางๆ หรือเด็กที่มีพฤติกรรมใชชีวิตเรรอน
จนนา จะเกิดอนั ตรายตอสวสั ดิภาพของตน

“เดก็ กําพรา” หมายความวา เดก็ ทีบ่ ดิ าหรือมารดาเสยี ชีวิต เดก็ ที่ไมป รากฏบดิ ามารดา
หรอื ไมส ามารถสืบหาบิดามารดาได

“เด็กท่ีอยูในสภาพยากลําบาก” หมายความวา เด็กที่อยูในครอบครัวยากจนหรือบิดา
มารดาหยาราง ทิ้งรา ง ถูกคุมขงั หรอื แยกกนั อยูแ ละไดรับความลําบาก หรือเดก็ ทต่ี อ งรบั ภาระหนา ที่
ในครอบครวั เกินวยั หรือกําลังความสามารถและสตปิ ญ ญา หรือเดก็ ทีไ่ มสามารถชว ยเหลอื ตวั เองได

“เดก็ พกิ าร” หมายความวา เดก็ ทมี่ คี วามบกพรอ งทางรา งกาย สมอง สตปิ ญ ญาหรอื จติ ใจ
ไมวา ความบกพรองนั้นจะมมี าแตก ําเนดิ หรอื เกดิ ขึน้ ภายหลัง

“เดก็ ทเี่ สยี่ งตอ การกระทาํ ผดิ ” หมายความวา เดก็ ทป่ี ระพฤตติ นไมส มควร เดก็ ทป่ี ระกอบ
อาชีพหรือคบหาสมาคมกับบุคคลที่นาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมายหรือขัดตอศีลธรรมอันดี
หรอื อยใู นสภาพแวดลอ มหรอื สถานทอ่ี นั อาจชกั นาํ ไปในทางเสยี หาย ทงั้ นี้ ตามทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง
กาํ หนด กลา วคือ



๑) เดก็ ที่ประพฤตติ นไมสมควร ไดแ ก เดก็ ท่ีมพี ฤติกรรมอยา งหนง่ึ อยางใด ดังตอไปนี้
(๑) ประพฤตติ นเกเรหรือขม เหงรังแกผอู ืน่
(๒) ม่ัวสมุ ในลักษณะทกี่ อความเดือดรอ นราํ คาญแกผอู น่ื
(๓) เลนการพนนั หรอื มวั่ สมุ ในวงการพนัน
(๔) เสพสรุ า สบู บหุ ร่ี เสพยาเสพตดิ ใหโ ทษหรอื ของมนึ เมาอยา งอน่ื เขา ไปในสถานท่ี

เฉพาะ เพื่อการจําหนา ยหรือดืม่ เคร่อื งดม่ื ท่ีมแี อลกอฮอล
(๕) เขา ไปในสถานบรกิ ารตามกฎหมายวาดวยสถานบรกิ าร
(๖) ซ้ือหรือขายบริการทางเพศ เขาไปในสถานการคาประเวณีหรือเกี่ยวของกับ

การคา ประเวณี ตามกฎหมายวาดว ยการปองกันและปราบปรามการคาประเวณี
(๗) ประพฤติตนไปในทางชสู าว หรอื สอ ไปในทางลามกอนาจารในทสี่ าธารณะ
(๘) ตอ ตา นหรอื ทา ทายคาํ สงั่ สอนของผปู กครอง จนผปู กครองไมอ าจอบรมสงั่ สอนได
(๙) ไมเขาเรียนในโรงเรียนหรือสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษา

ภาคบงั คบั
๒) เด็กที่ประกอบอาชีพที่นาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมายหรือขัดตอศีลธรรม

อนั ดี ไดแก เดก็ ท่ีประกอบอาชีพ ดังตอไปนี้
(๑) ขอทานหรือกระทําการสอไปในทางขอทาน โดยลําพังหรือโดยมีผูบังคับ

ชกั นาํ ยยุ ง หรือสงเสรมิ หรอื
(๒) ประกอบอาชีพหรือกระทําการใดอันเปนการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ

ดวยกฎหมาย หรอื ขัดตอศีลธรรมอนั ดี
๓) เด็กที่คบหาสมาคมกับบุคคลท่ีนาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมายหรือขัดตอ

ศีลธรรมอันดี ไดแ ก เด็กท่ีคบหาสมาคมกบั บคุ คล ดงั ตอไปน้ี
(๑) บุคคลหรือกลุมคนที่รวมตัวกันม่ัวสุม เพ่ือกอความเดือดรอนรําคาญแกผูอื่น

หรือกระทําการอันขัดตอกฎหมายหรือศีลธรรมอนั ดี หรอื
(๒) บคุ คลทปี่ ระกอบอาชพี ทขี่ ดั ตอกฎหมายหรือศลี ธรรมอันดี

๔) เด็กท่ีอยูในสภาพแวดลอ มหรือสถานทอ่ี ันอาจชักนาํ ไปในทางเสยี หาย ไดแ ก เด็กที่
อยใู นสภาพแวดลอมหรอื สถานที่ ดังตอไปน้ี

(๑) อาศัยอยูกับบุคคลที่มีพฤติกรรมเกี่ยวของกับยาเสพติดใหโทษหรือใหบริการ
ทางเพศ

(๒) เรร อ นไปตามสถานทตี่ า ง ๆ โดยไมม ที พ่ี กั อาศยั เปน หลกั แหลง ทแี่ นน อน หรอื
(๓) ถูกทอดทิ้งหรือถูกปลอยปละละเลยใหอยูในสภาพแวดลอมอันอาจชักนํา
ไปในทางเสยี หาย
(กฎกระทรวงกาํ หนดเด็กที่เสี่ยงตอการกระทําผดิ พ.ศ.๒๕๔๙)



เนื่องจากเด็กเหลาน้ี มีความเส่ียงตอการกระทําความผิด หรืออาจถูกชักนําไปกระทํา
ความผดิ ไดงาย ขณะเดยี วกันเด็กเหลานก้ี ็อาจถกู ลวงละเมดิ จากบุคคลอ่ืนไดง ายเชน กนั เจา พนักงาน
ตํารวจซ่ึงปฏิบัติงานและพบเห็นเด็กเหลาน้ี ควรจะใหความสําคัญในการสรางสัมพันธภาพกับเด็ก
เหลาน้ี เพื่อเปน การปอ งกันมิใหเ ด็กเหลา นถี้ ูกลว งละเมิดหรอื ตกเปนผูกระทําความผิดในอนาคต

¡ÒÃÊÌҧÊÁÑ ¾¹Ñ ¸ÀÒ¾¡ºÑ à´ç¡ËÃÍ× àÂÒǪ¹

การสรางความสัมพันธภาพกับเดก็ เปน สงิ่ สาํ คัญมาก เพราะเจา พนกั งานตํารวจจะไดร ับ
ความรวมมอื จากเด็กหรือไม อยทู สี่ ัมพนั ธภาพที่มตี อกนั ในการสรางสมั พนั ธภาพควรจะตองเรมิ่ จาก

๑. เจาพนักงานตํารวจจะตองเขาใจสภาพของเด็กเหลานด้ี ว ย อยาปลอ ยใหความรสู ึก
หรืออคติสวนตวั มามีผลตอการปฏบิ ัติงาน เนอ่ื งจากเหตุผลดานเช้อื ชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ อายุ
หรือทัศนคติของเด็ก เพราะเด็กเหลานี้เปนกลุมที่มีความออนแอเพราะเหตุสภาพรางกาย สุขภาพ
ความเจ็บปวย ความพิการ สติปญญา ตลอดจนภูมิหลังทางสังคมท่ีเลวรายที่เขาประสบมา ซึ่งทําให
การสรางความสัมพันธภาพอาจจะตอ งใชเวลาจนกวาเดก็ ๆ เหลานจี้ ะใหความไววางใจ

๒. สิ่งที่ตองตระหนกั คือ ขอมูลท่ีไดจ ากเด็กๆ เหลานี้ อาจไมถกู ตองท้งั หมด เดก็ จะมี
พฤติกรรมในการกาวราว ตอ ตาน เพอ่ื ความจําเปน ในการอยูร อดของเขา อยา พิจารณาเดก็ ในดานลบ
เพียงอยางเดียว จะตองพิจารณาในดานบวกดวย เพื่อจะไดเขาใจในวิถีชีวิตของเขาและจะทําให
สัมพนั ธภาพน้ันนานขึ้น

๓. ควรจะตองเร่มิ ตนการสรางสัมพนั ธภาพในเร่อื งที่เดก็ สนใจ เชน เรื่องกีฬากับท่ีเด็ก
เลน กฬี าอยเู ปน ประจาํ เปด ใจในการรบั ฟง สงิ่ ทเี่ ดก็ พดู หรอื เลา ดว ยความอดทนอยา เรง รบี ใชศ พั ทท วั่ ๆ ไป
ที่เด็กเขาใจหรือใชศัพทที่เด็กๆ ใชพูดคุยกัน อยาใชศัพทท่ีเก่ียวกับอาชีพตํารวจซึ่งเด็กอาจไมเขาใจ
หาขอ มลู ของเดก็ จากสภาพแวดลอ ม คนรอบขา ง เพอ่ื ใหท ราบถงึ ภมู หิ ลงั ของเดก็ กอ นทจ่ี ะเขา ถงึ ตวั เดก็
เพราะหากเขา ถึงตัวเดก็ เลย เขาอาจปฏเิ สธในการสรา งความสัมพนั ธก บั เขาได

๔. แสดงความขอบคุณเด็กที่ใหความรวมมือ และแสดงความชื่นชมเด็กวาทําไดดี
ในการใหข อ มูลท่ีเปนประโยชน

๕. การวางตัวและการแสดงทาทางขณะที่ทําการพูดคุยกับเด็กมีความสําคัญมาก
ตอการยอมรับหรือเปดใจของเด็ก ควรจะตองแสดงความเปนกันเอง อยาแสดงอาการของการ
มอี าํ นาจเหนอื ตวั เดก็ เชน การยนื กอดอกพดู กบั เดก็ ทน่ี งั่ อยทู พ่ี นื้ โดยใชค าํ พดู ในลกั ษณะของการสง่ั การ
ใหเ ดก็ ทาํ หรอื พดู แตค วรจะพดู ดว ยนา้ํ เสยี งทเี่ ปน กนั เอง แนะนาํ และอธบิ ายเกย่ี วกบั ตนเอง ดว ยภาษา
งายๆ น่ังอยูในระดบั เดยี วกบั เด็กท่ีจะพูดคยุ ดว ย

๖. จะตองตระหนักวา เด็กๆ เหลานี้เติบโตมาอยางโดดเด่ียว ขาดการเอาใจใส
การพฒั นาดา นอารมณแ ละศลี ธรรมของพวกเขาจะไมส มดลุ ซงึ่ อาจทาํ ใหเ ดก็ เหลา นไ้ี มเ ขา ใจวา สง่ิ ใดผดิ
ส่ิงใดถูก ไมเขาใจกลไกของความยุติธรรม ไมเขาใจถึงความเก่ียวพันในส่ิงที่ไดกระทําลงไปวาสงผล
กระทบตอตนเองหรือผูอื่นอยางไร ดังนั้น จึงตองอาศัยความอดทนและความสม่ําเสมอในการสราง
ความสัมพนั ธก บั เดก็ ๆ



๗. เขาใจในเรื่องพัฒนาการของเด็กในดานตางๆ ท้ังดานรางกาย ความคิด อารมณ
และศีลธรรม วาเด็กในกลุมน้ีจะมีการพัฒนาการในดานตางๆ ไมเหมือนกับเด็กท่ัวๆ ไปท่ีไดรับ
การเล้ียงดูเอาใจใสจากครอบครัว ซ่ึงเด็กเหลานี้ อาจมีรางกายไมสมบูรณ กระบวนการการรับรู
ความเขา ใจ การมเี หตผุ ล การแกป ญ หาและการตดั สนิ ใจทแ่ี ตกตา งกบั เดก็ ทว่ั ไปทอี่ ยใู นวยั เดยี วกนั การเรยี นรู
ทจี่ ะควบคมุ อารมณข องตนมนี อ ย และจากสภาพแวดลอ มทเี่ ดก็ เปน อยู ทาํ ใหก ระบวนการรบั รอู ะไรถกู
อะไรผดิ ทางดานศีลธรรมมีนอยกวา ปกติ เปนตน

๘. เก็บขอมูลของเด็กๆ ที่เจาพนักงานตํารวจไปสรางสัมพันธภาพน้ันไว เชน รูปราง
ลกั ษณะ และขอ สงั เกตในระหวา งการพดู คยุ วา เดก็ นน้ั มคี วามสนใจในเรอื่ งอะไร มคี วามสามารถพเิ ศษ
อะไรบาง กิจกรรมท่ีเด็กชอบ เหลานี้จะไดนําไปเปนขอมูลในการปกปองและคุมครองเด็กกลุมเสี่ยง
เหลา นไี้ ดต อ ไป

ÊÒàËμØá˧‹ ¡ÒáÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼Ô´¢Í§à´ç¡

ในกรณีที่เด็กหรือเยาวชนกระทําความผิดเชนนั้น เจาพนักงานตํารวจจะตัดสินเด็ก
หรอื เยาวชนทตี่ อ งหาวา กระทาํ ผดิ จากเหตกุ ารณท เ่ี กดิ ขนึ้ นน้ั เพยี งอยา งเดยี วไมไ ด เจา พนกั งานตาํ รวจ
ควรจะตอ งใหความสําคัญของภมู ิหลงั และสภาพสงั คมแวดลอ มของเด็กดวยวา ทําไมเดก็ หรือเยาวชน
ไดก ระทําความผดิ โดยแยกเปน

ÊÒàËμ¨Ø Ò¡ÊÀÒ¾áÇ´ÅÍŒ ÁÀÒ¹͡μÑÇà´ç¡
๑. ครอบครัว หรือชุมชน จากการศึกษาวิจัยพบวา ประวัติการกระทําผิดของพอ
จะทําใหบุตรมีโอกาสกระทําผิดรายแรงได เม่ือเปรียบเทียบกับครอบครัวที่ไมมีการกระทําผิดของพอ
การทารุณกรรมและละเลยเด็ก จะสัมพันธกับการมีพฤติกรรมรุนแรงตอมา แตระดับของความรุนแรง
ขึ้นอยูกับลักษณะของการทารุณกรรม เชน เด็กที่ถูกทํารายทางรางกายจะมีการกระทําผิดรุนแรงบาง
เล็กนอย ในขณะที่เด็กที่ถูกละเลยทอดท้ิงจะกระทําผิดรุนแรงมากกวา การจัดการที่ไมเหมาะสมของ
ครอบครัว ครอบครัวที่ขาดการต้ังเปาหมายพฤติกรรมที่ชัดเจน ขาดการควบคุมดูแล มีระเบียบวินัย
ท่ีเขมงวดหรือไมแนนอน และขาดทักษะการเปนพอแม เปนปจจัยที่กอใหเกิดความรุนแรงในเด็กได
การขาดการมสี ว นรว มของเดก็ และพอ แมท าํ ใหเ ดก็ มพี ฤตกิ รรมรนุ แรง เชน พอ แมท ไ่ี มเ ขา ไปมสี ว นรว ม
ในการศึกษาของลูก พอท่ีไมเขารวมในกิจกรรมยามวางของบุตรชาย และการไมส่ือสารกันระหวาง
พอ แมก บั ลกู ในวยั รนุ ความขดั แยง ในครอบครวั การแสดงออกซง่ึ ความขดั แยง อยา งรนุ แรงในชวี ติ ครอบครวั
จะเพ่ิมความเสี่ยงตอการมีพฤติกรรมรุนแรงของบุตร โดยเฉพาะหากแสดงความขัดแยงใหบุตรท่ีอยู
ในชวงอายุ ๑๔ ถึง ๑๖ ป เห็นจะทาํ ใหเพ่ิมพฤติกรรมรุนแรงเมอ่ื อายุ ๑๘ ป การถูกแยกจากพอ แม
ความสัมพันธที่ไมดีระหวางบุตรกับพอแมจะทําใหพฤติกรรมรุนแรงมากข้ึน โดยพบวาเม่ือเด็กชาย
มีปญหากับพอแมต้ังแตอายุกอน ๑๐ ขวบ หรือลูกออกจากบานกอนอายุ ๑๖ ป จะมีโอกาสเส่ียง
ยงิ่ ขน้ึ การมพี นี่ อ งทก่ี ระทาํ ความผดิ จะเพมิ่ ความเสย่ี งตอ การมพี ฤตกิ รรมรนุ แรง พบวา เดก็ อายุ ๑๐ ขวบ
ท่ีมีพี่นองกระทําผิดจะเพ่ิมความเส่ียงตอพฤติกรรมรุนแรง เพราะพ่ีนองที่กระทําความผิดจะมี
ความสมั พนั ธอ ยา งมากกบั การมพี ฤตกิ รรมรนุ แรงในวยั รนุ โดยเฉพาะจะมอี ทิ ธพิ ลสงู ตอ หญงิ มากกวา ชาย



อยางไรก็ตามสาเหตุการกระทําความผิดของเด็กและเยาวชน มิใชมีแตเฉพาะ
ครอบครวั ทม่ี ีความบกพรองดังเชนทก่ี ลา วขา งตน เพียงอยางเดียว แตส ามารถเกิดขึน้ กับครอบครวั ทม่ี ี
ความสมบูรณก็เปนได ซึ่งกรณีนี้อาจเกิดจากครอบครัวที่บิดามารดาต้ังความหวังกับเด็กและเยาวชน
สงู เกนิ ไป จงึ เขม งวดกวดขนั เปน ผลใหเ กดิ ความกดดนั กบั เดก็ และเยาวชน เมอ่ื เดก็ และเยาวชนไมไ ดเ ปน ไป
ตามท่ีคาดหวังไวก็จะระบายออกมาโดยไมรูตัว ซึ่งมีผลกระทบตอจิตใจเด็กและเยาวชน จนอาจ
ทําใหเด็กและเยาวชนรูสึกวาตนเองไมมีคุณคา จึงปลอยตัวประพฤติตนไปตามสภาพแวดลอมที่ไมดี
หรอื ทเ่ี รยี กวา เปน การประชดชวี ิต

๒. สถานทอี่ ยอู าศยั เชน สถานทอ่ี ยอู าศยั ของเดก็ อยใู กลบ อ นการพนนั หรอื สถาน
บันเทงิ จากการศกึ ษาพบวาการทเ่ี ด็กเตบิ โตทามกลางความยากจน มโี อกาสเสย่ี งตอ การมพี ฤตกิ รรม
รนุ แรง การเติบโตในครอบครวั ท่มี ีรายไดต ํา่ จะเพ่มิ โอกาสเปน วัยรุน ที่ใชความรุนแรง ความไรร ะเบียบ
ในชมุ ชน การขาดความผกู พนั กบั เพอื่ นบา น การมเี พอื่ นบา นผใู หญท กี่ ระทาํ ความผดิ และมคี วามสะดวก
ในการไดยาเสพตดิ มาใช จะเพิ่มความเส่ียงตอ การกระทําผดิ และรนุ แรง

๓. สถานะทางเศรษฐกิจ การขาดแคลนเครื่องอุปโภคบริโภคท่ีจําเปน จากการ
ศึกษาพบวา ครอบครวั ของชนชนั้ ลางท่มี ีความยากจนและผใู ชแ รงงานชนชนั้ ลางทม่ี ีความยากไร และ
ผใู ชแรงงานซ่ึงมรี ายไดไ มเพียงพอทีจ่ ะใชจ า ยในการดาํ เนนิ ชีวิต ทาํ ใหเ กิดการขาดแคลนเครอื่ งอุปโภค
บรโิ ภคทีจ่ ําเปน ซ่ึงจะพบวาเด็กและเยาวชนมกั จะกระทําความผดิ ในขอ หาลักทรัพยจํานวนมาก หรือ
พบวา มผี ใู หญช กั จงู ใหเ ดก็ และเยาวชนกระทาํ ความผดิ โดยเดก็ และเยาวชนหวงั เพยี งคา ตอบแทน เชน
ชกั จงู ใหน ํายาเสพติดไปสงตอหรอื จําหนาย โดยใหเ งนิ เปนคา ตอบแทน

๔. การดอยโอกาสทางการศึกษา ความออนดอยสติปญญาหรือประสบการณ
เน่ืองดวยเด็กและเยาวชนยังมีสติปญญาและประสบการณนอย จึงมักถูกชักจูงไปในทางที่ผิด
ไดโดยงาย หรืออาจกระทําไปดวยความรูเทาไมถึงการณ โดยยังไมมีความคิดท่ีรอบคอบ หรือยัง
ไมส ามารถแยกแยะวา สง่ิ ใดควรหรอื ไมค วรทาํ เชน ถกู ชกั นาํ ใหไ ปยงุ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ หรอื ถกู ชกั จงู ให
ประกอบอาชพี ทไ่ี มเ หมาะสมแตม รี ายไดด ี เดก็ และเยาวชนทม่ี รี ะดบั การศกึ ษาตา่ํ จะไมแ สวงหาความรู
เพอื่ พฒั นาตนเอง หรอื ไมม คี วามกระตอื รอื รน ทจี่ ะเตบิ โตเปน ผใู หญท แ่ี กป ญ หาของตนเองดว ยเหตผุ ล
เพ่ือเลี้ยงตนเองได ทําใหเด็กและเยาวชนกลุมน้ีอยูในกลุมเสี่ยงท่ีจะกอใหเกิดการกระทําความผิด
ไดโ ดยงาย

สาเหตภุ ายในตัวของเดก็
๑. สภาพความผิดปกติของรางกาย เด็กและเยาวชนไดรับการถายทอดพันธุกรรม
มาจากบดิ ามารดา เชน โรคปญ ญาออน หรือระดบั สติปญ ญาต่าํ กวา เกณฑป กติ หรอื มรี างกายพิการ
ส่ิงเหลานี้จะทําใหเด็กและเยาวชนรูสึกวาตนเองมีปมดอย เกิดความนอยเน้ือตํ่าใจ และอาจถูกเด็ก
และเยาวชนวัยเดียวกันลอเลียน จนทําใหเด็กและเยาวชนรูสึกวาตนเองถูกซํ้าเติม และเกิดอารมณ



คอนขางรุนแรง จึงแสดงออกในทางกาวราว เชน ทํารายรางกายผูลอเลียนหรือเด็กและเยาวชน
ที่ออนแอกวา หรือหากไมสามารถตอบโตไดก็จะเกิดการเก็บกดสะสมไปเร่ือยๆ และแสดงออก
เมื่อมโี อกาส

๒. สภาพความผิดปกติทางจิตใจ เด็กและเยาวชนจะมีวุฒิภาวะทางดานจิตใจ
และอารมณแ ตกตา งจากผใู หญ ทงั้ เดก็ และเยาวชนแตล ะคนจะมวี ฒุ ภิ าวะของจติ ใจและอารมณไ มเ ทา กนั
เด็กและเยาวชนบางกลุมมีวุฒิภาวะทางจิตใจและอารมณไมปกติ ซ่ึงอาจเกิดจากประสบการณ
และการเล้ียงดูที่แตกตางกัน ในวัยรุน เด็กและเยาวชนมักจะมีอารมณคึกคะนอง ขาดความอดทน
ตอ สงิ่ เรา หรอื สภาพแวดลอ ม บางคนไมช อบถกู บงั คบั และมกั แสดงออกกบั การถกู บงั คบั อยา งไมถ กู ตอ ง
โดยเฉพาะในวัยนี้มีการเปล่ียนแปลงทางดานรางกายและจิตใจ รวมถึงฮอรโมนทางเพศที่เพ่ิมขึ้น
หลายคนมกี ารแสดงออกในทางรนุ แรง กา วรา ว และใชว ธิ รี นุ แรงในการแกป ญ หา (อรอมุ า วชริ ประดษิ ฐพ ร,
๒๕๕๕)

ÊÇ‹ ¹ÊÃØ»

เดก็ และเยาวชนมวี ฒุ ภิ าวะทางดา นจติ ใจและอารมณแ ตกตา งจากผใู หญ รวมทงั้ เดก็ และ
เยาวชนแตล ะคนจะมวี ฒุ ภิ าวะของจติ ใจและอารมณไ มป กตแิ ละไมเ ทา กนั ซงึ่ อาจเกดิ จากประสบการณ
และการเลีย้ งดทู ่แี ตกตางกัน โดยเฉพาะในวัยนม้ี กี ารเปล่ยี นแปลงทางดา นรางกาย และจิตใจ รวมท้งั
ฮอรโมนทางเพศที่เพมิ่ ข้ึน หลายคนมีการแสดงออกในทางรนุ แรง กา วราว และใชว ธิ ีรนุ แรงแกปญหา
ในกรณีเดก็ หรอื เยาวชนกระทาํ ความผิดเชน น้นั เจา พนักงานตาํ รวจจะตัดสินเดก็ หรอื เยาวชนท่ีตอ งหา
วากระทําความผิดจากเหตุการณท่ีเกิดขึ้นน้ันเพียงอยางเดียวไมได เจาพนักงานตํารวจควรจะตองให
ความสําคญั ของภมู ิหลัง และสภาพสังคมและแวดลอ มของเดก็ และเยาวชน รวมท้ังปฏิบัตติ อเดก็ และ
เยาวชน ตามกฎหมายท่เี กย่ี วของตามบทบาทและอาํ นาจหนา ทใี่ หถ กู ตองเหมาะสม



º··Õè ò

¡ÒäÁŒØ ¤ÃͧÊÔ·¸àÔ ´¡ç

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

๑. เพอ่ื ใหนักเรียนนายสิบตํารวจ มีความเขาใจในการคุมครองสทิ ธเิ ด็กตามอนุสญั ญา
วา ดว ยสิทธเิ ด็ก

๒. เพอ่ื ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจ มคี วามเขา ใจ กฎหมายตา งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การคมุ ครอง
สทิ ธิเดก็ ในประเทศไทย

๒.๑ การคุมครองสิทธิเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา
๒.๒ การคุมครองสิทธิเดก็ ตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา
๒.๓ พระราชบญั ญตั คิ ุมครองเดก็ ฯ
๒.๔ พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครวั ฯ
๒.๕ การคมุ ครองสิทธเิ ด็กและเยาวชนตามพระราชบญั ญตั คิ ุมครองแรงงาน
เพอ่ื ใหก ารปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทและอาํ นาจหนา ทขี่ องเจา พนกั งานตาํ รวจไดอ ยา ง
ถกู ตอ งเหมาะสมตอไป

º·นาํ

จากอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กฯ “เด็กโดยเหตุท่ียังไมเติบโตเต็มท่ีทั้งรางกายและจิตใจ
จึงตองการพิทักษและดูแลเปนพิเศษ รวมถึงตองการการคุมครองทางกฎหมายท่ีเหมาะสมทั้งกอน
และหลังเกิด” และสหประชาชาติไดประกาศในปฏิญญาสากลดวยวา เด็กมีสิทธิที่จะไดรับการดูแล
และการชวยเหลือเปนพิเศษ ประเทศไทยไดเขาเปนภาคี ในอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก เม่ือวันท่ี
๒๗ มีนาคม ๒๕๓๕ และมีผลบังคับกับประเทศไทย เมื่อวันท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๓๕ ประเทศไทย
จงึ ตอ งนาํ หลกั เกณฑ ซง่ึ อนสุ ญั ญาฉบบั นมี้ าปรบั กฎหมายภายในประเทศทเ่ี กย่ี วกบั เดก็ เพอื่ ใหส อดคลอ ง
กบั สาระสําคัญในอนสุ ญั ญาวาดว ยสิทธเิ ดก็

จากอนุสัญญาวา ดว ยสทิ ธเิ ด็กฯ ในสวนอารมั ภบทท่กี ลา ววา “เดก็ โดยเหตุทีย่ งั ไมเ ติบโต
เต็มที่ทั้งรางกายและจิตใจ จึงตองการการพิทักษและดูแลเปนพิเศษ รวมถึงตองการการคุมครอง
ทางกฎหมายที่เหมาะสมทั้งกอนและหลังการเกิด” และสหประชาชาติไดประกาศในปฏิญญาสากล
ดว ยวา เดก็ มสี ิทธทิ ี่จะไดร บั การดูแลและการชว ยเหลอื เปน พเิ ศษ

สาํ หรบั ประเทศไทยไดเ ขา เปน ภาคอี นสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธเิ ดก็ โดยการภาคอนวุ ตั ิ (คอื การ
ใหค วามยนิ ยอมของรฐั เพอื่ เขา ผกู พนั ตามสนธสิ ญั ญา ซง่ึ จะใชใ นกรณที ร่ี ฐั นน้ั มไิ ดเ ขา รว มในการเจรจา
ทําสนธสิ ญั ญาและมไิ ดล งนามในสนธสิ ญั ญานนั้ มากอ น) เมื่อวนั ที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๕ และมีผล
บงั คบั กบั ประเทศไทย เมือ่ วนั ที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๕

๑๐

และจากทปี่ ระเทศไทยเขา เปน ภาคี ในอนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธเิ ดก็ ฯ น้ี จงึ ทาํ ใหป ระเทศไทย
จะตองนําหลักเกณฑซึ่งอนุสัญญาฉบับน้ีมาปรับกฎหมายภายในประเทศท่ีเกี่ยวกับเด็ก เพื่อให
สอดคลองกบั สาระสาํ คญั ในอนสุ ัญญาวาดวยสิทธิเด็ก

͹ÊØ ÑÞÞÒÇÒ‹ ´ÇŒ ÂÊ·Ô ¸Ôà´¡ç

อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก๑ คือ ขอตกลงที่ระหวางประเทศจัดทําข้ึนโดยสหประชาชาติ
โดยไดรับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ (United Nations General Assembly)
ในป ๒๕๓๒ โดยประเทศไทยไดลงนามเปนภาคอี นสุ ญั ญาวาดวยสทิ ธเิ ด็กเมอ่ื ๑๒ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๓๕

ในอนสุ ญั ญาวาดว ยสิทธเิ ดก็ ไดนยิ ามความหมายคาํ วา “เดก็ ” ไวว า
“เดก็ ” หมายถงึ มนษุ ยท ุกคนท่อี ายุต่าํ กวา ๑๘ ป เวนแตจ ะบรรลนุ ิตภิ าวะกอนหนา นนั้
ตามกฎหมายทใ่ี ชบ ังคับแกเ ด็กนั้น (อนุสัญญาวา ดวยสทิ ธเิ ด็กขอ ๑)
อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child 1989)
ไดก าํ หนดในภาครฐั และภาคสงั คมไดต ระหนกั ถงึ ความสําคญั ของเดก็ เพอื่ จะนําไปสกู ารปฏบิ ตั มิ จี ํานวน
ท้งั หมด ๕๔ ขอ ซึ่งแบง เปน ๓ สว นคือ
สวนท่ี ๑ เริ่มจากขอ ๑ ถึงขอ ๔๑ วา ดว ยหลักการและเน้ือหาเกี่ยวกับสทิ ธิทเ่ี ด็กพึงจะ
ไดร บั โดยเนน หลักพนื้ ฐาน ๔ ประการ กลา วคอื
๑) หามเลือกปฏิบัติตอเด็กและการใหความสําคัญแกเด็กทุกคนอยางเทาเทียมกัน
โดยไมค ํานงึ ถงึ ความแตกตา งของเดก็ ในเรอ่ื งเชอื้ ชาติ สผี วิ เพศ ภาษา ศาสนา ความคดิ เหน็ ทางการเมอื ง
ชาติพันธุหรือสังคมทรัพยสิน ความทุพพลภาพ การเกิดหรือสถานะอื่นๆ ของเด็กหรือบิดามารดา
หรือผปู กครองทางกฎหมาย ทั้งนี้เพ่อื ใหเ ดก็ มโี อกาสที่เทา เทียมกนั
๒) การกระทําหรือการดําเนินการทงั้ หลายตองคํานงึ ถึงประโยชนสงู สุดเปน อนั ดับแรก
๓) สทิ ธิในการมีชวี ิตการอยรู อดและการพัฒนาทางดา นจติ ใจอารมณส ังคม
๔) สทิ ธใิ นการแสดงความคดิ เหน็ ของเดก็ และการใหค วามสาํ คญั กบั ความคดิ เหน็ เหลา นนั้
สวนที่ ๒ เร่ิมจากขอที่ ๔๒ ถึงขอท่ี ๔๕ เปนขอกาํ หนดเปนหลักเกณฑและแบบพิธี
ซึ่งประเทศใหส ตั ยาบนั แกอ นุสัญญานต้ี องปฏบิ ตั ติ าม
สว นท่ี ๓ เริ่มจากขอท่ี ๔๖ ถงึ ขอ ที่ ๕๔ เปน ขอ กาํ หนดวิธีการสอดสองดแู ลการปฏบิ ัติ
ตามอนุสญั ญาและกําหนดเงื่อนไขตา งๆ ในการบังคบั ใช
สาํ หรับสาระสําคัญท่ีเด็กพึงจะไดรับตามอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กน้ันพอสรุปไดเปน
๖ หลักการดังน้ี

๑ สืบคน จาก http://humanrights.mfa.go.th/th/kids/72/ (วันทีค่ นขอ มลู : ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๒)

๑๑

ñ. ËÅÑ¡·èÑÇä»
เปน การคมุ ครองสทิ ธเิ สรภี าพทว่ั ๆ ไปในแงท งั้ สว นบคุ คล การแสดงความเหน็ ศาสนา

วฒั นธรรม ความเสมอภาคภายใตก ฎหมายเดยี วกนั การศกึ ษาและอน่ื ๆ นอกจากนนั้ เปน สว นทเ่ี กยี่ วกบั
การคมุ ครองดแู ลเดก็ โดยทวั่ ไป โดยกาํ หนดไวใ นรปู หลกั พงึ ปฏบิ ตั ขิ องรฐั ภาคี อยา งไรกต็ ามมบี ทบญั ญตั ิ
ทต่ี ดั ปญ หาผลกระทบทางลบในการบงั คบั ในอนสุ ญั ญานป้ี ด ทา ยไวว า อนสุ ญั ญานไี้ มม ผี ลทําใหเ ดก็ ไดร บั
ความคมุ ครองนอ ยไปกวา ทเี่ ขามอี ยตู ามกฎหมายอนื่ ๆ สาระสําคญั ของหลกั นอ้ี ยใู นขอ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕,
๑๑, ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๖, ๒๕, ๓๐, ๓๘ และขอ ๔๑

ò. ËÅ¡Ñ ¡ÒäÁŒØ ¤ÃͧÃÒ‹ §¡Ò ªÇÕ μÔ àÊÃÀÕ Ò¾ áÅÐÊÇÊÑ ´ÀÔ Ò¾¢Í§à´¡ç มงุ คมุ ครองมใิ หเ ดก็
ถูกละเมดิ สทิ ธเิ หนือรา งกาย ชีวติ และเสรีภาพ ไมว าจะทาํ ราย ฆา ลวงเกินทางเพศ ขูดรดี หากําไร
ทางเพศ หรือคากําไรทางเศรษฐกิจหรือนําเด็กไปเปนวัตถุซื้อขายหรือปฏิบัติตอเด็กที่ไมเหมาะสม
จนเปนผลเสียตอสวัสดิภาพของเด็ก รวมท้ังคุมครองใหมีการเยียวยา ฟนฟู เด็กท่ีถูกละเมิดดังกลาว
ใหกลับคนื สสู ภาพปกติได สาระสําคญั ของหลกั นี้อยใู นขอ ๑๙ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ และ ขอ ๓๙

ó. ËÅ¡Ñ ¡ÒÃãËÊŒ ÇÊÑ ´¡Ô ÒÃ椄 ¤Áá¡à‹ ´¡ç มงุ คมุ ครองการใหเ ดก็ ไดร บั ขา วสารขอ มลู ทเ่ี ปน
ประโยชนตอพัฒนาการของเด็ก ใหไดรับการดูแลดานสุขภาพอนามัย ไดรับการประกันสังคม ไดรับ
การศึกษาท้ังในแงของการเลาเรียนและโอกาสที่จะศึกษาเลาเรียนเพื่อพัฒนาทางดานบุคลิกภาพ
การมมี นษุ ยสัมพันธอ ันดี มคี วามรับผดิ ชอบตอตนเอง สังคม และสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ไดร ับ
การพกั ผอนหยอ นใจและสง เสริมชวี ติ ดานศิลปวัฒนธรรม มสี าระสําคัญในขอ ๑๗ ๒๔ ๒๖ ๒๘ ๒๙
และขอ ๓๐

ô. ËÅ¡Ñ ¡ÒäÁŒØ ¤ÃÍ§Ê·Ô ¸·Ô ҧᾧ‹ มงุ คมุ ครองใหเ ดก็ ไดร บั สทิ ธใิ นฐานะพลเมอื งของรฐั
ทมี่ ชี อื่ มสี ญั ชาติ สามารถตดิ ตอ กบั ครอบครวั มภี มู ลิ าํ เนาหรอื ทอ่ี ยอู าศยั รว มกบั บดิ ามารดา ไดร บั อปุ การะ
เล้ียงดูจากบิดามารดาหรือผูปกครอง โดยมีรัฐชวยสนับสนุนและใหหลักประกัน มีสาระสําคัญอยูใน
ขอ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๘ และ ๒๗

õ. ËÅÑ¡¡ÒäŒØÁ¤Ãͧà´ç¡·èÕÁÕ»˜ÞËÒ¤ÇÒÁ»ÃоÄμÔËÃ×Í¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´·Ò§ÍÒÞÒ
มงุ คมุ ครอง ใหเ ดก็ ทถ่ี กู กลา วหาวา กระทาํ ความผดิ ทางอาญาไดร บั การปฏบิ ตั ทิ แี่ ตกตา งไปจากผตู อ งหาที่
เปน ผใู หญ โดยใหไ ดร บั ผลกระทบจากการตอ งถกู ดาํ เนนิ คดแี ละควบคมุ ตวั นอ ยทส่ี ดุ สาํ หรบั เดก็ ทม่ี ปี ญ หา
ความประพฤติ หรอื กระทาํ ความผิดทางอาญา คมุ ครองใหไดรับโอกาสแกไ ขเยียวยาใหสามารถเติบโต
เปน พลเมอื งดขี องสงั คม โดยมสี มมตฐิ านวา เดก็ กระทาํ การใด ๆ เพราะขาดวฒุ ภิ าวะทาํ ใหส งิ่ แวดลอ ม
มีอิทธิพลผลักดันตอความประพฤติของเด็ก นอกจากนั้นยังมีหลักประกันมิใหเด็กตองรับโทษจําคุก
ตลอดชีวติ หรอื ประหารชีวติ มีสาระสาํ คัญอยใู นขอ ๓๗ และขอ ๔๐

ö. ËÅÑ¡¡Òä،Á¤Ãͧà´ç¡¼ÙŒ´ŒÍÂâÍ¡ÒÊ มุงคุมครองใหเด็กดอยโอกาส เด็กผูขาดไร
ผอู ปุ การะ เดก็ ผตู กอยใู นเภทภยั และเดก็ พกิ ารไดร บั การดแู ลและอปุ การะเลยี้ งดใู หเ ทา เทยี มกบั เดก็ ทวั่ ไป
มสี าระสาํ คัญอยูในขอ ๒๐ ๒๑ ๒๒ และขอ ๒๓ (นคนิ ทร เมฆไตรรตั น และคณะ, ๒๕๕๓)

๑๒

¡Òä،Á¤ÃͧÊÔ·¸Ôà´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹ã¹»ÃÐà·Èä·Â

ประเทศไทยไดบัญญัติกฎหมายหลายฉบับเพ่ือคุมครองสิทธิเด็กที่เขาสูกระบวนการ
ยตุ ธิ รรมทางอาญา โดยการปรบั ปรงุ แกไ ขกฎหมายทม่ี อี ยเู ดมิ และบญั ญตั กิ ฎหมายใหมเ พอ่ื ใหส อดคลอ ง
กบั อนุสัญญาวาดวยสิทธเิ ดก็ (Convention on the Rights of the Child) และกฎอนั เปนมาตรฐาน
ขั้นตา่ํ ของสหประชาชาติวา ดวยการบรหิ ารงานยุติธรรมเกยี่ วกบั คดีเดก็ และเยาวชน (United Nations
Standard Minimum Rules for the Administration of Juvenile Justice) หรอื กฎแหง กรุงปกกงิ่
(The Beijing Rules) ซ่ึงพอจะสรปุ ไดดังน้ี

ñ. ¡ÒäØÁŒ ¤ÃͧÊÔ·¸Ôà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹μÒÁ»ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÍÒÞÒ
(๑) หา มมใิ หล งโทษประหารชวี ติ และจําคกุ ตลอดชวี ติ แกเ ดก็ หรอื เยาวชนซง่ึ กระทํา

ความผดิ ในขณะท่ีมีอายุตา่ํ กวา ๑๘ ป โดยใหเปลี่ยนระวางโทษจากประหารชวี ิตหรอื จําคกุ ตลอดชวี ติ
น้นั มาเปน ระวางโทษจาํ คุก ๕๐ ป (มาตรา ๑๘) (คาํ พพิ ากษาฎกี าที่ ๕๒๖/๒๕๔๘)

- คําพพิ ากษาฎีกาท่ี ๕๒๖/๒๕๔๘
จาํ เลยท่ี ๒ อายุ ๑๖ ป กระทาํ ความผิดตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษฯ

มาตรา ๑๕ วรรคหนง่ึ วรรคสอง (เดมิ ), ๖๖ วรรคสอง (เดมิ ) ประกอบ ประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๘๓
มีระวางโทษจําคุกตลอดชีวิตหรือประหารชีวิต ระหวางพิจารณาของศาลฎีกามี พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบบั ท่ี ๑๖) ฯ มาตรา ๓ ใหเ พมิ่ ความขน้ึ เปน วรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๑๘
แหงประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งในวรรคสามที่เพิ่มมีขอความวา ในกรณีผูซึ่งกระทาํ ความผิด
ในขณะที่มีอายุต่ํากวาสิบแปดปไดกระทําความผิดท่ีมีระวางโทษประหารชีวิตหรือจําคุกตลอดชีวิต
ใหถ อื วา ระวางโทษดงั กลา วไดเ ปลย่ี นเปน ระวางโทษหา สบิ ป ระวางโทษตามกฎหมายทแ่ี กไ ขใหมจ งึ เปน
คุณมากกวาระวางโทษตามกฎหมายที่ใชในขณะกระทาํ ความผิดจึงตองใชกฎหมายที่แกไขใหมบังคับ
แกจําเลยท่ี ๒ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓

(๒) เด็กอายุไมเกิน ๑๐ ป กระทาํ การอันกฎหมายบัญญัติเปนความผิดเด็กนั้น
ไมตองรับโทษ แตใหพนักงานสอบสวนสงตอเด็กน้ันใหแกพนักงานเจาหนาท่ีตามกฎหมายวาดวยการ
คมุ ครองเดก็ เพอ่ื ดาํ เนินการคมุ ครองสวสั ดภิ าพตามกฎหมาย (มาตรา ๗๓)

(๓) เด็กอายกุ วา ๑๐ ป แตย งั ไมเ กิน ๑๕ ป กระทําการอนั กฎหมายบญั ญัตเิ ปน
ความผิดเด็กนน้ั ไมต องรับโทษแตศาลมอี ํานาจทีจ่ ะดาํ เนนิ การ

- วากลาวตักเตือนเด็กแลวปลอยตัวไปและถาศาลเห็นสมควรศาลจะเรียก
บิดามารดาผูป กครองหรือผูทีเ่ ดก็ อาศยั อยูด ว ยมาตักเตือนดว ยก็ได

- ถา ศาลเหน็ วา บดิ ามารดาหรอื ผปู กครองสามารถดแู ลเดก็ ได ศาลจะมคี าํ สง่ั
ใหมอบตัวเด็กใหแกบุคคลดังกลาวโดยวางขอกาํ หนดใหบุคคลนั้นๆ ระวังเด็กไมใหไปกอเหตุราย
ตลอดเวลาทศี่ าลกําหนด ซงึ่ ขอ กาํ หนดของศาลนนั้ ตอ งไมเ กนิ ๓ ป และกําหนดจาํ นวนเงนิ ตามทเ่ี หน็ สมควร
ซง่ึ บดิ ามารดาหรอื ผปู กครองจะตอ งชําระตอ ศาลไมเ กนิ ครง้ั ละ ๑๐,๐๐๐ บาท หากเดก็ นนั้ กอ เหตรุ า ยขน้ึ

๑๓

แตถาเด็กอาศัยอยูกับบุคคลอ่ืนและศาลเห็นวาไมสมควรจะเรียกบิดามารดา
หรอื ผปู กครองมาวางขอ กาํ หนด ศาลจะเรยี กตวั บคุ คลทเี่ ดก็ อาศยั อยมู าสอบถามวา จะยอมรบั ขอ กาํ หนด
ของศาลที่กาํ หนดไวทาํ นองเดียวกับกรณีวางขอกําหนดใหแกบิดามารดาหรือผูปกครองน้ันหรือไม
และถา บคุ คลทเ่ี ดก็ อาศยั อยดู ว ยนนั้ ยอมรบั ขอ กําหนดดงั กลา ว ศาลกจ็ ะมคี ําสงั่ มอบตวั เดก็ ใหแ กบ คุ คล
นน้ั โดยวางขอ กาํ หนด

- ในกรณที ศี่ าลมอบตวั เดก็ ใหแ กบ ดิ ามารดา ผปู กครองหรอื บคุ คลทเ่ี ดก็ อาศยั
อยดู ว ยนน้ั ศาลจะกําหนดเงอ่ื นไขเพอ่ื คมุ ความประพฤตเิ ดก็ ตามวธิ กี ารทก่ี ําหนดไวใ นประมวลกฎหมาย
อาญามาตรา ๕๖ กลาวคือใหไปรายงานตัวตอเจาพนักงานท่ีศาลระบุไวเปนคร้ังคราว ใหฝกหัดหรือ
ทาํ งานอาชีพอันเปนกิจจะลักษณะ ใหละเวนการคบหาสมาคมหรือการประพฤติใดอันอาจนําไปสู
การกระทําความผดิ หรอื ไปรบั การบาํ บดั รกั ษาการตดิ สารเสพตดิ ความบกพรอ งทางรา งกายจติ ใจหรอื
เจ็บปว ย เปน ตน

- ในกรณีเด็กไมมีบิดามารดา ผปู กครองหรือมแี ตศ าลเห็นวาไมส ามารถดแู ล
เด็กไดหรือกรณีบุคคลที่เด็กอาศัยอยูดวยน้ัน ไมยอมรับขอกาํ หนดของศาลในการคุมประพฤติเด็ก
ศาลอาจมคี ําสง่ั มอบตวั เดก็ นนั้ ใหอ ยกู บั บคุ คลหรอื องคก ารทศี่ าลเหน็ สมควรเพอื่ อบรมดแู ลและสงั่ สอน
ตามระยะเวลาทศ่ี าลกาํ หนดก็ได เมอ่ื บุคคลหรือองคก ารน้ันยนิ ยอม

- สงตัวเด็กไปยังโรงเรียนหรือสถานฝกอบรมตามระยะเวลาที่ศาลกาํ หนด
แตอยาใหเกินกวาทเี่ ด็กน้นั จะมอี ายคุ รบ ๑๘ ป

อยางไรก็ตามคาํ สั่งของศาลนั้นศาลอาจมีอํานาจเปลี่ยนแปลงแกไขคาํ ส่ังหรือ
มีคําสงั่ ใหมไ ด หากพฤติกรรมแหง คาํ สง่ั ไดเปลีย่ นแปลงไป (มาตรา ๗๔)

(๔) หากศาลพิจารณาจากความรูสึกผิดชอบและสิ่งอื่นทั้งปวงเก่ียวกับผูกระทํา
ความผดิ ซง่ึ เปน เดก็ หรอื เยาวชนทอี่ ายกุ วา ๑๕ ป แตต ่ํากวา ๑๘ ป แลว เหน็ วา ยงั ไมส มควรพพิ ากษาลงโทษ
ในความผดิ ทกี่ ฎหมายบญั ญตั ไิ วส าํ หรบั ความผดิ ทเ่ี ดก็ หรอื เยาวชนไดก ระทาํ นน้ั ศาลกจ็ ะใหด ําเนนิ การ
โดยการวางขอ กาํ หนดดังทีบ่ ญั ญตั ไิ วในมาตรา ๗๔ แตห ากศาลเห็นวาสมควรพพิ ากษาลงโทษ กใ็ หล ด
มาตราสวนลงกึ่งหน่งึ (มาตรา ๗๕)

คําอธบิ าย การลดมาตราสว นโทษตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๗๕ คอื
การลดอตั ราโทษขน้ั สงู สดุ และขน้ั ต่าํ ตามทกี่ ฎหมายกําหนดไวส ําหรบั ความผดิ ทจ่ี าํ เลยกระทํา โดยลดลง
กึ่งหน่ึงแลวจึงกาํ หนดโทษท่ีจะลงในระหวางนั้น มิใชศาลกาํ หนดโทษท่ีจะลงไวกอนแลวจึงลดโทษ
ที่ไดก ําหนดไว๒ (คาํ พิพากษาฎีกา ที่ ๖๘๑๕/๒๕๔๘)

- คาํ พิพากษาฎกี าที่ ๖๘๑๕/๒๕๔๘
การลดมาตราสวนโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๕ คือ

การลดอัตราโทษตามท่ีกฎหมายกําหนดไวสําหรับความผิดน้ันๆ ลงกึ่งหนึ่งแลวจึงลงโทษ มิใชศาล

๒ เกียรติขจร วจั นะสวสั ด.ิ์ (๒๕๖๒). คาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา ภาค ๑ เลม ๑. กรงุ สยามพับลชิ ชง่ิ . หนา ๖๗๕.

๑๔

กาํ หนดโทษลงไวก อ นแลว จงึ ลดมาตราสว นโทษจากโทษทลี่ งไว และความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร
พ.ศ.๒๔๖๙ มาตรา ๒๗ ทวิ บญั ญตั ใิ หล งโทษปรบั สําหรบั ความผดิ ครง้ั หนง่ึ ๆ เปน เงนิ สเ่ี ทา ของราคาของ
ซ่ึงไดรวมอากรเขาดวยแลว มิใชใหปรับสาํ หรับความผิดคร้ังหนึ่งๆ แลวแบงปรับเปนรายบุคคล
คนละเทาๆ กัน เม่ือจาํ เลยถูกฟอง จาํ เลยจึงเปนบุคคลเดียวที่ถูกพิพากษาวากระทาํ ความผิดและ
ตองถูกลงโทษตามคําพิพากษา บุคคลอื่นท่ีรวมกระทําความผิดเมื่อยังไมถูกฟองยอมไมอาจถือเปน
ผูกระทําความผดิ อันจะถกู ลงโทษตามคําพพิ ากษาคดนี ี้ได กรณีไมอาจแบง แยก ลดจาํ นวนความรบั ผิด
สําหรับโทษปรบั ครัง้ นี้แกจําเลย

ò. ¡ÒäÁØŒ ¤ÃÍ§Ê·Ô ¸àÔ ´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹μÒÁ»ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÇÔ¸Õ¾¨Ô ÒóҤÇÒÁÍÒÞÒ
(๑) กรณีท่ีเด็กหรือเยาวชนเปนผูเสียหายอายุไมเกิน ๑๘ ป มารองทุกขในการ

จดบนั ทกึ คํารอ งทกุ ขใ นคดบี างประเภททก่ี ฎหมายกําหนด เชน ความผดิ เกยี่ วกบั เพศ ความผดิ เกยี่ วกบั
ชีวิตรางกาย ซึ่งมิใชเกิดจากการชุลมุนตอสู ความผิดเก่ียวกับเสรีภาพ กรรโชกทรัพย ชิงทรัพย
ปลนทรัพย ความผิดวาดวยการปองกันและปราบปรามการคาประเวณี เหลานี้เปนตนจะตองมี
ทีมสหวิชาชพี อันไดแก นกั จิตวทิ ยาหรือนักสงั คมสงเคราะห บคุ คลทเ่ี ด็กรองขอ และพนกั งานอัยการ
รวมอยูด วย (มาตรา ๑๒๔/๑)

คาํ อธิบาย ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญามาตรา ๑๒๔/๑ กาํ หนด
ใหพนักงานสอบสวนและพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ผูรับคาํ รองทุกขตามประมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความอาญามาตรา ๑๒๓ และ มาตรา ๑๒๔ แลว แตก รณี ตอ งปฏบิ ตั ใิ นการจดบนั ทกึ คาํ รอ งทกุ ข
ของผูเสียหายท่ีเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป จะตองใชวิธีการสาํ หรับเด็กมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคสอง
มาบังคับใชโดยอนุโลม คือเจาพนักงานผูรับคาํ รองทุกขมีหนาที่ท่ีจะตองแจงนักจิตวิทยาหรือ
นกั สงั คมสงเคราะห บคุ คลทเ่ี ดก็ รอ งขอและพนกั งานอยั การทราบ รวมทง้ั ตอ งแจง ใหผ เู สยี หายทเ่ี ปน เดก็
ทราบถงึ สทิ ธิตามมาตรา ๑๓๓ ทวิ ดว ย๓

(๒) การถามปากคําเด็กหรือเยาวชนในฐานะเปนผูเสียหายหรือพยานในคดี
บางประเภททกี่ ฎหมายกําหนดใหพ นกั งานสอบสวนแยกการถามปากคาํ ไปในทที่ เ่ี หมาะสม เปน สดั สว น
และใหมีทมี สหวชิ าชีพรว มในการถามปากคาํ (มาตรา ๑๓๓ ทวิ)

คําอธิบาย ในการถามปากคาํ ผูเสยี หายหรอื พยานที่เปน เดก็ อายไุ มเกนิ ๑๘ ป
ใหถือเอาอายุของผูเสียหายหรือพยานในวันท่ีถามปากคํามิใชวันท่ีเกิดเหตุ และใหถือเอาเกณฑอายุ
เปนสําคัญ แมจ ะบรรลุนิติภาวะโดยการสมรสหากอายุยงั ไมเ กิน ๑๘ ป การถามปากคาํ ก็ตอ งปฏบิ ัติ
ตามมาตราน๔้ี โดยใหพ นกั งานสอบสวนแยกกระทาํ เปน สดั สวนในสถานท่ที เี่ หมาะสมสาํ หรับเด็ก เชน
มีการแยกหอ งสอบพยานเดก็ ๕

๓ ธานิศ เกศวพทิ กั ษ. (๒๕๖๑). คําอธบิ ายประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา ภาค ๑ - ๒ (มาตรา ๑ – ๑๕๖) เลม ๑.
เนตบิ ณั ฑิตยสภา. หนา ๒๘๗.

๔ สหรัฐ กิติ ศภุ การ. (๒๕๖๒). หลกั และคาํ พิพากษากฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา. อมรินทรพริ้นตงิ้ แอนดพ ับลชิ ชิ่ง.
หนา ๓๗๓.

๕ สหรฐั กิติ ศภุ การ. เร่ืองเดียวกัน. หนา ๓๗๔.

๑๕

และตอ งจดั ใหม สี หวชิ าชพี คอื นกั จติ วทิ ยาหรอื นกั สงั คมสงเคราะห บคุ คลทเี่ ดก็
รอ งขอและพนกั งานอยั การ รว มอยดู ว ยในการถามปากคําเดก็ นน้ั ซงึ่ นกั จติ วทิ ยาหรอื นกั สงั คมสงเคราะหน น้ั
จะเปนคนหน่งึ คนใดก็ได สว นบคุ คลที่เด็กรอ งขอน้ันอาจเปนบิดามารดา ผูปกครอง หรือเพ่อื นก็ได๖

(๓) การช้ีตัวบุคคลกรณีที่ผูเสียหายซึ่งเปนเด็กหรือเยาวชนอายุไมเกิน ๑๘ ป
จะตอ งทําการชต้ี ัวบคุ คลใหพ นกั งานสอบสวนจัดใหมกี ารช้ตี ัวบุคคลในสถานท่ที ีเ่ หมาะสม และจะตอง
ไมใ หผ ถู ูกชี้ตวั มองเห็นเดก็ หรอื เยาวชนนนั้ และในการชีต้ วั น้ีจะตอ งมีทีมสหวชิ าชีพรว มอยูด ว ย

และในกรณีท่ีเด็กหรือเยาวชนอายุไมเกิน ๑๕ ป เปนผูตองหาหากตองมีการ
ชี้ตัวบุคคลใหพนักงานสอบสวนจัดใหมีการชี้ตัวในสถานท่ีที่เหมาะสมและปองกันมิใหผูตองหาเห็นตัว
บคุ คลทีจ่ ะตอ งชต้ี วั น้ัน (มาตรา ๑๓๓ ตรี)

คาํ อธบิ าย การชตี้ วั ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญามาตรา ๑๓๓ ตรี
วรรคหน่ึง หมายถึง ผูชี้มีอายุไมเกิน ๑๘ ป สวนผูถูกชี้จะมีอายุเทาใดก็ได๗ สวนการชี้ตัวตาม
มาตรา ๑๓๓ ตรี วรรคสอง นั้นหมายถึง ผูถูกช้ีมีอายุไมเกิน ๑๘ ป สวนผูช้ีจะมีอายุเทาใดก็ได
ซ่งึ หากผูชี้และผูถูกชีม้ อี ายไุ มเ กนิ ๑๘ ปเหมือนกันก็ตอ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๑๓๓ ตรี ทัง้ วรรคหนง่ึ และ
วรรคสอง๘

(๔) ในคดีที่ผูตองหาเปนเด็กหรือเยาวชนมีอายุไมเกิน ๑๘ ป ในวันท่ีพนักงาน
สอบสวนแจง ขอ หากอ นตามคาํ ใหก ารใหพ นกั งานสอบสวนสอบถามวา ผตู อ งหานนั้ มที นายความหรอื ไม
หากไมม ีทนายความใหจ ัดหาทนายความให (มาตรา ๑๓๔/๑)

คําอธิบาย ไมวาจะเปนคดีท่ีมีโทษเบาเพียงใด เชน คดีความผิดลหุโทษ
หรือคดปี รับสถานเดียว ถา ในวันท่พี นักงานสอบสวนแจงขอหา ผตู องหามีอายไุ มเกนิ ๑๘ ป พนกั งาน
สอบสวนตอ งจัดหาทนายความใหเสมอโดยไมตองคํานงึ วา ผตู องหาจะตองการทนายความหรือไม๙

(๕) ในการสอบสวนผตู อ งหาซงึ่ เปน เดก็ ทมี่ อี ายไุ มเ กนิ ๑๘ ป ใหใ ชห ลกั เกณฑเ ดยี วกบั
การถามปากคาํ กลาวคือจะตองสอบสวนในสถานท่ีที่เหมาะสมเปนสัดสวน และมีทีมสหวิชาชีพ
เขารวมการสอบสวน (มาตรา ๑๓๔/๒)

คาํ อธิบาย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๓๔/๒ ไดวาง
หลักวาใหนาํ บทบัญญัติในมาตรา ๑๓๓ ทวิ มาบังคับใชโดยอนุโลม ในเร่ืองการสอบสวนผูตองหาที่
เปน เดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๘ ป ซงึ่ หมายถงึ ใหน าํ วธิ กี ารสอบปากคาํ ผเู สยี หายหรอื พยานเดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๘ ป
มาใชกับการสอบปากผูตองหาอายุไมเกิน ๑๘ ป โดยอนุโลม ซึ่งใชเฉพาะประเภทคดีที่ระบุไวใน
มาตรา ๑๓๓ ทวิ ไมไดใชทุกคด๑ี ๐

๖ สหรฐั กิติ ศภุ การ. เรอ่ื งเดยี วกนั . หนา เดยี วกัน.
๗ สหรัฐ กติ ิ ศุภการ. เรื่องเดียวกัน. หนา ๓๗๙.
๘ สหรัฐ กิติ ศุภการ. เรอื่ งเดยี วกนั . หนาเดียวกนั .
๙ สหรัฐ กิติ ศุภการ. เร่อื งเดียวกนั . หนา ๓๘๙.
๑๐ สหรัฐ กิติ ศุภการ. (๒๕๖๒). หลักและคําพิพากษากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชช่ิง
หนา ๓๙๑

๑๖

(๖) ในการสบื พยานทเี่ ปน เดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๘ ป ใหศ าลจดั พยานใหอ ยใู นทท่ี เ่ี หมาะสม
สําหรับเด็กและศาลอาจเปนผูถามพยานเอง หรือถามผานนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห หรือ
ใหคคู วามถามผานนักจติ วิทยาหรอื นักสังคมสงเคราะห โดยถา ยทอดภาพและเสยี งไปยังหองพิจารณา
(มาตรา ๑๗๒ ตรี)

(๗) ในคดีท่ีจําเลยเปนเด็กหรือเยาวชนอายุไมเกิน ๑๘ ป ในวันที่ถูกฟองตอศาล
หากจําเลยไมมที นายความ ใหศ าลต้ังทนายความให (มาตรา ๑๗๓)

ó. ¡ÒäŒÁØ ¤ÃÍ§Ê·Ô ¸àÔ ´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμ¤Ô ÁØŒ ¤ÃÍ§à´¡ç ¾.È. òõôö
พระราชบัญญัติคุมครองเด็กฯ มุงเนนการสงเคราะหชวยเหลือเด็กและลงโทษ

ผทู ่เี กี่ยวของท่ีกระทาํ ละเมดิ ตอเด็ก มิใชลงโทษเดก็ แตอ ยางไร
“เดก็ ” ในความหมายทปี่ รากฏในนยิ ามของพระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ ฯ มาตรา ๔

บญั ญตั วิ า
“เดก็ ” หมายความวา บคุ คลซงึ่ มอี ายตุ ่าํ กวา สบิ แปดปบ รบิ รู ณ แตไ มร วมถงึ ผทู บี่ รรลุ

นติ ภิ าวะกอ นการสมรส
จากพระราชบัญญัติดังกลาวไดกาํ หนดใหการปฏิบัติตอเด็กไมวากรณีใดใหคาํ นึงถึง

ประโยชนสูงสดุ ของเด็กเปน สําคัญ และไมใหม ีการเลือกปฏิบตั ิโดยไมเปนธรรม (มาตรา ๒๒)
ขอ กาํ หนดสาํ หรับผปู กครอง
(๑) ใหก ารอปุ การะเลย้ี งดอู บรมสงั่ สอนและพฒั นาการเดก็ ทอ่ี ยใู นความปกครองดแู ล

ของตนตามสมควรแกข นบธรรมเนยี มประเพณแี ละวฒั นธรรมแหง ทอ งถนิ่ และตอ งคมุ ครองสวสั ดภิ าพ
เดก็ ที่อยใู นความปกครองดแู ลของตน มใิ หต กอยใู นภาวะอนั นาจะเกดิ อนั ตรายหรอื จิตใจ (มาตรา ๒๓)

(๒) ตอ งไมท อดทงิ้ หรอื ละทงิ้ เดก็ หรอื ละเลยไมด แู ล ไมใ หส ง่ิ จําเปน ในการดํารงชพี
จนนา จะเกดิ อนั ตราย ปฏบิ ตั ติ อ เดก็ ในลกั ษณะทเ่ี ปน การขดั ขวางการพฒั นาการของเดก็ ปฏบิ ตั ติ อ เดก็
ในลักษณะที่เปน การเลย้ี งดูโดยมิชอบ (มาตรา ๒๕)

ขอหา มมใิ หบ คุ คลใดบุคคลหนึง่ กระทาํ ตอ เดก็ แมวา เดก็ จะยนิ ยอมหรอื ไมกต็ าม
(๑) กระทําหรอื ละเวน การกระทาํ อนั เปน การทารณุ กรรมตอ รา งกายหรอื จติ ใจของเดก็
(๒) จงใจหรอื ละเลยไมใ หส ง่ิ จาํ เปน แกก ารดํารงชวี ติ หรอื การรกั ษาพยาบาลแกเ ดก็
ท่ีอยใู นความดแู ลของตนจนนา จะเกดิ อนั ตรายแกร า งกายหรือจติ ใจของเดก็
(๓) บังคับขเู ข็ญ ชักจงู สง เสรมิ หรือยินยอมใหเด็กประพฤตติ นไมส มควร หรอื นา
จะทาํ ใหเ ดก็ มคี วามประพฤติเสย่ี งตอการกระทาํ ผดิ
(๔) โฆษณาทางสอ่ื มวลชนหรอื เผยแพรด ว ยประการใดเพอ่ื รบั เดก็ หรอื ยกเดก็ ใหแ ก
บคุ คลอน่ื ทมี่ ใิ ชญ าตขิ องเดก็ เวน แตเ ปน การกระทาํ ของทางราชการ หรอื ไดร บั อนญุ าตจากทางราชการแลว
(๕) บังคับขูเข็ญ ชักจูง สงเสริม ยินยอมหรือกระทําดวยประการใดใหเด็กไปเปน
ขอทาน เดก็ เรร อ น หรอื ใชเ ดก็ เปน เครอื่ งมอื ในการขอทานหรอื การกระทําผดิ หรอื กระทําดว ยประการใด
อันเปนการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบจากเด็ก

๑๗

(๖) ใช จางหรือวานเดก็ ใหทาํ งาน หรือกระทําการอนั อาจเปน อันตรายแกรา งกาย
หรือจติ ใจ มีผลกระทบตอการเจรญิ เติบโต หรือขัดขวางตอพัฒนาการของเดก็

(๗) บังคับขูเขญ็ ใช ชกั จงู ยยุ ง สง เสรมิ หรอื ยินยอมใหเดก็ เลน กฬี าหรอื ใหกระทาํ
การใดเพอื่ แสวงหาประโยชนท างการคา อนั มลี กั ษณะเปน การขดั ขวางตอ การเจรญิ เตบิ โต หรอื พฒั นาการ
ของเดก็ หรือมลี กั ษณะเปนการทารุณกรรมตอเด็ก

(๘) ใชหรือยินยอมใหเด็กเลนการพนันไมวาชนิดใดหรือเขาไปในสถานท่ีเลน
การพนัน สถานคาประเวณหี รอื สถานทที่ ่ีหา มมิใหเ ดก็ เขา

(๙) บังคับขูเข็ญ ใช ชักจูง ยุยง สงเสริมหรือยินยอมใหเด็กแสดงหรือกระทาํ การ
อันมีลกั ษณะลามกอนาจารไมวา จะเปน ไปเพ่อื ใหไ ดมาซ่ึงคาตอบแทนหรอื เพอ่ื การใด

(๑๐)จําหนา ย แลกเปลย่ี น หรอื ใหส รุ าหรอื บหุ รแี่ กเ ดก็ เวน แตก ารปฏบิ ตั ทิ างการแพทย
(มาตรา ๒๖)

หากผูใดฝาฝน กระทําการดงั กลาวจะตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ ๓ เดอื นหรอื ปรับ
ไมเ กิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรอื ทง้ั จาํ ทั้งปรับ (มาตรา ๗๘)

และเพอ่ื เปน การปกปอ งชอ่ื เสยี งเกยี รตคิ ณุ สทิ ธขิ องเดก็ พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ ฯ
ยังกําหนดหามมิใหผูใดโฆษณาหรือเผยแพรทางสื่อมวลชนหรือสื่อสารลักษณะประเภทใด ซ่ึงขอมูล
เก่ียวกับเด็กหรือผูปกครองโดยเจตนาที่จะทําใหเกิดความเสียหายแกจิตใจ ชื่อเสียง เกียรติคุณหรือ
สทิ ธปิ ระโยชนอ น่ื ใดของเดก็ หรอื เพอ่ื แสวงหาประโยชนส าํ หรบั ตนเองหรอื ผอู นื่ โดยมชิ อบ (มาตรา ๒๗)
หากผใู ดฝาฝน ตองระวางโทษจําคุกไมเ กนิ ๖ เดอื นหรอื ปรับไมเ กิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรือท้ังจาํ ทั้งปรบั
(มาตรา ๗๙)

เด็กทพี่ งึ ไดร ับการคุมครองสวัสดภิ าพ
พระราชบัญญัติคุมครองเด็กฯ ไดกําหนดประเภทของเด็กท่ีพึงไดรับการคุมครอง
สวสั ดิภาพไวใ นมาตรา ๔๐ กลาวคือ
๑) เดก็ ทถ่ี กู ทารณุ กรรมซง่ึ หมายถงึ เดก็ ทก่ี ระทําหรอื ละเวน การกระทําดว ยประการใดๆ
จนเปนเหตุใหเด็กเส่ือมเสียเสรีภาพหรือเกิดอันตรายแกทั้งกายหรือจิตใจ เด็กท่ีถูกกระทาํ ผิดทางเพศ
หรอื เดก็ ทถี่ กู ใชใ หก ระทาํ หรอื ประพฤตใิ นลกั ษณะทนี่ า จะเปน อนั ตรายแกร า งกายหรอื จติ ใจ หรอื ขดั ตอ
กฎหมายศลี ธรรมอนั ดไี มว าเดก็ จะยินยอมหรอื ไมก็ตาม
๒) เดก็ ทเ่ี สยี่ งตอการกระทําผดิ ซง่ึ ไดมกี ฎกระทรวงกาํ หนดเดก็ ทเี่ สี่ยงตอ การ
กระทาํ ผิด พ.ศ.๒๕๔๙ กําหนดไวค อื

ขอ ๑ เด็กทป่ี ระพฤติตนไมส มควร ไดแก เด็กท่ีมีพฤติกรรมอยางหนึง่ อยางใด
ดงั ตอไปน้ี

(๑) ประพฤตติ นเกเรหรอื ขม เหงรงั แกผูอ่นื
(๒) มัว่ สมุ ในลักษณะทีก่ อความเดือดรอ นรําคาญแกผูอ่นื
(๓) เลนการพนันหรอื มว่ั สมุ ในวงการพนัน

๑๘

(๔) เสพสุรา สูบบหุ ร่ี เสพยาเสพติดใหโทษ หรอื ของมึนเมาอยา งอืน่ เขาไปใน
สถานทเ่ี ฉพาะเพ่ือการจาํ หนายหรือด่มื เครือ่ งดืม่ ท่ีมีแอลกอฮอล

(๕) เขาไปในสถานบริการตามกฎหมายวาดว ยสถานบริการ
(๖) ซอื้ หรอื ขายบรกิ ารทางเพศ เขา ไปในสถานการคา ประเวณหี รอื เกยี่ วขอ งกบั
การคาประเวณตี ามกฎหมายวาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการคาประเวณี
(๗) ประพฤตติ นไปในทางชสู าวหรือสอ ไปในทางลามกอนาจารในทีส่ าธารณะ
(๘) ตอ ตา นหรอื ทา ทายคาํ สง่ั สอนของผปู กครองจนผปู กครองไมอ าจอบรมสง่ั สอนได
(๙) ไมเขาเรียนในโรงเรียนหรือสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษา
ภาคบงั คับ
ขอ ๒ เด็กที่ประกอบอาชีพที่นาจะชักนําไปในทางกระทาํ ผิดกฎหมายหรือ
ขดั ตอ ศลี ธรรมอันดี ไดแก เดก็ ท่ปี ระกอบอาชีพ ดังตอ ไปน้ี
(๑) ขอทานหรือกระทาํ การสอไปในทางขอทานโดยลําพังหรือโดยมีผูบังคับ
ชกั นํา ยุยงหรือสงเสริม หรอื
(๒) ประกอบอาชพี หรอื กระทําการใดอนั เปน การแสวงหาประโยชนโ ดยมชิ อบ
ดว ยกฎหมาย หรอื ขดั ตอ ศีลธรรมอนั ดี
ขอ ๓ เดก็ ทค่ี บหาสมาคมกบั บคุ คลทน่ี า จะชกั นาํ ไปในทางกระทําผดิ กฎหมาย
หรอื ขัดตอศลี ธรรมอันดี ไดแก เด็กท่คี บหาสมาคมกบั บคุ คล ดังตอไปน้ี
(๑) บุคคลหรือกลุมคนที่รวมตัวกันม่ัวสุมเพ่ือกอความเดือดรอนรําคาญแก
ผอู น่ื หรือกระทําการ อนั ขดั ตอกฎหมายหรอื ศีลธรรมอนั ดหี รือ
(๒) บุคคลที่ประกอบอาชีพทขี่ ัดตอกฎหมายหรือศีลธรรมอนั ดี
ขอ ๔ เด็กท่ีอยูในสภาพแวดลอมหรือสถานท่ีอันอาจชักนําไปในทางเสียหาย
ไดแก เดก็ ทีอ่ ยใู นสภาพแวดลอ มหรือสถานที่ ดงั ตอไปน้ี
(๑) อาศยั อยกู บั บคุ คลทมี่ พี ฤตกิ รรมเกย่ี วขอ งกบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษหรอื ใหบ รกิ าร
ทางเพศ
(๒) เรร อ นไปตามสถานทต่ี า งๆ โดยไมม ที พี่ กั อาศยั เปน หลกั แหลง ทแ่ี นน อน หรอื
(๓) ถูกทอดทิ้งหรือถูกปลอยปละละเลยใหอยูในสภาพแวดลอมอันอาจชักนาํ
ไปในทางเสียหาย
ขอ ๕ เดก็ ทอ่ี ยใู นสภาพทจี่ าํ ตอ งไดร บั การคมุ ครองสวสั ดภิ าพตามทกี่ ําหนดใน
กฎกระทรวง เรอ่ื งกาํ หนดเดก็ ทอ่ี ยใู นสภาพทจ่ี าํ เปน ตอ งไดร บั การคมุ ครองสวสั ดภิ าพ พ.ศ.๒๕๔๙ ไดแ ก
(๑) เด็กที่ตองหาวากระทําการอันกฎหมายบัญญัติเปนความผิดแตอายุยังไม
ถงึ เกณฑต อ งรบั โทษทางอาญา
(๒) เด็กท่ีศาลหรือผูอํานวยการสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนสงมา
รบั การคมุ ครองสวัสดิภาพและไมม ีผูปกครองหรอื ผูใหการอปุ การะเล้ียงดู หรือมีแตไ มอยูในสภาพทีจ่ ะ
ใหการดแู ลเอาใจใสต อ เดก็ ได

๑๙

(๓) เดก็ ทป่ี ระกอบอาชพี ทน่ี า จะเกดิ อนั ตรายแกร า งกายหรอื จติ ใจ หรอื ประกอบ
อาชีพในบรเิ วณทเี่ สี่ยงอันตรายแกรางกายหรือจิตใจ

(๔) เดก็ ทอ่ี าศยั อยกู บั บคุ คลทมี่ พี ฤตกิ รรมทน่ี า สงสยั วา ประกอบอาชพี ไมส จุ รติ
หรอื หลอกลวงประชาชน

¡ÒäØÁŒ ¤ÃͧÊÇÑÊ´ÔÀÒ¾à´ç¡
การคมุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ ไดกําหนดไวในหมวด ๔ ของพระราชบัญญัตคิ ุมครอง
เดก็ ฯ ซ่ึงมสี าระสาํ คัญ ดงั น้ี
๑) เมอื่ มผี พู บเหน็ หรอื ประสบพฤตกิ ารณท น่ี า เชอ่ื วา มกี ารกระทาํ ทารณุ กรรมตอ เดก็
ใหร ีบแจงหรอื รายงานตอ พนกั งานเจา หนาท่ี พนักงานฝายปกครองหรอื ตาํ รวจหรือผมู หี นาทีค่ ุมครอง
สวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ อันไดแก ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย
ผูวาราชการจังหวัด ผูอํานวยการเขต นายอําเภอ ปลัดอําเภอ ผูเปนหัวหนาประจําก่ิงอําเภอ หรือ
ผบู รหิ ารองคการปกครองสว นทอ งถิ่น (มาตรา ๔๑ วรรคหนง่ึ )
๒) เมื่อพนักงานเจาหนาท่ี พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ หรือผูที่มีหนาท่ี
คุมครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ ไดรับแจงเหตุ หรือเปนผูพบเห็นหรือประสบพฤติการณ
ทนี่ า เชอ่ื วา มกี ารกระทาํ ทารณุ กรรมตอ เดก็ ในสถานทใ่ี ด ใหม อี าํ นาจเขา ตรวจจบั และมอี าํ นาจแยกตวั เดก็
จากครอบครัวของเดก็ เพ่อื คมุ ครองสวัสดภิ าพเด็กโดยเรว็ ท่ีสดุ (มาตรา ๔๑ วรรคสอง)

การแจงหรือรายงานตามมาตรา ๔๑ นี้หากไดกระทําโดยสุจริตยอมไดรับ
ความคมุ ครองและไมตองรับผดิ ทั้งทางแพง อาญา หรือทางปกครอง (มาตรา ๔๑ วรรคทาย)

๓) ในการดําเนินการคุมครองสวัสดิภาพเด็กตองรีบจัดใหมีการตรวจรักษา
ทางรางกายและจติ ใจทันที

อาํ นาจหนา ทขี่ องพนกั งานเจา หนา ทใี่ นการปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ ฯ
พนักงานเจาหนาท่ี หมายความวา ผูซ่ึงรัฐมนตรีแตงต้ังใหปฏิบัติการตาม
พระราชบญั ญตั นิ ี้
ในกรณขี องà¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨ¨Ð໹š ¾¹¡Ñ §Ò¹à¨ÒŒ ˹Ҍ ·μèÕ ÒÁ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ¤Ô ÁŒØ ¤Ãͧഡç Ï
μ‹ÍàÁè×Íä´ŒÃѺ¡ÒÃá싧μÑ駨ҡÃÑ°Á¹μÃÕÇ‹Ò¡ÒáÃзÃǧ¡ÒþѲ¹ÒÊѧ¤ÁáÅФÇÒÁÁèѹ¤§¢Í§Á¹Øɏ
โดยการย่ืนคํารองขอเปนพนักงานเจา หนา ท่นี ้ัน หากรับราชการหรือมถี ิน่ ทอ่ี ยูในเขตกรงุ เทพมหานคร
ใหย่ืนที่สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย สําหรับในจังหวัดอื่น
ใหย่ืนที่สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด (ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย วาดวยการกําหนดแบบมีการประจําตัวพนักงานเจาหนาท่ี
ตามพระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ พ.ศ.๒๕๔๖, พ.ศ.๒๕๔๗ ขอ ๔)

๒๐

พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ ฯ ไดก าํ หนดอาํ นาจและหนา ทใ่ี หแ กพ นกั งานเจา หนา ท่ี
เพอื่ ประโยชนในการปฏบิ ัติตามพระราชบัญญตั ิ ไวเ ปน พิเศษในมาตรา ๓๐ กลาวคือ

พนกั งานเจาหนา ท่ีตามพระราชบัญญตั ิคุมครองเด็ก มอี าํ นาจหนา ทดี่ ังนี้
(๑) เขา ไปในเคหสถาน สถานทใี่ ดๆ หรอื ยานพาหนะใดๆ ในระหวา งเวลาพระอาทติ ยข น้ึ
ถึงพระอาทิตยตกเพื่อตรวจคน ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยวามีการกระทําทารุณกรรมเด็ก มีการ
กักขังหรือเล้ียงดูโดยมิชอบ แตในกรณีมีเหตุอันควรเช่ือวาหากไมดําเนินการในทันที เด็กอาจไดรับ
อนั ตรายแกร า งกายหรอื จติ ใจ หรอื ถกู นาํ พาไปสถานทอี่ นื่ ซงึ่ ยากแกก ารตดิ ตามชว ยเหลอื กใ็ หม อี าํ นาจ
เขาไปในเวลาภายหลงั พระอาทิตยต กได
(๒) ซักถามเด็กเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวาเด็กจําตองไดรับการสงเคราะหหรือ
คุม ครองสวสั ดภิ าพ ในกรณจี ําเปน เพื่อประโยชนแ กก ารสงเคราะหและคมุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ อาจนาํ
ตวั เดก็ ไปยงั ทท่ี าํ การของพนกั งานเจา หนา ท่ี เพอื่ ทราบขอ มลู เกยี่ วกบั เดก็ และครอบครวั รวมทง้ั บคุ คลท่ี
เด็กอาศัยอยู ทงั้ นจี้ ะตองกระทาํ โดยมิชกั ชา แตไ มว า กรณใี ดจะกกั ตวั เดก็ ไวนานเกนิ กวาสิบสองช่วั โมง
ไมไ ด เมอ่ื พน ระยะเวลาดงั กลา วใหป ฏบิ ตั ติ าม (๖) ระหวา งทเ่ี ดก็ อยใู นความดแู ลจะตอ งใหก ารอปุ การะ
เล้ยี งดู และหากเจบ็ ปวยจะตอ งใหการรักษาพยาบาล
(๓) มหี นงั สอื เรยี กผปู กครอง หรอื บคุ คลอน่ื ใดมาใหถ อ ยคาํ หรอื ขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั
สภาพความเปน อยู ความประพฤติ สขุ ภาพ และความสมั พนั ธในครอบครัวของเดก็
(๔) ออกคาํ สงั่ เปน หนงั สอื ใหผ ปู กครองของเดก็ นายจา งหรอื ผปู ระกอบการ เจา ของ
หรอื ผคู รอบครองสถานทที่ เี่ ดก็ ทาํ งานหรอื เคยทาํ งาน อาศยั หรอื เคยอาศยั อยู เจา ของหรอื ผคู รอบครอง
หรือผูดูแลสถานศึกษาที่เด็กกําลังศึกษาหรือเคยศึกษา หรือผูปกครองสวัสดิภาพ สงเอกสาร
หรือหลกั ฐานเกยี่ วกับสภาพความเปนอยู การศกึ ษา การทํางาน หรือความประพฤติของเด็กมาให
(๕) เขาไปในสถานที่อยูอาศัยของผูปกครอง สถานที่ประกอบการของนายจาง
ของเดก็ สถานศกึ ษาของเดก็ หรือสถานทท่ี ่เี ดก็ มีความเกีย่ วขอ งดวย ในระหวา งเวลาพระอาทิตยข ้ึน
ถึงพระอาทติ ยตกเพ่อื สอบถามบคุ คลท่อี ยใู นท่ีน้ัน ๆ และรวบรวมขอมูลหรอื หลกั ฐานเก่ียวกบั สภาพ
ความเปนอยู ความสมั พนั ธในครอบครวั การเลยี้ งดู อปุ นสิ ยั และความประพฤติของเด็ก
(๖) มอบตัวเด็กใหแกผูปกครองพรอมกับแนะนําหรือตักเตือนผูปกครองใหดูแล
และอุปการะเลยี้ งดเู ดก็ ในทางทีถ่ ูกตอง เพื่อใหเด็กไดร ับการพฒั นาในทางที่เหมาะสม
(๗) ทํารายงานเกี่ยวกับตัวเด็กเพ่ือมอบใหแกสถานแรกรับในกรณีมีการสงเด็ก
ไปยังสถานแรกรบั หรอื หนว ยงานทเ่ี ก่ียวของเมอื่ มีการรองขอ
อยา งไรกต็ าม กรณที พ่ี นกั งานเจา หนา ทจ่ี ะเขา ไปในเคหสถานใดๆ หรอื ยานพาหนะ
ใดๆ ตาม (๑) ซกั ถามเดก็ เมือ่ มีเหตุอันควรสงสัยตาม (๒) และเขาไปในสถานที่อยูอาศยั ของผปู กครอง
ตาม (๕) พนักงานเจาหนาทต่ี องแสดงบตั รประจําตวั กอนและใหบ ุคคลทเี่ ก่ียวของอาํ นวยความสะดวก
ตามสมควร (มาตรา ๓๐ วรรคสาม) หากผใู ดขดั ขวางไมใ หพ นกั งานเจา หนา ทป่ี ฏบิ ตั งิ านตอ งไดร ะวางโทษ
จาํ คุกไมเกิน ๑ เดือน หรอื ปรบั ไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐ บาท หรือท้งั จําท้งั ปรบั (มาตรา ๘๐)

๒๑

°Ò¹¤ÇÒÁ¼´Ô áÅк·กาํ ˹´â·É
μÒÁ ¾.Ã.º.¤ÁŒØ ¤ÃÍ§à´¡ç ¾.È.òõôö

วา ดว ย มาตรา บทกําหนดโทษ
ËÁÇ´ ñ ๗ - ๒๑
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒäÁØŒ ¤Ãͧഡç - ระงับการดาํ เนนิ คดอี าญา
---------------- ๒๒ - ๓๑ ม.๘๓ ว.๑ ดูหมวด ๙ ใน
ËÁÇ´ ò ม.๒๔ “ฐาน ๒๘”
¡Òû¯ºÔ μÑ μÔ Í‹ à´ç¡ เวน โทษ
----------------
๑. ¼Ù½Œ †Ò½¹„ º·ºÑÞÞÑμÔ ม.๘๓ ว.๑ ม.๘๓ ว.๒
- ดาํ เนินการแกไข หรอื
- ปฏิบัติตามคําแนะนํา
ของพนักงานเจาหนาท่ีหรือผูมีหนาท่ีคุมครอง
สวัสดภิ าพเด็กตาม ม.๒๔ แลว

๒. กระทาํ หรอื ละเวน การกระทาํ อนั เปน การทารณุ กรรม ม.๒๖(๑) - จาํ คุกไมเกิน ๓ เดือน หรือ
ตอรางกายหรือจิตใจของเด็ก ความผิดภายใต ตองโทษ - ปรบั ไมเกิน ๓๐,๐๐๐.-หรือ
º·ºÑÞÞÑμÔáË‹§¡®ËÁÒÂÍè×¹ ไมวาเด็กจะยินยอม ม.๗๘ - ท้งั จําทง้ั ปรับ
หรือไม ถา ความผดิ นโ้ี ทษตามกฎหมายอืน่ หนักกวา
ใหต อ งโทษตามกฎหมายน้ี (ม.๒๖)

๓. จงใจหรือละเลยไมใหส่ิงจําเปนแกการดําçªÕÇÔμ ม.๒๖(๒) - จาํ คุกไมเ กนิ ๓ เดือน หรือ
หรือการÃÑ¡ÉÒ¾ÂÒºÒÅแกเด็กท่ีอยูในความดูแล ตองโทษ - ปรบั ไมเกิน ๓๐,๐๐๐.-หรือ
ของตนจน¹‹Ò¨Ðà¡Ô´ÍѹμÃÒÂแกรางกายหรือจิตใจ ม.๗๘ - ทั้งจาํ ทั้งปรับ
ของเด็ก

๔. บังคับ ขูเข็ญ ชักจูง สงเสริม หรือยินยอมใหเด็ก ม.๒๖(๓) - จําคุกไมเ กิน ๓ เดอื น หรอื
ประพฤติตนไมสมควรหรือนาจะทําใหเด็ก ตองโทษ - ปรบั ไมเ กนิ ๓๐,๐๐๐.- หรอื
มคี วาม»ÃоÄμÔàÊèÕ§μ‹Í¡ÒáÃÐทาํ ¼Ô´ ม.๗๘ - ท้ังจําท้งั ปรับ
ม.๒๖ (๔) - จําคกุ ไมเกนิ ๓ เดอื น หรอื
๕. â¦É³Ò·Ò§Êè×ÍÁÇŪ¹หรือเผยแพรดวยประการใด ตองโทษ - ปรับไมเ กนิ ๓๐,๐๐๐.-หรือ
เพื่อรับà´ç¡ËÃ×Í¡à´ç¡ãËŒแกบุคคลอ่ืนท่ีมิใชญาติ ม.๗๘ - ท้งั จําทัง้ ปรับ
ของเด็ก (àÇŒ¹áμ‹เปนการกระทําของทางราชการ
หรอื ไดรับอนญุ าตจากทางราชการแลว)

๒๒

วา ดว ย มาตรา บทกําหนดโทษ
๖. บังคับ ขเู ขญ็ ชกั จงู สงเสรมิ ยินยอม หรือกระทํา ม.๒๖ (๕) - จําคกุ ไมเ กนิ ๓ เดือน หรอื
ตอ งโทษ - ปรับไมเกิน ๓๐,๐๐๐.-หรือ
ดวยประการใดใหเด็กไปเปน¢Í·Ò¹ เด็กเรรอน ม.๗๘ - ท้ังจาํ ทั้งปรับ
หรือใชเด็กเปนเครื่องมือในการขอทานหรือการ
กระทําผิดหรือกระทําดวยประการใดอันเปนการ
áÊǧËÒ»ÃÐ⪹⏠´ÂÁԪͺจากเด็ก

๗. ใช จาง หรือวานเด็กใหทํางานหรือกระทําการ ม.๒๖ (๖) - จําคกุ ไมเกนิ ๓ เดอื น หรอื
อั น อ า จ à » š ¹ ÍÑ ¹ μ Ã Ò Â แ ก  ร  า ง ก า ย ห รื อ จิ ต ใจ ตอ งโทษ - ปรบั ไมเกนิ ๓๐,๐๐๐.-หรอื
มีผลกระทบตอการเจริญเติบโต หรือขัดขวาง ม.๗๘ - ทั้งจาํ ทัง้ ปรบั
ตอพฒั นาการของเด็ก

๘. บังคบั ขเู ขญ็ ใช ชักจงู ยยุ ง สง เสรมิ หรือยินยอม ม.๒๖ (๗) - จาํ คุกไมเ กิน ๓ เดอื น หรือ
ãËŒà´ç¡àÅ‹¹¡ÕÌÒหรือใหกระทําการใดเพื่อแสวงหา ตองโทษ - ปรับไมเกนิ ๓๐,๐๐๐.-หรอื
ประโยชนทางการคา อันมีลักษณะเปนการ ม.๗๘ - ทัง้ จาํ ทงั้ ปรับ
ขัดขวางตอการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการ
ของเด็กหรือมีลักษณะเปนการทารุณกรรม
ตอเด็ก

๙. ใชหรือยินยอมใหเด็กàÅ‹¹¡Òþ¹Ñ¹ไมวาชนิดใด ม.๒๖ (๘) - จาํ คุกไมเกนิ ๓ เดอื น หรอื
หรือเขาไปในสถานท่ีเลนการพนัน สถาน¤ŒÒ ตองโทษ - ปรับไมเกิน ๓๐,๐๐๐.-หรอื
»ÃÐàdzหÕ รือสถานทที่ ่ีหา มมใิ หเ ด็กเขา ม.๗๘ - ทง้ั จาํ ทั้งปรับ

๑๐. บังคับ ขูเข็ญ ใช ชักจูง ยุยง สงเสริม หรือ ม.๒๖ (๙) - จาํ คกุ ไมเ กิน ๓ เดอื น หรอื
ยินยอมใหเด็กแสดงหรือกระทําการอันมีลักษณะ ตองโทษ - ปรบั ไมเกนิ ๓๐,๐๐๐.-หรือ
Å Ò Á ¡ Í ¹ Ò ¨ Ò Ã ไ ม  ว  า จ ะ เ ป  น ไ ป เ พื่ อ ใ ห  ไ ด  ม า ม.๗๘ - ทง้ั จําทง้ั ปรบั
ซง่ึ คา ตอบแทนหรอื เพื่อการใด

๑๑. จําหนาย แลกเปลี่ยน หรือãËŒÊØÃÒËÃ×ͺØËÃÕèá¡‹à´ç¡ ม.๒๖ (๑๐) - จําคกุ ไมเกิน ๓ เดอื น หรอื
(àÇŒ¹áμ‹ การปฏบิ ัตทิ างการแพทย) ตองโทษ - ปรบั ไมเ กนิ ๓๐,๐๐๐.-หรือ
ม.๗๘ - ท้งั จําท้งั ปรับ

๑๒. โฆษณาหรือเผยแพรทางสื่อมวลชนหรือส่ือสาร ม.๒๗ - จําคุกไมเ กิน ๖ เดือน หรอื
สนเทศประเภทใด ซ่ึงขอมูลเก่ียวกับตัวเด็กหรือ ตอ งโทษ - ปรบั ไมเ กิน ๖๐,๐๐๐.-หรือ
ผูปกครองโดยเจตนาที่จะทําãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁàÊÕÂËÒ ม.๗๙ - ท้งั จาํ ท้ังปรบั
แกจิตใจ ช่ือเสียง เกียรติคุณหรือสิทธิประโยชน
อ่นื ใดของเดก็

๒๓

วาดว ย มาตรา บทกําหนดโทษ
๑๓. à¼Âá¾Ã‹·Ò§Êè×ÍÁÇŪ¹หรือส่ือสารสนเทศ ม.๒๗ - จาํ คกุ ไมเ กิน ๖ เดอื น หรอื
ตองโทษ - ปรบั ไมเกนิ ๖๐,๐๐๐.-หรอื
ประเภทใดซ่ึงขอมูลเก่ียวกับตัวเด็กหรือผูปกครอง ม.๗๙ - ทัง้ จําท้ังปรับ
โดยเจตนาที่จะทําใหเกิดความเสียหายแกจิตใจ
ชื่อเสียง เกียรติคุณหรือสิทธิประโยชนอ่ืนใด ม.๓๐ (๑) - จาํ คกุ ไมเ กิน ๑ เดอื น หรอื
ของเด็กหรือเพื่อแสวงหาประโยชน สําหรับตนเอง ตอ งโทษ - ปรับไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐.-หรือ
หรอื ผูอน่ื â´ÂÁªÔ ͺ ม.๘๐ ว.๑ - ทั้งจําทัง้ ปรบั
๑๔. ¢Ñ´¢ÇÒ§ไมใหพนักงานเจาหนาที่เขาไปในเคหสถาน
สถานที่ ยานพาหนะ ในระหวา งเวลาพระอาทติ ยข น้ึ ม.๓๐ (๑) - จาํ คุกไมเ กิน ๑ เดือน หรือ
ถึงพระอาทิตยตกเพ่ือตรวจคน ในกรณีÁÕàËμØ ตองโทษ - ปรบั ไมเ กิน ๑๐,๐๐๐.-หรอื
อันควรสงสัยวามีการกระทําทารุณกรรมเด็ก ม.๘๐ ว.๑ - ทัง้ จาํ ท้ังปรับ
มีการกักขังหรอื เลี้ยงดูโดยมชิ อบ
๑๕. ¢Ñ´¢ÇÒ§ไมใหพนักงาน਌Ò˹ŒÒ·èÕࢌÒä»ã¹àÇÅÒ ม.๓๐ (๓) - จาํ คุกไมเกนิ ๑ เดือน หรือ
ËÅѧ¾ÃÐÍÒ·ÔμÂμ¡ เม่ือมีเหตุอันควรเชื่อวาหาก ตอ งโทษ - ปรับไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐.-หรือ
ไมด าํ เนนิ การในทนั ทเี ดก็ อาจไดร บั อนั ตรายแกร า งกาย ม.๘๐ ว.๒ - ท้งั จําทงั้ ปรบั
หรือจิตใจ หรือถูกนําพาไปสถานที่อ่ืนซึ่งยากแก ม.๓๐ (๔) - จาํ คกุ ไมเกิน ๑ เดอื น หรือ
การตดิ ตาม ชวยเหลอื ตองโทษ - ปรับไมเกนิ ๑๐,๐๐๐.-หรอื
๑๖. ã˶Œ ÍŒ ÂคําÍ¹Ñ à»¹š à·ç¨ ไมย อมมาใหถอ ยคาํ ไมย อม ม.๘๐ ว.๑ - ท้งั จาํ ท้ังปรับ
ใหถอยคําโดยไมมีเหตุอันสมควรหรือตอพนักงาน ม.๓๐ (๕) - จาํ คกุ ไมเ กนิ ๑ เดือน หรอื
เจา หนาทีซ่ ง่ึ ปฏิบตั ิหนา ที่ ตอ งโทษ - ปรบั ไมเกนิ ๑๐,๐๐๐.-หรอื
๑๗.äÁ‹ÂÍÁÊ‹§àÍ¡ÊÒÃหรือหลักฐานเกี่ยวกับสภาพ ม.๘๐ ว.๑ - ท้ังจาํ ทัง้ ปรับ
ความเปน อยู การศกึ ษา การทาํ งาน หรอื ความประพฤติ
ของเด็กมาให
๑๘. ¢Ñ´¢ÇÒ§äÁ‹ãËŒ¾¹Ñ¡§Ò¹à¨ŒÒ˹ŒÒ·ÕèࢌÒä»สถานที่อยู
อาศยั ของผปู กครอง ของนายจา งของเดก็ สถานศกึ ษา
ของเด็กหรือสถานท่ีที่เด็กมีความเกี่ยวของดวย
ในระหวา งเวลาพระอาทติ ยขึน้ ถึงพระอาทิตยต ก

๒๔

วา ดวย มาตรา บทกาํ หนดโทษ
ËÁÇ´ ó ๓๒ - ๓๙
¡ÒÃʧà¤ÃÒÐËà ´ç¡ - จาํ คกุ ไมเกิน ๖ เดอื น หรือ
---------------- ๔๐ - ๔๗ - ปรับไมเกนิ ๖๐,๐๐๐.-หรือ
ËÁÇ´ ô ม.๔๓ - ทง้ั จําท้งั ปรับ
¡ÒäØÁŒ ¤ÃͧÊÇÑÊ´ÀÔ Ò¾à´¡ç ตอ งโทษ - จาํ คกุ ไมเกิน ๖ เดือน หรือ
---------------- ม.๘๑ - ปรับไมเกนิ ๖๐,๐๐๐.-หรือ
๑๙. ผปู กครองหรอื ญาตขิ องเดก็ ฝา ฝน ขอ กาํ หนดของศาล - ท้งั จาํ ท้งั ปรับ
ในการคุมความประพฤติ หามเขาเขตกําหนดหรือ ๔๘ - ๕๐
หามเขา ใกลตวั เดก็ ผถู ูกกระทําทารณุ กรรม ม.๕๐
ตอ งโทษ
ËÁÇ´ õ ม.๗๔
¼Ù¤Œ ŒØÁ¤ÃͧÊÇÑÊ´ÔÀÒ¾à´ç¡
----------------
๒๐. ผูปกครองสวัสดิภาพหรือผูคุมครองสวัสดิภาพเด็ก
ແ´à¼Âªè×ÍμÑÇ ªèÍ× Ê¡ØÅ ÀÒ¾ËÃ×͌͢ ÁÙÅเก่ยี วกับเด็ก
ผูปกครอง ในลักษณะท่ีนาจะเกิดความเสียหายแก
ชื่อเสียง เกียรติคุณ หรือสิทธิประโยชนของเด็ก
หรอื ผูปกครอง

๒๑. ¾¹¡Ñ §Ò¹à¨ÒŒ ˹Ҍ ·Õè นกั สงั คมสงเคราะห นกั จติ วทิ ยา ม.๕๐ ว.๒ - จาํ คุกไมเ กนิ ๖ เดือน หรอื
และผูมีหนาท่ีคุมครองสวัสดิภาพเด็ก ตาม ม.๒๔ ตองโทษ - ปรับไมเกิน ๖๐,๐๐๐.-หรือ
ซึ่งลวงรูขอมูลในการปฏิบัติหนาท่ีของตน เปดเผย ม.๗๔ - ทัง้ จาํ ทั้งปรับ
ใหเ กิดความเสยี หาย

๒๒. â¦É³ÒËÃÍ× à¼Âá¾Ã·‹ Ò§ÊÍè× ÁÇŪ¹หรอื สอื่ สารสนเทศ ม.๕๐ ว.๓ - จาํ คกุ ไมเ กนิ ๑ เดอื น หรอื
ซงึ่ ขอ มลู ทเ่ี ปด เผยโดยฝา ฝน บทบญั ญตั ใิ นวรรคหนงึ่ ตอ งโทษ - ปรบั ไมเกนิ ๑๐,๐๐๐.-หรอื
หรอื วรรคสอง ม.๗๔ - ทง้ั จาํ ทั้งปรบั
ËÁÇ´ ö - จาํ คุกไมเ กนิ ๑ เดอื น หรอื
๕๑ - ๖๒ - ปรับไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐.-หรือ
ʶҹÃѺàÅÂÕé §à´¡ç ʶҹááÃѺ ʶҹʧà¤ÃÒÐˏ ม.๕๒ - ทัง้ จําทั้งปรับ
ʶҹ¤ÁŒØ ¤ÃͧÊÇÑÊ´ÔÀÒ¾ áÅÐʶҹ¾²Ñ ¹ÒáÅп¹œ„ ¿Ù ตองโทษ

---------------- ม.๘๒ ว.๑
๒๓. ¨´Ñ μ§éÑ ËÃÍ× ดาํ à¹¹Ô ¡¨Ô ¡ÒÃสถานรบั เลย้ี งเดก็ สถานแรกรบั

สถานสงเคราะห สถานคมุ ครองสวสั ดภิ าพหรอื สถาน
พฒั นาและฟน ฟตู าม ม.๕๒ â´ÂÁäÔ ´ÃŒ ºÑ ãºÍ¹ÞØ Òμ
หรือใบอนญุ าตถูกเพิกถอน หรือหมดอายุ

๒๕

วาดวย มาตรา บทกาํ หนดโทษ
๒๔. กระทําการเปนผูปกครองสวัสดิภาพของสถานแรกรับ ม.๕๕ - จาํ คกุ ไมเ กนิ ๑ เดือน หรอื
ตอ งโทษ - ปรับไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐.-หรือ
สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพและ ม.๘๔ - ทง้ั จําทัง้ ปรบั
สถานพัฒนาและ¿¹„œ ¿Ùâ´ÂÁÔä´ŒÃºÑ á싧μ§éÑ

๒๕. เจาของ ผูปกครองสวัสดิภาพ และผูปฏิบัติงานใน ม.๖๑ - จําคกุ ไมเ กนิ ๖ เดือน หรอื
สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห ตองโทษ - ปรบั ไมเกิน ๖๐,๐๐๐.-หรอื
สถานคมุ ครองสวสั ดภิ าพ และสถานพฒั นาและฟน ฟู ม.๗๙ - ทงั้ จําทั้งปรับ
ทาํ รา ยรา งกายหรอื จติ ใจ กกั ขงั ทอดทง้ิ หรอื ลงโทษ
เด็กที่อยูในความ»¡¤Ãͧ´ÙáÅâ´ÂÇÔ¸Õ¡ÒÃÃعáç
ประการอ่ืน

ËÁÇ´ ÷ ๖๓ - ๖๗ - จําคกุ ไมเกิน ๓ เดอื น หรอื
¡ÒÃʧ‹ àÊÃÔÁ¤ÇÒÁ»ÃоÄμ¹Ô ¡Ñ àÃÕ¹áÅй¡Ñ È¡Ö ÉÒ ม.๖๔ - ปรับไมเ กนิ ๓๐,๐๐๐.-หรอื
ตอ งโทษ - ทง้ั จาํ ทั้งปรับ
---------------- ม.๘๕
๒๖. กระทําการเปนการยุยง สงเสริม ชวยเหลือ หรือ

สนับสนนุ ã˹Œ Ñ¡àÃÂÕ ¹ËÃ×͹¡Ñ ÈÖ¡ÉÒ½†Ò½„¹ ไมปฏบิ ตั ิ
ตามกฎเกณฑท สี่ ถานศกึ ษาหรอื กฎกระทรวงกาํ หนด

๒๗. ไมอํานวยความสะดวกแกพนักงานเจาหนาที่ ม.๖๗ - จําคกุ ไมเ กนิ ๑ เดือน หรือ
ท่ีปฏิบัติหนาท่ี เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวามีการ ตองโทษ - ปรบั ไมเกิน ๑๐,๐๐๐.-หรอื
ฝาฝนกฎหมายหรือระเบียบเก่ียวกับความประพฤติ ม.๘๖ - ทัง้ จําทัง้ ปรบั
ของนักเรียนหรือนักศึกษาใหพนักงานเจาหนาที่ - จําคกุ ไมเกิน ๑ เดือน หรอื
มีอํานาจเขาไปในเคหสถาน สถานท่ีหรือ ๖๘ - ๗๗ - ปรับไมเกิน ๑๐,๐๐๐.-หรือ
ยานพาหนะใดๆ ในระหวางเวลาพระอาทิตยขึ้น ๗๘ - ๘๖ - ทัง้ จาํ ท้ังปรับ
ถึงพระอาทิตยตก หรือในระหวางเวลาทําการ ม.๘๓ ว.๑
เพ่ือทําการตรวจสอบการฝา ฝน
ËÁÇ´ ø
¡Í§·¹Ø ¤ØŒÁ¤Ãͧഡç
----------------
ËÁÇ´ ù
º·¡íÒ˹´â·É
----------------

๒๘.เจา ของหรอื ผปู กครองสวสั ดภิ าพของสถานรบั เลย้ี งเดก็
สถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุมครอง
สวสั ดภิ าพ หรอื สถานพฒั นาและฟน ฟผู ใู ดäÁ»‹ ¯ºÔ μÑ Ô
μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ¹Ô éÕ

๒๖

ô. ¡ÒäØÁŒ ¤ÃͧÊÔ·¸àÔ ´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔÈÒÅàÂÒǪ¹áÅФÃͺ¤ÃÇÑ
áÅÐÇ¸Ô ¾Õ Ô¨ÒóҤ´ÕàÂÒǪ¹áÅФÃͺ¤ÃÇÑ Ï

(๑) การพิจารณาออกหมายจับ หากการออกหมายจับมีผลกระทบกระเทือน
ตอ จติ ใจของเดก็ หรอื เยาวชนนน้ั อยา งรนุ แรงโดยไมจ าํ เปน ใหศ าลพยายามหลกี เลย่ี งการออกหมายจบั
โดยใชวิธกี ารติดตามตัวเดก็ หรือเยาวชนนน้ั ดวยวิธอี ่นื กอน (มาตรา ๖๗)

(๒) การจับและควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชน ตองกระทําดวยความละมุนละมอม
โดยคาํ นึงถงึ ศกั ดิศ์ รีความเปน มนุษยแ ละไมเ ปน การประจานเด็กหรือเยาวชน (มาตรา ๖๙ วรรค ๓)

(๓) หา มมใิ หค วบคมุ คมุ ขงั กกั ขงั คมุ ความประพฤตหิ รอื ใชม าตรการอนั มลี กั ษณะ
เปน การจาํ กดั สทิ ธเิ สรภี าพเดก็ หรอื เยาวชน ซงึ่ ตอ งหาวา กระทาํ ความผดิ หรอื เปน จาํ เลย เวน แตม หี มาย
หรอื คําส่งั ศาลหรือเปน กรณีการควบคุมเทาทีจ่ าํ เปน เพื่อดาํ เนนิ การซักถาม แจงขอ กลาวหา แจง สิทธิ
ตามกฎหมายหรือตรวจสอบการจับกุมตามมาตรา ๖๙ ๗๐ ๗๒ (มาตรา ๖๘) หามควบคุม
เด็กหรือเยาวชนที่ถูกกลาวหา ปะปนกับผูใหญ และหามควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชนนั้นไวในหองขัง
ที่จัดไวสําหรับผตู อ งหาทเี่ ปนผูใหญ (มาตรา ๑๒๙)

(๔) หา มมใิ หใชว ธิ กี ารควบคมุ เกินกวาท่ีจําเปนเพ่อื ปองกันการหลบหนี เพอื่ ความ
ปลอดภยั ของเดก็ หรอื เยาวชนนน้ั ผถู กู จบั หรอื บคุ คลอน่ื และมใิ หใ ชเ ครอ่ื งพนั ธนาการแกเ ดก็ ไมว า กรณี
ใดๆ เวน แตม คี วามจาํ เปน อยา งยงิ่ อนั มอิ าจหลกี เลย่ี งได เพอ่ื ปอ งกนั การหลบหนหี รอื เพอ่ื ความปลอดภยั
ของเด็กผูถูกจบั หรือบุคคลอ่นื (มาตรา ๖๙ วรรคสาม และมาตรา ๑๐๓)

(๕) ใหศาลแตงต้ังท่ีปรึกษากฎหมาย หากเด็กหรือเยาวชนไมมีท่ีปรึกษากฎหมาย
(มาตรา ๗๓ และมาตรา ๑๒๐)

(๖) การพิจารณาคดีอาญาท่ีเด็กหรือเยาวชนเปนจําเลย ตองกระทําในหองท่ี
มิใชหองพิจารณาคดีธรรมดา แตถาไมอยูในวิสัยที่จะกระทําได จะตองไมปะปนกับการพิจารณาคดี
ธรรมดา และเฉพาะบุคคลท่เี กย่ี วของกับกรณเี ทา นั้นท่ีจะมีสทิ ธเิ ขา ฟง การพิจารณา (มาตรา ๑๐๗ และ
มาตรา ๑๐๘)

(๗) การพิจารณาคดีอาญาท่ีเด็กหรือเยาวชนเปนจําเลย ใหใชถอยคําท่ีจําเลย
สามารถเขาใจงาย กับตองใหโอกาสจําเลย บิดา มารดา ผูปกครองหรือบุคคลที่จําเลยอาศัยอยูดวย
หรอื บคุ คลทเ่ี กี่ยวของ แถลงขอ เทจ็ จรงิ ความรูสกึ และแสดงความคดิ เห็น ตลอดจนระบุและซักถาม
พยานได ไมว า ในเวลาใดๆ ระหวา งทมี่ กี ารพจิ ารณาคดนี น้ั การพจิ ารณาคดอี าญานไี้ มจ าํ ตอ งดาํ เนนิ การ
ตามกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญาโดยเครง ครัด (มาตรา ๑๑๔)

(๘) แมวามีคําพิพากษาหรือคําสั่งลงโทษหรือใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชน
แลว ก็ตาม หากตอ มาขอ เทจ็ จริงหรือพฤตกิ ารณทีศ่ าลใชใ นการพจิ ารณาคดีเปล่ยี นแปลงไป เมอ่ื มเี หตุ
อนั สมควร ศาลทพี่ จิ ารณาคดนี นั้ กม็ อี าํ นาจแกไ ขเปลย่ี นแปลงคาํ พพิ ากษา หรอื คาํ สง่ั หรอื วธิ กี ารสาํ หรบั
เด็กและเยาวชนได

๒๗

ในกรณีศาลท่ีแกไขเปลี่ยนแปลงคําพิพากษา หรือคําส่ัง หรือวิธีการสําหรับเด็ก
หรอื เยาวชน ไมใ ชศ าลทพี่ พิ ากษาคดหี รอื ออกคาํ สง่ั ลงโทษเดก็ หรอื เยาวชนนน้ั ใหศ าลทส่ี งั่ เปลย่ี นแปลง
แกไ ขคําพิพากษาหรือคําส่ังนั้น แจง ใหศ าลทเี่ ปน ผูพิพากษาตดั สินคดที ราบ (มาตรา ๑๓๗)

õ. ¡ÒäØÁŒ ¤ÃÍ§Ê·Ô ¸àÔ ´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ¤Ô ÁØŒ ¤Ãͧáç§Ò¹
เนอื่ งจากเด็กมีสภาพรางกาย ตลอดจนสติปญ ญายงั มคี วามพรอ มไมเพียงพอทจ่ี ะ

ทํางานเชนเดียวกบั ผใู หญ จงึ ตอ งมกี ฎหมายคมุ ครองเปนพิเศษ
áç§Ò¹à´ç¡ หมายถึง แรงงานจากลกู จางซึ่งเปนเดก็ อายุต้งั แต ๑๕ ปข น้ึ ไป แตย งั

ไมถ งึ ๑๘ ป
พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานฯ มาตรา ๔๔ กําหนดหามนายจางจางเด็กอายุ

ตํ่ากวา ๑๕ ป เปนลูกจาง หากนายจางฝาฝนระวางโทษปรับตั้งแตสี่แสนบาทถึงแปดแสนบาท
ตอลูกจางหนงึ่ คนหรือจําคุกไมเกินสองป หรอื ท้ังจําทง้ั ปรับ (มาตรา ๑๔๘/๑)

พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานฯ มาตรา ๔๙ ไดกําหนดงานท่ีหามมิใหนายจาง
ใหล กู จา งซึง่ เปน เดก็ อายตุ าํ่ กวา ๑๘ ปทํางาน ดังนี้

(๑) งานหลอม เปา หลอ หรอื รดี โลหะ
(๒) งานปม โลหะ
(๓) งานเกี่ยวกับความรอ น ความเยน็ ความสั่นสะเทอื น เสยี ง และแสงทีม่ รี ะดับ
แตกตางจากปกติ อนั อาจเปน อนั ตรายตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง
(๔) งานเกยี่ วกับสารเคมที ี่เปนอนั ตรายตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง
(๕) งานเก่ียวกับจุลชีวันเปนพิษ ซ่ึงอาจเปนเชื้อไวรัส แบคทีเรีย รา หรือเชื้ออื่น
ตามทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง
(๖) งานเกยี่ วกับวตั ถมุ ีพิษ วตั ถุระเบิด หรือวตั ถุไวไฟ เวน แตง านในสถานีบริการ
น้าํ มันเชอื้ เพลิงตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง
(๗) งานขบั หรือบังคบั รถยกหรือปนจั่นตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง
(๘) งานใชเลือ่ ยเดนิ ดว ยพลงั ไฟฟา หรือเครอ่ื งยนต
(๙) งานที่ตองทาํ ใตดิน ใตน ํา้ ในถํา้ อุโมงค หรือปลองในภเู ขา
(๑๐) งานเก่ียวกบั กัมมันตภาพรังสตี ามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง
(๑๑) งานทาํ ความสะอาดเครอื่ งจกั รหรอื เครอ่ื งยนตข ณะทเี่ ครอื่ งจกั รหรอื เครอ่ื งยนต
กาํ ลงั ทาํ งาน
(๑๒) งานทีต่ องทาํ บนนง่ั รา นท่สี งู กวาพ้นื ดนิ ต้งั แตส บิ เมตรข้ึนไป
(๑๓) งานอ่ืนตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง

๒๘

ซงึ่ งานทร่ี ัฐมนตรวี าการกระทรวงแรงงานฯ ไดออกกฎกระทรวงฉบับที่ ๖ (พ.ศ.๒๕๔๑)
หามมิใหนายจางใหล กู จา งซ่งึ เปน เดก็ อายุตํา่ กวา ๑๘ ปทํา ไดแก

(๑) งานเกี่ยวกบั ความรอน ความเย็น ความสน่ั สะเทอื น และเสียงอนั อาจเปน อนั ตราย
ดงั ตอ ไปน้ี

(ก) งานซ่ึงทําในท่ีท่ีมีอุณหภูมิในสภาวะแวดลอมในการทํางานสูงกวาส่ีสิบหา
องศาเซลเซยี ส

(ข) งานซ่ึงทําในหองเย็นในอุตสาหกรรมการผลิตหรือการถนอมอาหารโดยการ
ทาํ เยือกแขง็

(ค) งานทใ่ี ชเ ครือ่ งเจาะกระแทก
(ง) งานทมี่ ีระดับเสยี งท่ีลูกจางไดร ับตดิ ตอกันเกินแปดสิบหา เดซิเบล (เอ) ในการ
ทาํ งานวันละแปดช่วั โมง
(๒) งานเกี่ยวกับสารเคมีที่เปนอันตราย วัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด หรือวัตถุไวไฟ
ดงั ตอไปน้ี
(ก) งานผลิตหรือขนสง สารกอ มะเรง็ ตามรายชือ่ ในบัญชีทา ยกฎกระทรวงนี้
(ข) งานทเี่ กี่ยวขอ งกับสารไซยาไนด
(ค) งานผลิตหรือขนสง พลุ ดอกไมเพลงิ หรอื วัตถรุ ะเบิดอื่น ๆ
(ง) งานสํารวจ ขดุ เจาะ กลั่น บรรจุ หรือขนถา ยน้าํ มันเชื้อเพลิงหรือกา ซ เวน แต
งานในสถานบี รกิ ารน้าํ มนั เชื้อเพลิง
(๓) งานเกี่ยวกับจุลชีวันเปนพิษซ่ึงอาจเปนเช้ือไวรัส แบคทีเรีย รา หรือเช้ืออื่น
ดังตอ ไปนี้
(ก) งานที่ทําในหองปฏบิ ตั กิ ารชนั สูตรโรค
(ข) งานดูแลผูปว ยดว ยโรคตดิ ตอ ตามกฎหมายวา ดวยโรคติดตอ
(ค) งานทาํ ความสะอาดเครื่องใชแ ละเครื่องนงุ หม ผูปว ยในสถานพยาบาล
(ง) งานเก็บ ขน กําจัดมลู ฝอยหรือส่ิงปฏกิ ูลในสถานพยาบาล
(๔) งานขับหรือบังคับรถยกหรือปนจั่นที่ใชพลังงานเครื่องยนตหรือไฟฟาไมวาการขับ
หรือบังคบั จะกระทําในลักษณะใด
(๕) งานเกี่ยวกับกมั มันตภาพรังสีทุกชนดิ
นอกจากจะกําหนดประเภทงานที่หามจางเด็กอายุตํ่ากวา ๑๘ ป ทํางานแลว
พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานฯ มาตรา ๕๐ กําหนด หามมิใหนายจางจางลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุ
ตํ่ากวา ๑๘ ป ทาํ งานในสถานทดี่ งั ตอไปนี้

๒๙

มาตรา ๕๐ หา มมใิ หน ายจา งใหล กู จา งซง่ึ เปน เดก็ อายตุ ํา่ กวา สบิ แปดปท ํางานในสถานที่
ดงั ตอไปนี้

(๑) โรงฆาสตั ว
(๒) สถานท่ีเลนการพนัน
(๓) สถานบรกิ ารตามกฎหมายวา ดว ยสถานบรกิ าร
(๔) สถานท่ีอ่ืนตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง เชน กฎกระทรวงกาํ หนดสถานที่ที่หาม
นายจางใหล กู จางซึ่งเปน เดก็ อายุต่ํากวา ๑๘ ปท ํางาน พ.ศ.๒๕๕๙ ไดแก

- โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกบั สัตวนาํ้ ตามกฎหมายวา ดว ยโรงงาน
- สถานประกอบกจิ การทปี่ ระกอบกจิ การเกย่ี วกบั การแปรรปู สตั วน า้ํ ตามพระราช
บญั ญตั ิกาํ หนดการประมง พ.ศ.๒๕๕๘
หากนายจา งฝาฝน มาตรา ๔๙ หรอื มาตรา ๕๐ หรือกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๒๒
(ซงึ่ เกย่ี วกบั งานเกษตรกรรม งานประมงทะเล งานบรรทกุ หรอื ขนถา ยสนิ คา เปน ตน ) ในสว นทเี่ กย่ี วกบั
การหา มมใิ หน ายจา งจา งลกู จา ง ซงึ่ เปน เดก็ อายตุ ่ํากวา ๑๘ ป ทํางานตามประเภทของงาน และสถานที่
ทกี่ าํ หนด ตอ งระวางโทษปรบั ตงั้ แตส แี่ สนบาทถงึ แปดแสนบาทตอ ลกู จา งหนง่ึ คน หรอื จําคกุ ไมเ กนิ สองป
หรอื ทงั้ จาํ ทงั้ ปรบั (มาตรา ๑๔๘/๒) และหากการกระทาํ ความผดิ ดงั กลา วเปน เหตใุ หล กู จา งไดร บั อนั ตราย
แกกายหรือจิตใจหรือถึงแกความตาย ตองระวางโทษปรับต้ังแตแปดแสนถึงสองลานบาทตอลูกจาง
หน่ึงคน หรือจําคกุ ไมเ กินส่ีปห รอื ทั้งปรบั ทง้ั จํา (มาตรา ๑๔๘/๒ วรรคทาย)

º·ÊÃØ»

ประเทศไทยไดบ ญั ญตั กิ ฎหมายหลายฉบบั เพอื่ คมุ ครองสทิ ธเิ ดก็ ทเ่ี ขา สกู ระบวนยตุ ธิ รรม
ทางอาญา โดยการปรับปรุงแกไขกฎหมายที่มีอยูเดิมและบัญญัติกฎหมายใหมเพ่ือใหสอดคลองกับ
อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก และกฎอันเปนมาตรฐานขั้นตํา่ ของสหประชาชาติวาดวยการบริหารงาน
ยตุ ธิ รรมเก่ียวกบั คดีเดก็ และเยาวชน หรอื กฎแหงกรงุ ปก กิ่ง

๓๑

º··Õè ó

á¹Ç·Ò§¡Òû¯ÔºÑμ¢Ô ͧ਌Ҿ¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨ

ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤

๑. เพ่ือใหผูเรียนทราบถึงแนวทางการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายและอาํ นาจหนาท่ีของ
เจา พนกั งานตาํ รวจ

๑.๑ การออกหมายจับเด็กหรือเยาวชน
๑.๒ การจับกมุ เดก็ หรอื เยาวชน
๑.๓ การเขยี นบนั ทกึ การจบั กมุ เดก็ หรือเยาวชน
๑.๔ การตรวจสอบการจับเด็กหรือเยาวชนตามจุดประสงคที่พระราชบัญญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครวั ฯ กําหนดศาลทาํ การตรวจสอบการจับ
๑.๕ การปฏบิ ตั ขิ องเจาพนกั งานตํารวจในการคน
๑.๖ การปฏิบัติในการจดบนั ทกึ คาํ รองทุกขใ นคดที ่ีผเู สยี หายเปน เดก็ หรอื เยาวชน

º·นํา

เจาพนักงานตาํ รวจตองสรางความเขาใจในการปฏิบัติงาน วาเด็กมีความสาํ คัญตอ
การพฒั นาประเทศ รฐั จงึ จาํ เปน ตอ งคมุ ครองดแู ลเดก็ ขณะเดยี วกนั หากเดก็ พลาดพลงั้ ไปกระทาํ ความผดิ
ดวยเพราะเหตุท่ีออนดอยประสบการณ ขาดความย้ังคิด หรือดวยเหตุใดก็ตามเพื่อใหเด็กเหลาน้ัน
ไดม โี อกาสกลบั ตวั เปน คนดขี องสงั คมในอนาคตซงึ่ จาํ เปน ทจ่ี ะตอ งมวี ธิ ดี ําเนนิ การเกย่ี วกบั เดก็ เปน การเฉพาะ
เพ่ือใหส อดคลอ งกับหลักสากล

¡ÒÃÍÍ¡ËÁÒ¨Ѻà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹

การพิจารณาออกหมายจับเด็กหรือเยาวชนซ่ึงตองหาวากระทาํ ความผิดน้ันจะตองอยู
ภายใตหลกั เกณฑดังน้ี

๑) จะตองอยูภายใตหลักเกณฑของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๖๖ กลาวคอื

(๑) เมื่อมีหลักฐานตามสมควรวาบุคคลใดนาจะไดกระทําความผิดอาญาซึ่งมี
อตั ราโทษจําคกุ อยา งสูงเกนิ ๓ ป หรอื

(๒) เมื่อมีหลักฐานตามสมควรวาบุคคลใดนาจะไดกระทาํ ความผิดอาญาและมีเหตุ
อันควรเช่ือวาจะหลบหนี หรอื จะไปยงุ เหยิงกบั พยานหลกั ฐาน หรอื กอเหตุอนั ตรายประการนนั้

ถาบุคคลน้ันไมมีท่ีอยูเปนหลักแหลงหรือไมมาตามหมายเรียกหรือตามนัดโดยไมมี
ขอแกตัว อันควรใหส นั นษิ ฐานวา บคุ คลนน้ั จะหลบหนี

๓๒

๒) ในการพจิ ารณาออกหมายจบั เดก็ หรอื เยาวชนซงึ่ ตอ งหาวา กระทาํ ความผดิ นน้ั นอกจากศาล
จะพิจารณาถึงเหตุท่ีจะออกหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๖๖ แลว
พระราชบญั ญัตศิ าลเยาวชนและครอบครัวฯ มาตรา ๖๗ ยงั กาํ หนดหลักเกณฑดังน้ี

(๑) ใหศาลคาํ นึงถึงการคุมครองสิทธิเด็กหรือเยาวชนเปนสาํ คัญโดยเฉพาะในเรื่อง
อายุ เพศ และอนาคตของเดก็ หรอื เยาวชนทีพ่ งึ ไดร ับการพัฒนาและปกปองคมุ ครอง

คําอธิบาย ในการพิจารณาออกหมายจับของศาล แมจะเขาหลักเกณฑออก
หมายจบั ตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา มาตรา ๖๖ และผูก ระทาํ ผดิ จะหลบหนกี ็ตาม
ศาลก็อาจไมออกหมายจับใหทันทีก็ได ศาลตองใชดุลพินิจสูงข้ึนไปอีกหนึ่งช้ันมากกวากรณีปกติท่ัวไป
อาจจะใหพ ยายามตดิ ตอ ดสู กั ระยะหนงึ่ กอ น เพราะการทเี่ ดก็ หรอื เยาวชนหลบหนไี ปอาจมหี ลายสาเหตุ เชน
กลัว ตกใจ ถาออกหมายจับไปแลว ก็อาจจะไมเจอตัวเด็กหรือเยาวชนอีกเลย เด็กอาจกลายเปน
เด็กจรจัด ไมกลาเรียนหนังสือ ไมกลาประกอบอาชีพสุจริต และสุดทายก็อาจเปนคนนอกกฎหมาย
หลบหนคี ดีไปตลอดชวี ติ ๑๑

(๒) หากการออกหมายจับจะมีผลกระทบกระเทือนตอจิตใจของเด็กหรือเยาวชน
อยา งรนุ แรงโดยไมจ ําเปน ใหพ ยายามหลกี เลยี่ งการออกหมายจบั โดยใชว ธิ ตี ดิ ตามตวั เดก็ หรอื เยาวชน
น้ันดว ยวิธีอ่ืนกอน

คําอธิบาย หากมีการออกหมายจับเด็กหรือเยาวชนที่กาํ ลังศึกษาอยูและอยู
ระหวางสอบปลายภาคอาจมีผลกระทบกระเทือนตอจิตใจได อาจจะใหรอไปกอน แตถาเลี่ยงไมได
กต็ อ งออกหมายจบั เชน กรณเี ดก็ ฆา คนตายโดยไตรต รองไวก อ น ชงิ ทรพั ย ปลน ทรพั ย ประกอบกบั เดก็
หรอื เยาวชนนนั้ ไมม ผี ปู กครอง หรอื ผปู กครองไมส ามารถดแู ลไดอ กี ตอ ไปศาลกต็ อ งออกหมายจบั ให๑๒

¡ÒèѺ¡ÁØ à´¡ç ËÃÍ× àÂÒǪ¹

เนื่องจากเด็กมีความสาํ คัญตอการพัฒนาประเทศ รัฐจึงจาํ เปนตองคุมครองดูแลเด็ก
ขณะเดยี วกนั หากเดก็ พลาดพลงั้ ไปกระทําความผดิ ดว ยเพราะเหตทุ อ่ี อ นดอ ยประสบการณ ขาดความยงั้ คดิ
หรือดวยเหตุใดก็ตามเพ่ือใหเด็กเหลานั้นไดมีโอกาสกลับตัวเปนคนดีของสังคมในอนาคต ซ่ึงจําเปนที่
จะตอ งมีวิธกี ารดาํ เนนิ การเกยี่ วกับเด็กเปนการเฉพาะเพ่อื ใหสอดคลอ งกบั หลกั สากล

พระราชบัญญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครัวฯ ไดก าํ หนดหลักเกณฑใ นการจบั กุมเดก็ หรอื
เยาวชนนน้ั ซึง่ ตองหาวา กระทําความผดิ ไวใ นมาตรา ๖๖ กลาวคือ

¡Ã³Õà´ç¡ ซง่ึ หมายถึง บคุ คลทมี่ ีอายุไมเ กนิ ๑๕ ปบ รบิ ูรณ๑๓ โดย “ËÒŒ ÁÁãÔ ËŒ¨Ñº¡ØÁà´¡ç ”
ซึ่งตอ งหาวากระทําความผดิ

๑๑ สหรัฐ กิติ ศุภการ. (๒๕๖๒). คําอธิบายพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓. อมรนิ ทรพร้นิ ตง้ิ แอนดพ ับลชิ ช่งิ . หนา ๑๒๔.

๑๒ สหรฐั กติ ิ ศภุ การ. เร่ืองเดียวกนั . หนา เดยี วกนั .
๑๓ สหรัฐ กิติ ศภุ การ. เร่ืองเดยี วกัน. หนา ๑๑๓.

๓๓

àÇŒ¹áμ‹
(๑) เดก็ กระทาํ ความผดิ ซ่ึงหนา
(๒) มหี มายจับหรือมคี ําสง่ั ของศาล

กรณเี ยาวชนซงึ่ หมายถงึ บคุ คลอายเุ กนิ ๑๕ ปบ รบิ รู ณแ ตย งั ไมถ งึ ๑๘ ปบ รบิ รู ณ ซง่ึ ตอ งหา
วา กระทาํ ความผดิ ใหป ฏบิ ตั ติ ามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา กลา วคอื เจา พนกั งานตํารวจ
จะจบั ผูใดโดยไมม ีหมายจบั หรือคําสง่ั ศาลไมไดเ วนแต

(๑) เมอื่ บคุ คลนัน้ ไดกระทําความผดิ ซง่ึ หนา
คาํ อธิบาย ความผิดซึ่งหนา๑๔ หมายถึง ความผิดซ่ึงเห็นกําลังกระทาํ ตามประมวล

กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญามาตรา ๘๐ ซงึ่ ผจู บั จะตอ งเหน็ เองและไมจ าํ เปน ตอ งพบเหน็ โดยบงั เอญิ
(คําพิพากษา ๒๘๖๓/๒๕๒๒) เชน เจาพนักงานตาํ รวจแอบซุมดูเหตุการณลอซ้ือยาเสพติด ถือเปน
ความผดิ ซึง่ เหน็ กาํ ลงั กระทํา (คาํ พิพากษาฎกี าท่ี ๔๙๕๘/๒๕๕๑)

- คาํ พพิ ากษาฎกี าท่ี ๒๖๘๓/๒๕๕๒
ตาํ รวจไปกบั ผทู นี่ าํ ไปซอ้ื น้าํ มนั ทป่ี ม เชลลโ ดยขอ หาวา เอาน้ํามนั อนื่ มาขาย ไดเ หน็

การขายน้ํามันน้ันตอหนาตํารวจจับไดโดยไมตองมีหมายจับ การกระทําผิดซึ่งหนาไมจําตองเปน
ความผิดทีต่ ํารวจไปพบโดยบงั เอิญ

- คําพพิ ากษาฎีกาที่ ๔๙๕๘/๒๕๕๑
แมเจาพนักงานตํารวจจะมิไดดําเนินการขอหมายคนจากศาลชั้นตนกอนเขา

ตรวจคน บา นจาํ เลยกต็ าม แตข อ เทจ็ จรงิ ฟง ไดว า สายลบั ลอ ซอื้ เมทแอมเฟตามนี ทหี่ นา บา นจาํ เลย และ
เจา พนกั งานตาํ รวจผจู บั กมุ ไดแ อบซมุ ดแู ละเหน็ เหตกุ ารณก ารลอ ซอ้ื ดงั กลา ว จงึ เขา ตรวจคน และจบั กมุ
จาํ เลย เปน กรณที เ่ี จา พนกั งานตํารวจพบเหน็ การกระทําความผดิ ฐานจาํ หนา ยเมทแอมเฟตามนี และมี
เมทแอมเฟตามนี ไวใ นครอบครองเพอื่ จาํ หนา ยอนั เปน ความผดิ ซงึ่ หนา และการตรวจคน จบั กมุ ไดก ระทํา
ตอเน่ืองกัน เจาพนักงานตํารวจจึงเขาตรวจคนบานจําเลยไดโดยไมจําตองมีหมายคน ตามประมวล
กฎหมายวธิ พี ิจารณาความมาตรา ๙๒ (๒) (เดิม) ซง่ึ เปนกฎหมายทใี่ ชบังคับในขณะกระทําความผิด

(๒) เมอ่ื พบบคุ คลโดยมพี ฤตกิ ารณอ นั ควรสงสยั วา ผนู นั้ นา จะกอ เหตรุ า ยใหเ กดิ ภยนั ตราย
แกบ คุ คล หรอื ทรพั ยส นิ ของบคุ คลอนื่ โดยมเี ครอ่ื งมอื อาวธุ หรอื วตั ถอุ ยา งอน่ื อนั สามารถอาจใชใ นการ
กระทําความผิด

คาํ อธบิ าย กรณนี เ้ี ปนพฤติการณก อ นที่จะเปน ความผดิ ซ่ึงหนา๑๕ เชน เจาพนกั งาน
พบกลุมนักเรียนวัยรุนรวมตัวกันหนาบริเวณวิทยาลัยคูอริโดยมีเครื่องมือหรือวัตถุหลากหลายชนิดที่
สามารถใชในการกระทําความผิด

๑๔ สหรัฐ กิติ ศุภการ. (๒๕๖๒). คําอธิบายพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓. อมรนิ ทรพร้ินต้ิงแอนดพับลชิ ชิ่ง. หนา ๑๑๘

๑๕ สหรัฐ กิติ ศภุ การ. เรื่องเดียวกนั . หนา ๑๑๙.

๓๔

(๓) เมื่อมีเหตุท่ีจะออกหมายจับบุคคลน้ันเน่ืองจากมีหลักฐานตามสมควรวาบุคคลนั้น
นา จะไดก ระทําความผดิ อาญา และมเี หตอุ นั ควรเชอ่ื วา จะหลบหนี หรอื จะไปยงุ เหยงิ กบั พยานหลกั ฐาน
หรอื กอ เหตอุ นั ตรายประการอนื่ แตม คี วามจาํ เปน เรง ดว นทไ่ี มอ าจขอใหศ าลออกหมายจบั บคุ คลนน้ั ได

คําอธบิ าย เชน นําคนรา ยทจี่ บั กมุ ไดก อ นไปสบื สวนขยายผลจบั กมุ ผรู ว มกระทาํ ความผดิ
ในทนั ที ถือเปนความจาํ เปนเรงดว นท่ีไมอ าจขอใหศาลออกหมายจับบคุ คลน้นั ได๑๖ (คําพิพากษาฎกี า
ท่ี ๑๒๐๙๑/๒๕๕๘) áμ¡‹ ÒÃÊº× Êǹ¢ÂÒ¼Å仨Ѻ¡ÁØ ä´àŒ ©¾ÒÐàÂÒǪ¹à·Ò‹ ¹Ñé¹äÁ‹ÃÇÁ¶Ö§à´¡ç เพราะ
การจับกุมเดก็ จะใชข อ ยกเวน ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญามาตรา ๗๘ (๓) ไมไ ด

(๔) เปน การจบั กมุ ผตู อ งหาหรอื จําเลย ทห่ี นี หรอื จะหลบหนี ในระหวา งถกู ปลอ ยชว่ั คราว
ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญามาตรา ๑๑๗

คาํ อธิบาย บทบัญญัติน้ี ใหอํานาจพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจที่พบเห็น
การกระทําดงั กลา วมอี ํานาจจบั กมุ เยาวชนไดท นั ที ถา ราษฎรซงึ่ เปน ผทู าํ สญั ญาประกนั หรอื เปน หลกั ประกนั
เปน ผพู บเหน็ การกระทาํ ดังกลา ว เชน ศาลปลอยตวั ชัว่ คราวเยาวชนโดยใชอ ปุ กรณอ เิ ล็กทรอนิกส เชน
กาํ ไลขอ มอื ขอ เทา (จะใชต อ เมอื่ บคุ คลนนั้ มพี ฤตกิ ารณท อี่ าจเปน ภยั ตอ คนอน่ื อยา งรา ยแรง หรอื มเี หตุ
สมควรประการอนื่ ) นายประกนั พบเหน็ ขณะเยาวชนทําลายอปุ กรณด งั กลา ว กฎหมายใหส นั นษิ ฐานวา
ผูตองหาหรือจาํ เลยนั้นหนีหรือจะหลบหนี (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๑๗
วรรคสอง ทแี่ กไ ขเพม่ิ เตมิ ใหม) นายประกนั กอ็ าจขอใหพ นกั งานฝา ยปกครองหรอื ตํารวจทใ่ี กลท สี่ ดุ จบั กมุ
ผตู อ งหาหรอื จําเลยได ถา ไมส ามารถขอความชว ยเหลอื ไดท นั ทว งที กใ็ หน ายประกนั มอี ํานาจจบั ไดเ อง๑๗

อนง่ึ ถาเด็กหลบหนีไประหวางการปลอยตวั ชัว่ คราว เจาพนักงานหรือนายประกัน
ไมอาจติดตามจับกุมเองไดเพราะ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๘ (๔) เปน
ขอ ยกเวน การจบั กมุ เยาวชนเทา นนั้ เจา พนกั งานหรอื นายประกนั จะตอ งแจง ตอ ศาลเพอื่ ออกหมายจบั มา
เทานั้น และถาเปนกรณีเรงดวนศาลอาจสั่งจับกุมโดยไมตองออกหมายก็ได เชน หลบหนีระหวางท่ี
มกี ารสบื พยานในศาล แตผ มู ีอาํ นาจจับกมุ ตามคาํ ส่ังศาลจะตอ งเปนพนกั งานฝา ยปกครองหรือตํารวจ
เทา นน้ั ศาลจะสง่ั ใหน ายประกนั หรอื พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั ของศาลหรอื เจา หนา ทศ่ี าลไปจบั กมุ
ได๑ ๘

ขอ สงั เกต
๑. การจับเด็กหรอื เยาวชน เจาพนกั งานจบั กุมไดต ามหมายจับหรือคําสงั่ ของศาล๑๙
๒. ถา ไมม หี มายจบั หรอื คาํ สง่ั ของศาล ¡ÒèºÑ à´¡ç ¨ÐμÍŒ §à»¹š ¡Ã³àÕ ´¡ç ทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô «§èÖ Ë¹ÒŒ à·Ò‹ ¹¹éÑ สว นการจบั กมุ เยาวชน

นอกจากจับกุมในความผิดซ่ึงหนาแลว เจาพนักงานยังสามารถจับกุมไดตามขอยกเวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญามาตรา ๗๘ เหมอื นเชน การจบั กุมทว่ั ไป๒๐

๑๖ สหรัฐ กิติ ศภุ การ. เรื่องเดยี วกัน. หนา ๑๒๐.
๑๗ สหรัฐ กิติ ศุภการ. (๒๕๖๒). คาํ อธิบายพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๓. อมรินทรพ รน้ิ ตง้ิ แอนดพบั ลิชชิ่ง. ๑๒๐.
๑๘ สหรัฐ กิติ ศุภการ. เรือ่ งเดยี วกัน. หนา ๑๒๑.
๑๙ สหรัฐ กติ ิ ศภุ การ. เรือ่ งเดียวกัน. หนาเดยี วกนั .
๒๐ สหรัฐ กติ ิ ศภุ การ. เร่ืองเดียวกนั . หนาเดียวกนั .

๓๕

á¹Ç·Ò§¡Òû¯ºÔ ÑμԢͧà¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨ㹡ÒèѺ¡ÁØ à´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹

เพอื่ สรา งความเขา ใจในการปฏบิ ตั งิ านของเจา พนกั งานตํารวจในการจบั กมุ เดก็ หรอื เยาวชนนน้ั
จึงขอสรุปสาระสําคญั ทกี่ ําหนดไวใ นกฎหมายเปน ขอ ๆ ดังตอ ไปน้ี

๑. ในการจับกมุ เดก็ หรอื เยาวชนนนั้ เจา พนักงานตาํ รวจผทู าํ การจบั กุมจะตอง
๑.๑) แจง ใหเ ด็กหรอื เยาวชนนนั้ วาเขาถูกจับ
คําอธิบาย การแจงวาเขาตองถูกจับ อาจใชคําพูดในทํานองเดียวกันก็ได๒๑

เชน นอ งถกู จบั แลว นะ หนถู กู จบั ตวั แลว แตม ขี อ ยกเวน คอื กรณคี วามผดิ ซงึ่ หนา และมกี ารตอ สขู ดั ขวาง
การจบั กุม เชน เจา พนักงานตํารวจพบเหน็ การกระทาํ ความผิดซ่งึ หนา เมอ่ื เขาจับกุมผกู ระทําความผดิ
ตอสูขัดขวางการจับกุม กรณีเชนนี้เจาพนักงานตํารวจมีอาํ นาจจับกุม โดยไมจาํ เปนตองแจงแก
ผูที่จะถูกจับวาเขาตองถูกจับตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มาตรา ๘๓ วรรคแรก
(คาํ พิพากษาฎกี าท่ี ๑๖๘๓/๒๕๒๓)

๑.๒) แจง ขอ กลาวหา
คาํ อธิบาย การแจงขอกลาวหา อาจเปนขอกลาวหาท่ีเด็กหรือเยาวชน

กระทําความผิดซ่ึงหนาหรือขอกลาวหาท่ีเยาวชนกระทําความผิดตามขอยกเวนตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๘ หรือขอกลาวหาท่ีระบุไวในหมายจับ๒๒ ซ่ึงขอกลาวหาที่แจงน้ี
จะตรงกับพนกั งานสอบสวนแจงตอไปในช้นั สอบสวนหรือไม และจะตรงกับทอ่ี ยั การโจทกฟองหรือไม
ไมสําคญั เพราะคดยี ังตอ งมีการสอบสวนตอ ไปวา กระทาํ ความผดิ ขอหาใด (ฎกี าที่ ๑๓๙๘๕/๒๕๕๓)

คําพิพากษาฎกี าท่ี ๑๓๙๘๕/๒๕๕๓
- ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๓ วรรคสอง
เปน บทบญั ญตั กิ าํ หนดใหเ จา พนกั งานผจู บั ตอ งแจง ขอ กลา วหาใหผ ถู กู จบั ทราบ กเ็ พอ่ื ใหผ ถู กู จบั ทราบวา
การกระทําของผูถูกจับเปนความผิด และเพ่ือใหผูถูกจับเขาใจถึงการกระทาํ ของผูถูกจับซ่ึงเปน
ความผดิ นั้น เพือ่ ประโยชนใ นการใหการ ใหถ อ ยคาํ หรอื ตอ สคู ดี โดยเจา พนกั งานผจู บั ไมจาํ ตอ งแจง
ขอ หาความผดิ ใหต รงกบั ทพี่ นกั งานอยั การโจทกจ ะฟอ งผถู กู จบั เพราะคดยี งั ตอ งมกี ารสอบสวนตอ ไปวา
ผถู กู จบั กระทาํ ความผดิ หรอื ไม และกระทาํ ความผดิ ฐานใดคดนี แ้ี มบ นั ทกึ การจบั กมุ แจง ขอ หาวา จาํ เลย
มเี มทแอมเฟตามนี ไวใ นครอบครอง เมอ่ื พนกั งานสอบสวนแจง ขอ หาแกจ าํ เลยวา มเี มทแอมเฟตามนี ไว
ในครอบครองเพื่อจําหนาย ถือวามีการสอบสวนในความผิดฐานดังกลาวแลว โจทกจึงมีอํานาจฟอง
เมอ่ื โจทกบ รรยายฟอ งวา จาํ เลยกระทําความผดิ ฐานมเี มทแอมเฟตามนี ไวใ นครอบครองเพอ่ื จําหนา ยและ
ขอ เทจ็ จรงิ ฟง เปน ยตุ ขิ า งตน ศาลยอ มลงโทษจาํ เลยในความผดิ ฐานมเี มทแอมเฟตามนี ไวใ นครอบครอง
เพือ่ จําหนา ยตามฟอ งได

๒๑ สหรฐั กิติ ศภุ การ. เร่ืองเดยี วกัน. หนา ๑๒๗.
๒๒ สหรัฐ กิติ ศุภการ. (๒๕๖๒). คาํ อธิบายพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๓. อมรนิ ทรพร้ินติง้ แอนดพ บั ลชิ ชิง่ . ๑๒๗.

๓๖

๑.๓) แจงสทิ ธใิ หท ราบ
คาํ อธบิ าย การแจงสทิ ธใิ นชนั้ จับกมุ ตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความ

อาญา มาตรา ๘๓ วรรคสอง เจาพนกั งานผจู บั จะตอ งแจง วา๒๓
- ผูถ กู จับมีสทิ ธิที่จะไมใ หก ารหรอื ใหการก็ได
- ถอ ยคาํ ของผถู กู จับนน้ั อาจใชเปน พยานหลกั ฐานในการพิจารณาคดี
- ผถู กู จบั มสี ทิ ธทิ จี่ ะพบและปรกึ ษาทนายความ หรอื ผซู งึ่ จะเปน ทนายความ
สว นการแจง สทิ ธใิ นชนั้ สอบสวน ตามพระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั ฯ

มาตรา ๗๕ วรรคสอง วางหลักวา พนักงานสอบสวนมหี นาทตี่ อ งแจง สิทธกิ อ นการแจง ขอกลา วหาและ
สอบปากคํา โดยตองแจงวาเด็กหรือเยาวชนมีสิทธิที่จะไมใหการหรือใหการก็ได และถอยคาํ ของเด็ก
และเยาวชนอาจใชเ ปนพยานหลักฐานในการพจิ ารณาคดีได

๑.๔) แสดงหมายจบั ใหดู
คําอธิบาย หากมีหมายจับจะตองแสดงหมายจับใหกับเด็กหรือเยาวชนผูน้ัน

รบั รดู ว ย จากนน้ั จะตอ งนาํ ตวั เดก็ หรอื เยาวชนผถู กู จบั ไปยงั ทท่ี าํ การของพนกั งานสอบสวนทอ งทท่ี ถี่ กู จบั
ทนั ที ซงึ่ กฎหมายตอ งการใหแ สดงทนั ทเี พอื่ ใหร วู า เปน การตามหมายจบั ไมใ ชจ บั กมุ มาแลว ขอหมายจบั
ตามหลงั ๒๔

๑.๕) เสรจ็ แลว นาํ ตวั ผถู กู จบั ไปยงั ทท่ี ําการของพนกั งานสอบสวนแหง ทอ งทที่ ถ่ี กู จบั
ทันที เพื่อใหพนักงานสอบสวนของทองที่ดังกลาวสงตัวผูถูกจับไปยังท่ีทาํ การของพนักงานสอบสวน
ผรู ับผิดชอบโดยเรว็ ๒๕

คาํ อธิบาย ถาทองที่ที่ถูกจับกุมกับทองท่ีเกิดเหตุเปนคนละทองท่ีกัน ก็ตอง
นาํ ตัวไปยังท่ีทําการของพนักงานสอบสวนแหงทองท่ีท่ีถูกจับกอน จากนั้นพนักงานสอบสวนจะสอบ
ปากคําเจา พนักงานผถู กู จับกุม เสร็จแลวใหพ นกั งานสอบสวนสง ตัวเดก็ หรือเยาวชนไปยังท่ีทาํ การของ
พนกั งานสอบสวนผูรับผดิ ชอบโดยเรว็

๒. แจง ใหผูปกครองทราบถึงการจับเดก็ หรอื เยาวชน
๒.๑) ขณะเจาพนักงานตํารวจจับกุมเด็กหรือเยาวชนซึ่งตองหาวากระทาํ ความผิด

นั้น มีผูปกครองซึ่งไดแก บิดามารดา ผูปกครอง บุคคลหรือผูแทนองคกรซึ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัย
อยดู ว ย อยดู ว ยในขณะที่ทาํ การจับกุมนั้นใหเ จา พนกั งานตาํ รวจผจู ับกมุ

- แจง เหตุแหง การจบั ใหบ คุ คลดังกลา วทราบ และ
- ในกรณที เ่ี ปน ความผดิ อาญาซงึ่ มอี ตั ราโทษอยา งสงู ตามทก่ี ฎหมายกําหนดไว
จาํ คกุ ไมเ กนิ ๕ ป เจา พนกั งานตาํ รวจจบั กมุ จะสงั่ ใหบ คุ คลดงั กลา วเปน ผนู าํ ตวั เดก็ หรอื เยาวชนนนั้ ไปยงั
ที่ทําการของพนักงานสอบสวนแหงทองที่ทีถ่ กู จบั ก็ได

๒๓ สหรัฐ กิติ ศุภการ. เร่อื งเดยี วกนั . ๑๒๘.
๒๔ สหรัฐ กิติ ศุภการ. เรอ่ื งเดียวกัน. ๑๒๙.
๒๕ สหรัฐ กติ ิ ศภุ การ. เรอื่ งเดยี วกัน. หนา เดียวกนั .

๓๗

๒.๒) ขณะเจา พนกั งานตํารวจจบั กมุ เดก็ หรอื เยาวชนซงึ่ ตอ งหาวา กระทาํ ความผดิ นน้ั
ไมม ีผูปกครองดงั กลาวอยกู บั ผถู กู จบั ใหเ จา พนกั งานตํารวจผจู บั กมุ

- แจงใหบุคคลดังกลาวคนใดคนหนึ่งทราบถึงการจับกุมในโอกาสแรกเทาท่ี
สามารถกระทําได

- หากผูถูกจับประสงคจะติดตอสื่อสาร หรือปรึกษาหารือกับบุคคลเหลาน้ัน
ซง่ึ ไมเ ปน อปุ สรรคตอ การจบั กมุ และอยใู นวสิ ยั ทจี่ ะดําเนนิ การได ใหเ จา พนกั งานตํารวจผจู บั ดาํ เนนิ การให
ตามสมควรแกกรณีโดยไมช กั ชา (มาตรา ๖๙ วรรคสอง)

๓. วธิ กี ารจบั กมุ และควบคมุ ตวั เดก็ หรอื เยาวชนซง่ึ ตอ งหาวา กระทาํ ความผดิ เจา พนกั งาน
ตาํ รวจผูจับกมุ จะตองกระทาํ การจบั กุม

- ดว ยความละมุนละมอม๒๖ คือ ไมใชความรุนแรงในการจับกมุ คอ ยๆ พดู จากัน
- คํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย๒๗ คือ ตองปฏิบัติในลักษณะใหความเคารพใน
ความแตกตา งทางเพศ เชอ้ื ชาติ ศาสนา ความเชอ่ื และวยั วุฒิ
- ไมเ ปน การประจานเดก็ หรอื เยาวชน๒๘ คอื ไมก ระทาํ ในลกั ษณะใหเ ดก็ หรอื เยาวชน
ไดร บั ความอบั อาย
- หา มมใิ หใ ชว ธิ กี ารควบคมุ เกนิ กวา ทจี่ าํ เปน เพอ่ื ปอ งกนั การหลบหนี หรอื เพอื่ ความ
ปลอดภัยของเด็กหรือเยาวชนผูถูกจับหรือบุคคลอ่ืน๒๙ คือ จะควบคุมเกินกวาท่ีจําเปนไมได และจะ
ควบคุมนอกเหนือวัตถุประสงคเพ่ือปองกันการหลบหนี หรือเพื่อความปลอดภัยของเด็กหรือเยาวชน
หรอื บคุ คลอนื่ ไมไ ด
- ไมใ หใ ชเ ครื่องพันธนาการไมว ากรณีใดๆ เวน แตม คี วามจําเปน อยางอืน่ อันมอิ าจ
หลีกเล่ียงไดเ พ่อื ปองกนั การหลบหนี หรือเพอื่ ความปลอดภยั ของผูถูกจบั หรอื บคุ คลอนื่ ๓๐ คือ หามใช
เครื่องพันธนาการ เชน กุญแจมือ เชือก สายรัด กับเด็กเทาน้ัน สวนเยาวชนไมไดหาม แตถาเด็ก
จะหลบหนีหรอื อาจมกี ารตอ สขู ัดขวางเจาพนักงาน กส็ ามารถใชเคร่ืองพันธนาการกบั เดก็ ได
๔. บันทึกการจบั กมุ กอนสงตวั เด็กหรือเยาวชนผูถ กู จบั ไปใหก บั พนักงานสอบสวนแหง
ทอ งที่ที่ถูกจับนั้นใหเจา พนกั งานตาํ รวจผจู บั กมุ
- ทาํ บันทกึ การจับกุม โดยแจงขอกลา วหาและรายละเอยี ดเก่ยี วกับเหตุแหงการจบั
ใหผ ูถูกจับทราบ
- หา มมใิ หถ ามคาํ ใหก ารผูถกู จบั

๒๖ สหรัฐ กิติ ศุภการ. (๒๕๖๒). คาํ อธิบายพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓. อมรินทรพร้ินต้งิ แอนดพบั ลชิ ชิง่ . หนา ๑๓๑.

๒๗ สหรัฐ กติ ิ ศภุ การ. เรอื่ งเดยี วกนั . หนาเดยี วกนั .
๒๘ สหรัฐ กิติ ศุภการ. เรอื่ งเดยี วกัน. หนาเดยี วกัน.
๒๙ สหรฐั กิติ ศุภการ. เร่ืองเดยี วกนั . หนา เดียวกนั .
๓๐ สหรัฐ กติ ิ ศุภการ. เรอ่ื งเดยี วกนั . หนา เดียวกัน.

๓๘

- ถา ขณะทําบนั ทกึ ดงั กลา วมบี ดิ ามารดา ผปู กครอง หรอื บคุ คล หรอื ผแู ทนองคก าร
ซ่ึงเด็กหรือเยาวชนอาศัยอยูดวยอยูในขณะน้ันดวย เจาพนักงานตาํ รวจตองทาํ บันทึกตอหนาบุคคล
ดังกลาว และจะใหลงลายมอื ช่ือเปน พยานดว ยกไ็ ด

- ถอ ยคาํ ของเดก็ หรอื เยาวชนในชนั้ จบั กมุ มใิ หศ าลรบั ฟง เปน พยานเพอื่ พสิ จู นค วามผดิ
ของเด็กหรือเยาวชน แตศ าลอาจนํามาฟงเปน คณุ แกเ ดก็ หรอื เยาวชนได๓ ๑

คาํ อธิบาย ถอยคําของเด็กหรือเยาวชนในชั้นจับกุม หามรับฟงโดยเด็ดขาด ไมมี
การแยกวา เปนถอยคําอ่ืนหรือถอยคํารับสารภาพเหมือนเชนคดีอาญาท่ัวไป ตามประมวลกฎหมาย
วิธพี จิ ารณาความอาญามาตรา ๘๔ วรรคทาย

การหา มรบั ฟง โดยเดด็ ขาด๓๒ หมายถงึ รบั ฟง เพอ่ื พสิ จู นค วามผดิ ของเดก็ หรอื เยาวชน
เทา นน้ั ไมห า มรบั ฟง เพอ่ื พสิ จู นค วามผดิ ของผอู นื่ และไมห า มหากจะรบั ฟง เปน คณุ แกเ ดก็ หรอื เยาวชน
เชน รบั ฟง เพื่อหกั ลา งพยานโจทก รับฟงเพอ่ื นาํ มาเปน ดลุ พนิ ิจในการกาํ หนดโทษใหเ บาลง

๕. หา มบนั ทกึ ภาพ เพอ่ื เปน การคมุ ครองสทิ ธเิ ดก็ หรอื เยาวชน ซงึ่ ตอ งหาวา กระทาํ ความผดิ
หามมิใหเจาพนักงานผูจับกุมเด็กหรือเยาวชน หรือพนักงานสอบสวน จัดใหมีหรืออนุญาตใหมี
หรือยินยอมใหมีการถายภาพหรือบันทึกภาพเด็กหรือเยาวชนซึ่งตองหาวากระทําความผิด เวนแต
เพ่ือประโยชนใ นการสอบสวน

คําอธบิ าย พระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั ฯ มาตรา ๗๖ ไดว างหลกั เกย่ี วกบั
การคมุ ครองสทิ ธิเดก็ และเยาวชนในเร่ืองการถายภาพหรอื บันทึกภาพเดก็ หรอื เยาวชนไวว า๓๓

- จะจดั ใหม กี ารถา ยภาพหรอื บนั ทกึ ภาพไมไ ด เชน จดั ใหม กี ารตง้ั โตะ แถลงขา วแลว
นาํ เด็กหรอื เยาวชนมาน่งั รว มดว ย

- อนญุ าตใหม ีการถา ยหรือบันทึกภาพไมไ ด
- ยนิ ยอมใหมีการถา ยภาพหรือบนั ทกึ ภาพไมไ ด

ขอสังเกต
การถายภาพ หรือบันทึกภาพเด็ก แมเพียงคร่ึงตัวไมเห็นใบหนาก็ทาํ ไมได ถือเปนการถายภาพหรือบันทึกภาพ

อยนู ั่นเอง๓๔

๓๑ สหรัฐ กิติ ศุภการ. (๒๕๖๒). คําอธิบายพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ
ครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓. อมรนิ ทรพ รน้ิ ตงิ้ แอนดพ บั ลชิ ชง่ิ . หนา ๑๓๒.

๓๒ สหรัฐ กติ ิ ศภุ การ. เรอื่ งเดียวกนั . หนาเดยี วกนั .
๓๓ สหรัฐ กิติ ศภุ การ. เรื่องเดยี วกนั . หนา ๑๗๘.
๓๔ สหรฐั กติ ิ ศภุ การ. เร่อื งดยี วกัน. หนา เดียวกัน.

๓๙

๖. ไมว า กรณใี ดๆ กต็ ามหา มมใิ หผ ตู อ งหาทเี่ ปน เดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๘ ปบ รบิ รู ณไ ปชท้ี เ่ี กดิ เหตุ
ประกอบคาํ รับสารภาพ เพราะจะเปนการประจานเด็กและอาจเปนการกระทําผิดตามกฎหมายเด็ก
รวมท้ังหา มมใิ หน ําผตู องหาไปขอขมาศพ หรือบดิ ามารดา สามภี รรยา มิตรสหาย หรอื ผปู กครองของ
ผตู าย นอกจากน้ี หา มนําผเู สยี หาย พยาน เขา รว มในการชท้ี เ่ี กดิ เหตปุ ระกอบคํารบั สารภาพของผตู อ งหา
เปนอนั ขาด โดยเฉพาะผูเสียหายทเ่ี ปนเดก็ สตรี พระภกิ ษุ สามเณร นักพรต นกั บวช (คาํ ส่ังสํานกั งาน
ตาํ รวจแหงชาติ ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ เรื่องการอํานวยความยุติธรรมในทางอาญาขอ ๖.๑๐.๒)

¡ÒÃμÃǨÊͺ¡ÒèºÑ

การตรวจสอบการจบั เปน วธิ กี ารพทิ กั ษส ทิ ธเิ ดก็ และเยาวชนในเบอ้ื งตน เพราะเมอ่ื พนกั งาน
สอบสวนไดรับตัวเด็กหรือเยาวชนซึ่งถูกจับแลว พนักงานสอบสวนตองนําตัวเด็กหรือเยาวชนไปศาล
เพ่ือตรวจสอบการจบั กมุ ทนั ที ท้งั น้ภี ายใน ๒๔ ชวั่ โมงนบั แตเ วลาทเี่ ด็กหรือเยาวชนไปถึงทที่ ําการของ
พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ แตมิใหนับเวลาเดินทางตามปกติท่ีนําตัวเด็กหรือเยาวชนผูถูกจับจาก
ท่ีทําการของพนักงานสอบสวนมาศาลเขาในกําหนดเวลา ๒๔ ชั่วโมงนั้นดวย (พระราชบัญญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มาตรา ๗๒)

จดุ ประสงคท พ่ี ระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั ฯ กําหนดใหศ าลทําการตรวจสอบ
การจบั คือ

๑. ตรวจสอบวา ผถู กู จบั นนั้ เปน บคุ คลซงึ่ ตอ งหาวา กระทาํ ความผดิ หรอื ไม หมายถงึ เดก็
หรอื เยาวชนทีถ่ กู จบั มานัน้ ใชค นท่ีตองการจบั จรงิ หรือไม

๒. ตรวจสอบวา การจับน้นั เปนไปโดยชอบดว ยกฎหมายหรอื ไม หมายถึง ผูจบั มีอาํ นาจ
ที่จะจับหรือไมมี เหตุที่จะจับหรือไม โดยแยกวาเปนการจับเด็กหรือเยาวชนตามพระราชบัญญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครวั ฯ มาตรา ๖๖ เชน หากเปน เดก็ จะจบั ไดต อ เมอื่ มหี มายจบั หรอื คําสง่ั ของศาล
ใหจ บั หรอื เปนการกระทาํ ความผดิ ซึ่งหนา เปนตน

๓. ตรวจสอบวาการปฏิบัติของเจาพนักงานชอบดวยกฎหมายหรือไม เชน ไดแจงบิดา
มารดาหรอื ผปู กครองหรอื ไม ใชเ ครอ่ื งพันธนาการในกรณที ี่กฎหมายไมอนญุ าตหรอื ไม เปน ตน

การตรวจสอบการจบั ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มาตรา ๗๓ เปน
บทกฎหมายทบี่ ญั ญตั ขิ น้ึ ใหมเ ปน ครงั้ แรกในประเทศไทย ซงึ่ เมอ่ื มผี ลใชบ งั คบั มาแลว ระยะหนงึ่ องคก รตา งๆ
ในกระบวนการยุติธรรมโดยเฉพาะสาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ กรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน
รวมถึงศาลเยาวชนและครอบครัว ตางมีความเห็นที่ตรงกันวาการตรวจสอบการจับมีประโยชนตอ
กระบวนการสอบสวนของเจา พนกั งานตํารวจ การสอบขอ เทจ็ จรงิ ของสถานพนิ จิ และคมุ ครองเดก็ และ
เยาวชน และการพจิ ารณาพิพากษาคดีของศาลเยาวชนและครอบครวั นอกจากนี้ยังชวยแกไ ขเยียวยา
ปญ หาและพฤตกิ รรมของเดก็ และเยาวชนทก่ี ระทําความผดิ ไดม ากทเี ดยี วดงั เหตผุ ลทพี่ อจะประมวลไดด งั น้ี

๔๐

๑) การตรวจสอบการจับเปนวิธีการพิทักษสิทธิเด็กและเยาวชนในเบื้องตนวาจะไม
ถูกจับผดิ คน การจบั กุมและปฏบิ ตั ิของเจาพนกั งานตอ งเปน ไปโดยชอบดว ยกฎหมาย โดยที่ผูพพิ ากษา
เปนผตู รวจสอบภายใน ๒๔ ชั่วโมง นบั แตเ วลาทเี่ ด็กหรอื เยาวชนไปถงึ ทที่ ําการของพนักงานสอบสวน
ผรู บั ผิดชอบ

๒) เปนการสรา งความเขาใจแกบดิ ามารดา หรือผูปกครองของเดก็ และเยาวชนหลังจาก
ถกู จบั มาแทบจะในทนั ที ทาํ ใหบ ดิ ามารดา หรอื ผปู กครองสามารถเขา ไปดแู ลบตุ รหลาน หรอื บคุ คลทอี่ ยู
ในความปกครองของตนไดอ ยางรวดเรว็

๓) เด็กหรือเยาวชนและผูปกครองมีโอกาสพบและปรึกษาท่ีปรึกษากฎหมาย ตั้งแตช้ัน
ตรวจสอบการจบั ซงึ่ สามารถชว ยเหลอื ใหค าํ แนะนําใหค ําปรกึ ษาเพอื่ คลค่ี ลายปญ หาและความกงั วลใจ
ตา งๆ ได อีกท้งั ยงั สามารถชว ยเหลอื ในชั้นผัดฟองตามมาตรา ๗๕ ในชน้ั พจิ ารณาตามมาตรา ๑๒๐
และหากเปน การจบั กมุ โดยมชิ อบดว ยกฎหมายจรงิ ศาลจะมคี าํ สงั่ ใหป ลอ ยตวั เดก็ หรอื เยาวชนไปในทนั ที

๔) การท่ีเด็กหรือเยาวชนไดมาอยูในอาํ นาจศาลเยาวชนและครอบครัวทันทีท่ีพนักงาน
สอบสวนสงตัวมานั้น ทาํ ใหพวกเขามีโอกาสที่จะไดรับการมอบตัวใหแกผูปกครองไปดูแลระหวางการ
สอบสวนตามทศ่ี าลเหน็ สมควร หรอื ไดร บั การพจิ ารณาคํารอ งขอปลอ ยตวั ชวั่ คราวระหวา งการสอบสวน
ไดใ นเวลาอันรวดเร็ว และไมม ขี นั้ ตอนยุงยาก

๕) เจา พนกั งานตาํ รวจผจู บั กมุ ไดร บั การดแู ลปกปอ งคมุ ครองจากขอ กลา วหาวา กลน่ั แกลง
หรอื ปฏบิ ตั โิ ดยมชิ อบดว ยกฎหมายในการจบั กมุ หรอื ไม แจง การจบั กมุ ใหบ ดิ ามารดาหรอื ผปู กครองทราบ
เพราะหากเกิดกรณเี ชนน้จี ริง เด็กหรอื เยาวชนและผปู กครองรวมถงึ ทปี่ รึกษากฎหมายกส็ ามารถแถลง
ตอศาลเพ่อื คดั คานการจบั กุมและการปฏบิ ตั ิโดยมิชอบดังกลาวไดในทันที

ขอสังเกต
๑. กรณมี ขี อ สงสยั เกย่ี วกบั อายเุ ดก็ พระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั ฯ มาตรา ๗๗ กําหนดวา ในระหวา งการ

สอบสวนหากมขี อ สงสยั เกยี่ วกบั อายเุ ดก็ ทถี่ กู จบั กมุ หรอื ควบคมุ ใหพ นกั งานสอบสวนมอี ํานาจดําเนนิ การสอบสวนตามประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญาและกฎหมายอน่ื ทเี่ กย่ี วขอ ง แตห ากปรากฏภายหลงั วา บคุ คลนนั้ มอี ายไุ มเ กนิ กวา อายทุ ก่ี ําหนดไว
ตามมาตรา ๗๓ แหง ประมวลกฎหมายอาญา ในขณะกระทําความผดิ (ซง่ึ หมายความวาขณะกระทําความผดิ นน้ั อายุไมเ กิน
๑๐ ป) และอยใู นความควบคมุ ของสถานพนิ จิ หรอื องคก รอนื่ ใด ใหส ถานพนิ จิ หรอื องคก ารดงั กลา วรายงานใหศ าลทราบเพอ่ื มี
คําสงั่ ปลอ ยตวั และใหพ นกั งานสอบสวนดาํ เนนิ การตามมาตรา ๖๙/๑ วรรคหนง่ึ กลา วคอื ถา ความผดิ ทเี่ ดก็ กระทํานนั้ เปน ความผดิ
ทกี่ ฎหมายบญั ญตั ใิ หอ ยใู นอาํ นาจของพนกั งานสอบสวนหรอื เจา พนกั งานอนื่ ทจ่ี ะเปรยี บเทยี บไดห ากเปน การกระทาํ ครงั้ แรก
ใหพนักงานสอบสวนหรือเจาพนักงานน้ันเรียกเด็ก บิดามารดา ผูปกครองหรือบุคคลหรือผูแทนองคการซ่ึงเด็กนั้นอาศัย
อยูดวย มาวากลาวตักเตือน ถาเด็กสํานึกในการกระทําและบิดามารดา ผูปกครอง หรือบุคคลหรือองคการซ่ึงเด็กน้ันอาศัย
อยดู วยสามารถดูแลเดก็ ได กใ็ หงดการสอบสวนและปลอยตัวไป

นอกจากนใ้ี นกรณเี ดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๐ ป กระทําความผดิ โดยความผดิ นนั้ กฎหมายบญั ญตั ใิ หอ ยใู นอาํ นาจเปรยี บเทยี บของ
พนักงานสอบสวนหรอื เจา พนกั งานอ่ืน หากเปน การกระทาํ ครั้งแรกมาตรา ๖๙/๑ วรรคสอง ใหอาํ นาจพนักงานสอบสวนหรอื
เจาพนักงานนัน้ เรียกเดก็ บิดามารดา ผูปกครองหรือบุคคลหรอื ผแู ทนองคการซ่ึงเดก็ อาศัยอยูดวยมาวา กลาวตกั เตือน ถา เด็ก
สาํ นึกในการกระทาํ และบิดามารดา ผูปกครองหรือบุคคลหรือองคการซ่ึงเด็กน้ันอาศัยอยูดวยสามารถดูแลเด็กได ก็ใหงด
การสอบสวนและปลอ ยตวั ไป เวน แตเ ดก็ นนั้ กระทําความผดิ อนื่ ซงึ่ มใิ ชค วามผดิ ทส่ี ามารถเปรยี บเทยี บได เชน นพ้ี นกั งานสอบสวน

๔๑

ตองสงตัวเด็กที่อายุไมเกิน ๑๐ ป น้ันใหพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายวาดวยการคุมครองเด็กเพ่ือใหดาํ เนินการคุมครอง
สวัสดภิ าพตามกฎหมายนัน้ ในโอกาสแรกท่ีกระทําได แตต อ งภายในเวลาไมเ กิน ๒๔ ชั่วโมง นบั แตเ วลาท่ีเด็กน้ันมาถงึ สถานท่ี
ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ และจากมาตรา ๖๙/๑ วรรคทาย ยังกาํ หนดหามมิใหผูเสียหายฟองเด็กอายุ
ไมเ กนิ ๑๐ ป เปน คดอี าญาตอศาลใดดวย

๒. ในกรณีเด็กหรือเยาวชนอยูในเกณฑตองดาํ เนินการตามกฎหมายวาดวยการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด
ใหดําเนินการฟนฟูตามกฎหมายกอน แตหากไมอาจดาํ เนินการฟนฟูไดหรือทาํ การฟนฟูไมสาํ เร็จใหพนักงานสอบสวนหรือ
พนกั งานอยั การ นําตวั เดก็ หรอื เยาวชนไปศาลเพอื่ ใหศ าลมคี ําสงั่ เกยี่ วกบั การควบคมุ ตวั และพนกั งานอยั การอาจฟอ งคดภี ายใน
ระยะเวลาทกี่ ฎหมายกาํ หนดหรือภายใน ๓๐ วัน นับแตศาลมีคาํ สั่ง (มาตรา ๖๙/๒)

á¹Ç·Ò§¡Òû¯ºÔ μÑ ¢Ô ͧà¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹ตําÃǨ㹡Ò乌

ในเรื่องของหลักเกณฑการคนกรณีที่เด็กหรือเยาวชนผูถูกตองหาวากระทําความผิดนั้น
จะใชห ลกั เกณฑท ป่ี ระมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญากําหนดไว เพราะพระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชน
และครอบครวั ฯ ไมไ ดบ ัญญตั ิไวเปน พิเศษอยางเชน การจับกมุ ดงั น้ันจงึ ใหนําบทบญั ญตั แิ หงประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญามาใชบ งั คบั ได เทา ทไ่ี มข ดั หรอื แยง กบั บทบญั ญตั แิ หง พระราชบญั ญตั ิ
ศาลเยาวชนและครอบครัว (มาตรา ๖) การคน แยกเปน ๓ ประเภทคอื

๑. การคน ตวั บุคคล
๒. การคนสถานที่
๓. การคนยานพาหนะ
๑) ¡Ò乌 μÑǺؤ¤Å

(๑) การคนตวั บคุ คลผตู อ งสงสัย
ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญามาตรา ๙๓ “หา มมใิ หท ําการคน บคุ คลใด

ในทสี่ าธารณะเวน แตเ จา พนกั งานฝา ยปกครองหรอื ตํารวจเปน ผคู น ในเมอ่ื มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา บคุ คลนนั้
มีสิ่งของในความครอบครองเพื่อจะใชในการกระทาํ ความผิด หรือซึ่งไดมาโดยการกระทําความผิด
หรอื ซง่ึ มไี วเ ปนความผิด”

จากบทบัญญัติดังกลาวเห็นไดวา การคนตัวบุคคลในท่ีสาธารณะเจาพนักงาน
ตาํ รวจจะทําการคน ตัวบคุ คลผูตอ งสงสัยไดตอเม่ือ ÁàÕ ËμÍØ ¹Ñ ¤ÇÃʧÊÂÑ วา

- บุคคลนัน้ มีสิ่งของในครอบครองเพื่อจะใชใ นการกระทาํ ความผดิ
- สงิ่ ของทบ่ี คุ คลนน้ั ครอบครองนนั้ เปน สงิ่ ทไี่ ดม าจากการกระทําความผดิ หรอื
มีไวเ ปนความผดิ

ขอ สงั เกต
๑. มเี หตอุ นั ควรสงสยั “ตอ งเปน เหตอุ นั ควรสงสยั ” ทมี่ อี ยกู อ นการคน และตอ งมใิ ชข อ สงสยั ทอี่ ยบู นพน้ื ฐานของความรสู กึ

ของเจา หนา ทีเ่ พยี งอยางเดยี ว (คําพพิ ากษาฎกี าท่ี ๘๗๒๒/๒๕๕๕)

๔๒

- คําพิพากษาฎีกาท่ี ๘๗๒๒/๒๕๕๕
เมอื่ ขอ เทจ็ จรงิ ไดค วามวา บรเิ วณทเ่ี กดิ เหตอุ ยบู นถนนสทุ ธาวาสไมใ ชห ลงั ซอยโรงถา นตามทส่ี บิ ตาํ รวจโท ก. และ

สบิ ตาํ รวจตรี พ. อา งวา มอี าชญากรรมเกดิ ขน้ึ ประจาํ แตอ ยา งใด และจําเลยไมม ที า ทางเปน พริ ธุ คงเพยี งแตน งั่ โทรศพั ทอ ยเู ทา นน้ั
การทส่ี บิ ตาํ รวจโท ก. และสบิ ตาํ รวจตรี พ. อา งวา เกดิ ความสงสยั ในตวั จาํ เลยจงึ ขอตรวจคน โดยไมม เี หตผุ ลสนบั สนนุ วา เพราะ
เหตใุ ดจึงเกิดความสงสัยในตัวจําเลย จงึ เปนขอสงสัยทอี่ ยูบนพ้ืนฐานของความรูส กึ เพียงอยา งเดยี ว ถอื ไมไ ดว า มเี หตุอนั ควร
สงสยั ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๙๓ ทจี่ ะทาํ การตรวจคน ได การตรวจคน ตวั จาํ เลยจงึ ไมช อบดว ย
กฎหมาย จาํ เลยซ่ึงถูกกระทาํ โดยไมชอบดวยกฎหมายจึงมีสิทธิโตแยงและตอบโตเพ่ือปองกันสิทธิของตน ตลอดจนเพิกเฉย
ไมป ฏบิ ตั ติ ามคําสงั่ ใด ๆ อนั สบื เนอ่ื งจากการปฏบิ ตั ทิ ไี่ มช อบดงั กลา วได การกระทําของจาํ เลยจงึ ไมเ ปน ความผดิ ตามทโี่ จทกฟ อ ง

๒. ในเรื่องการคนกรณีน้ี กฎหมายไมไดบัญญัติวาจะตองเปนเจาพนักงานฝายปกครองหรือเจาพนักงานตาํ รวจ
ช้นั ยศใด ท่จี ะตองเปนหวั หนาในการตรวจคน ตัวบคุ คล

(๒) การคน ตวั ผถู ูกจบั หรือผตู อ งหา
ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญามาตรา ๘๕ วรรคแรก “เจา พนกั งานผจู บั หรอื รบั ตวั ผถู กู จบั ไว มอี าํ นาจคน ตวั

ผูตองหาและยึดสิ่งของตางๆ ท่ีอาจใชเปนพยานได” ดังน้ัน กรณีท่ีเจาพนักงานตํารวจมีเหตุอันควรสงสัยวาผูถูกจับนั้น
ซุกซอนสิ่งของที่ใชในการกระทาํ ความผิด หรือมไี วเปน ความผดิ นั้นอยกู บั ตวั เจา พนกั งานตาํ รวจผจู ับกุมหรอื รับตวั กม็ อี าํ นาจ
ทีจ่ ะคนตัวบคุ คลและยดึ สิง่ ของนน้ั ไดแตต องกระทําการคน โดยสุภาพ

แตหากผูถูกจับหรือผูตองหาเปนผูหญิง ผูที่จะทาํ การคนตองเปนผูหญิง (มาตรา ๘๕ วรรคสอง) ซึ่งกรณี
ทีไ่ มม ีเจาพนกั งานตํารวจหญงิ กส็ ามารถขอความรวมมือจากผหู ญิงอน่ื ทอ่ี ยบู รเิ วณใกลเคยี งนนั้ เปนผทู าํ การคนได

๒) ¡Ò乌 ʶҹ·Õè
ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๙๒ กาํ หนด “หา มมิใหค น

ในทีร่ โหฐานโดยไมม หี มายคน หรอื คําสั่งศาล”
ดงั นน้ั หากจะตอ งทาํ การคน ในทรี่ โหฐาน เจา พนกั งานตํารวจจะตอ งไปทําการคน ได

ตอเม่ือมหี มายคน เทา นัน้ เวนแตจ ะเปน กรณีเขา ขอยกเวนตามที่มาตรา ๙๒ กาํ หนด กลา วคือ
(๑) เมอ่ื มเี สยี งรอ งใหช ว ยมาจากขา งในทร่ี โหฐาน หรอื มเี สยี ง หรอื พฤตกิ ารณอ นื่ ใด

อันแสดงไดวา มเี หตรุ ายเกิดขึ้นในท่รี โหฐานนน้ั
(๒) เม่อื ปรากฏความผดิ ซึ่งหนากาํ ลงั กระทาํ ลงในทรี่ โหฐาน
(๓) เมื่อบุคคลที่ไดกระทําความผิดซึ่งหนา ถูกไลจับและหนีเขาไปหรือมีเหตุ

อันแนนแฟน ควรสงสยั วาไดเ ขาไปซกุ ซอนตัวอยใู นทีร่ โหฐานนั้น
(๔) เมื่อมีพยานหลักฐานตามสมควรวาสิ่งของท่ีมีไวเปนความผิด หรือไดมา

โดยการกระทาํ ความผดิ หรอื ไดใ ชห รอื มไี วเ พอ่ื ใชใ นการกระทาํ ความผดิ หรอื อาจเปน พยานหลกั ฐานพสิ จู น
การกระทําความผิดไดซอนหรืออยูในน้ัน ประกอบทั้งตองมีเหตุอันควรเช่ือวาหากรอหมายคน
ส่งิ ของนน้ั จะถกู โยกยายหรือทําลายเสียกอน

(๕) เม่ือท่ีรโหฐานน้ัน ผูท่ีจะตองถูกจับเปนเจาบานและการจับนั้นมีหมายจับ
หรอื เปนการจับตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญามาตรา ๗๘

๔๓

การใชอํานาจตรวจคนกรณีน้ี ใหผูตรวจคนจัดทําºÑ¹·Ö¡¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹â´ÂäÁ‹ÁÕ
ËÁÒ¤¹Œ (Ẻ Ê õö – óñ) โดยแสดงเหตผุ ลทที่ าํ ใหส ามารถเขา คน ได แลว มอบบนั ทกึ การตรวจคน และ
ºÞÑ ª·Õ Ã¾Ñ Â» ÃСͺº¹Ñ ·¡Ö ¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ â´ÂäÁÁ‹ ËÕ ÁÒ¤¹Œ (Ẻ Ê õö – óò) ใหไ วแ กผ คู รอบครอง
สถานทท่ี ่ถี กู ตรวจคน แตถ าไมมผี คู รอบครองอยู ณ ท่นี นั้ ใหสงมอบบันทึกดงั กลาวแกบ คุ คลเชนวา นน้ั
ในทันทีท่ีกระทําได แลวใหรีบรายงานผลการตรวจคนพรอมทั้งเหตุผลเปนหนังสือตอผูบังคับบัญชา
เหนือข้ึนไปหนง่ึ ชนั้ (คําสั่งสาํ นักงานตํารวจแหงชาติ ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๒.๑)

การตรวจคนกรณีมหี มายคน หรือคําส่งั ของศาลนั้น หัวหนาในการจดั การใหเปนไป
ตามหมายนนั้ คอื เจา พนกั งานผมู ชี อื่ ในหมายคน หรอื ผรู กั ษาการแทนซงึ่ จะตอ งเปน เจา พนกั งานตาํ รวจ
ที่มียศต้ังแตชั้นรอยตํารวจตรีข้ึนไปเทาน้ัน และเม่ือทําการตรวจคนเสร็จสิ้นแลว ใหดําเนินการตามท่ี
ศาลส่งั ไวดว ย (คาํ สงั่ สาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ ท่ี ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๒.๓)

การตรวจคนในที่รโหฐาน ใหเจา พนกั งานตํารวจปฏิบัตดิ งั นี้
๑. เจา พนกั งานตาํ รวจทจ่ี ะทาํ การตรวจคน ตอ งแตง เครอ่ื งแบบ เวน แตม เี หตจุ าํ เปน
หรอื กรณเี รงดวน หรอื เปน เจาพนกั งานตาํ รวจท่มี ีตําแหนงตง้ั แตผ ูกาํ กบั การขนึ้ ไปจะไมแ ตงเคร่ืองแบบ
ก็ได แตตองแจงยศ ชื่อ ตําแหนงพรอมทั้งแสดงบัตรประจําตัวใหเจาบานหรือผูครอบครอง
สถานทน่ี ้ันทราบ
๒. กอนลงมือตรวจคนใหเจาพนักงานตํารวจท่ีจะทําหนาท่ีในการตรวจคนแสดง
ความบรสิ ทุ ธจ์ิ นเปน ทพี่ อใจกบั เจา บา นหรอื ผคู รอบครองสถานทน่ี นั้ แลว จงึ ลงมอื ตรวจคน ตอ หนา เจา บา น
หรือผูครอบครองสถานทน่ี นั้ หรือถาหาบคุ คลเชน วา น้นั ไมได หรอื สถานท่นี ั้นไมมีผูใ ดอยูก ็ใหต รวจคน
ตอหนา บุคคลอน่ื อยา งนอยสองคนทเี่ จาพนักงานตาํ รวจไดข อรองมาเปนพยาน
๓. หากเปนกรณีตรวจคนท่ีอยูหรือสํานักงานของผูตองหาหรือจําเลย ซึ่งถูก
ควบคุมหรือขังอยูใหทําตอหนาบุคคลนั้น ถาบุคคลน้ันไมติดใจหรือไมสามารถมากํากับ จะตั้งผูแทน
หรือพยานมากํากับก็ได ถาผูแทนหรือพยานไมมี ใหตรวจคนตอหนาบุคคลในครอบครัวหรือตอหนา
บคุ คลอน่ื อยา งนอยสองคนท่ีเจาพนกั งานตํารวจไดข อรอ งมาเปนพยาน
๔. ในการตรวจคนท่ีรโหฐาน ใหเจาพนักงานตํารวจสั่งเจาของหรือคนที่อยูในนั้น
หรือผูรักษาสถานที่ซึ่งจะตรวจคนยอมใหเขาไปโดยมิหวงหาม อีกทั้งใหความสะดวกตามสมควร
ทุกประการ ในอันที่จะจัดการตรวจคนน้ัน ถาบุคคลดังกลาวไมยอมใหเขาไป ใหเจาพนักงานตํารวจ
ชี้แจงเหตุความจําเปนกอน ถายังไมยินยอมอีก เจาพนักงานตํารวจมีอํานาจใชกําลังเขาไป ในกรณี
จําเปนจะตองเปด หรือทาํ ลายประตบู าน ประตูเรอื น หนาตาง รั้ว หรือสิง่ กดี ขวางอยางอ่ืนๆ ใหท ําได
แตจะทาํ ใหเสียหายเกินกวา ความจําเปน ไมไ ด
๕. ในการตรวจคน ตอ งกระทาํ ดว ยความระมดั ระวงั และพยายามหลกี เลยี่ งมใิ หเ กดิ
ความเสียหาย เวน แตมีเหตุจาํ เปนทไี่ มอาจหลีกเล่ยี งได

๔๔

๖. สิ่งของใดที่ยึดได ตองใหเจาของหรือผูครอบครองสถานที่ บุคคลในครอบครัว
ผตู องหา จาํ เลย ผแู ทน หรอื พยาน แลว แตกรณี ดเู พือ่ ใหร ับรองวาถูกตอง ถาบคุ คลเชน น้นั รบั รอง
หรอื ไมย ินยอมรับรองอยางใด ใหม ีรายละเอยี ดปรากฏไวใ นบนั ทกึ การตรวจคน

๗. เม่ือเจาพนักงานตํารวจตรวจคนเสร็จส้ินแลวตองจัดทําบันทึกการตรวจคน
โดยใหป รากฏรายละเอยี ดแหง การตรวจคน และสง่ิ ของทต่ี รวจคน โดยสงิ่ ของทต่ี รวจคน ใหห อ หรอื บรรจุ
หีบหอ ตตี ราไว หรือใหท าํ เคร่ืองหมายไวเ ปน สําคัญ

๘. บันทึกการตรวจคนน้ันใหอานใหเจาของ หรือผูครอบครองสถานท่ี บุคคล
ในครอบครวั ผตู อ งหา จาํ เลย ผแู ทน หรือพยาน แลว แตก รณฟี ง แลวใหบ ุคคลเชนวา น้นั ลงลายมือชื่อ
รับรองไวหากไมยินยอมใหบ นั ทกึ เหตผุ ลไว

(คาํ สงั่ สํานักงานตํารวจแหงชาติ ท่ี ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๒.๔)
๓) ¡Ò乌 ÂÒ¹¾Ò˹Ð

ในเรื่องการคนยานพาหนะ ไมมีกฎหมายระบุไววาจะตองปฏิบัติอยางไร แตไดมี
คําพพิ ากษาศาลฎกี า ไดว างแนวทางไวดงั น้ี

รถไฟ จากคําพิพากษาฎกี าที่ ๒๐๒๔/๒๔๙๗ สถานทีบ่ นขบวนรถไฟโดยสารเปนท่ี
ซ่ึงสาธารณชนมีความชอบธรรมที่จะเขาไปได การคนบุคคลใดในสถานที่ดังกลาวจึงไมจําตองมี
หมายคน และไมอยภู ายใต ป.วิ.อาญา มาตรา ๙๖ และไมตอ งปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๐๒ วรรคหน่ึง

รถยนต กรณีท่ีรถยนตจอดหรือแลนอยูบนถนนหรืออยูในทางสาธารณะ
จากคาํ พิพากษาฎีกาที่ ๓๗๕๑/๒๕๕๑ รถยนตท่ีกาํ ลังแลนอยูบนถนนสาธารณะเปนยานพาหนะ
เพือ่ พาบคุ คลหรอื สง่ิ ของจากทแ่ี หงหนง่ึ ไปยงั ท่ีอกี แหงหนงึ่ ไมถ ือวาเปนท่รี โหฐาน เจา พนกั งานตาํ รวจ
ซ่ึงมีอํานาจหนาท่ีปองกันปราบปรามอาชญากรรม มีอํานาจตรวจคนรถยนตไดโดยไมตองมีคาํ สั่ง
หรอื หมายของศาล หากมเี หตสุ งสยั วา ในรถยนตม สี งิ่ ผดิ กฎหมายซกุ ซอ น ดงั นน้ั เมอ่ื เจา พนกั งานตํารวจ
กบั พวกสงสยั วา ในรถยนตท มี่ ผี ขู บั ขม่ี ามสี งิ่ ของผดิ กฎหมายซกุ ซอ นอยู เจา พนกั งานตาํ รวจยอ มมอี าํ นาจ
คนรถยนตน น้ั ไดโดยไมต อ งมคี ําสั่งหรือหมายของศาล

ขอพึงระวงั
หากการคน ทไ่ี มช อบดว ยกฎหมาย เชน คน โดยไมม หี มายคน และไมเ ขา ขอ ยกเวน ตามกฎหมายทจี่ ะคน ไดโ ดยไมต อ งมหี มายคน

ดงั กลา วขา งตน แลว การกระทาํ ดงั กลา วเปน เรอื่ งทพ่ี นกั งานเจา หนา ทจี่ งใจกระทาํ ผดิ กฎหมาย ซง่ึ เปน การละเมดิ ดงั นนั้ จะตอ งใชค า สนิ ไหม
ทดแทนจากการกระทาํ ดงั กลา วตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยมาตรา๔๒๐รวมทงั้ ใชร าคาทรพั ยส นิ และคา เสยี หายอน่ื ตามมาตรา๔๓๘
(คาํ พิพากษาฎีกาที่ ๖๓๐๑/๒๕๔๑)

๔๕

á¹Ç·Ò§»¯ÔºμÑ ãÔ ¹¡Òè´º¹Ñ ·¡Ö คาํ ÃÍŒ §·Ø¡¢ã¹¤´Õ·èÕ¼àŒÙ ÊÂÕ ËÒÂ໹š à´ç¡ËÃÍ× àÂÒǪ¹

ในกรณที ผี่ เู สยี หายเปน เดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๘ ป นน้ั ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
มาตรา ๑๒๔/๑ บญั ญตั วิ า “ใหน าํ บทบญั ญตั ใิ นมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนงึ่ วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบ งั คบั
โดยอนโุ ลมแกก ารจดบนั ทกึ คาํ รอ งทกุ ขใ นคดที ผ่ี เู สยี หายเปน เดก็ อายไุ มเ กนิ สบิ แปดป เวน แตม เี หตจุ าํ เปน
ไมอ าจหาหรอื รอนกั จติ วทิ ยาหรอื นกั สงั คมสงเคราะห บคุ คลทเ่ี ดก็ รอ งขอและพนกั งานอยั การได และเดก็
ไมป ระสงคจ ะใหม หี รอื รอบคุ คลดงั กลา วตอ ไป ทง้ั นี้ ใหผ รู บั คาํ รอ งทกุ ข ตามมาตรา ๑๒๓ หรอื มาตรา ๑๒๔
แลว แตก รณี บนั ทกึ เหตดุ งั กลา วไวใ นบนั ทกึ คาํ รอ งทกุ ขด ว ย” จากมาตราดงั กลา วทร่ี ะบใุ หก ารจดบนั ทกึ
รองทุกขคดีทผ่ี เู สียหายเปน เดก็ อายไุ มเกิน ๑๘ ป โดยนําหลกั เกณฑที่กาํ หนดไวใ นมาตรา ๑๓๓ ทวิ
มาบังคบั ใชโดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนงึ่ บญั ญตั วิ า “ในคดคี วามผดิ เกย่ี วกบั เพศ ความผดิ เกยี่ วกบั ชวี ติ
และรา งกายอนั มิใชค วามผดิ ท่เี กดิ จากการชลุ มุนตอสู ความผดิ เกีย่ วกับเสรภี าพ ความผดิ ฐานกรรโชก
ชงิ ทรพั ย และปลน ทรพั ย ตามประมวลกฎหมายอาญา ความผดิ ตามกฎหมายวา ดว ยการปอ งกนั และปราบปราม
การคา ประเวณี ความผดิ ตามกฎหมายวา ดว ยมาตรการในการปอ งกนั และปราบปรามการคา หญงิ และเดก็
ความผดิ ตามกฎหมายวา ดว ยสถานบรกิ ารหรอื คดคี วามผดิ อน่ื ทมี่ อี ตั ราโทษจาํ คกุ ซงึ่ ผเู สยี หายหรอื พยาน
ทเี่ ปน เดก็ อายไุ มเ กนิ สบิ แปดปร อ งขอ การถามปากคําผเู สยี หายหรอื พยานทเี่ ปน เดก็ อายไุ มเ กนิ สบิ แปดป
ใหพนักงานสอบสวนแยกกระทาํ เปนสวนสัดในสถานที่ที่เหมาะสมสําหรับเด็ก และใหมีนักจิตวิทยา
หรอื นกั สงั คมสงเคราะห บคุ คลทเ่ี ดก็ รอ งขอ และพนกั งานอยั การรว มอยดู ว ยในการถามปากคาํ เดก็ นน้ั
และในกรณที น่ี กั จติ วทิ ยาหรอื สงั คมสงเคราะหเ หน็ วา การถามปากคําเดก็ คนใดหรอื คาํ ถามใด อาจจะมผี ล
กระทบกระเทือนตอจิตใจเด็กอยางรุนแรง ใหพนักงานสอบสวนถามผานนักจิตวิทยาหรือ
นกั สงั คมสงเคราะหเ ปน การเฉพาะตามประเดน็ คําถามของพนกั งานสอบสวน โดยมใิ หเ ดก็ ไดย นิ คาํ ถาม
ของพนกั งานสอบสวนและหามมใิ หถ ามเดก็ ซา้ํ ซอ นหลายครั้งโดยไมม เี หตุอันสมควร”

ดังน้นั จะเหน็ ไดว า เมือ่ นําบทบญั ญตั ิมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนงึ่ ดังกลา ว มาบงั คบั ใช
โดยอนุโลมในการบันทึกคํารองทุกขคดีที่ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป ตามที่มาตรา ๑๒๔/๑
กําหนดแลว เชนน้ี พนักงานสอบสวนและพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจซึ่งเปนผูรับคํารองทุกข
ตามมาตรา ๑๒๓ และ ๑๒๔ มีหนา ทป่ี ฏิบตั ิตามหลักเกณฑของกฎหมายดงั น้ี

๑) วธิ กี ารจดบนั ทกึ คาํ รอ งทกุ ขท จ่ี ะตอ งปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑท มี่ าตรา ๑๒๔/๑ ประกอบ
มาตรา ๑๓๓ ทวิ กาํ หนดใหต อ งมกี ลมุ สหวชิ าชพี รว มดว ยนน้ั จะใชเ ฉพาะประเภทคดที กี่ ฎหมายกาํ หนด
ไวเทาน้ัน คอื

(๑) คดคี วามผิดตามประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะ
- ความผดิ เกี่ยวกบั เพศ
- ความผดิ เก่ยี วกับชีวิตรางกาย อันมใิ ชค วามผิดท่ีเกดิ จากการชุลมุนตอสู
- ความผิดเกี่ยวกบั เสรภี าพ
- ความผิดฐานกรรโชก ชงิ ทรัพย และปลนทรัพย

๔๖

(๒) คดีความผดิ ตามกฎหมายวา ดวย การปอ งกนั และปราบปรามการคา ประเวณี
(๓) คดีความผิดตามกฎหมายวาดวย มาตรการในการปองกันและปราบปราม

การคา หญิงและเดก็
(๔) คดีความผิดตามกฎหมายวาดว ยสถานบรกิ าร
(๕) คดคี วามผิดอืน่ ที่มอี ตั ราโทษจําคกุ ซ่งึ ผูเสยี หายท่เี ปนเดก็ อายุไมเกิน ๑๘ ป

รอ งขอ

ขอ สังเกต
นายธานิศ เกศวพิทักษ รองประธานศาลฎกี าไดใหขอสงั เกตวา เจตนารมณของมาตรา ๑๓๓ ทวิ ไมป ระสงคจ ะให

ความคุมครองแกเด็ก การเขารวมในการชุลมุนตอสู กลาวคือ ไมคุมครองผูเสียหายหรือพยานที่เปนเด็กท่ีเขาในการชุลมุน
ตอ สู แมจ ะเปน คดอี าญาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๒๙๔, ๒๙๙ ก็ตาม แตห ากผเู สียหายหรอื พยานทเี่ ปนเด็กนนั้
เปนผูบริสุทธ์ิไมไดเขารวมในการชุลมุนตอสู แตบังเอิญอยูในบริเวณดังกลาวเชนน้ี เด็กน้ันนาจะไดรับความคุมครองสิทธิ
ตามมาตรา ๑๓๓ ทวิน้ี โดยไมตอ งรองขอ

เหน็ ไดว า คดตี ามขอ (๑) - (๔) ขา งตน นน้ั เปน หนา ทขี่ องผรู บั คาํ รอ งทกุ ข รอ งทจ่ี ะตอ งจดั ใหม กี ลมุ สหวชิ าชพี รว มในการ
จดบันทึกคํารองทกุ ข แตถา เปนคดีความผิดอนื่ ท่มี อี ตั ราโทษจําคกุ มิใชค ดีตามขอ (๑) - (๔) ซึง่ นอกเหนอื จากท่มี าตรา ๑๓๓
ทวิ วรรคแรกระบุไวน ั้น ผูร บั คํารอ งทุกขจ ะนําหลกั เกณฑก ารจดบันทกึ คํารองทกุ ข ทีก่ ําหนดไวต ามมาตรา ๑๒๔/๑ ประกอบ
มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคแรกมาใชเ ม่อื ผเู สยี หายทีเ่ ปน เดก็ รองขอ (ธานิศ เกศวพิทักษ, ๒๕๕๗)

๒) พนักงานสอบสวนและพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูรับคํารองทุกขจะตอง
ปฏิบัตติ ามทมี่ าตรา ๑๓๓ ทวิ กาํ หนดกลา วคอื

(๑) จะตองแยกกระทาํ เปน สวนสดั ในสถานท่ที ี่เหมาะสมสําหรับเด็ก
(๒) ตองจัดใหมีกลุมสหวิชาชีพ คือ นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคล
ที่ผูเสียหาย ซึ่งเปนเด็กรองขอ และพนักงานอัยการรวมอยูดวยในการจดบันทึกคํารองทุกข
โดยมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคสอง กาํ หนดใหเ ปน หนา ทขี่ องพนกั งานสอบสวนทจี่ ะตอ งแจง ใหน กั จติ วทิ ยา
หรอื นกั สังคมสงเคราะห บคุ คลทเ่ี ด็กรองขอ และพนกั งานอัยการทราบ
ในกรณีจําเปนเรงดวนอยางยิ่งซึ่งมีเหตุอันควร ไมอาจรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพ
หรอื บคุ คลทเี่ ดก็ รองขอ เขารว มในการถามปากคําพรอ มกันได มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหา ใหพ นักงาน
สอบสวนถามปากคํา โดยมีบุคคลใดบุคคลหน่ึง ดังท่ีกลาวมาขางตนอยูรวมก็ได แตตองบันทึกเหตุที่
ไมอาจรอบุคคลอ่ืนไวในสํานวนการสอบสวน และมิใหถือวาการถามปากคําผูเสียหายหรือพยาน
ซง่ึ เปน เด็กในกรณดี ังกลา วทไ่ี ดก ระทําไปแลวไมชอบดวยกฎหมาย

ขอสังเกต
ในกรณีท่ีไมอาจรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพหรือบุคคลท่ีเด็กรองขอนั้น ในมาตรา ๑๒๔/๑ ไดบัญญัติไวต อนทายวา

“.....เวนแตมีเหตุจําเปนไมอาจหาหรือรอนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลท่ีเด็กรองขอและพนักงานอัยการได
และเด็กไมประสงคจะใหมีหรือรอบุคคลดังกลาวตอไป ท้ังนี้ ใหผูรับคาํ รองทุกขตามมาตรา ๑๒๓ หรือมาตรา ๑๒๔
แลวแตก รณี บนั ทึกเหตุดงั กลาวไวใ นบันทึกคํารอ งทกุ ขด วย”


Click to View FlipBook Version