The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

6_LA22207_กฎหมายการชุมนุม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-06-29 02:10:45

6_LA22207_กฎหมายการชุมนุม

6_LA22207_กฎหมายการชุมนุม

วชิ า กม. (LA) ๒๒๒๐๗

กฎหมายการชุมนมุ สาธารณะ

ตําÃÒàÃÕ¹

ËÅÑ¡ÊμÙ Ã ¹Ñ¡àÃÕ¹¹ÒÂÊºÔ ตาํ ÃǨ

ÇÔªÒ ¡Á. (LA) òòòð÷ ¡®ËÁÒ¡ÒêÁØ ¹ØÁÊÒ¸ÒóÐ

เอกสารน้ี “໚¹¤ÇÒÁÅºÑ ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หา มมิใหผ หู นง่ึ ผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเ้ี พอื่ การอยา งอน่ื นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนที่ไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ สํา¹Ñ¡§Ò¹ตํา¾ÃÇ.Ȩá.òËõ§‹ ªöÒôμÔ

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÞÑ Ë¹ŒÒ

ÇÔªÒ ¡®ËÁÒ¡ÒêØÁ¹ØÁÊÒ¸ÒóР๑
ó
º··Õè ñ º·นํา ๓
º··Õè ò ÊÒÃÐสาํ ¤ÑÞ ¾.Ã.º.¡ÒêØÁ¹ÁØ ÊÒ¸ÒóР¾.È.òõõø áÅÐ͹غÞÑ ÞÑμÔ

๒.๑ สาระสําคัญ พ.ร.บ.การชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ๘
๒.๒ ประกาศ สาํ นกั งานตาํ รวจแหงชาติ ๙
ññ
เร่ือง กาํ หนดระดบั เสยี งของเครื่องขยายเสยี งท่ใี ชในการชุมนมุ สาธารณะ ๑๑
พ.ศ.๒๕๕๘ ๑๒
๒.๓ ประกาศ สาํ นกั นายกรัฐมนตรี ๑๓
เร่ือง กาํ หนดวธิ กี ารแจง การชุมนมุ สาธารณะ ñõ
๒.๔ ประกาศ สาํ นักนายกรัฐมนตรี ñ÷
เรื่อง เคร่ืองมอื ควบคมุ ฝงู ชนในการชุมนมุ สาธารณะ ๑๗
º··Õè ó ¡®ËÁÒÂà¡ÂèÕ Ç¡ºÑ ¤ÇÒÁÁ¹èÑ ¤§ ๑๗
๓.๑ พ.ร.บ.การรกั ษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑ ๑๘
๓.๒ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉ กุ เฉิน พ.ศ.๒๕๔๘
๓.๓ พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗
º··èÕ ô ËÅ¡Ñ ¡®ËÁÒ»¡¤Ãͧ¾¹×é °Ò¹
º··èÕ õ ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´·Ò§ÅÐàÁ´Ô ¢Í§à¨ŒÒ˹Ҍ ·èÕ
๕.๑ เจา หนาท่กี ระทําในการปฏิบัตหิ นาทแี่ ลวเกดิ ความเสียหาย
จะฟองตัวเจา หนา ท่ีไมได
๕.๒ ความรบั ผดิ ของเจาหนา ที่
๕.๓ สดั สวนความรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจาหนา ท่ี

˹ŒÒ

º··èÕ ö ¡ÒúÃËÔ ÒèѴ¡ÒáÒêÁØ ¹ÁØ ÊÒ¸ÒóРñù
๖.๑ มตคิ ณะรฐั มนตรี ๑๙
๖.๒ แผนการดแู ลการชุมนมุ สาธารณะ (มติคณะรฐั มนตรี ๒๕ สงิ หาคม ๒๕๕๘) ๒๐
๖.๓ แนวทางการปฏบิ ตั ิของสํานกั งานตํารวจแหง ชาติ ๒๔

º··Õè ÷ ¡Òè´Ñ กําÅѧ¾Å ÀÒá¨Ô º·ºÒ· áÅÐ˹Ҍ ·¢Õè ͧตาํ ÃǨ ò÷
๗.๑ การจดั กําลงั พล ๒๗
๗.๒ ภารกิจ บทบาท และหนาที่ของตาํ รวจ ๒๗

º··èÕ ø ¨ÔμÇÔ·ÂÒ¡ÒêÁØ ¹ØÁÊÒ¸ÒóÐáÅÐËÅÑ¡¡ÒÃ㪌กาํ Å§Ñ òù
๘.๑ จิตวิทยาการชุมนุมสาธารณะ ๒๙
๘.๒ หลกั การใชก าํ ลงั ๓๐

º··èÕ ù º·ÊÃØ» óõ

ºÃóҹ¡Ø ÃÁ óø

àÍ¡ÊÒÃÍÒŒ §Í§Ô óù



º··èÕ ñ

º·นํา

ประเทศไทยไดภาคยานุวัติ (Accession) เขารวมเปนภาคีกติการะหวางประเทศวาดวย
สทิ ธพิ ลเมืองและสิทธิทางการเมอื ง (International Covenant on Civil and Political Rights :
ICCPR) เมอื่ วันที่ ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๓๙ และมผี ลบงั คบั ใชวนั ท่ี ๒๙ มกราคม ๒๕๔๐ ซึ่งมสี าระของ
สทิ ธใิ นสว นทเี่ ปน สทิ ธพิ ลเมอื งและสทิ ธทิ างการเมอื ง โดยมกี ารคมุ ครองเสรภี าพทางความคดิ เสรภี าพ
ในการแสดงความคดิ เหน็ และการแสดงออก (Freedom of Expression) และสทิ ธทิ จ่ี ะชมุ นมุ อยา งสนั ติ
การรวมกันเปนสมาคม พลเมืองทุกคนมีสิทธิท่ีจะมีสวนในกิจการสาธารณะ การรับรองวาบุคคล
ท้ังปวงยอมเสมอภาคกันตามกฎหมายและไดรับการคุมครองอยางเทาเทียมกัน โดยกติกา
ระหวา งประเทศวา ดว ยสทิ ธพิ ลเมอื งและสทิ ธทิ างการเมอื ง ในขอ บทท่ี ๒๑ ไดก ลา วถงึ สทิ ธใิ นการชมุ นมุ
โดยสงบ (The Right of Peaceful Assembly) ยอ มไดร บั การรบั รอง การจํากดั การใชส ทิ ธนิ จ้ี ะกระทาํ
มไิ ด¹ Í¡¨Ò¡¨Ðกํา˹´â´Â¡®ËÁÒÂáÅÐà¾ÂÕ §à·Ò‹ ·จèÕ าํ ໹š สาํ หรบั สงั คมประชาธปิ ไตย เพอ่ื ประโยชน
แหงความม่ันคงของชาติ (National Security) หรือความปลอดภัยสาธารณะ (Public Safety)
ความสงบเรยี บรอ ย (Public Order) การสาธารณสขุ หรอื ศลี ธรรมของประชาชน (Protection of Public
Health or Morals) หรือการคุม ครองสทิ ธิและเสรีภาพของบคุ คลอื่น (Protection of the Rights
and Freedoms of Others) ประเทศไทยจึงถอื ตามกติการะหวา งประเทศดงั กลา ว และใหก ารรบั รอง
และความสําคัญกับการชุมนุมโดยสงบภายใตกรอบของรัฐธรรมนูญและกฎหมายท่ีจะตองมุงคุมครอง
ทัง้ ผูชมุ นมุ สาธารณะและสาธารณชนไปพรอม ๆ กนั

ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞá˧‹ ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â·Õàè ¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº¡ÒêÁØ ¹ØÁÊÒ¸ÒóÐ
การชุมนุมสาธารณะไดมีพัฒนาการมาตั้งแตอดีต จะเห็นไดจากรัฐธรรมนูญฉบับตางๆ
ซง่ึ สทิ ธแิ ละเสรภี าพในการชมุ นมุ สาธารณะไดร บั การรบั รองไวอ ยา งตอ เนอื่ ง ความชดั เจนจะเหน็ ไดจ าก
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๓๙ เปนตนมา สิทธิและเสรีภาพในการชุมนุม
ซึง่ ถอื เปน สทิ ธิข้นั พน้ื ฐานของความเปน มนุษย จงึ เปน สทิ ธทิ ไ่ี ดรับการรับรองตามรฐั ธรรมนูญ
ñ. Ã°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÞÙ á˧‹ ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â ¾Ø·¸È¡Ñ ÃÒª òô÷õ

ÁÒμÃÒ ñô ภายในบงั คบั แหง บทกฎหมายบคุ คลยอ มมเี สรภี าพ บรบิ รู ณใ นรา งกาย
เคหสถาน ทรัพยสิน การพูด การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การประชุมโดยเปดเผย
การตง้ั สมาคม การอาชพี

ò. ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÞÙ á˧‹ ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òôøù
ÁÒμÃÒ ñô บคุ คลยอ มมเี สรภี าพบรบิ รู ณใ นรา งกาย เคหะสถาน ทรพั ยส นิ การพดู

การเขยี น การพิมพ การโฆษณา การศึกษาอบรม การชมุ นุมสาธารณะ การตง้ั สมาคมฯ



ó. Ã°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÞÙ á˧‹ ÃÒªÍÒ³Ò¨¡Ñ Ãä·Â ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òôùò
ÁÒμÃÒ ó÷ บคุ คลยอ มมเี สรภี าพบรบิ รู ณใ นการชมุ นมุ โดยสงบและปราศจากอาวธุ

การจาํ กดั เสรภี าพ เชน วา นี้ จะกระทาํ ไดก็แตโ ดยบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะ
ô. ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÞÙ áË‹§ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â(©ºÑºªèÑǤÃÒÇ) ¾.È.òõõ÷
ÁÒμÃÒ ô “ภายใตบ งั คบั บทบญั ญตั แิ หง รฐั ธรรมนญู นี้ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน มนษุ ย สทิ ธิ

เสรีภาพและความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยไดรับการคุมครองตามประเพณีการปกครอง
ประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและตามพันธกรณีระหวาง
ประเทศท่ีประเทศไทยมอี ยแู ลว ยอ มไดรบั การคมุ ครองตามรัฐธรรมนูญน”้ี

การปฏบิ ตั ขิ องเจา หนา ทต่ี ํารวจในการดแู ลรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยในการชมุ นมุ สาธารณะ
ดงั ทจี่ ะกลา วตอ ไป จะตง้ั อยใู นพนื้ ฐานทว่ี า “»ÃЪҪ¹ÂÍ‹ ÁÁàÕ ÊÃÀÕ Ò¾ã¹¡ÒêÁØ ¹ÁØ â´ÂʧºáÅлÃÒȨҡ
ÍÒÇ¸Ø ” เจา หนา ทมี่ หี นา ทใี่ นการดแู ลความปลอดภยั อํานวยความสะดวกใหแ กผ ชู มุ นมุ และดแู ลบรหิ าร
จดั การการชมุ นมุ สาธารณะใหเ ปน ไปดว ยความสงบเรยี บรอ ย ไมก ระทบกระเทอื นตอ ความมน่ั คงของชาติ
ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี ตลอดจนสุขอนามัยของประชาชน
หรือความสะดวกของประชาชนท่ีจะใชที่สาธารณะ และไมกระทบกระเทือนตอสิทธิและเสรีภาพ
และศกั ดศ์ิ รคี วามเปน มนษุ ยข องผอู น่ื ผจู ดั การชมุ นมุ มหี นา ทร่ี ว มกบั เจา หนา ทใี่ นการบรหิ ารความเสย่ี ง
ผูชุมนุมมีหนาท่ีจะตองปฏิบัติเปนผูชุมนุมที่ดี ปฏิบัติตามคําแนะนํา เง่ือนไขหรือคาํ ส่ังของเจาหนาท่ี
เพ่อื ปอ งกนั การเกดิ เหตุราย และมิใหเ กิดเหตุการณร นุ แรงขน้ึ ตลอดจนเกดิ ผลกระทบกบั ประชาชนอนื่
นอ ยทสี่ ดุ ดงั นน้ั เจา หนา ทจ่ี งึ ตอ งมที ศั นคตทิ ดี่ ตี อ การชมุ นมุ และเจา หนา ทที่ ไี่ ดร บั มอบหมายใหป ฏบิ ตั ิ
หนาท่ี จักตองมีทักษะ ความเขาใจ และอดทนตอสถานการณ เพื่อไมใหเกิดการยั่วยุ อันจะเปนการ
สง ผลใหก ารชุมนมุ มีแนวโนม ไปสคู วามรุนแรงได

หนังสือฉบับน้ี คณะผเู ขียนไดจ ดั ทาํ ข้ึนเพ่ือเปนหนงั สอื ประกอบการเรยี นการสอนในวชิ า
กฎหมายวาดวยการชุมนุมสาธารณะ ของหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจ สาํ นักงานตํารวจแหงชาติ
และเพอ่ื ใหผ อู า นหรอื ผทู สี่ นใจไดร บั ความรแู ละมคี วามเขา ใจในวชิ า กฎหมายวา ดว ยการชมุ นมุ สาธารณะ
ตอ ไป



º··Õè ò

ÊÒÃÐสาํ ¤ÑÞ ¾.Ã.º.¡ÒêØÁ¹ØÁÊÒ¸ÒóР¾.È.òõõø áÅÐ͹ºØ ÑÞÞÑμÔ

ò.ñ ÊÒÃÐสาํ ¤ÞÑ ¾.Ã.º.¡ÒêØÁ¹ÁØ ÊÒ¸ÒóР¾.È.òõõø

พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ เปนกฎหมายท่ีกาํ หนดหลักเกณฑ
การใชสิทธิชุมนุมสาธารณะใหชัดเจนและสอดคลองกับกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและ
สทิ ธทิ างการเมอื งทปี่ ระเทศไทยเปน ภาคี ทง้ั นี้ เพอ่ื ใหก ารชมุ นมุ สาธารณะเปน ไปดว ยความสงบเรยี บรอ ย
ไมก ระทบกระเทอื นตอ ความมนั่ คงของชาติ ความปลอดภยั สาธารณะ ความสงบเรยี บรอ ยหรอื ศลี ธรรม
อันดี ตลอดจนสุขอนามัยของประชาชน หรือความสะดวกของประชาชนท่ีจะใชที่สาธารณะ และ
ไมกระทบกระเทอื นสทิ ธแิ ละเสรีภาพและศักด์ิศรคี วามเปน มนุษยของผูอ นื่

ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤¢Í§ ¾.Ã.º.ªÁØ ¹ÁØ ÊÒ¸ÒóÐ
๑. เพอ่ื เปน แนวทางปฏบิ ตั ขิ องเจา หนา ท่ี และหนว ยงานตา งๆ เขา ใจหลกั สทิ ธแิ ละเสรภี าพ
ขนั้ พน้ื ฐานของการชมุ นมุ สาธารณะ ตลอดจนเขา ใจหลกั เกณฑว ธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ตอ งตามกฎหมายบญั ญตั ิ
และใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการดูแลการชุมนุมสาธารณะ โดยกาํ หนดบทบาท หนาที่ ตลอดจน
แนวทางการใชก ําลงั มาตรการ อปุ กรณห รอื เครอ่ื งมือสาํ หรับเจา หนา ที่ เพอ่ื ดูแลและรักษาความสงบ
การชุมนุมสาธารณะในการใชกําลัง มาตรการ อุปกรณหรือเครื่องมือใหอยูภายใตขอบเขตของ
พระราชบัญญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ เพ่อื ทําใหก ารชมุ นมุ สาธารณะ อันเปนสิทธทิ ่ีไดร ับ
การรับรองตามกฎหมาย ไดรับการดูแลเกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ใหสอดคลองกับกติการะหวาง
ประเทศวาดวยสิทธิทางการเมืองท่ีประเทศไทยเปนภาคี ไมกระทบกระเทือนตอความมั่นคงของชาติ
ความปลอดภยั สาธารณะ ความสงบเรยี บรอ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดี ตลอดจนสขุ อนามยั ของประชาชน หรอื
ความสะดวกของประชาชนท่ีจะใชท่ีสาธารณะ และไมกระทบกระเทือนสิทธิและเสรีภาพและศักดิ์ศรี
ความเปนมนษุ ยของผอู ืน่
๒. เพื่อกําหนดแนวทางปฏิบัติตั้งแตในภาวะปกติจนถึงสถานการณที่รุนแรงจนเกิด
ความวุนวายข้ึนในบานเมือง ทั้งน้ีเพ่ือใหการใชกําลัง มาตรการ อุปกรณหรือเคร่ืองมือของเจาหนาที่
สามารถใชต ามทกี่ ฎหมายไดใ หอ าํ นาจไว เพอื่ บรรลภุ ารกจิ และเปน การประกนั วา การใชก าํ ลงั มาตรการ
อปุ กรณหรือเครือ่ งมอื ดงั กลา วไดม กี ารใชอยางเหมาะสม
๓. เพ่อื ให หนวยงาน ผบู ังคับบัญชา เจา หนาทที่ ุกระดบั มีหนาทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบ
ตอการใชกาํ ลัง มาตรการ อุปกรณหรือเคร่ืองมือของเจาหนาท่ีตามแผนนี้ใหเปนไปตามหลักของ
ความจําเปนอยา งสมเหตสุ มผลและอยูภายใตก ฎหมายท่ีเกี่ยวขอ ง
๔. เพอ่ื ให หนว ยงาน ผบู งั คบั บญั ชา เจา หนา ทที่ กุ ระดบั มกี ารอบรมใหค วามรคู วามเขา ใจ
ในเร่ืองแผนน้ีแกผูใตบังคับบัญชาของตน นอกจากน้ีกําลังพลที่จะปฏิบัติหนาที่ในภารกิจนี้ ตองไดรับ
การฝก ฝนใหม ขี ดี ความสามารถเพยี งพอทจี่ ะใชก าํ ลงั มาตรการ และอปุ กรณห รอื เครอ่ื งมอื เพอ่ื การรกั ษา
ความสงบการชุมนมุ สาธารณะ เพื่อบรรลุภารกิจดังกลา ว



พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ไดกาํ หนดขอบเขตของการชุมนุม
สาธารณะ สถานท่ีหามการชุมนุม การแจงและวิธีการแจงการชุมนุม หนาท่ีของผูจัดการชุมนุม
และผชู มุ นมุ การดแู ลการชมุ นมุ และบทกาํ หนดโทษสาํ หรบั ผทู ฝี่ า ฝน โดยมสี าระสําคญั ตา ง ๆ ดงั ตอ ไปนี้

๑. กาํ หนดการชมุ นมุ สาธารณะทไี่ มอ ยภู ายใตพ ระราชบญั ญตั นิ ้ี ไดแ ก การชมุ นมุ เนอ่ื งในงาน
พระราชพิธีและงานรัฐพิธี การชุมนุมเพ่ือประกอบพิธีกรรมทางศาสนาหรือกิจกรรมตามประเพณี
หรอื ตามวฒั นธรรมแหง ทอ งถนิ่ การชมุ นมุ เพอ่ื จดั แสดงมหรสพ กฬี า สง เสรมิ การทอ งเทย่ี ว หรอื กจิ กรรมอนื่
เพื่อประโยชนทางการคาปกติของผูจัดการชุมนุมนั้น การชุมนุมภายในสถานศึกษา การชุมนุม
หรือการประชุมตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย หรือการประชุมสัมมนาทางวิชาการของสถานศึกษา
หรือหนวยงานท่ีมีวัตถุประสงคทางวิชาการ และการชุมนุมสาธารณะในระหวางเวลาที่มีประกาศ
สถานการณฉ กุ เฉนิ หรอื ประกาศใชก ฎอยั การศกึ และการชมุ นมุ สาธารณะทจ่ี ดั ขน้ึ เพอ่ื ประโยชนใ นการ
หาเสยี งเลอื กตง้ั ในชว งเวลาทมี่ กี ารเลอื กตง้ั แตท ง้ั น้ี ตอ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา ดว ยการนน้ั (มาตรา ๓)

๒. กาํ หนดนิยามคาํ วา “¡ÒêØÁ¹ØÁÊÒ¸ÒóД ซง่ึ มีองคป ระกอบ ดงั นี้
๒.๑ การชุมนุมของบคุ คลในท่สี าธารณะ
๒.๒ เพ่อื เรียกรอ ง สนับสนนุ คดั คา น หรือแสดงความคดิ เห็นในเรื่องใดเรอ่ื งหนึง่
๒.๓ โดยแสดงออกตอ ประชาชนทวั่ ไป และบคุ คลอ่ืนสามารถรวมการชุมนมุ นนั้ ได
ไมว าการชมุ นมุ น้ันจะมกี ารเดินขบวน หรือเคล่อื นยา ยดวยหรอื ไม (มาตรา ๔)

๓. กาํ หนดหลักทั่วไปในการชุมนุมสาธารณะ กลาวคือ การชุมนุมสาธารณะตองเปน
โดยสงบและปราศจากอาวุธ การใชสิทธิและเสรีภาพของผูชุมนุมในระหวางการชุมนุมสาธารณะ
ตอ งอยภู ายใตข อบเขตการใชส ทิ ธแิ ละเสรภี าพตามบทบญั ญตั แิ หง รฐั ธรรมนญู และกฎหมาย (มาตรา ๖)

๔. กาํ หนดสถานท่ีตองหามมิใหจัดการชุมนุมสาธารณะ ไดแก ระยะรัศมี ๑๕๐ เมตร
จากสถานที่สําคญั (พระบรมมหาราชวงั พระราชวงั วงั ของพระรชั ทายาทหรอื ของพระบรมวงศตงั้ แต
สมเดจ็ เจา ฟา ขนึ้ ไป พระราชนเิ วศน พระตาํ หนกั หรอื จากทซี่ งึ่ พระมหากษตั รยิ  พระราชนิ ี พระรชั ทายาท
พระบรมวงศต ง้ั แตส มเดจ็ เจา ฟา ขนึ้ ไป หรอื ผสู าํ เรจ็ ราชการแทนพระองค ประทบั หรอื พาํ นกั หรอื สถานที่
พํานักของพระราชอาคนั ตุกะ) จะกระทาํ มไิ ด (มาตรา ๗ วรรคหนึง่ )

กําหนดสถานที่หามจัดการชุมนุมภายในพ้ืนท่ีของรัฐสภา ทําเนียบรัฐบาล ศาล
และการชมุ นมุ สาธารณะตอ งไมก ดี ขวางทางเขา ออก หรอื รบกวนการปฏบิ ตั งิ าน หรอื การใชบ รกิ ารสถานที่
เชน สถานที่ทําการหนวยงานของรัฐ ทาอากาศยาน ทาเรือ สถานีรถไฟ หรือสถานีขนสงสาธารณะ
โรงพยาบาล สถานศึกษา และศาสนสถาน สถานทูตหรือสถานกงสลุ ของรัฐตางประเทศ หรอื สถานที่
ทําการองคการระหวางประเทศ เปนตน (มาตรา ๗ วรรคสอง วรรคสาม และมาตรา ๘)

อยา งไรกด็ ี เพอ่ื รกั ษาความปลอดภยั สาธารณะและความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน
จึงไดใหอํานาจผูบัญชาการตาํ รวจแหงชาติหรือผูที่ไดรับมอบหมายในการประกาศหามชุมนุมในรัศมี
ไมเ กิน ๕๐ เมตรจากรฐั สภา ทําเนียบรัฐบาลและศาลได (การประกาศหามตามแตก รณี โดยคาํ นงึ ถงึ
จาํ นวนผเู ขารว มชุมนมุ และพฤติการณในการชุมนมุ ) (มาตรา ๗ วรรคสี่)



๕. กาํ หนดใหมีการสงเสริมการใชสิทธิเสรีภาพในการชุมนุม โดยใหหนวยงานของรัฐ
อาจจัดใหมีสถานท่ีเพ่ือใชสําหรับการชุมนุมสาธารณะก็ได โดยมิใหนําความในหมวด ๒ การแจง
การชมุ นมุ สาธารณะมาใชบ งั คบั แกก ารชมุ นมุ สาธารณะทจี่ ดั ขนึ้ ภายในสถานทท่ี ห่ี นว ยงานของรฐั จดั ไว
ดงั กลาว (ผจู ดั การชมุ นมุ ไมตองแจงการชุมนุม ถาชุมนมุ ในสถานท่ที ร่ี ฐั จัดเตรียมไว) (มาตรา ๙)

๖. กําหนดใหผ ูประสงคจ ะจดั การชุมนุมสาธารณะทุกกรณี ใหแ จงการชุมนมุ ตอ ผูรับแจง
กอนเร่ิมการชุมนุมไมนอยกวายี่สิบส่ีช่ัวโมง โดยใหผูจัดการชุมนุม ผูประสงคจะจัดการชุมนุม และ
ใหถ อื วา ผเู ชญิ ชวนหรอื นดั ใหผ อู นื่ มารว มชมุ นมุ ในวนั เวลา และสถานทที่ ก่ี าํ หนดไมว า จะดว ยวธิ กี ารใด ๆ
รวมท้ังผูขออนุญาตใชสถานท่ีหรือเคร่ืองขยายเสียงหรือขอใหทางราชการอาํ นวยความสะดวกในการ
ชุมนมุ เปนผูป ระสงคจะจดั การชุมนุมสาธารณะดวย

โดยการแจง การชมุ นมุ สาธารณะตอ งระบวุ ตั ถปุ ระสงค และวนั ระยะเวลา และสถานท่ี
ชุมนุมสาธารณะตามวิธีการท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนด ซ่ึงตองเปนวิธีที่สะดวกแกผูแจง และตองให
แจง ผา นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศไดด ว ย (มาตรา ๑๐) (วธิ กี ารแจง คอื การแจง โดยตรง ณ สถานตี าํ รวจ
การแจงทางโทรสาร หรอื การแจง โดยจดหมายอิเล็กทรอนิกส)

เมื่อไดรับแจงแลว ใหผูรับแจงสงสรุปสาระสาํ คัญในการชุมนุมสาธารณะตาม
พระราชบัญญัติน้ี ใหผูแจงทราบภายในยี่สิบสี่ช่ัวโมงนับแตเวลาท่ีไดรับแจง กรณีท่ีผูรับแจงเห็นวา
การชุมนุมสาธารณะที่ไดร บั แจงนน้ั อาจขดั ตอ มาตรา ๗ หรอื มาตรา ๘ ใหผูรับแจงมคี ําสงั่ ใหผแู จง แกไ ข
ภายในเวลาที่กําหนด หากผูแจงการชุมนุมไมปฏิบัติตามคําส่ังใหผูรับแจงมีคาํ ส่ังหามชุมนุมโดยแจง
คาํ สั่งเปนหนงั สือไปยังผแู จง

กรณีท่ีผูประสงคจะจัดการชุมนุมสาธารณะซึ่งไมสามารถแจงการชุมนุมไดภายใน
กาํ หนดเวลาตามมาตรา ๑๐ แจงการชุมนุมพรอมคําขอผอนผันกําหนดเวลาดังกลาวตอผูบังคับการ
ตาํ รวจผูรับผิดชอบพ้ืนที่ในกรุงเทพมหานคร หรือผูบังคับการตํารวจภูธรจังหวัดในจังหวัดอ่ืน
แลวแตกรณี กอนเร่ิมการชุมนุม โดยใหผูรับคาํ ขอผอนผันมีหนังสือแจงคําส่ังพรอมดวยเหตุผล
ใหผ ูย ืน่ คําขอทราบภายในเวลายสี่ ิบสช่ี ั่วโมงนบั แตเวลาทไ่ี ดรับคําขอ (มาตรา ๑๒)

๗. กําหนดหนา ทขี่ องผจู ดั การชมุ นมุ ไดแ ก ดแู ลและรบั ผดิ ชอบการชมุ นมุ สาธารณะใหเ ปน ไป
โดยสงบและปราศจากอาวธุ ภายใตข อบเขตการใชส ทิ ธแิ ละเสรภี าพตามบทบญั ญตั แิ หง รฐั ธรรมนญู ดแู ล
และรบั ผดิ ชอบการชมุ นมุ สาธารณะไมใ หเ กดิ การขดั ขวางเกนิ สมควรตอ ประชาชนทจี่ ะใชท ส่ี าธารณะ ตลอดจน
ดแู ลและรบั ผดิ ชอบใหผ ชู มุ นมุ ปฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๑๖ แจง ใหผ ชู มุ นมุ ทราบถงึ หนา ทขี่ องผชู มุ นมุ ตามมาตรา ๑๖
และเง่ือนไขหรือคาํ สั่งของเจาพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ ใหความรวมมือแกเจาพนักงานดูแล
การชมุ นมุ สาธารณะในการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะใหเ ปน ไปตามกฎหมาย ไมย ยุ งสง เสรมิ หรอื ชกั จงู ผชู มุ นมุ
เพอื่ ใหผ ชู มุ นมุ ไมป ฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๑๖ ไมป ราศรยั หรอื จดั กจิ กรรมในการชมุ นมุ โดยใชเ ครอื่ งขยายเสยี ง
ในระหวา งเวลา ๒๔.๐๐ นากิ า ถงึ เวลา ๐๖.๐๐ นากิ าของวนั รงุ ขน้ึ ไมใ ชเ ครอ่ื งขยายเสยี งดว ยกําลงั ไฟฟา
ท่ีมีขนาดหรือระดับเสียงตามท่ีผูบัญชาการตาํ รวจแหงชาติประกาศกาํ หนด (คาระดับเสียงเฉล่ีย



๒๔ ชว่ั โมง ไมเ กิน ๗๐ เดซิเบลเอ และคา ระดับเสยี งสูงสดุ ไมเ กิน ๑๑๕ เดซิเบลเอ) (มาตรา ๑๕)
และกําหนดหนาท่ีของผูชุมนุม (ซ่ึงหมายความรวมถึงผูจัดการชุมนุมดวย ไดแก ไมกอใหเกิด
ความไมสะดวกแกประชาชนท่ีจะใชที่สาธารณะอันเปนท่ีชุมนุม หรือทําใหผูอ่ืนไดรับความเดือดรอน
เกินที่พึงคาดหมายไดวาเปนไปตามเหตุอันควร ไมปดบังหรืออาํ พรางตนโดยจงใจมิใหมีการระบุ
ตัวบุคคลไดถูกตอง เวนแตเปนการแตงกายตามปกติประเพณี ไมพาอาวุธ ดอกไมเพลิง สิ่งเทียม
อาวุธปน หรือส่ิงท่ีอาจนาํ มาใชไดอยางอาวุธ เขาไปในท่ีชุมนุม ไมวาจะไดรับอนุญาตใหมีส่ิงนั้น
ตดิ ตัวหรือไม ไมบกุ รุกหรือทาํ ใหเ สียหาย ทาํ ลาย หรอื ทําดว ยประการใด ๆ ใหใ ชการไมไ ดต ามปกติ
ซึ่งทรัพยสินของผูอ่ืน ไมทาํ ใหผูอื่นกลัววาจะเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย ทรัพยสิน หรือเสรีภาพ
ไมใชกาํ ลังประทุษรายหรือขูเข็ญวาจะใชกําลังประทุษรายผูเขารวมชุมนุมหรือผูอื่น ไมขัดขวาง
หรือกระทาํ การใด ๆ อันเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ
ในการคุมครองความสะดวกของประชาชนในการใชที่สาธารณะ และการดูแลการชุมนุมสาธารณะนั้น
ไมเดินขบวนหรือเคล่ือนยายการชุมนุมระหวางเวลา ๑๘.๐๐ นาิกา ถึงเวลา ๐๖.๐๐ นาิกา
ของวันรุงข้ึน เวนแตไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ และปฏิบัติตามเง่ือนไข
หรือคําสง่ั ของเจา พนกั งานดูแลการชมุ นุมสาธารณะ (มาตรา ๑๖)

๘. กาํ หนดการคมุ ครองความสะดวกของประชาชนและการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ เชน
ใหหัวหนาสถานีตาํ รวจแหงทองท่ีท่ีมีการชุมนุมสาธารณะเปนเจาพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ
แจง หรอื รอ งขอพนกั งานฝา ยปกครองหรอื องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ แหง ทอ งทที่ ม่ี กี ารชมุ นมุ สาธารณะ
หรอื หนว ยงานประชาสมั พนั ธข องรฐั หรอื เอกชนในทอ งทน่ี นั้ เพอื่ ทราบ และเพอ่ื ประโยชนใ นการคมุ ครอง
ความสะดวกของประชาชน การดูแลการชุมนุมสาธารณะ และการรักษาความสงบเรียบรอยหรือ
ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน โดยมีอํานาจหนาที่ อาํ นวยความสะดวกแกประชาชนท่ีจะใชท ี่สาธารณะ
อันเปนสถานที่ชุมนุม รักษาความปลอดภัย อาํ นวยความสะดวก หรือบรรเทาเหตุเดือดรอนราํ คาญ
แกผูอ่ืนซึ่งอยูในบริเวณใกลเคียงกับสถานที่ชุมนุม รักษาความปลอดภัยหรืออาํ นวยความสะดวก
แกผูชุมนุมในสถานท่ีชุมนุม อาํ นวยความสะดวกในการจราจรและการขนสงสาธารณะในบริเวณ
ที่มีการชุมนุมและบริเวณใกลเคียงเพ่ือใหประชาชนไดรับผลกระทบจากการชุมนุมนอยท่ีสุด
กาํ หนดเง่ือนไขหรือมีคาํ ส่ังใหผูจัดการชุมนุม ผูชุมนุม หรือผูอยูภายในสถานท่ีชุมนุมตองปฏิบัติตาม
และอาจมีคําส่ังใหปดหรือปรับเสนทางการจราจรเปนการช่ัวคราวได เพื่อประโยชนในการคุมครอง
ความสะดวกของประชาชนหรอื การดูแลการชุมนมุ สาธารณะ (มาตรา ๑๙)

โดยใหส ํานกั งานตํารวจแหง ชาตแิ ละหนว ยงานประชาสมั พนั ธข องรฐั จดั หรอื ประสาน
ใหมีการประชาสัมพันธเปนระยะเพื่อใหประชาชนทราบถึงสถานที่ท่ีใชในการชุมนุมและชวงเวลาที่มี
การชมุ นุม ตลอดจนคําแนะนําเกี่ยวกับเสนทางการจราจรหรอื ระบบการขนสง สาธารณะ (มาตรา ๒๐)

๙. กรณีการชุมนุมท่ีไมชอบดวยกฎหมาย ใหเจาพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ
มีอาํ นาจส่ังใหผูชุมนุมแกไขหรือเลิกการชุมนุมภายในระยะเวลาที่กําหนดตามแตกรณี หากผูชุมนุม



ไมป ฏบิ ตั ติ ามคาํ สงั่ ดงั กลา ว ใหเ จา พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะÃÍŒ §¢ÍμÍ‹ ÈÒÅᾧ‹ ËÃÍ× ÈÒŨ§Ñ ËÇ´Ñ
เพ่ือมีคาํ สั่งใหเลิกการชุมนุมสาธารณะ โดยในระหวางที่รอคาํ ส่ังศาลเจาพนักงานมีอํานาจกระทําการ
ที่จําเปนตามแผนหรือแนวทางตามกฎหมาย (มาตรา ๒๑) และอาจใชเครื่องมือควบคุมฝูงชนตามท่ี
กําหนดไวไ ด (๔๘ ชนดิ /ประเภท) เพยี งเทา ที่จําเปน ทง้ั น้ี การดําเนนิ การของเจาพนกั งานไมต ัดสิทธ์ิ
ของผูอนื่ ซ่งึ ไดใ ชสิทธิทางศาล

เมอื่ ไดร ับคาํ ขอใหม คี าํ สั่งใหผ ชู มุ นมุ เลกิ การชมุ นมุ สาธารณะตามมาตรา ๒๑ ใหศาล
พิจารณาคาํ ขอน้ันเปนการดวน หากความปรากฏตอศาลวามีผูชุมนุมซึ่งไมปฏิบัติตามประกาศของ
เจาพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะตามมาตรา ๒๑ ใหศาลมีคาํ สั่งโดยออกคาํ บังคับใหผูชุมนุม
เลกิ การชมุ นมุ สาธารณะภายในระยะเวลาทศ่ี าลกาํ หนด โดยใหเ จา พนกั งานบงั คบั คดปี ด ประกาศคําสงั่ ศาล
ตามมาตราน้ีไวใ นท่แี ลเหน็ ไดง าย ณ บริเวณท่มี กี ารชมุ นุมสาธารณะนัน้ และประกาศโดยวิธกี ารใด ๆ
เพื่อใหผูจัดการชุมนุม ผูชุมนุม ผูอยูในสถานที่ชุมนุม หรือประชาชนทั่วไป ไดรับทราบคําส่ังศาล
ดังกลา วดวย

ในกรณีที่ผูชุมนุมไมเลิกการชุมนุมสาธารณะตามคาํ ส่ังศาลภายในระยะเวลาที่ศาล
กาํ หนด ใหเ จา พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะรายงานใหศ าลทราบกบั ประกาศกาํ หนดใหพ น้ื ทบ่ี รเิ วณ
ทมี่ ีการชุมนมุ สาธารณะนนั้ และปริมณฑลของพ้นื ทนี่ นั้ ตามควรแกกรณีเปนพน้ื ท่ีควบคมุ และประกาศ
ใหผูชุมนุมออกจากพ้ืนท่ีควบคุมภายในระยะเวลาท่ีกําหนดและหามบุคคลใดเขาไปในพื้นที่ควบคุม
โดยมไิ ดร บั อนญุ าตจากเจา พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ และใหร ายงานรฐั มนตรี (นายกรฐั มนตร)ี
เพ่อื ทราบ

เมอ่ื มกี ารประกาศกาํ หนดพนื้ ทคี่ วบคมุ ตามวรรคหนงึ่ ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจนครบาล
ในกรงุ เทพมหานคร ผวู า ราชการจงั หวดั ในจงั หวดั อนื่ หรอื ผซู ง่ึ รฐั มนตรมี อบหมายใหร บั ผดิ ชอบเปน ผคู วบคมุ
สถานการณ เพอื่ ใหม กี ารเลกิ การชมุ นมุ สาธารณะตามคาํ สงั่ ศาล โดยเมอื่ พน ระยะเวลาทป่ี ระกาศใหผ ชู มุ นมุ
ออกจากพ้ืนท่ีควบคุม หากมีผูชุมนุมอยูในพื้นที่ควบคุมหรือเขาไปในพ้ืนที่ควบคุมโดยมิไดรับอนุญาต
จากเจา พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ ใหถ อื วา ผนู น้ั กระทําความผดิ ซง่ึ หนา และใหผ คู วบคมุ สถานการณ
และผูซ่ึงไดรับมอบหมายจากผูควบคุมสถานการณดาํ เนินการใหมีการเลิกการชุมนุมสาธารณะ
ตามคาํ สง่ั ศาล โดยใหผ คู วบคมุ สถานการณแ ละผซู งึ่ ไดร บั มอบหมายจากผคู วบคมุ สถานการณม อี าํ นาจ
จับผูซึ่งอยูในพ้ืนท่ีควบคุมหรือผูซ่ึงเขาไปในพื้นที่ควบคุมโดยมิไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานดูแล
การชมุ นมุ สาธารณะ คน ยดึ อายดั หรอื รอ้ื ถอนทรพั ยส นิ ทใี่ ชห รอื มไี วเ พอ่ื ใชใ นการชมุ นมุ สาธารณะนนั้
กระทาํ การที่จาํ เปนตามแผนหรือแนวทางการดูแลการชุมนุมสาธารณะตามมาตรา ๒๑ มีคาํ ส่ัง
หามมิใหก ระทาํ การใด ๆ เพื่อประโยชนในการดําเนินการใหม กี ารเลิกการชมุ นมุ

กรณีที่ผูชุมนุมกระทาํ การใด ๆ ที่มีลักษณะÃعáçáÅÐÍҨ໚¹ÍѹμÃÒÂá¡‹ªÕÇÔμ
Ëҧ¡Ò ¨Ôμ㨠ËÃ×Í·ÃѾÊÔ¹¢Í§¼ŒÙÍ×蹨¹à¡Ô´¤ÇÒÁNjعÇÒ¢éֹ㹺ŒÒ¹àÁ×ͧ ใหเจาพนักงานดูแล
การชุมนุมสาธารณะมีอํานาจสั่งใหผูชุมนุมยุติการกระทาํ นั้น และดาํ เนินการตามแผนหรือแนวทาง



ทกี่ าํ หนดไดท นั ที (เนอื่ งจากเปน กรณเี รง ดว นเจา พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะจงึ ไมต อ งรอ งขอตอ ศาล
และมอี าํ นาจสงั่ ใหผชู มุ นุมยุตกิ ารกระทําไดทนั ท)ี (มาตรา ๒๕)

๑๐. กาํ หนดโทษกรณีตาง ๆ อาทิ ผจู ัดการชมุ นมุ สาธารณะมไิ ดแจงการชุมนุมสาธารณะ
(มาตรา ๒๘) ผจู ดั การชมุ นมุ หรอื ผชู มุ นมุ ฝา ฝน ไมป ฏบิ ตั ติ ามหนา ที่ (มาตรา ๓๐ และ ๓๑) ผฝู า ฝน ไมป ฏบิ ตั ิ
ตามคําสง่ั หรอื ประกาศของเจา พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ (มาตรา ๓๒) และบรรดาทรพั ยส นิ ทใ่ี ช
หรอื มไี วเ พอ่ื ใชใ นการชมุ นมุ สาธารณะทยี่ ดึ ไดจ ากการชมุ นมุ สาธารณะทไี่ มช อบดว ยกฎหมายหรอื ทไี่ มเ ลกิ
การชมุ นมุ ตามคาํ สง่ั ศาล ใหศ าลมอี ํานาจสง่ั รบิ เสยี ทง้ั สน้ิ ไมว า จะมผี ถู กู ลงโทษตามคําพพิ ากษาหรอื ไม
(มาตรา ๓๕) และหา มมใิ ห ผทู ไ่ี มไ ดร บั มอบหมายจากเจา พนกั งานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ หรอื ผคู วบคมุ
สถานการณ หรือผูซ่งึ ไดรบั มอบหมายจากผคู วบคุมสถานการณ ใหปฏิบัตหิ นาทต่ี ามพระราชบัญญัติน้ี
พาอาวธุ เขา ไปในท่ีชุมนมุ ไมว าจะไดรบั อนญุ าตใหมอี าวธุ นนั้ ติดตวั หรือไมก ต็ าม (มาตรา ๓๔)

ò.ò »ÃСÒÈสาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตําÃǨá˧‹ ªÒμÔ àÃÍ×è § กํา˹´ÃдºÑ àÊÂÕ §¢Í§à¤ÃÍ×è §¢ÂÒÂàÊÂÕ §
·ãèÕ ªãŒ ¹¡ÒêÁØ ¹ØÁÊÒ¸ÒóР¾.È.òõõø

สํานักงานตํารวจแหงชาติไดประกาศกําหนดระดับเสียงของเคร่ืองขยายเสียงที่ใชในการ
ชุมนุมสาธารณะ ดงั น้ี

๑. คา ระดบั เสียงสงู สุด ไมเ กนิ ๑๑๕ เดซเิ บลเอ
๒. คา ระดบั เสยี งเฉลีย่ ๒๔ ชวั่ โมง ไมเกนิ ๗๐ เดซเิ บลเอ
๓. คา ระดับเสียงรบกวนเทากับ ๑๐ เดซเิ บลเอ
๔. วธิ กี ารตรวจวดั ระดบั เสยี งใหเ ปน ไปตามกฎหมายวา ดว ยการสง เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพ
สง่ิ แวดลอมแหง ชาติ

ò.ó »ÃСÒÈสาํ ¹Ñ¡¹ÒÂ¡Ã°Ñ Á¹μÃÕ àÃÍè× § กํา˹´Ç¸Ô ¡Õ ÒÃᨧŒ ¡ÒêØÁ¹ØÁÊÒ¸ÒóÐ

โดยทก่ี ารจดั การชมุ นมุ สาธารณะäÁμ‹ ÍŒ §Á¡Õ ÒâÍ͹ÞØ Òμ จงึ กําหนดวธิ กี ารแจง การชมุ นมุ
สาธารณะ ดังนี้

๑. พนักงานเจาหนาท่ี หมายความวา เจาพนักงานซ่ึงผูรับแจงแตงตั้งหรือมอบหมาย
ใหรับผิดชอบในการรับหรือสงหนังสือ หรือดาํ เนินการเก่ียวกับการรับแจงการชุมนุมสาธารณะของ
หนวยงาน

เมือ่ พนักงานเจา หนา ท่ี ไดร ับหนังสือแจง การชมุ นุมสาธารณะแลว ใหร ีบนาํ เสนอผูรบั แจง
เพื่อพิจารณาโดยเร็ว กรณีมีขอสงสัยใหพนักงานเจาหนาท่ีติดตอไปยังผูแจง เพ่ือตรวจสอบตัวผูแจง
และความถูกตองของหนังสือแจงการชุมนุมสาธารณะดว ย



๒. ผูประสงคจะจัดการชุมนุมใหแจงเปนหนังสือตอผูรับแจงซ่ึงเปนหัวหนาสถานีตาํ รวจ
แหงทองท่ีท่ีมีการชุมนุมสาธารณะตามแบบทายประกาศ กอนเร่ิมการชุมนุมไมนอยกวาย่ีสิบส่ีชั่วโมง
และการแจงใหดําเนินการโดยวิธหี นึ่งวธิ ีใด ดงั ตอไปนี้

๑) การแจง โดยตรงตอ ผรู ับแจง
๒) แจง ทางโทรสาร
๓) แจง ทางจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส
กรณที ผ่ี แู จง ไมส ามารถแจง การชมุ นมุ ไดท นั ตามกาํ หนดเวลาขา งตน ใหผ แู จง ยน่ื คาํ ขอ
ผอนผันพรอมแบบการแจงการชุมนุมสาธารณะ โดยแจงโดยตรงตอผูบังคับการผูรับผิดชอบ
พืน้ ท่กี ารชมุ นุมสาธารณะ
๓. การชุมนุมสาธารณะในทองท่ีสถานีตํารวจตาง ๆ เกินกวาหนึ่งทองที่ซ่ึงมีเขต
ตอ เนื่องกัน ใหแ จง การชุมนุมสาธารณะตอ ผูร ับแจงในทอ งทหี่ นง่ึ ทอ งท่ีใดกไ็ ด
๔. ใหส ํานกั งานตาํ รวจแหง ชาตวิ างระเบยี บหรอื คาํ สงั่ กาํ หนดหลกั เกณฑแ ละการปฏบิ ตั ิ
ของเจาหนา ที่ตาํ รวจ เพ่ือใหเปน ไปตามประกาศฯ

ò.ô »ÃСÒÈสาํ ¹¡Ñ ¹ÒÂ¡Ã°Ñ Á¹μÃÕ àÃÍè× § à¤ÃÍè× §ÁÍ× ¤Çº¤ÁØ ½§Ù ª¹ã¹¡ÒêÁØ ¹ÁØ ÊÒ¸ÒóÐ

กาํ หนดเคร่อื งมอื ควบคุมฝูงชน โดยเจาพนกั งานดูแลการชมุ นมุ สาธารณะและขาราชการ
ตํารวจซึ่งไดรับมอบหมาย ผูควบคุมสถานการณและผูซึ่งไดรับมอบหมาย อาจเลือกใชเครื่องมือ
ควบคมุ ฝงู ชนในการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะได จาํ นวน ๔๘ ชนดิ /ประเภท (แบง เปน เครอื่ งมอื อปุ กรณ
ประจํากาย ประจํากองรอย และประจําหนวย)

๑๑

º··Õè ó

¡®ËÁÒÂà¡ÂÕè ǡѺ¤ÇÒÁÁ¹èÑ ¤§

ó.ñ ¾.Ã.º.¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÁÑ蹤§ÀÒÂã¹ÃÒªÍҳҨѡà ¾.È.òõõñ

เหตุผลในการประกาศ พ.ร.บ.การรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑
เพราะปญหาเก่ียวกับความมั่นคงจากบุคคลหรือกลุมบุคคลที่มีหลากหลาย มีความรุนแรง รวดเร็ว
สามารถขยายตัวจนสงผลกระทบเปนวงกวาง มีความสลับซับซอน จนอาจกระทบตอเอกราช
และบูรณภาพแหงอาณาเขต กอใหเกิดความไมสงบเรียบรอยภายในประเทศ และเปนภยันตรายตอ
ความสงบสุขของประชาชน จึงใหมีหนวยงานเพ่ือสามารถปองกันและระงับภัยที่เกิดขึ้นไดอยางทัน
ทว งที ตลอดจนบูรณาการและประสานการปฏิบตั ิรว มกบั ทุกสว นราชการ สง เสริมประชาชนใหเ ขามา
มสี ว นรวมในการปองกนั และรักษาความมน่ั คง

พระราชบญั ญตั กิ ารรกั ษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจกั ร พ.ศ.๒๕๕๑ จะนาํ มาใชบ งั คบั
ในกรณีท่ีมีความจําเปนตองดําเนินการเพ่ือปองกัน ควบคุม แกไข และฟนฟูสถานการณที่เปนภัย
หรอื อาจเปน ภยั อนั เกดิ จากบคุ คลหรอื กลมุ บคุ คลทกี่ อ ใหเ กดิ ความไมส งบสขุ ทาํ ลาย หรอื ทาํ ความเสยี หาย
ตอชีวิต รางกาย ทรัพยสินของประชาชนหรือของรัฐใหกลับคืนสูสภาวะปกติ เพื่อใหเกิดความสงบ
เรียบรอ ยของประชาชนหรือความมั่นคงของรัฐ

พระราชบัญญัติน้ีไดมีการจัดโครงสราง กองอํานวยการรักษาความม่ันคงภายใน
ราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) ขนึ้ ในสาํ นกั นายกรฐั มนตรี และขนึ้ ตรงตอ นายกรฐั มนตรี โดยมภี ารกจิ การรกั ษา
ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ในกรณีท่ีปรากฏเหตุการณอันกระทบตอความมั่นคงภายใน
ราชอาณาจกั รแตย งั ไมม คี วามจาํ เปน ตอ งประกาศสถานการณฉ กุ เฉนิ คณะรฐั มนตรจี ะมมี ตมิ อบหมาย
ให กอ.รมน. เปนผูรับผดิ ชอบในการปอ งกัน ปราบปราม ระงับ ยบั ยง้ั และแกไ ขหรือบรรเทาเหตุการณ
ท่ีกระทบนั้นภายในพ้ืนที่และระยะเวลาท่ีกําหนดได ซ่ึงกรณีดังกลาว คณะรัฐมนตรีสามารถมีมติให
หนวยงานของรัฐมอบอํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบตามกฎหมายในเรื่องตาง ๆ ให กอ.รมน.
ดําเนินการแทนหรือมีอํานาจดําเนนิ การดว ย ทง้ั น้ี ภายในพ้นื ที่และระยะเวลาท่ีกาํ หนด

นอกจากน้ี พระราชบัญญัติฉบับน้ีไดกําหนดใหนายกรัฐมนตรีเปนผูอํานวยการรักษา
ความมนั่ คงภายในราชอาณาจกั ร (ผอ.รมน.) ซงึ่ สามารถออกขอ กาํ หนดในเรอ่ื งตา ง ๆ โดยความเหน็ ชอบ
ของคณะรัฐมนตรไี ด เชน หามเขา หรือใหออกจากบริเวณพนื้ ที่ อาคารหรอื สถานท่ีท่ีกาํ หนด หา มออก
นอกเคหสถานในเวลาที่กําหนด เปนตน โดยลักษณะพิเศษของพระราชบัญญัติการรักษาความม่ันคง
ภายในราชอาณาจักรฯ ท่ีสําคัญประการหน่ึง คือ การกําหนดใหมีการชดเชยคาเสียหายตามควรแก
กรณีใหแกประชาชนผูสุจริตซึ่งไดรับความเสียหายจากการใชอํานาจของ กอ.รมน. ตามหลักเกณฑ
และเง่ือนไขทค่ี ณะรฐั มนตรีกาํ หนด

๑๒

ó.ò ¾ÃÐÃÒªกาํ ˹´¡ÒúÃËÔ ÒÃÃÒª¡ÒÃã¹Ê¶Ò¹¡Òó© ¡Ø à©¹Ô ¾.È.òõôø

เหตุผลในการประกาศ พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน
พ.ศ.๒๕๔๘ เน่ืองจากปญหาเก่ียวกับความม่ันคงของรัฐ มีหลากหลายรูปแบบ มีความรายแรง
มากยงิ่ ขน้ึ จนอาจกระทบตอ เอกราชและบรู ณภาพแหง อาณาเขต และกอ ใหเ กดิ ความไมส งบเรยี บรอ ย
ในประเทศ จึงสมควรกําหนดมาตรการในการบริหารราชการสําหรับสถานการณฉุกเฉินไวเปนพิเศษ
เพ่อื ใหรฐั สามารถรักษาความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัย และรักษาสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
ใหกลับสสู ภาพปกตไิ ดโ ดยเร็ว

สําหรับการประกาศสถานการณฉุกเฉินนั้น เปนอํานาจของนายกรัฐมนตรีโดยตองไดรับ
ความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี แตใ นบางกรณที ม่ี คี วามจาํ เปน เรง ดว นทาํ ใหไ มอ าจขอความเหน็ ชอบ
จากคณะรัฐมนตรีไดทันทวงที กฎหมายจึงไดเปดชองใหนายกรัฐมนตรีสามารถประกาศสถานการณ
ฉุกเฉินไปกอนได แตจะตองดําเนินการใหไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีภายในสามวัน
โดยหากมไิ ดด าํ เนนิ การขอความเหน็ ชอบภายในเวลาทก่ี าํ หนด หรอื ขอความเหน็ ชอบแลว แตป รากฏวา
คณะรัฐมนตรีไมใหความเห็นชอบ ยอมมีผลใหการประกาศสถานการณฉุกเฉินน้ันเปนอันสิ้นสุดลง
โดยประกาศดงั กลา วมผี ลใชบ งั คบั ไดต ลอดระยะเวลาทน่ี ายกรฐั มนตรกี าํ หนด แตต อ งไมเ กนิ สามเดอื น
นับแตวันประกาศ แตหากมีความจําเปนตองขยายระยะเวลาเน่ืองจากสถานการณน้ันยังไมส้ินสุดลง
นายกรัฐมนตรีก็ตองขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีกอนใชอํานาจประกาศขยายระยะเวลา
การใชบ งั คบั ออกไปอกี เปน คราว ๆ ไป ทง้ั นี้ คราวละไมเ กนิ สามเดอื น แตใ นบางกรณสี ถานการณฉ กุ เฉนิ
ทเ่ี กดิ ขน้ึ เปน สถานการณท มี่ คี วามรา ยแรง เชน มกี ารกอ การรา ย การใชก าํ ลงั ประทษุ รา ยตอ ชวี ติ รา งกาย
หรือทรัพยสิน หรือมีเหตุอันควรเชื่อไดวามีการกระทําที่มีความรุนแรงกระทบตอความมั่นคงของรัฐ
ความปลอดภัยในชีวิตหรือทรัพยสินของรัฐหรือบุคคล ทําใหมีความจําเปนตองใชมาตรการท่ีเขมขน
และรนุ แรงกวา ในกรณที วั่ ไปเพอ่ื เรง แกไ ขปญ หาใหย ตุ อิ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและทนั ทว งที กใ็ หเ ปน อาํ นาจ
นายกรฐั มนตรที จ่ี ะประกาศใหส ถานการณฉ กุ เฉนิ นน้ั เปน สถานการณท ม่ี คี วามรา ยแรง แตจ ะตอ งไดร บั
ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีดวย โดยใหอํานาจนายกรัฐมนตรีมีอํานาจออกขอกําหนดได เชน
หามมิใหบุคคลมีการชุมนุมหรือมั่วสุมกัน ณ ท่ีใด ๆ หรือกระทําการใดอันเปนการยุยงใหเกิดความ
ไมสงบเรียบรอย หามการเสนอขาว การจาํ หนาย หรอื ทาํ ใหแ พรหลาย เปนตน

และถาสถานการณฉุกเฉินน้ันเปนสถานการณที่มีความรายแรง กฎหมายใหอํานาจ
นายกรัฐมนตรีเพ่ิมเติมขน้ึ ตามนัยมาตรา ๑๑ แหง พระราชกําหนดดังกลา วดวย

นอกจากนี้ พระราชกําหนดฉบับน้ีไดกําหนดใหพนักงานเจาหนาที่และผูมีอํานาจหนาท่ี
เชน เดยี วกบั พนกั งานเจา หนา ทตี่ ามพระราชกาํ หนดนไี้ มต อ งรบั ผดิ ทง้ั ทางแพง ทางอาญา หรอื ทางวนิ ยั
เนือ่ งจากการปฏบิ ตั หิ นาทใ่ี นการระงับหรอื ปอ งกนั การกระทาํ ผิดกฎหมาย หากเปนการกระทาํ ทส่ี ุจรติ
ไมเ ลอื กปฏบิ ตั ิ และไมเ กนิ สมควรแกเ หตหุ รอื ไมเ กนิ กวา กรณจี าํ เปน แตไ มต ดั สทิ ธผิ ไู ดร บั ความเสยี หาย
ท่ีจะเรียกรองคาเสียหายจากทางราชการตามกฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี
แตอยา งใด

๑๓

ó.ó ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμ¡Ô ®ÍÂÑ ¡ÒÃÈ¡Ö ¾.È.òôõ÷

พระราชบัญญตั ิกฎอัยการศกึ พระพุทธศกั ราช ๒๔๕๗ มีความมุงหมายเพ่ือใหอาํ นาจแก
ฝายทหารในการดําเนินการตาง ๆ เพ่ือรักษาไวซ่ึงสถาบนั พระมหากษัตรยิ  สถาบันชาติ และสถาบัน
ศาสนา ใหย ังคงดาํ รงอยูดวยความเจริญรงุ เรอื ง เปน อสิ รภาพ และมีความสงบเรียบรอยทง้ั จากภัยทม่ี ี
จากภายนอกและภัยจากภายในราชอาณาจกั ร

สําหรับการประกาศใหใชกฎอัยการศึกนั้น ตองทําเปนประกาศพระบรมราชโองการ
แตอยางไรก็ดี ในสถานการณที่มีลักษณะพิเศษ คือ เม่ือมีสงครามหรือจลาจลเกิดข้ึน ณ แหงใด
ผบู ังคับบญั ชาทหาร ณ ทีน่ ้นั มีอาํ นาจประกาศใชกฎอัยการศกึ ได แตมผี ลเฉพาะในเขตอาํ นาจหนา ท่ี
ของกองทหารนน้ั เทา นน้ั และจะตอ งรบี รายงานใหร ฐั บาลทราบโดยเรว็ ทสี่ ดุ และยงั ไดก าํ หนดใหเ จา หนา ท่ี
ฝายทหารมีอํานาจเหนือเจาหนาท่ีฝายพลเรือนในสวนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปราม
หรือการรกั ษาความสงบเรียบรอ ย และกําหนดใหเจา หนา ทฝี่ า ยพลเรือนตอ งปฏบิ ัตติ ามความตอ งการ
ของเจาหนาท่ีฝายทหาร และใหเจาหนาท่ีฝายทหารมีอํานาจเต็มที่ในการใชอํานาจดําเนินการตาง ๆ
ไมว า จะเปน การตรวจคน บคุ คล ยานพาหนะ สถานทไี่ มว า ทใ่ี ด ๆ และไมว า เวลาใด ๆ ทงั้ สน้ิ การเกณฑ
พลเมืองใหชวยกําลังทหาร การหามการมั่วสุมประชุมกัน การหามบุคคลกระทําหรือมีซ่ึงกิจการ
หรือสง่ิ อน่ื ใดไดตามทร่ี ัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมกาํ หนด เปนตน

นอกจากนี้ ความเสียหายที่เกิดขึ้นอยางหนึ่งอยางใดจากการใชอํานาจของฝายทหาร
ตามทีก่ ําหนดไว จะรอ งขอคาเสยี หายหรือคาปรับอยา งหนึ่งอยา งใด แกเจาหนา ที่ฝายทหารไมไ ดเลย
เพราะอํานาจท้ังปวงที่เจาหนาท่ีฝายทหารไดปฏิบัติและดําเนินการตามกฎอัยการศึกเปนการกระทํา
สําหรับปองกัน พระมหากษัตริย ชาติ ศาสนา ดวยกําลังทหารใหดํารงอยูในความเจริญรุงเรือง
เปนอสิ รภาพ และสงบเรยี บรอยปราศจากราชศตั รูภายนอกและภายใน

๑๕

º··èÕ ô

ËÅ¡Ñ ¡®ËÁÒ»¡¤Ãͧ¾×é¹°Ò¹

กฎหมายปกครอง คอื กฎหมายมหาชนสาขาหนงึ่ ทีก่ ําหนดความสัมพันธระหวางองคกร
เจา หนา ทข่ี องรฐั กบั ราษฎรหรอื ระหวา งองคก รเจา หนา ทข่ี องรฐั ดว ยกนั เอง โดยองคก รเจา หนา ทขี่ องรฐั
มกั จะมเี อกสทิ ธห์ิ รอื อาํ นาจบางประการเหนอื ราษฎร ไมว า จะเปน กรณที ท่ี รพั ยส นิ ขององคก รเจา หนา ท่ี
ของรัฐไดรับความคุมครองเปนพิเศษแตกตางจากทรัพยสินของราษฎร หรือกรณีที่องคกรเจาหนาที่
ของรฐั สามารถใชอ าํ นาจบงั คบั การตามกฎหมายใหเ ปน ไปตามความตอ งการของตนไดแ ตเ พยี งฝา ยเดยี ว
โดยไมตองไดรับความยินยอมจากราษฎรกอน เชน การเวนคืนท่ีดิน การจัดเก็บภาษีอากร เปนตน
ซง่ึ แตกตา งจากหลกั การในกฎหมายเอกชนทถ่ี อื หลกั ความเสมอภาคในการแสดงเจตนาระหวา งคกู รณี
เปนสําคัญ ดวยเหตุที่การกระทําของรัฐดังกลาวเปนการใชอํานาจตามกฎหมายและกระทําไป
เพอื่ ประโยชนส าธารณะ ซง่ึ การดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะเปน การกระทาํ ของรฐั ในการรกั ษาความมนั่ คง
หรอื ความสงบเรยี บรอ ยของประเทศ กรอบการปฏบิ ตั ขิ องเจา หนา ทใ่ี นการดแู ลรกั ษาความสงบเรยี บรอ ย
ในการชมุ นมุ สาธารณะดงั ทจี่ ะกลา วตอ ไป จะตงั้ อยใู นพนื้ ฐานทว่ี า “ประชาชนยอ มมเี สรภี าพในการชมุ นมุ
โดยสงบและปราศจากอาวุธ” เจาหนาที่มหี นา ท่ใี นการดแู ลความปลอดภยั อํานวยความสะดวกใหแก
ผูชุมนุม และดูแล ควบคุมการชุมนุมใหเปนไปดวยความสงบเรียบรอย ไมกระทบกระเทือนตอ
ความมนั่ คงของชาติ ความปลอดภยั สาธารณะ ความสงบเรยี บรอ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดี ตลอดจนสขุ อนามยั
ของประชาชน หรือความสะดวกของประชาชนท่ีจะใชที่สาธารณะ และไมกระทบกระเทือนตอสิทธิ
และเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของผูอ่ืน ผูจัดการชุมนุม ผูชุมนุม มีหนาท่ีในการบริหาร
ความเสี่ยง ปฏิบัติตามคําแนะนํา เงื่อนไขหรือคําส่ังของเจาหนาท่ีเพื่อปองกันการเกิดเหตุราย
และมใิ หเกิดเหตุการณร ุนแรงขน้ึ ตลอดจนเกิดผลกระทบกับประชาชนอนื่ นอ ยทส่ี ดุ ” ดังนัน้ เจาหนา ที่
จึงตองมีทัศนคติท่ีดีตอการชุมนุม และเจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาท่ี จักตองมีทักษะ
ความเขา ใจ และอดทนตอ สถานการณ เพอ่ื ไมใ หเ กดิ การยว่ั ยุ อนั จะเปน การสง ผลใหก ารชมุ นมุ มแี นวโนม
ไปสคู วามรนุ แรงได โดยมกี รอบแนวคดิ ในการปฏบิ ตั ขิ องเจา หนา ทข่ี องรฐั ตอ ผชู มุ นมุ จะตอ งสอดคลอ ง
กบั หลักนติ ริ ัฐและหลักนติ ธิ รรมเปนไปตามหลกั การตา งๆ ดงั น้ี

ô.ñ ËÅ¡Ñ á˧‹ »ÃÐÊ·Ô ¸ÀÔ Ò¾áÅÐËÅ¡Ñ ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁ กลา วคอื องคก รของรฐั ฝา ยปกครอง
จะตองใชวิจารณญาณเลือกออกคําสั่งหรือมาตรการทางกฎหมายท่ีสามารถจะดําเนินการรักษา
ความสงบเรียบรอ ยของสังคมไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพสงู สดุ และมีความเหมาะสมกับสถานการณ

ô.ò ËÅ¡Ñ áË‹§¤ÇÒÁจาํ ໹š กลา วคือ องคกรของรัฐจะตอ งพจิ ารณาวาในบรรดาคาํ ส่งั
หรือมาตรการหลาย ๆ ประการซ่งึ ลว นแลว แตสามารถดาํ เนนิ การใหค วามมงุ หมายของกฎหมายทใ่ี ห
อํานาจสําเร็จลุลวงไปไดท้ังสิ้นนั้น มีผลกระทบกระเทือนตอสิทธิหรือเสรีภาพของประชาชนนอยที่สุด
แตย ังคงมปี ระสิทธภิ าพในการรักษาความสงบเรียบรอ ยตามทีก่ ฎหมายใหอ ํานาจ

๑๖

ô.ó ËÅ¡Ñ á˧‹ ¤ÇÒÁä´ÊŒ ´Ñ ÊÇ‹ ¹ กลา วคอื องคก รของรฐั ตอ งพจิ ารณาความสมดลุ ระหวา ง
ความเสียหายอันจะเกิดข้ึนกับประชาชนกับประโยชนอันสังคมจะพึงไดรับจากการปฏิบัติในการรักษา
ความสงบเรยี บรอ ย ดงั นน้ั เจา หนา ทจ่ี ะตอ งเลอื กดาํ เนนิ มาตรการทเ่ี มอ่ื ลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารแลว ¨Ð处 ãËŒ
à¡´Ô »ÃÐ⪹Ꮰ¡Á‹ ËÒª¹ÁÒ¡·ÊÕè ´Ø áÅÐà¡´Ô ¤ÇÒÁàÊÂÕ ËÒÂá¡»‹ ÃЪҪ¹¹ÍŒ ·ÊÕè ´Ø แตย งั คงเปน มาตรการ
ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ภายใตส ถานการณน นั้ โดยอาจใชว ธิ กี ารหรอื มาตรการทเ่ี หมาะสมแตกตา งกนั ไป
ในแตละสถานการณแหง ความรา ยแรงหรอื ความจําเปน ในสถานการณนั้น ๆ

ô.ô ËÅÑ¡¡ÒÃËŒÒÁàÅ×Í¡»¯ÔºμÑ âÔ ´ÂอําàÀÍã¨áÅÐäÁà‹ »¹š ¸ÃÃÁ กลา วคือ ดว ยเหตทุ ่ีสทิ ธิ
ในความเสมอภาคเปนสิทธิข้ันพ้ืนฐาน สิทธิดังกลาวจึงผูกพันองคกรของรัฐ เจาหนาท่ีของรัฐจึงตอง
ปฏิบัติตอสิ่งท่ีมีสาระสําคัญเหมือนกัน ดวยวิธีการท่ีเหมือนกัน จะปฏิบัติใหแตกตางกันโดยอําเภอใจ
มไิ ด และถา มสี าระสาํ คญั ทแี่ ตกตางกัน จะพิจารณาใหเ หมอื นกันโดยอาํ เภอใจมิไดเ ชน เดยี วกัน ดงั น้นั
การกําหนดมาตรการใด ๆ จงึ จะตอ งพจิ ารณาหลกั การหา มเลอื กปฏบิ ตั ทิ ไ่ี มเ ปน ธรรมอยา งเทา เทยี มกนั
โดยไมคํานงึ ความแตกตา งกันทางเช้อื ชาติ ศาสนา เผาพนั ธุ หรือความแตกตางกันดานอืน่ ๆ รวมถงึ
ความคดิ เหน็ ทางการเมืองทแ่ี ตกตา งกันดวย

ô.õ ¡Ã³ÈÕ ¡Ö ÉÒ¡ÒÃ㪴Œ ÅØ Â¾¹Ô ¨Ô ¢Í§à¨ÒŒ ˹Ҍ ·Õè เจา หนา ทจ่ี ะตอ งบงั คบั การตามทกี่ ฎหมาย
ใหอ ํานาจหนาท่ไี ว กรณที ่ีจะตอ งมกี ารใชดุลยพินิจจะตองเปนไปตามหลักเหตุผลและกฎหมาย

๑๗

º··èÕ õ

¤ÇÒÁÃºÑ ¼Ô´·Ò§ÅÐàÁ´Ô ¢Í§à¨ŒÒ˹ŒÒ·Õè

พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศใชเนื่องจาก
การทเ่ี จาหนา ทีด่ ําเนินกจิ การตาง ๆ ของหนวยงานของรฐั นน้ั หาไดเปน ไปเพ่อื ประโยชนอนั เปนการ
เฉพาะตัวไม การปลอยใหความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ีในกรณีที่ปฏิบัติงานในหนาที่และ
เกิดความเสียหายแกเอกชนเปนไปตามหลักกฎหมายเอกชน จึงไมเปนธรรมกับเจาหนาที่และ
ยังเปนการบั่นทอนกําลังขวัญในการทํางานของเจาหนาที่ดวย จนบางครั้งกลายเปนปญหาในการ
บรหิ ารเพราะเจา หนา ที่ ไมก ลา ตดั สนิ ใจดาํ เนนิ งานเทา ทคี่ วร เพราะเกรงความรบั ผดิ ชอบทจี่ ะเกดิ แกต น
ทัง้ น้ี เพื่อใหเกิดความเปน ธรรมและเพ่ิมพนู ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั งิ านของรฐั

การปฏบิ ตั ขิ องเจา หนา ทตี่ าํ รวจในการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ เปน การกระทาํ เพอ่ื รกั ษา
ความสงบเรยี บรอ ยของประเทศ และปฏิบัติหนา ทใี่ นการบังคบั ใชกฎหมาย จงึ หาไดเปน การกระทาํ ไป
เพื่อประโยชนอันเปนการเฉพาะตัวไม ดังน้ันเมื่อเกิดความเสียหายอยางหน่ึงอยางใดขึ้น จึงตองถือ
ปฏบิ ตั ิตามพระราชบญั ญตั ิความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจาหนา ที่ พ.ศ.๒๕๓๙ โดยมสี าระสําคญั ดงั น้ี

õ.ñ ਌Ò˹ŒÒ·Õ¡è ÃÐทํา㹡Òû¯ºÔ μÑ Ô˹Ҍ ·Õáè ÅÇŒ à¡Ô´¤ÇÒÁàÊÂÕ ËÒ¨п͇ §μÑÇà¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õäè Áä‹ ´Œ

จากเหตผุ ลทก่ี ลา วขา งตน การกระทาํ ของเจา หนา ทต่ี าํ รวจเปน การกระทาํ เพอื่ ประโยชนข องรฐั
ดังน้ันเมื่อการกระทาํ ดงั กลาวมใิ ชการกระทาํ ทเี่ ปน การสวนตวั การนําหลักกฎหมายเอกชนทั่วไปมาใช
บงั คบั จึงไมเปน ธรรมกับเจาหนาท่ี ดงั น้นั เมอ่ื เกดิ ความเสยี หายจากการกระทาํ ของเจา หนาทต่ี าํ รวจ
ในการดูแลการชุมนุมสาธารณะ สํานักงานตํารวจแหงชาติจึงตองรับผิดในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่
ของตนได¡ÃÐทาํ 㹡Òû¯ÔºμÑ Ô˹ŒÒ·èÕ ในกรณนี ้ผี เู สยี หายอาจฟองหนวยงานของรัฐดงั กลาวไดโดยตรง
(สาํ นักงานตํารวจแหง ชาติ) áμ‹¨Ð¿Í‡ §à¨ŒÒ˹Ҍ ·ÕèäÁä‹ ´Œ เวนแตถ าเจา หนาทด่ี ังกลา วกระทําละเมิดมใิ ช
การกระทาํ ในการปฏิบัติหนา ท่ี เจา หนาท่ีตองรับผิดในการนน้ั เปน การเฉพาะตวั

õ.ò ¤ÇÒÁÃѺ¼´Ô ¢Í§à¨ÒŒ ˹Ҍ ·èÕ

ถาหนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพ่ือการละเมิด
ของเจาหนาที่ หนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทําละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาว
แกห นว ยงานของรฐั ได ถา เจา หนา ทไี่ ดก ระทําการนน้ั ไปดว ยความ¨§ã¨ËÃÍ× »ÃÐÁÒ·àÅ¹Ô àÅÍ‹ ÍÂÒ‹ §ÃÒŒ Âáç
(หากเจา หนา ทกี่ ระทําการละเมดิ ทเี่ ปน การกระทําประมาท(โดยทว่ั ไป) เจา หนา ทไี่ มต อ งรบั ผดิ ชอบชดใช
ตอ งรับผิดเฉพาะการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลนิ เลออยา งรายแรงเทาน้ัน)

๑๘

õ.ó ÊÑ´ÊÇ‹ ¹¤ÇÒÁÃѺ¼´Ô ·Ò§ÅÐàÁÔ´¢Í§à¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õè

นอกจากความรบั ผดิ ตาม ๕.๒ แลว เจาหนาท่ียังมีเหตทุ ี่จะชดใชคา เสียหายตามสดั สวน
ทเี่ หมาะสมกบั ความรบั ผดิ ชอบตามระดบั ความรา ยแรงแหง การกระทาํ และความเปน ธรรมในแตล ะกรณี
เปน เกณฑโ ดยÁÔμÍŒ §ãË㌠ªŒàμÁç จํา¹Ç¹¢Í§¤ÇÒÁàÊÂÕ ËÒ¡çä´Œ

ถา การกระทาํ ละเมดิ เกดิ จากความผดิ หรอื ความบกพรอ งของหนว ยงานของรฐั หรอื ระบบ
การดาํ เนนิ งานสว นรวม ãËËŒ ¡Ñ ÊÇ‹ ¹á˧‹ ¤ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ´§Ñ ¡ÅÒ‹ ÇÍÍ¡´ÇŒ  และในกรณที กี่ ารละเมดิ เกดิ จาก
เจาหนาท่ีหลายคน มิใหนําหลักเรื่องลูกหนี้รวมมาใชบังคับและ਌Ò˹ŒÒ·èÕáμ‹ÅФ¹μŒÍ§ÃѺ¼Ô´ãªŒ
¤Ò‹ ÊÔ¹äËÁ·´á·¹à©¾ÒÐÊÇ‹ ¹¢Í§μ¹à·‹Ò¹¹Ñé

จะเห็นไดวาพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙
เปน กฎหมายทค่ี มุ ครองเจา หนา ทที่ ไี่ ดก ระทาํ ในการปฏบิ ตั หิ นา ที่ ไมใ หถ กู ฟอ งรอ งดาํ เนนิ คดใี นทางแพง
หรอื ตอ งรบั ผดิ ในมลู ละเมดิ ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการปฏบิ ตั หิ นา ที่ ถา มไิ ดก ระทาํ โดยจงใจหรอื ประมาทเลนิ เลอ
อยางรายแรง และหากตองรับผิดชดใชคาสินไหม กฎหมายยังใหพิจารณาระดับความรายแรง
ความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานอีกดวย เพื่อพิจารณาใหเจาหนาท่ีอาจรับผิดตามสัดสวน
ท่ีเหมาะสม และไมนําหลักเรื่องลูกหนี้รวมมาใชบังคับกับความรับผิดดังกลาว ซ่ึงเปนประโยชนตอ
เจาหนาท่ีเปนอยางมาก เพ่ือใหเจาหนาท่ีทุกนายปฏิบัติหนาท่ีไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถ
ตัดสินใจไดอ ยางมั่นใจ ตอบสนองตอ สถานการณก ารชุมนุมสาธารณะท่อี าจเกิดข้ึนตามแตกรณี

๑๙

º··Õè ö

¡ÒúÃÔËÒè´Ñ ¡ÒáÒêØÁ¹ÁØ ÊÒ¸ÒóÐ

ö.ñ Áμ¤Ô ³ÐÃ°Ñ Á¹μÃÕ

ñ. Áμ¤Ô ³ÐÃ°Ñ Á¹μÃÕ òó àÁÉÒ¹ òõôõ เหน็ ชอบใหเ จา หนา ทท่ี เ่ี กย่ี วขอ งบรหิ ารจดั การ
การชุมนุมสาธารณะโดยยึดหลักเมตตาธรรมคูหลักนิติธรรม แตหากกลุมผูชุมนุมกระทําผิดกฎหมาย
กอใหเกิดความเสียหายแกทรัพยสินของราชการหรือเอกชน เปนการกระทําเกินกวาการใชสิทธิตาม
รฐั ธรรมนูญ บางครง้ั มกี ารใชวิธกี ารรนุ แรง หรอื ไมป ฏบิ ตั ติ ามขอ ตกลงและเงอ่ื นไขท่ีไดเจรจาตกลงกัน
ไวแ ลว ถา เปนเชนนอ้ี กี ก็อาจไมตอ งมีการเจรจาหรือชว ยเหลอื ใด ๆ หากผใู ดกระทาํ ผดิ กฎหมายหรอื
ทาํ ใหท รพั ยสนิ เสยี หาย กใ็ หดาํ เนินการตามกฎหมายอยา งจริงจงั

ò. Áμ¤Ô ³ÐÃ°Ñ Á¹μÃÕ óð ¡Ã¡®Ò¤Á òõôõ เหน็ ชอบหลักการและแนวทางการแกไ ข
ปญ หาความรนุ แรงในการชมุ นมุ เรยี กรอ ง กําหนดแนวทาง ดังน้ี

๒.๑ การใชห ลกั เมตตาธรรม อยบู นสมมตฐิ านทวี่ า ผมู าชมุ นมุ เรยี กรอ งมคี วามเดอื ดรอ น
และมคี วามทกุ ขจ รงิ ซงึ่ ตอ งการใหร ฐั บาลชว ยเหลอื ขา ราชการหรอื พนกั งานเจา หนา ทท่ี รี่ บั ผดิ ชอบตอ ง
ตรวจสอบขอ เทจ็ จรงิ วา มคี วามเดอื ดรอ นและมคี วามทกุ ขต ามขอ เรยี กรอ งหรอื ไม ถา มจี รงิ กต็ อ งใหก าร
ชวยเหลือตามอํานาจหนาท่ี

๒.๒ การใชหลักกฎหมาย หากมีการกระทําผิดกฎหมายใหเจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบ
ใชว ธิ เี จรจากอ น โดยเสนอแนะใหป ฏบิ ตั ใิ หถ กู ตอ งตามกฎหมาย หากไมป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย หรอื ยงั คง
มกี ารกระทาํ ทกี่ าวรา ว รุนแรง ใหด าํ เนนิ การตามกฎหมาย โดยใหด ําเนินการในระดบั ถอ ยทีถอ ยอาศยั
และตองมองวาทกุ คนเปนคนรว มชาติ

ó. ÁμÔ¤³ÐÃ°Ñ Á¹μÃÕ òõ ÊÔ§ËÒ¤Á òõõø เหน็ ชอบแผนการดแู ลการชุมนมุ สาธารณะ
ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ที่สํานักงานตํารวจแหงชาติเสนอ โดยมีสาระ
ท่ีสาํ คญั ดังน้ี

๓.๑ กาํ หนดหลกั การ นโยบาย วสิ ยั ทศั น วตั ถปุ ระสงค เปา หมาย กรอบยทุ ธศาสตร
และมาตรการดูแลการชุมนุมสาธารณะ

๓.๒ กาํ หนด บทบาท หนาท่ขี องหนวยงานท่เี กยี่ วขอ ง ตลอดจนขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ
และการใชก าํ ลงั เครอื่ งมอื อุปกรณและอาวธุ ในการดูแลการชุมนุมสาธารณะ

๓.๓ ใหส าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตเิ ปน หนว ยงานหลกั ในการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ
และหนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ งใหก ารสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิ โดยเฉพาะหนว ยงานทม่ี หี นา ทร่ี บั ผดิ ชอบโดยตรง
หรอื หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ขอ เรยี กรอ ง ขอ สนบั สนนุ ขอ คดั คา นหรอื การแสดงความคดิ เหน็ ของกลมุ
ผูชุมนุม ตองจัดเจาหนาที่มารับทราบขอเท็จจริง เจรจา ไกลเกล่ีย หรือแกไขปญหาเบ้ืองตน และให

๒๐

ชแ้ี จงทาํ ความเขา ใจการปฏบิ ตั แิ ละกฎหมายใหผ ชู มุ นมุ ทราบดว ย ทงั้ นี้ ใหข บั เคลอื่ นและบรหิ ารจดั การ
การชมุ นุมสาธารณะโดยศนู ยป ฏบิ ตั กิ าร (ศปก.) แตละระดบั

ö.ò á¼¹¡ÒôáÙ Å¡ÒêÁØ ¹ÁØ ÊÒ¸ÒóР(Áμ¤Ô ³ÐÃÑ°Á¹μÃÕ òõ ÊÔ§ËÒ¤Á òõõø)

ñ. ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒÃ㹡ÒÃᨧŒ ¡ÒêÁØ ¹ØÁÊÒ¸ÒóÐ
ใหท กุ สน./สภ. บก. หรอื บช. จดั ระบบการรบั แจง การชมุ นมุ สาธารณะสามารถตรวจสอบ

และรับแจงไดตลอด ๒๔ ช่ัวโมง โดยจัดเจาหนาที่รับ-สง ประสานงานการแจงการชุมนุมสาธารณะ
และประทับตรารับหนังสือ ลงทะเบียนรับหนังสือในหนังสือรับตามระเบียบงานสารบรรณ แลวใหรีบ
ดาํ เนินการเสนอ หน.สน./สภ. โดยดว น เพ่ือให หน.สน./สภ. พจิ ารณาใหแ ลว เสร็จภายในย่สี ิบสช่ี ่วั โมง
หากเปนการชมุ นมุ สาธารณะตอ เนื่องหลายพน้ื ทใ่ี ห หน.สน./สภ. รายงานให ผบก. หรือ ผบช. ทราบ
ตามแตกรณี

ใหท กุ สน./สภ. จดั ทําแผนทส่ี ถานทหี่ า มการชมุ นมุ ในระยะ ๑๕๐ เมตร จากสถานทส่ี าํ คญั
ตามมาตรา ๗ แหง พ.ร.บ.การชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ และอาจประกาศไวใ นบรเิ วณทแี่ ลเหน็ ไดง า ยของ
สน./สภ. พรอมแผนท่ีโดยสังเขป โดยอาจประสานงานเจาหนาที่โยธาในพ้ืนที่รวมกันทาํ การวัดระยะ
ตามภูมศิ าสตรใ หช ัดเจนได

เมื่อผูรับแจง (หน.สน./สภ.) ไดรับแจงการชุมนุมสาธารณะใหพิจารณาดําเนินการ
ไปตามอํานาจหนาท่ี จัดต้ังศูนยปฏิบัติการสวนหนา (ศปก.สน.) แลวรายงานการรับแจงการชุมนุม
สาธารณะผา น ศปก.ทกุ ระดับ โดยให ศปก.ตร. ติดตาม ควบคมุ ส่งั การการรกั ษาความสงบและแกไข
ปญ หาตามข้นั ตอน กรณีใดท่ีกฎหมายกาํ หนดใหเปนอํานาจของ ผบ.ตร. ในการประกาศ หรอื แตง ตัง้
เจา พนักงานอนื่ เพ่ิมหรอื แทน ใหห นวยสงเร่อื งผาน ศปก.ตร. เพอ่ื เสนอผบู ังคบั บญั ชาพจิ ารณาอนมุ ัติ
ตามขน้ั ตอนตอ ไป

กรณกี ารชมุ นมุ สาธารณะใดทอ่ี าจฝา ฝน คาํ สงั่ หน.คสช.ท่ี ๓/๒๕๕๘ ลง ๑ เม.ย. ๕๘
ให หน.สน./สภ. และผบู งั คบั บญั ชาประสาน กกล.ทหาร ในพน้ื ทอี่ ยา งใกลช ดิ เพอ่ื รว มกนั ประชาสมั พนั ธ
ชแี้ จง ทาํ ความเขา ใจ เพอ่ื แกไ ขสถานการณก ารชมุ นมุ ใหเ ปน ไปตามเจตนารมณข องกฎหมายแตล ะฉบบั

ประสานหนว ยงานทมี่ หี นา ทร่ี บั ผดิ ชอบโดยตรงหรอื หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ขอ เรยี กรอ ง
สนบั สนนุ คดั คา น หรอื แสดงความคดิ เหน็ ของผชู มุ นมุ จดั ผแู ทนมารบั ทราบขอ เทจ็ จรงิ เจรจา ไกลเ กลย่ี
หรือแกไขปญหาเบื้องตน โดยมีเจาหนาที่ดูแลการชุมนุมสาธารณะเปนผูสนับสนุนการปฏิบัติ
และในตางจังหวัด ใหรายงานใหผูวาราชการจังหวัดทราบ เพ่ือเขามาแกไข เยียวยา รับขอเรียกรอง
ตา ง ๆ ตลอดจนประสานการปฏบิ ตั หิ นว ยงานตา ง ๆ เพอื่ รองรบั การชมุ นมุ สาธารณะ อาทเิ ชน องคก ร
ปกครองสวนทองถ่ิน กระทรวงสาธารณสุข กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงคมนาคม
สถาบนั การแพทยฉ กุ เฉนิ กรงุ เทพมหานคร จงั หวดั อาํ เภอ ตาํ บล ตามแตก รณี โดยอาจพจิ ารณาใหจ ดั
เจา หนา ที่ พรอมบัญชอี ุปกรณ เครือ่ งมือ ประจาํ ศปก.สน. เพอ่ื ประสานงานและสนบั สนุนการปฏิบตั ิ

๒๑

ไดต ามความเหมาะสม และเตรยี มความพรอ มในการออกคาํ สงั่ บรรจุ แตง ตงั้ เจา พนกั งานในการชว ยเหลอื
เจาพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ ไมวาจะเปนในสวนของ ตร. หรือเจาหนาท่ีสนับสนุนจาก
หนวยงานอนื่ ๆ

ประสานงานหนวยงานประชาสมั พันธในพน้ื ท่ี หรือหนวยงานประชาสัมพันธของรฐั
กรมประชาสมั พนั ธ และกองสารนเิ ทศ ตร. เพอ่ื จดั ใหม กี ารประชาสมั พนั ธก ารชมุ นมุ สาธารณะ แนะนาํ
การปฏบิ ตั ติ า งๆ ตลอดจนเสนทางการจราจร เสนทางหลกี เล่ียงหรอื เสนทางแนะนาํ เปน ตน

ใหท กุ หนว ยตรวจสอบและเตรยี มความพรอ มของกาํ ลงั พล อาวธุ อปุ กรณ ยานพาหนะ
ใหเปนปจ จบุ นั สามารถใชก ารได และเขาแกไขสถานการณก ารชุมนุมสาธารณะตา ง ๆ ได เมอื่ ไดร ับ
การส่ังการ ตลอดจนตรวจสอบการปฏิบัตกิ ารตาง ๆ ใหมคี วามสอดคลองกับบทบญั ญัติของ พ.ร.บ.
การชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ดว ย

ใหทุกหนวยเก็บรวบรวมขอมูล สถิติการแจงการชุมนุมสาธารณะ ตลอดจนเอกสาร
หลักฐานที่เก่ียวของทางกฎหมายและคดี เพ่ือประกอบการพิจารณาในสว นทเี่ กีย่ วของตอ ไป

รายละเอยี ดการบรหิ ารจดั การ ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ การตา ง ๆ ใหเ ปน ไปตาม บทที่ ๕ ขน้ั ตอน
ปฏบิ ตั กิ ารดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ (ขน้ั ตอนท่ี ๑ ขน้ั เตรยี มการ) ตามแผนการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ
ตามพระราชบญั ญัติการชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ (ตามมติ ครม. เมอื่ ๒๕ ส.ค. ๕๘)

ò. ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒÃ㹡ÒôÙáÅ¡ÒêØÁ¹ÁØ ÊÒ¸ÒóÐ
ให ศปก.สน. รายงานรายละเอยี ดของการชมุ นมุ สาธารณะ สถานการณด า นการขา ว

และเจาพนกั งานดูแลการชมุ นุมสาธารณะให ศปก.ตร. ทราบ (ผาน ศปก.ทุกระดบั ) ดงั น้ี
หน.สน./สภ. กรณีการชุมนุมภายในพนื้ ที่ สถานตี ํารวจที่รับผิดชอบ
ผบก. กรณีการชมุ นุมตอ เนือ่ งหลายพนื้ ที่ สถานตี ํารวจในพน้ื ท่รี ับผดิ ชอบ
ผบช. กรณีการชุมนมุ ตอ เนื่องหลายพื้นที่ กองบงั คับการในพน้ื ทรี่ ับผิดชอบ
ขาราชการตํารวจอ่ืน ในกรณีที่ ผบ.ตร. แตงตั้ง ใหเปนเจาพนักงานดูแลการชุมนุม

สาธารณะ
ตามนัยมาตรา ๑๙ แหง พ.ร.บ.การชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ใหเจาพนกั งาน

ดูแลการชุมนุมสาธารณะพิจารณาบริหารจัดการการชุมนุมสาธารณะ อํานวยความสะดวก รักษา
ความปลอดภัย บรรเทาเหตุเดือดรอนรําคาญตามอํานาจหนาที่ เพ่ือใหการชุมนุมสาธารณะเปนไป
ดวยความสงบเรียบรอย กรณีท่ีเจาพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะขางตน มีการกําหนดเงื่อนไข
หรอื คาํ สงั่ หรือปด/ปรับเสน ทางการจราจรใดๆ ให ศปก.สน. รายงาน ศปก.ตร. (ผา น ศปก. ทุกระดับ)
ทราบและประสานใหม กี ารประชาสมั พนั ธส ถานทจี่ ดั การชมุ นมุ สาธารณะ ตลอดจนเสน ทางการจราจร
เพอื่ ใหป ระชาชนไดร บั ผลกระทบนอยทีส่ ุด

ประสานงานหนว ยงานประชาสัมพนั ธในพื้นท่ี หรอื หนว ยงานประชาสัมพันธของรฐั
กรมประชาสมั พนั ธ และกองสารนเิ ทศ ตร. เพอื่ จดั ใหม กี ารประชาสมั พนั ธก ารชมุ นมุ สาธารณะ แนะนาํ
การปฏบิ ตั ิตาง ๆ เสนทางการจราจร เสนทางหลกี เล่ยี งหรือเสนทางแนะนํา เปน ตน

๒๒

พจิ ารณาประสานหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งในการจดั ตง้ั ศนู ยร กั ษาพยาบาล เพอ่ื ชว ยเหลอื
ปฐมพยาบาล ผูชุมนุม ประชาชน หรอื เจาหนาท่ี

เตรียมความพรอมของเคร่ืองมือควบคมุ ฝงู ชน การเบิกจาย การเบกิ ยมื เพ่ือรองรับ
การปฏบิ ัตใิ นข้ันตอนตาง ๆ ตอไป

จัดเตรียมพนักงานสอบสวน การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานจากหนวยงานตาง ๆ
โดยประสานการปฏบิ ัติตา ง ๆ ไวเบ้ืองตน เพอื่ ใหเกิดความพรอ มในการปฏบิ ัติ ตลอดจนการเช่ือมตอ
สญั ญาณภาพ เสียง หรืออืน่ ๆ เพอ่ื ประกอบสํานวนคดี

หากมคี วามจาํ เปน ตอ งมกี ารใชก าํ ลงั นอกเหนอื จากกาํ ลงั พลของ สน./สภ. ใหพ จิ ารณา
ขอสนบั สนนุ กําลังจาก บก. บช. หรอื ตร. ตามลําดบั โดยประสานการปฏบิ ตั ผิ าน ศปก. แตล ะระดบั

รายละเอยี ดการบริหารจัดการ ขน้ั ตอนการดําเนินการตาง ๆ ใหเ ปน ไปตาม บทท่ี ๕
ขนั้ ตอนปฏิบัติการดูแลการชมุ นมุ สาธารณะ (ขัน้ ตอนที่ ๒ ขัน้ การเผชญิ เหตุ ขนั้ ตอนที่ ๓ ขนั้ การใช
กาํ ลังเขา คลค่ี ลายสถานการณ และขัน้ ตอนท่ี ๔ ขนั้ การฟน ฟ)ู ตามแผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ
ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ (ตามมติ ครม. เมื่อ ๒๕ ส.ค. ๕๘) ในเขต
กรุงเทพมหานครใหก องบญั ชาการตาํ รวจนครบาล เปนหนวยหลกั

รับผิดชอบดําเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมสาธารณะ วางแผน
และเตรยี มการรกั ษาความสงบการชมุ นมุ สาธารณะ แกไ ขปญ หา แลว รายงานใหส าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ
(ผานศูนยปฏิบัติการ สํานักงานตํารวจแหงชาติ (ศปก.ตร.)) ทันที โดยดําเนินการดวยการใชระบบ
ศนู ยป ฏิบตั กิ าร (ศปก.) และระบบบัญชาการเหตกุ ารณ

หัวหนาสถานีตํารวจนครบาล ผูบังคับการตํารวจนครบาลทองที่ หรือ ผูบัญชาการ
ตาํ รวจนครบาล เปน เจาพนกั งานดูแลการชุมนุม ตามแตกรณี

การแจง สว นราชการทเี่ กย่ี วขอ ง เชน กองอาํ นวยการปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
กรุงเทพมหานคร หนวยงานของรัฐดานสาธารณูปโภค การขนสงมวลชน เชน การประปานครหลวง
การไฟฟานครหลวง การขนสงมวลชน เพื่อประสานการปฏิบัติ หรือเตรียมการรองขอตามกฎหมาย
ใหห นว ยงานนัน้ ดาํ เนินการหรือบังคบั การดําเนนิ การตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วกบั การชุมนมุ สาธารณะ

ติดตามสถานการณและส่ังการในการแกไขปญหาตอไป โดยใชกําลังตํารวจในสังกัด
เปนหลกั หากเกินขดี ความสามารถใหข อรับการสนับสนุนจากสํานักงานตาํ รวจแหงชาตติ อ ไป

หนว ยราชการ หรอื หนว ยงานของรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ ง คอื กรงุ เทพมหานคร กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงคมนาคม กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร กรมประชาสัมพันธ เตรียมการดําเนินการตามอํานาจหนาท่ีเมื่อไดรับ
การรองขอ โดยเบื้องตนใหประสานชองทางติดตอประสานงาน หรือการขอใหจัดเจาหนาที่ติดตอมา
ประจําทศี่ นู ยป ฏิบัตกิ ารพรอมรายการสง่ิ อุปกรณ หรอื เคร่ืองมือทพ่ี รอ มใหก ารสนบั สนนุ ตามรอ งขอ

สท. ประชาสมั พันธและปฏบิ ตั ิการดานขา วสาร
สกบ. จัดเตรยี มอาวธุ ยุทโธปกรณ เพ่อื รองรับการชมุ นุมสาธารณะ
ดาํ เนินการโดยผา น ศปก.ตร. ในการประสานหนวยงานและสั่งการหนวยทีเ่ กีย่ วขอ ง

๒๓

ขนั้ ตอนปฏบิ ัติการดูแลการชุมนุมสาธารณะ แบง เปน ๔ ขนั้ ตอน ดงั น้ี
¢¹Ñé μ͹·Õè ñ ¢¹éÑ àμÃÕÂÁ¡Òà (กอ นการชมุ นุมสาธารณะหรือเม่ือรบั ทราบการรบั แจง
การชุมนุม) การปฏบิ ัตใิ นขัน้ นีเ้ ริ่มปฏิบัติต้งั แตการยกระดับหรือปรบั ศูนยปฏิบตั กิ าร (ศปก.) ทุกระดับ
ใหเ หมาะสมกับสถานการณและใชเปนหนวยขบั เคล่อื นแผน ดงั น้ี
ดาํ เนนิ การดา นการขา ว วางแผนรวบรวมขา วสาร ขยายขา ยงานขา ว ประสานงานขา ว
กบั หนว ยงานขา วตา งๆ โดยเปน หนา ทขี่ องเจา หนา ทที่ กุ ระดบั และ ศปก.ทกุ ระดบั สบื สวนหาขา วเกยี่ วกบั แกนนาํ
ผูสนับสนุน เครอื ขา ย ผูจ ัดการชมุ นุม ใหทราบรายละเอยี ดและแนวโนม สถานการณ จดั ต้ังและใชศนู ย
ปฏบิ ตั กิ ารสว นหนา (ศปก.สน.) รายงานเหตกุ ารณเ บอ้ื งตน ให ศปก. ของหนว ยเหนอื หรอื หนว ยบงั คบั บญั ชา
แลวรายงานสํานักงานตํารวจแหงชาติ (ผาน ศปก.ตร.) ในฐานะหนวยปฏิบัติหลัก ประชาสัมพันธ
ตดิ ตอ ประสาน เจรจาตอ รอง และจดั เจา หนา ทป่ี ระสานกบั ผแู จง การชมุ นมุ แกนนาํ หรอื ผจู ดั การชมุ นมุ
สาธารณะประเมนิ ภยั คกุ คาม จดั การวเิ คราะหค วามเสย่ี ง ประชมุ เพอ่ื แสวงขอ ตกลงใจทางยทุ ธวธิ เี บอื้ งตน
แลว จดั ทาํ แผนหรอื คาํ สง่ั ปฏบิ ตั กิ ารดแู ลความสงบการชมุ นมุ สาธารณะ โดยใหส อดคลอ งกบั ระเบยี บ คาํ สง่ั
และแผนทเ่ี กย่ี วขอ งสง ศปก. หนว ยเหนอื เตรยี มการตามขนั้ ตอนมาตรการทางกฎหมาย เตรยี มสงิ่ อปุ กรณ
ส่ิงกีดขวางหรืออํานวยความสะดวกแกสาธารณชน เตรียมพ้ืนท่ีการชุมนุมสาธารณะใหปลอดภัย
และหรอื สะดวกตอ การใชพ น้ื ทขี่ องบคุ คลทวั่ ไป รวมทงั้ ศนู ยป ฏบิ ตั กิ ารสว นหนา (ศปก.สน.) จดุ รวมพล คา ยพกั
จดุ สง กาํ ลงั บาํ รงุ จดุ บรกิ าร จดั ระเบยี บสอื่ มวลชน ดาํ เนนิ การดา นชมุ ชนและมวลชนสมั พนั ธท กุ รปู แบบ
และเตรียมปฏิบัติการดานการประชาสัมพันธ และการปฏิบัติการจิตวิทยา ปฏิบัติการขาวสาร จัดตั้ง
ศูนยป ฏบิ ตั กิ ารสว นหนา (ศปก.สน.) ในพน้ื ท่ชี มุ นุมสาธารณะ เพือ่ ควบคมุ สัง่ การ รวมท้งั กําหนดตัว
ผรู ับผิดชอบในการควบคุม อํานวยการและสงั่ การในแตล ะพ้ืนที่แตล ะข้นั ตอน
¢éѹμ͹·èÕ ò ¢éѹ¡ÒÃ༪ÔÞàËμØ (ขณะชุมนุมสาธารณะ) เมื่อมีสถานการณ
การชมุ นมุ สาธารณะเกดิ ขน้ึ ใหห นว ยงานทเี่ กย่ี วขอ งในระดบั ตา ง ๆ ดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะใหเ ปน ไป
ตามพระราชบญั ญัตกิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ และปฏบิ ตั ิดงั น้ี
ตํารวจทองท่ีเขารักษาความสงบเรียบรอยบริเวณท่ีชุมนุมและบริเวณใกลเคียง
ดว ยการแยกพน้ื ทชี่ มุ นมุ ออกจากพน้ื ทท่ี วั่ ไป ตง้ั จดุ ตรวจจดุ สกดั ตรวจคน อาวธุ สงิ่ ผดิ กฎหมายรอบสถานท่ี
ชุมนุมสาธารณะ ต้ังจุดตรวจการณจากจุดสูงขม รักษาความปลอดภัยสถานที่และบุคคลสําคัญ
ใชศ นู ยป ฏบิ ตั กิ าร (ศปก.) ทกุ ระดบั ตดิ ตาม ควบคมุ และสงั่ การการรกั ษาความสงบและแกไ ขปญ หาตาม
ขนั้ ตอน ชแี้ จงทาํ ความเขา ใจตอ ผจู ดั การชมุ นมุ และผชู มุ นมุ สาธารณะ แจง หนว ยงานทมี่ หี นา ทร่ี บั ผดิ ชอบ
โดยตรงหรอื หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ขอ เรยี กรอ ง สนบั สนนุ คดั คา น หรอื แสดงความคดิ เหน็ ของผชู มุ นมุ
จดั ผแู ทนมารบั ทราบขอ เทจ็ จรงิ เจรจา ไกลเ กลย่ี หรอื แกไ ขปญ หาเบอื้ งตน ดาํ รงการเจรจากบั ผจู ดั การชมุ นมุ
ผชู มุ นมุ หรอื ผเู กยี่ วขอ งเรง ดาํ เนนิ การสบื สวนหาขอ เทจ็ จรงิ และรวบรวมพยานหลกั ฐาน เพอ่ื บงั คบั ใชก ฎหมาย
ดาํ เนนิ การประชาสมั พนั ธ และแจง ฝา ยปกครอง หนว ยงานประชาสมั พนั ธข องหนว ยงานของรฐั และเอกชน
ชวยทําการประชาสัมพันธ และปฏิบัติการขาวสาร และใชมวลชนของฝายเราสนับสนุนการขาว
และการปองกนั และรกั ษาความสงบการชมุ นุมสาธารณะทุกรปู แบบ ดําเนินการปองกนั เหตแุ ทรกซอ น

๒๔

¢éѹμ͹·Õè ó ¢¹éÑ ¡ÒÃ㪌กําÅ§Ñ à¢ŒÒ¤Å¤Õè ÅÒÂʶҹ¡Òó
การใชกําลงั เขาคลีค่ ลายสถานการณ - กรณที ีศ่ าลมีคําส่งั ใหเลกิ การชมุ นุมสาธารณะ
ดาํ เนนิ การตามขั้นตอนของกฎหมาย
กรณีการใชกําลังเขาคลี่คลายสถานการณในกรณีเกิดความวุนวายขึ้นใน
บา นเมือง - เม่อื มีความจําเปนตองใชกําลังชดุ ควบคมุ ฝงู ชน หรือหนว ยตาง ๆ ในแตละระดบั ในการ
แกไ ขสถานการณ ใหร ายงานสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ (ผา น ศปก.ตร.) ทราบทนั ที และในกรณจี งั หวดั อน่ื
นอกเขตกรุงเทพมหานครใหรายงานผูวาราชการจังหวัดทราบดวย เม่ือเจาพนักงานดูแลการชุมนุม
สาธารณะสั่งใหผูชุมนุมยุติการกระทําที่กอใหเกิดความวุนวายข้ึนในบานเมืองแลว หากผูชุมนุม
ไมปฏบิ ัติตาม ใหเจาพนักงานดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ ดําเนินการตามข้ันตอนของกฎหมายตอไป
กรณีผูชุมนุมไมปฏิบัติตามประกาศของผูดูแลการชุมนุมสาธารณะตามมาตรา ๒๑
แหงพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ และอยูระหวางการรองขอตอศาล
เพ่ือมีคําส่ังใหผูชุมนุมเลิกการชุมนุมสาธารณะ หากมีความจาํ เปนตองดําเนินการเพื่อคุมครอง
ความสะดวกของประชาชน หรอื คมุ ครองการชมุ นมุ สาธารณะ ใหผ ดู แู ลการชมุ นมุ สาธารณะกระทาํ การ
ทจ่ี าํ เปน ตามแนวทาง/แผนการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะ โดยดาํ เนนิ การทางยทุ ธวธิ จี ากเบาไปหาหนกั
ตามความจาํ เปน และเปนไปตามสดั สวน ตามหลักการใชก ําลงั ท่ีกําหนดไวใ นแผนการดูแลการชมุ นมุ
สาธารณะน้ี
¢¹éÑ μ͹·èÕ ô ¢¹Ñé ¡Òÿ¹„œ ¿Ù (หลงั การชุมนมุ สาธารณะ)
เมอ่ื สถานการณก ารชมุ นมุ สาธารณะคลคี่ ลายคนื สสู ภาวะปกตหิ รอื ยตุ กิ ารชมุ นมุ แลว
ใหพิจารณาดําเนินการ จัดสงผูบาดเจ็บ ฟนฟู เยียวยา และชวยเหลือผูท่ีไดรับผลกระทบจากการ
ชุมนุมสาธารณะ สนับสนุนหนวยงานที่เกี่ยวของในการบูรณะ ฟนฟูสถานท่ีหรือทรัพยสินท่ีไดรับ
ความเสียหาย บังคับใชกฎหมาย รวบรวมพยานหลักฐาน สืบสวนสอบสวน จับกุมดําเนินคดีกับ
ผกู ระทาํ ความผดิ ตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด รอ งขอใหห นว ยงานรฐั หรอื เอกชนทร่ี ว มปฏบิ ตั กิ าร สนบั สนนุ
หรือดําเนินงานตามอํานาจหนาท่ีของตน จัดประชุมหนวยงานที่เกี่ยวของสรุปผลการปฏิบัติเพื่อการ
จดั ทํารายงานภายหลงั การปฏบิ ัติ สรปุ บทเรยี นจากการปฏิบตั งิ าน รายงานสํานักงานตาํ รวจแหง ชาติ
(ผา น ศปก.ตร.) ตลอดจนดําเนนิ การชีแ้ จงประชาสัมพันธข อเทจ็ จรงิ ที่เกดิ ข้นึ แกส าธารณชน

ö.ó á¹Ç·Ò§¡Òû¯ºÔ Ñμ¢Ô ͧสํา¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨá˧‹ ªÒμÔ

การชุมนมุ ท่เี ขาขายเปนการชมุ นมุ ตามคําสง่ั หวั หนา คสช.ท่ี ๓/๒๕๕๘ ใหพ จิ ารณาจาก
พฤตกิ รรมการชมุ นมุ ประกอบขอ มลู ดา นขา วกรอง โดยเมอ่ื มกี ารชมุ นมุ สาธารณะใด ๆ ใหห วั หนา สถานี
ตํารวจทองท่ีรับผิดชอบประสานหนวยขาวฝายตํารวจ ทหาร และพลเรือนในพ้ืนที่ปฏิบัติการสืบสวน
หาขา วในพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบวา เปน การชมุ นมุ ทางการเมอื งหรอื ไม ถา อาจเขา ขา ยการชมุ นมุ ทางการเมอื ง
ใหห วั หนา สถานตี าํ รวจทอ งทปี่ ระชาสมั พนั ธท าํ ความเขา ใจกบั ผชู มุ นมุ ทเ่ี กย่ี วขอ ง และประสานกองกาํ ลงั
ทหารในพ้นื ท่ี เพอื่ พิจารณาดาํ เนนิ การในสวนท่เี กยี่ วของตอ ไป

๒๕

ใหทุก สน./สภ. จัดระบบการแจงการชุมนุมสาธารณะ สามารถตรวจสอบและรับแจงได
ตลอดยี่สิบส่ีชั่วโมง จัดพนักงานเจาหนาท่ีรับ-สงตามระเบียบงานสารบรรณ แลวใหรีบดําเนินการ
โดยดวน จัดทําแผนที่ทางภูมิศาสตรสําหรับสถานที่กําหนดเงื่อนไขในการชุมนุมสาธารณะ จัดต้ัง
ศูนยปฏิบัติการสวนหนา (ศปก.สน.) แลวรายงาน ศปก. ตามลําดับ ประสานหนวยงานที่มีหนาที่
รบั ผดิ ชอบโดยตรงหรอื หนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ งกบั ขอ เรยี กรอ ง ขอ สนบั สนนุ ขอ คดั คา น หรอื แสดงความคดิ เหน็
ของผูชมุ นมุ จัดผแู ทนมารบั ทราบขอ เท็จจรงิ เจรจา ไกลเ กล่ีย หรือเยยี วยาแกไ ขปญหาในเบอ้ื งตน

ประสานงานหนว ยงานประชาสมั พนั ธใ นพนื้ ที่ ตรวจสอบและเตรยี มความพรอ มของกาํ ลงั พล
อุปกรณ เครื่องมือ อาวุธ ยานพาหนะใหเปนปจจุบัน สามารถใชการได ตลอดจนใหฝายสืบสวน
และฝา ยกฎหมายเกบ็ รวบรวมขอ มูล สถติ ติ าง ๆ เพอ่ื เปนขอ มูลตอ ไป

๒๗

º··èÕ ÷

¡Òè´Ñ กาํ Åѧ¾Å ÀÒá¨Ô º·ºÒ· áÅÐ˹ŒÒ·Õ¢è ͧตาํ ÃǨ

÷.ñ ¡Òè´Ñ กาํ Å§Ñ ¾Å

กองรอ ยควบคมุ ฝงู ชน (รอ ย คฝ.) ๑ กองรอ ย ประกอบดวย นายตาํ รวจชนั้ สัญญาบตั ร
จํานวน ๕ นาย (ทําหนา ที่ ผบ.รอ ย ๑ นาย, รอง ผบ.รอย ๑ นาย และ ผบ.มว. ๓ นาย) และขา ราชการ
ตํารวจช้นั ประทวน จาํ นวน ๑๕๐ นาย รวมทงั้ ส้ิน ๑๕๕ นาย ดังน้ี

๑. บก.รอ ย จาํ นวน ๒๐ นาย ประกอบดว ย ผบ.รอย ๑ นาย, รอง ผบ.รอย จํานวน
๑ นาย, จา กองรอ ย ๑ นาย, จนท.สอ่ื สาร ๒ นาย, จนท.พยาบาล ๒ นาย, จนท.ธรุ การประจาํ บก.รอ ย
๓ นาย, พลขับ ๕ นาย, จนท.บนั ทึกภาพและเสียง ๒ นาย และ จนท.สง กําลังบาํ รงุ ๓ นาย

๒. มว.ควบคุมฝูงชน จาํ นวน ๓ มว. (โลกระบอง) แตละ มว. ประกอบดวยกําลังพล
๔๕ นาย (ผบ.มว. ๑ นาย, รอง ผบ.มว. ๑ นาย, บก.มว. ๓ นาย และ ๔ หมคู วบคมุ ฝงู ชน ซง่ึ ประกอบดว ย
ผบ.หมู ๑ นาย, รอง ผบ.หมู ๑ นาย และ จนท. ประจําหมู ๘ นาย)

๓. การจัดกําลังควบคุมฝูงชน สามารถปรับลดหรือเพ่ิมเติมกําลังไดตามสถานการณ
และความเหมาะสมในการปฏิบัติภารกิจ เชน การจัดกําลังเปนคูตรวจ (๒ นาย) การจัดกําลังเปน
ชดุ ตรวจ (๕ นาย) การจดั กําลังเปน หมู หมวด กองรอ ย หรือกองพนั ตามแตก รณี

÷.ò ÀÒáԨ º·ºÒ· áÅÐ˹Ҍ ·èբͧตําÃǨ

สํานักงานตํารวจแหงชาติมีอํานาจหนาที่ ในการปฏิบัติการตามประมวลกฎหมาย
วธิ ีพจิ ารณาความอาญา ปองกนั และปราบปรามการกระทาํ ความผิดอาญา รกั ษาความสงบเรยี บรอย
ความปลอดภัยของประชาชนและความม่ันคงของราชอาณาจักร โดยมีขาราชการตํารวจในสังกัดเปน
ผูปฏิบัติการตามอํานาจหนาที่ดังกลาว ประกอบกับเปนเจาพนักงานที่กฎหมายใหอํานาจและหนาที่
รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนและพนักงานสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา

บทบาทและหนาที่ของตํารวจในการชุมนุมสาธารณะ กําหนดใหมีหนาท่ีในการอํานวย
ความสะดวกแกประชาชนที่จะใชที่สาธารณะอันเปนสถานที่ชุมนุม รักษาความปลอดภัย อํานวย
ความสะดวก หรือบรรเทาเหตุเดือดรอนรําคาญแกผูอื่น ซ่ึงอยูบริเวณใกลเคียงกับสถานที่ชุมนุม
รกั ษาความปลอดภยั หรอื อาํ นวยความสะดวกแกผ ชู มุ นมุ ในสถานทชี่ มุ นมุ อาํ นวยความสะดวกในการจราจร
และการขนสง สาธารณะในบรเิ วณทมี่ กี ารชมุ นมุ และบรเิ วณใกลเ คยี ง เพอื่ ใหป ระชาชนไดร บั ผลกระทบ
จากการชมุ นุมนอ ยทีส่ ุด บงั คับตามเง่ือนไขหรอื คาํ สง่ั ทเี่ จา พนกั งานดูแลการชมุ นุมสาธารณะกําหนด

๒๘

ขาราชการตํารวจซ่ึงไดรับมอบหมายใหดูแลการชุมนุมสาธารณะตองผานการฝกอบรม
ใหมีทักษะ ความเขาใจ และอดทนตอสถานการณการชุมนุมสาธารณะ และตองแตงเคร่ืองแบบ
เพอ่ื แสดงตน และอาจใชเ ครอื่ งมอื ควบคมุ ฝงู ชนไดต ามทร่ี ัฐมนตรีประกาศกําหนด

กรณีท่ีมีการประกาศพื้นท่ีควบคุม ขาราชการตํารวจอาจเปนผูซึ่งไดรับมอบหมายจาก
ผคู วบคมุ สถานการณ (ผบู ญั ชาการตาํ รวจนครบาลหรอื ผวู า ราชการจงั หวดั ) เพอื่ ใหม กี ารเลกิ การชมุ นมุ
สาธารณะตามแตกรณี

๒๙

º··èÕ ø

¨ÔμÇ·Ô ÂÒ¡ÒêÁØ ¹ÁØ ÊÒ¸ÒóÐáÅÐËÅÑ¡¡ÒÃ㪌กําŧÑ

ø.ñ ¨ÔμÇ·Ô ÂÒ¡ÒêØÁ¹ØÁÊÒ¸ÒóÐ

จติ วทิ ยา (Psychology) เปน ศาสตรแ ขนงหนงึ่ ทศ่ี กึ ษาเกยี่ วกบั พฤตกิ รรมมนษุ ย (Human
Behavior) และกระบวนการทางจิต (Mental Processes) ซ่งึ อาจแบงออกเปน ๒ ประเภทใหญ ๆ
คือ พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) และพฤตกิ รรมภายใน (Covert Behavior) การศึกษา
จิตวิทยาทําใหเราเขาใจถึงความคิดและการกระทําของคน และสามารถทํานายพฤติกรรมในอนาคต
การทําความเขาใจพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต อันไดแก ความคิด ความรูสึก อารมณและ
แรงจูงใจ ซ่ึงมีความเก่ียวพันกันระหวางบุคคลและกลุมคนในการชุมนุมสาธารณะเปนอยางย่ิง
โดยจะกลา วถงึ เฉพาะพฤตกิ รรมกลมุ (Group Behavior) ซง่ึ นาํ มาใชใ นจติ วทิ ยาฝงู ชนเปน สาํ คญั ทงั้ น้ี
เพอื่ ใหส อดคลองกบั การบริหารจัดการการชุมนุมสาธารณะในบรบิ ทของเจา หนาทตี่ าํ รวจ

กลมุ (Group) เกดิ จากบคุ คลตงั้ แต ๒ คนขน้ึ ไป มปี ฏสิ มั พนั ธร ะหวา งกนั มอี ทิ ธพิ ลตอ กนั
สมาชกิ ในกลมุ ยอมรบั สทิ ธแิ ละปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บของกลมุ รว มกนั กาํ หนดเปา หมายและดาํ เนนิ งาน
ใหบ รรลุเปาหมายของกลมุ

พฤติกรรมการคลอ ยตาม (Conformity) มเี หตุผลทสี่ ําคัญ ๒ ประการ คอื คนอยากให
ตนเองทาํ ถกู ตอ ง และตอ งการใหค นอน่ื ชอบ การทค่ี นทาํ ตามผอู นื่ เปน เพราะไมแ นใ จวา อะไรถกู อะไรผดิ
สมาชิกคนอ่ืน ๆ ในกลุมจึงมีอิทธิพลตอเราเพราะสมาชิกใหขอมูลที่เราคิดวาเราไมมีขอมูลเหลาน้ัน
โดยปกติเวลาทเี่ ราไมรหู รือไมแนใ จเร่อื งใดกจ็ ะสอบถามบุคคลอนื่ และเหตุผลทสี่ าํ คญั ประการหน่ึงคอื
ความอยากเปน ทชี่ ่นื ชอบของคนอ่ืน เพือ่ ใหเ ปนท่ียอมรบั จากคนอืน่ ๆ ในกลุม

พฤตกิ รรมรวมหมู เปน การปฏบิ ตั ขิ องกลมุ คนทมี่ ารวมตวั กนั เปน จาํ นวนมาก มวี ตั ถปุ ระสงค
หรอื เปา หมายอยา งเดยี วกนั และการรวมตวั กนั นส้ี ง ผลทางจติ วทิ ยาใหแ ตล ะบคุ คลประพฤตหิ รอื ปฏบิ ตั ิ
แตกตา งออกไปจากเดมิ ทเี่ คยประพฤติ โดยมกั จะไมป ฏบิ ตั ติ ามปทสั ถานทางสงั คม (Norms) ทกี่ าํ หนดไว
ดังนน้ั เมือ่ มีการรวมกลุม กนั ข้นึ ความรับผิดชอบตอ สังคมเดิมของบคุ คลเหลา นัน้ จะลดลง หรือหายไป
พฤติกรรมท่ีพบ เชน การไมทราบตัวบุคคล การไมถือตัวบุคคล การชักนํา การเลียนแบบ
และการคลอ ยตาม การถา ยทอดทางอารมณ (การแพรร ะบาดทางอารมณ) การระบายอารมณท ถี่ กู เกบ็ กด
ซ่ึงพฤติกรรมตาง ๆ เหลานี้มีผลตอการดูแลการชุมนุมสาธารณะ การปฏิบัติของเจาหนาท่ีจะตอง
ทราบถงึ พฤตกิ รรมตา ง ๆ ทอ่ี าจจะนาํ ไปสคู วามรนุ แรงหรอื ความวนุ วายขนึ้ โดยเจา หนา ทอี่ าจใชจ ติ วทิ ยา
ในการทาํ ความเขา ใจ ความเหน็ อกเหน็ ใจและสรา งสมั พนั ธภาพกบั กลมุ ผชู มุ นมุ ทง้ั นี้ เจา หนา ทจ่ี ะตอ ง
คอยสนใจศึกษาความเปล่ียนแปลงในความตองการของกลุมเสมอ เพ่ือจะไดทราบวาความตองการ
ขั้นใด (ความตองการพน้ื ฐานของมนุษย ตามทฤษฎลี าํ ดบั ความตอ งการของมาสโลว) กาํ ลงั มอี ิทธพิ ล

๓๐

อยใู นขณะนนั้ และพยายามตอบสนองความตอ งการใหส อดคลอ งกบั การเปลย่ี นแปลง และการปอ งกนั
มิใหกลุมแตกต่ืน (Panic) เปนเรื่องท่ีเจาหนาที่จะตองระมัดระวังเปนอยางยิ่งไมวาจากปจจัยภายใน
หรือภายนอกการชุมนุม เพราะจะกอใหเกิดความกลัวข้ันสุดขีด แสดงพฤติกรรมไรเหตุผล เปนความ
พยายามที่แสวงหาความปลอดภัย ผูคนจะกระทําการใด ๆ โดยขาดสติสัมปชัญญะ และส่ิงท่ีสําคัญ
จะตอ งทาํ ใหก ลมุ คนสงบลง โดยใชม าตรการ วธิ กี ารตา ง ๆ เชน การแจง ขอ มลู ขา วสารใหป ระชาชนทราบ
และเชื่อม่ันวา จะไมมภี ัยคกุ คาม การจัดใหม ชี องทางออกฉุกเฉิน และดาํ รงไวอยา งตอ เนอ่ื ง การจะใช
กําลงั หรอื อปุ กรณต า ง ๆ ควรจะมีการเจรจาตอ รอง ไกลเ กลยี่ กับหวั หนา หรือแกนนํา การชวยเหลือ
แกไข เยยี วยาในเบ้อื งตน การจะใชกําลงั ควรมกี ารแจง เตอื น และใชกาํ ลงั ตามความเหมาะสม เปน ตน

นอกจากนี้ เจาหนาท่ีทุกนายจะตองมีทักษะในการควบคุมอารมณในการดูแลการชุมนุม
สาธารณะ โดยเฉพาะเมื่อมีการยั่วยุ หรอื เหตกุ ารณจ ะมีแนวโนม ไปสูการกระทบกระทัง่ ใหเจาหนา ที่
ใชเ ทคนคิ การควบคมุ อารมณต าง ๆ เชน การหายใจเขาออกลึก ๆ การเปล่ียนอริ ยิ าบถ ทา ทางตา ง ๆ
การระลึกถึงภารกิจที่ไดรับเปนสําคัญ การพิจารณาถึงผลกระทบท่ีอาจจะเกิดข้ึน การระบายอารมณ
การใหเ พื่อนรวมงานเตอื นหรือระลกึ ถึงความเปนตนเอง และสดุ ทายผบู ังคบั บญั ชาอาจแยกเจาหนาที่
ที่ไมส ามารถควบคุมอารมณไดออกจากภารกจิ หรอื กลุม เปนตน

ø.ò ËÅ¡Ñ ¡ÒÃãªกŒ าํ ŧÑ

ñ. ËÅ¡Ñ ·èÇÑ ä»ã¹¡ÒÃãªกŒ ําŧÑ
Code of Conduct for Law Enforcement Officials วางกรอบการใชก าํ ลงั ของ

เจา หนา ทข่ี องรฐั วา ใหก ระทาํ ไดเ พยี งเฉพาะกรณที จี่ าํ เปน อยา งยง่ิ และเพอ่ื ประโยชนใ นการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี
เทา นนั้

Basic Principles of the Use of Force and Firearm by Law Enforcement
Officials วางหลักในการจัดการการชุมนุมสาธารณะที่ไมชอบดวยกฎหมาย โดยเจาหนาท่ีของรัฐ
ตอ งตระหนกั วา การใชก าํ ลงั และอาวุธควรเปนไปอยางจํากดั ดงั นี้

- ถาเปนการชุมนุมท่ีไมชอบดวยกฎหมาย แตไมกอใหเกิดความรุนแรง เจาหนาท่ี
ของรฐั ตอ งหลกี เลย่ี งการใชก าํ ลงั หรอื หากไมส ามารถหลกี เลย่ี งการใชก าํ ลงั ได ใหใ ชก าํ ลงั เพยี งเทา ทจี่ าํ เปน

- ถา เปนการชุมนมุ ท่กี อ ใหเ กดิ ความรุนแรง เจาหนาท่ีของรัฐอาจใชอาวธุ ได หากไม
สามารถใชมาตรการอน่ื ที่อนั ตรายนอยกวาได

และเจาหนาท่ีของรัฐตองไมใชอาวุธตอบุคคลอื่น เวนแตเพื่อปองกันตนเอง
หรือบุคคลอื่นใหพนจากภยันตรายรายแรงตอชีวิตหรือรางกาย เพื่อปองกันมิใหเกิดการกระทํา
ความผิดอาญารายแรงที่อาจกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต เพ่ือจับกุมผูท่ีกระทําการอันเปนอันตราย
หรอื ตอ สูเ จา พนักงานหรือเพอ่ื ปอ งกันมใิ หบคุ คลดังกลา วหลบหนี

๓๑

เจาหนาท่ีของรัฐตองแสดงตนกอนการใชอาวุธ และตองแจงเตือนใหทราบลวงหนา
วาจะมีการใชอาวุธ เวนแตการดําเนินการดังกลาวอาจทําใหเจาหนาท่ีของรัฐเสี่ยงที่จะไดรับอันตราย
หรอื ทาํ ใหบ คุ คลอนื่ เสย่ี งทจ่ี ะไดร บั อนั ตรายแกช วี ติ หรอื รา งกาย หรอื เปน ทชี่ ดั เจนวา ไมม คี วามเหมาะสม
หรือจําเปน ท่ีตองดําเนินการดังกลาวในสถานการณเ ชน นั้น

ò. ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌กําÅ§Ñ μÒÁá¼¹¡ÒôÙáÅ¡ÒêØÁ¹ØÁÊÒ¸ÒóР(ÁμÔ ¤ÃÁ. òõ Ê.¤. õø)
เจา หนา ทตี่ อ งพยายามใช¡ ÒÃà¨Ã¨ÒμÍ‹ Ãͧหรอื ปฏบิ ตั กิ ารใด ๆ เพอื่ คลค่ี ลายสถานการณ

หากไมเ ปน ผลและเจา หนา ทจี่ าํ เปน ตอ งมกี ารใชก าํ ลงั เขา แกไ ขสถานการณท ไ่ี มใ ชก ารปอ งกนั ภยนั ตราย
ที่ใกลจะถึง สามารถดาํ เนินการตามมาตรการตาง ๆ ใหเปนไปμÒÁÊÁ¤ÇÃá¡‹àËμØ áÅÐÂØ·¸ÇÔ¸Õ
¡ÒÃãªกŒ ําÅ§Ñ μÒÁ¤ÇÒÁจาํ ໹š ¢Í§Ê¶Ò¹¡ÒÃ³μ ÒÁËÅ¡Ñ Ê´Ñ ÊÇ‹ ¹ â´ÂÇ¸Ô ¡Õ ÒÃã´Ç¸Ô ¡Õ ÒÃ˹§èÖ ËÃÍ× ËÅÒÂÇ¸Ô ¡Õ ÒÃ
¾ÃŒÍÁ¡Ñ¹ãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§àËÁÒÐÊÁ¡ÑºÊ¶Ò¹¡Òó ਌Ò˹ŒÒ·ÕèμŒÍ§¾ÂÒÂÒÁËÅÕ¡àÅÕ觡ÒÃ㪌กําÅѧ
à¤ÃÍè× §ÁÍ× ¤Çº¤ÁØ ½§Ù ª¹ËÃÍ× ÍÒÇ¸Ø ¨¹¶§Ö ·ÊÕè ´Ø ËÒ¡äÁÊ‹ ÒÁÒöËÅ¡Õ àÅÂÕè §ä´ãŒ Ë㌠ªกŒ ําÅ§Ñ à¾ÂÕ §à·Ò‹ ·จÕè าํ ໹š
áÅÐàËÁÒÐÊÁ¡ºÑ ʶҹ¡Òó

การใชก าํ ลงั เครอ่ื งมอื ควบคมุ ฝงู ชนหรอื อาวธุ ตอ งใชเ มอื่ มเี หตจุ าํ เปน และเหมาะสม
กบั ความรนุ แรงของสถานการณ โดยในเบอ้ื งตน ใหใ ชก ารเจรจา และหลกี เลยี่ งการใชก าํ ลงั เทา ทจ่ี ะสามารถ
กระทําได แตจะตองไมกระทบตอความปลอดภัยของสาธารณชนและเจาหนาท่ีซ่ึงปฏิบัติหนาที่
ในการดูแลรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยในการชมุ นมุ

การใชอ าวธุ ตอ งใชเ พอื่ ปอ งกนั ตนเองหรอื บคุ คลอน่ื ใหพ น จากภยนั ตรายรา ยแรงตอ ชวี ติ
หรอื รา งกาย หรอื เพอ่ื ระงบั ยบั ยง้ั เหตคุ วามรนุ แรงใหส งบ หรอื เพอื่ จบั กมุ ผทู กี่ ระทาํ ผดิ กฎหมายหรอื ผตู อ สู
ขัดขวางเจาพนกั งานหรอื เพ่อื ปองกนั มิใหบ ุคคลดงั กลาวหลบหนี

การจะใชก าํ ลงั เครอ่ื งมอื ควบคมุ ฝงู ชนหรอื อาวธุ เพอ่ื ยตุ กิ ารชมุ นมุ ทไ่ี มช อบดว ยกฎหมาย
เมอ่ื ใดนนั้ ยอ มไมต ดั สทิ ธขิ องเจา หนา ที่ ในการปอ งกนั สทิ ธขิ องตนเองหรอื ผอู น่ื เพอ่ื ใหพ น จากภยนั ตราย
อันเกิดจากการประทุษรายอันละเมดิ ตอ กฎหมายทใ่ี กลจะถงึ โดยไดก ระทาํ พอสมควรแกเหตุ

๑) ËÅÑ¡¡ÒÃãªกŒ าํ Åѧ
การดูแลการชุมนุมสาธารณะใหเ จา พนกั งานดูแลการชุมนมุ สาธารณะ ผูควบคุม

สถานการณ หรอื เจา หนา ทท่ี รี่ บั ผดิ ชอบ หรอื ผมู หี นา ทเี่ กย่ี วขอ งในการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะพจิ ารณา
ในการใชก าํ ลงั มาตรการ อปุ กรณ หรอื เครอื่ งมอื ในการรกั ษาความสงบ ใหเ หมาะสมกบั สถานการณ ดงั น้ี

ใชกําลังตามความจําเปนของสถานการณ โดยใหใชกําลังนอยที่สุดเทาท่ีจําเปน
เพ่อื บรรลุภารกจิ

กอนการใชกาํ ลัง มาตรการ อปุ กรณห รอื เครือ่ งมอื
- ãË㌠ª¡Œ ÒÃà¨Ã¨Ò¡Ñº¼Œ¨Ù Ñ´¡ÒêØÁ¹ÁØ ËÃÍ× ¼ÙªŒ ØÁ¹ØÁ áÅÐ
- ᨌ§àμ×͹¡‹Í¹ ËÒ¡ÊÒÁÒö¡ÃÐทําä´ŒáÅÐäÁ‹à¡Ô´ÍѹμÃÒÂμ‹Í਌Ò˹ŒÒ·Õè
ËÃ×ͺ¤Ø ¤ÅÍ×è¹

๓๒

- ·§éÑ ¹éÕ ãË㌠ªÇŒ ¸Ô ¡Õ ÒÃàμÍ× ¹μÒÁ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁ¡ºÑ ¡ÒÃãªกŒ าํ Å§Ñ ÁÒμáÒÃ Í»Ø ¡Ã³
ËÃÍ× à¤Ãè×ͧÁÍ× μÒÁʶҹ¡Òó

การใชกําลัง มาตรการ อุปกรณหรือเคร่ืองมือเพ่ือบังคับใหผูชุมนุมหรือบุคคล
อ่ืน ๆ ปฏิบัติตามคําสั่งของเจาหนาท่ี หรือการใชกําลัง มาตรการ อุปกรณหรือเคร่ืองมือในกรณีท่ีมี
การฝาฝน คําส่ัง เชน การใชกําลงั มาตรการ อปุ กรณหรือเครื่องมอื เพื่อตรวจคน จบั กุม ใหใ ชกําลงั ได
ตามแนวทางดงั น้ี

เตอื นดว ยวาจาวา การฝา ฝน ดงั กลา วผดิ กฎหมายใหห ยดุ การกระทาํ หากไมห ยดุ
ใหแ สดงทาทางพรอมใชก าํ ลงั มาตรการ อุปกรณ หรอื เคร่อื งมอื

หากยงั คงฝา ฝน ใหใ ชก าํ ลงั เพอื่ กกั ตวั หรอื ทาํ การจบั กมุ ได แตท ง้ั นร้ี ะดบั ของกาํ ลงั
ที่ใชต อ งเหมาะสมกบั สถานการณทเี่ กดิ ข้ึน

การปฏบิ ตั ติ อ ผหู ญงิ เดก็ และคนชรา จะตอ งเพม่ิ ความระมดั ระวงั และปฏบิ ตั ใิ หม ี
ความเหมาะสมกบั สถานภาพ โดยคํานึงถึงสิทธิมนุษยชนทีไ่ มทําใหเสียภาพพจนใ นการปฏบิ ัติการ

การสั่งใชกําลังเจาหนาที่หลัก หรือเจาหนาที่ที่รวมปฏิบัติการ เขายุติการชุมนุม
ใหอยูในอํานาจของผูบังคับบัญชาในพ้ืนท่ีท่ีไดรับคําสั่งใหรับผิดชอบในการรักษาความสงบการชุมนุม
สาธารณะคอื เจาพนกั งานดูแลการชุมนมุ สาธารณะหรอื ผคู วบคุมสถานการณ

ในกรณฉี กุ เฉนิ จาํ เปน เรง ดว น ซง่ึ เปน เหตกุ ารณเ ฉพาะหนา การใชก าํ ลงั มาตรการ
อปุ กรณห รอื เครอื่ งมอื ปอ งกนั ตนเองหรอื ทรพั ยส นิ ของทางราชการ ปอ งกนั การกระทาํ ความผดิ ซงึ่ หนา
หรือปกปองชีวิตผูอ่ืนจากภยันตรายที่ใกลจะถึงสามารถกระทําไดตามความจําเปนแตตองพอสมควร
แกเ หตุ

๒) ¡ÒÃ㪌à¤ÃÍè× §Á×Í ÍØ»¡Ã³¤ Ǻ¤ØÁ½§Ù ª¹
การใชเ ครอื่ งมอื หรืออุปกรณใ นการดูแลการชุมนมุ สาธารณะ ใหถ ือปฏิบตั ติ าม

แนวทาง ดงั น้ี
การใชเครื่องมือ อุปกรณควบคุมฝูงชน ตองใชตามความจําเปนไดสัดสวน

และเหมาะสมกบั สถานการณเพอ่ื ใหบรรลภุ ารกจิ หรือปองกนั ตนเองหรือกลุมบคุ คล หรอื ทรัพยสิน
ตองเตือนผชู ุมนุมหรือกลมุ บคุ คลดังกลาวกอนวาจะใชก าํ ลงั เขา ยตุ ิการชมุ นมุ
การใชกระบอง ใหใ ชใ นกรณผี ลักดนั กลมุ คนออกจากพ้นื ท่โี ดยเมื่อจําเปน ตองใช

กระบอง ตองเตือนกอน เวน แตส ถานการณไมเ อือ้ อาํ นวย และใหใชเทา ทจ่ี าํ เปนเพอ่ื การบรรลุภารกิจ
หากจําเปนใหทําการตี แตตองไมตีที่บริเวณอวัยวะสําคัญซ่ึงอาจกอใหเกิดอันตรายตอชีวิตหรือทําให
พิการ

การยิงกระสุนยาง ใหยิงตอเปาหมายท่ีกระทําการหรือมีทาทีคุกคามตอชีวิต
บุคคลอื่น รวมทั้งตองกําหนดเปาหมายโดยชัดเจน ไมยิงโดยไมแยกแยะหรือไมเลือกเปาหมาย
ไมใ ชการยงิ อตั โนมัติ จะตอ งเลง็ ยงิ ใหกระสนุ ยางกระทบสว นลางของรา งกายของผูทเ่ี ปน เปาหมาย

๓๓

การใชนํ้าฉีด ใหใชในกรณีการเขายุติการชุมนุม หรือระงับยับย้ังปองกันเหตุ
โดยใชแ รงดนั นา้ํ เทา ทจ่ี าํ เปน ในการสลายฝงู ชน และระมดั ระวงั อยา ฉดี นา้ํ ไปยงั บรเิ วณอวยั วะทบ่ี อบบาง
เชน ดวงตา เปนตน

การใชสารควบคุมการจลาจลในการยุติการชุมนุม หรือระงับยับยั้งปองกันเหตุ
สามารถกระทําได แตต องมีการเตอื นกอนการใชแ ละใหใ ชใ นระดับความเขม ขนท่ีเหมาะสม

การใชแกสนา้ํ ตาใหร ะมัดระวัง หลกี เล่ียงการขวางไปโดนตัวบุคคลใดบคุ คลหนึ่ง
ระมดั ระวังอนั ตรายท่ีจะเกิดแกก ลุมคนที่อยูใกลเ คยี ง ซึ่งไมมสี วนเก่ยี วของกบั การชมุ นุม หา มใชอาวุธ
หรืออุปกรณท่ีมีอํานาจการทําลายสูง เชน เคร่ืองยิงลูกระเบิด เอ็ม ๗๙ ในการยิงลูกระเบิดสังหาร
ระเบดิ เพลงิ อาวธุ ปนกล ในภารกจิ การรกั ษาความสงบการชุมนุมสาธารณะ

๓) ¡ÒÃ㪌ÍÒǸØ
กรณีที่มเี หตแุ ทรกซอน มีการนําหรือใชอาวธุ รา ยแรงในสถานทชี่ มุ นมุ สาธารณะ

หรือมกี ารกระทาํ ความผดิ ท่เี ปน ภยนั ตรายตอชีวติ รา งกาย ทรพั ยส นิ อันเปน การละเมิดสิทธเิ สรภี าพ
อยา งรา ยแรง ซงึ่ มใิ ชก ารชมุ นมุ ตามปกติ ใหเ จา หนา ทส่ี ามารถใชม าตรการ อาวธุ เพอื่ ระงบั ยบั ยงั้ และ
ปราบปรามการกระทาํ ความผดิ นนั้ ได ภายใตก รอบของกฎหมาย พอสมควรกบั เหตรุ า ยทคี่ าดวา จะเกดิ ขน้ึ
นอกเหนือจากการดแู ลการชมุ นมุ สาธารณะตามท่ีกฎหมายกําหนด

ó. »ÃÐÁÇÅÃÐàºÂÕ º¡ÒÃตําÃǨà¡ÕÂè Ç¡ºÑ ¤´Õ
กําหนดหลักการพิจารณาการใชกําลังของเจาหนาท่ีตํารวจ โดยอาจพิจารณาไดจาก

อาการกริ ิยา อาวุธและความรายแรงของอาวุธและกําลงั และความจาํ เปน ดงั นี้
๑) อาการกิริยา จะตองถือเอาอาการกิริยาผูจะตองถูกจับเปนสําคัญ หากผูน้ัน

จะตอสูเจาพนักงาน ซึ่งคําวา ตอสู นี้มิไดหมายความวาเจาพนักงานจะตองรอใหถูกทํารายกอน
หรือไม แมเ พียงแสดงกิรยิ าใหป รากฏวา ไดพยายามจะตอสูเ ทาน้ันก็พอแลว

๒) อาวธุ และความรา ยแรงของอาวธุ เมอ่ื ผจู ะตอ งถกู จบั ตอ สหู รอื แสดงกริ ยิ าจะตอ สู
แลว เจา พนกั งานยงั จะตองระวังในเรอ่ื งอาวุธทจี่ ะใชอ ีกอยา งหนง่ึ ดว ย โดยตอ งเลือกใหสมควรกับการ
ตอ สู แตหากเปนการจําเปนจริงๆ แลว แมศ ักดิข์ องอาวธุ ที่ใชจ ะผิดกันบาง แตเปนเวลาจําเปน หาก
เจา พนกั งานไมใ ชอ าวธุ ทมี่ อี ยปู อ งกนั ตวั แลว อาจไดร บั อนั ตรายได แมเ จา พนกั งานจะใชอ าวธุ เกนิ ไปบา ง
ก็อาจอยูใ นฐานะพอสมควรแกเหตุ

๓) กาํ ลงั และความจาํ เปน กรณที ผ่ี ถู กู จบั มกี าํ ลงั มากกวา ในทางกายภาพไมว า จะเปน
จาํ นวนคน หรอื ขนาดความแขง็ แรงของรา งกายกต็ าม แมเ จา พนกั งานจะใชอ าวธุ เกนิ ไปบา ง กอ็ าจอยใู น
ฐานะพอสมควรแกเหตุ เวนแตเจาพนักงานมกี าํ ลังสามารถจะทาํ การจับไดโ ดยละมอ มแตไ มไดก ระทาํ
ยอมเปนการกระทําเกนิ กวาเหตุ

๓๕

º··Õè ù

º·ÊÃØ»

เจา หนา ทต่ี าํ รวจจะตอ งพงึ ระลกึ ไวเ สมอวา การชมุ นมุ สาธารณะเปน เสรภี าพทกี่ ตกิ าระหวา ง
ประเทศ รัฐธรรมนูญ และกฎหมายไดรับรองและคุมครองไว การจะหามการชุมนุมสาธารณะน้ัน
ไมส ามารถกระทําได เวนแตการชมุ นุมสาธารณะนั้นเปน การชมุ นุมทไี่ มช อบดวยกฎหมาย กระทบตอ
ความม่ันคงของชาติ หรอื ความปลอดภยั สาธารณะ ความสงบเรยี บรอ ย การสาธารณสุขหรือศีลธรรม
ของประชาชน หรือการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอ่ืน ภายใตกรอบของรัฐธรรมนูญ
และกฎหมายทจี่ ะตองมุงคมุ ครองท้ังผูชมุ นมุ สาธารณะและสาธารณชนไปพรอม ๆ กนั

เจาหนาที่ตาํ รวจจะตองมีความเขาใจในหลักสิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน และกฎหมาย
ทีเ่ กย่ี วของเพอื่ ใหก ารปฏบิ ตั ิหนา ทเ่ี ปน ไปดวยความถกู ตอง ตามข้นั ตอนทกี่ ฎหมายกําหนดไว

การฝกอบรมทางยุทธวิธี การประกอบกาํ ลัง และการใชเครื่องมือ อุปกรณ หรืออาวุธ
เปนสิ่งที่เจาหนาที่ตาํ รวจทุกนายท่ีไดรับมอบหมายใหปฏิบัติภารกิจดูแลการชุมนุมสาธารณะ จะตอง
ผา นการฝกอบรมใหมีทกั ษะ ความเขา ใจ ตลอดจนอดทนตอ สถานการณการชุมนมุ ไดเปนอยา งดี

การใชกาํ ลังใหพึงระลึกไวเสมอวา จะตองหลีกเลี่ยงการใชกําลังแตหากมีความจําเปน
ตองใชกาํ ลัง ใหเจรจากอ น หากไมเ ปนผล ใหทาํ การแจง เตอื นกอน ถาสามารถกระทําได และใชก ําลงั
ตามความจาํ เปน เหมาะสม และไดสัดสวนกับสถานการณ ท้ังน้ี ไมตัดสิทธิเจาหนาที่ตาํ รวจในการ
ปองกันตนเองหรือบุคคลอ่ืนใหพนจากภยันตรายที่ละเมิดตอกฎหมายและเปนภยันตรายท่ีใกลจะถึง
และพอสมควรแกเหตุ

การศึกษาบทเรียน คาํ วินิจฉัย แนวคาํ พิพากษาศาล ตลอดจนแนวทางการปฏิบัติจาก
การดูแลการชุมนุมสาธารณะที่ผานมา เปนสิ่งที่ผูบังคับบัญชาและเจาหนาที่ตาํ รวจจําเปนตองศึกษา
และทบทวนเพื่อใหเกิดการพัฒนาในการปฏิบัติเพื่อดูแลการชุมนุมสาธารณะใหเปนไปตามกฎหมาย
และมีความเหมาะสมไดสัดสวนตอไป

ñ. á¹Çคาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒÅ
ñ. ¡ÒêÁØ ¹ØÁ·ªÕè ͺ´ÇŒ ¡®ËÁÒÂ
ก. การชุมนุมที่ชอบดวยกฎหมายจะตองเปนการชุมนุมโดยสงบและปราศจาก

อาวธุ ภายใตข อบเขต การใชส ิทธแิ ละเสรภี าพตามบทบญั ญตั แิ หงรฐั ธรรมนูญและกฎหมาย
ข. การชุมนุมสาธารณะเปนไปดวยความสงบเรียบรอย ไมกระทบกระเทือน

ตอความม่ันคงของชาติ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีตลอดจนสุข
อนามยั ของประชาชน หรอื ความสะดวกของประชาชนทจ่ี ะใชท ส่ี าธารณะ และไมก ระทบกระเทอื นสทิ ธิ
เสรีภาพและศกั ดศ์ิ รคี วามเปน มนุษยข องผูอ่นื

๓๖

ò. ¡ÒêØÁ¹ÁØ ·äÕè Á‹ªÍº´ŒÇ¡®ËÁÒÂ
ก. การชุมนุมท่ีไมชอบดวยกฎหมาย กลาวคือ เปนการชุมนุมท่ีเกินขอบเขต

เสรภี าพของการชุมนมุ ตามที่บัญญัตไิ วใ นรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย หรอื กฎหมาย
ข. การชมุ นมุ สาธารณะทมี่ ลี กั ษณะรนุ แรงและอาจเปน อนั ตรายแกช วี ติ รา งกาย

จติ ใจ หรือทรัพยส นิ ของผอู ื่นจนเกิดความวุนวายขนึ้ ในบา นเมือง ยกตวั อยางเชน การชมุ นมุ ทปี่ ดลอ ม
ทางเขา ออกสถานท่ีราชการ มีการใชร้วั ลวดหนาม ยางรถยนตร าดนํา้ มันเชอื้ เพลงิ กีดขวางถนน อนั มี
ลกั ษณะทําใหผ ูอน่ื กลัววาจะเกิดอันตราย ตอ ชีวติ รางกาย เสรีภาพ หรือการชุมนมุ ที่มีการปด กนั้ ถนน
ทางหลวง ทางสาธารณะ

ò. ¤³Ø ÊÁºμÑ Ô¢Í§à¨ŒÒ¾¹¡Ñ §Ò¹´ÙáÅ¡ÒêÁØ ¹ÁØ ÊÒ¸ÒóÐและขาราชการตํารวจ ซ่ึงไดร ับ
มอบหมาย

๑. ตองผานการฝกอบรมใหมีทักษะ ความเขาใจ และอดทนตอสถานการณ
การชมุ นุมสาธารณะ

๒. ตอ งแตง เครอ่ื งแบบเพอ่ื แสดงตน เพอื่ ใหเ จา พนกั งานดงั กลา ว ไมก ระทําการใดๆ
อันเปนการย่วั ยุ หรอื อาจกอ ใหเกดิ การกระทบกระท่ังระหวางเจา หนา ที่กับผูช ุมนุม

๓. การใชเคร่อื งมอื ควบคุมฝงู ชนตามท่รี ฐั มนตรีประกาศกาํ หนด ปจ จุบัน (๒๕๕๘)
มกี ําหนดไว จํานวนทัง้ สนิ้ ๔๘ ชนดิ เคร่อื งมอื

ó. ¡Òý¡ƒ ¤Çº¤ØÁ½Ù§ª¹
๑) รูปแบบการฝก ในระดับพน้ื ฐาน ยงั คงใชร ปู แบบการฝกที่ ตร.กาํ หนด
๒) การฝก ทบทวน หรอื การฝก ตามแผนเผชิญเหตุ
¡. ÊÇ‹ ¹áá ทาํ การฝก จากประสบการณก ารใชก าํ ลงั ในการควบคมุ ฝงู ชนจรงิ เชน

การรักษาความปลอดภัยสถานท่ี การตั้งจุดตรวจจุดสกัด การรักษาความปลอดภัยในพื้นที่การชุมนุม
การอํานวยความสะดวกดานการจราจรโดยรอบพื้นท่ีการชุมนุม การกาํ หนดเสนทางการเคลื่อนไหว
การใชเ ทคนคิ การเจรจาตอ รอง การใชอปุ กรณประจํากาย การปดลอมพื้นท่ี

¢. ÊÇ‹ ¹·ÊÕè ͧ ทําการฝก กําลงั สาํ หรบั ภารกจิ ทอี่ าจกระทบกระทงั่ กบั ผชู มุ นมุ เชน
การปฏิบัติ เขากดดัน ปะทะหรือยุติการชุมนุม ควรเปนกําลังอีกสวนหนึ่ง ที่ไดรับการฝกเพ่ือปฏิบัติ
ในกรณีเปน การเฉพาะ

๓) ควรจัดใหมีวงรอบในการฝกทบทวน ในภาวะปกติอยางเปนระบบ ทุกครั้ง
ทจี่ ะตอ งออกปฏิบัตภิ ารกิจในสถานการณจรงิ กําลังทกุ สวนจะตองไดร ับ “การฝกเรงดวน”

ô. ¢ŒÍàʹÍá¹ÐÍè¹× æ
๑) การปฏิบัติงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ ควรใช “ผูบัญชาการเหตุการณ”

เพยี งคนเดยี ว ตอ เนอ่ื งจนกวา เหตกุ ารณจ ะยตุ ลิ ง ระบบการสง่ั การบงั คบั บญั ชาจะตอ งเปน ไปตามระบบ
ขั้นตอน และวธิ กี าร ทถี่ ูกตอ งเหมาะสมตามหลกั การและสถานการณท ่เี กิดขน้ึ

๓๗

๒) ควรมีการฝก อบรม “นักเจรจาตอรอง” ในสถานการณควบคุมฝูงชนโดยเฉพาะ
๓) จาํ เปนจะตองมีการทบทวนระเบียบ กฎหมาย เกี่ยวกับความรับผิดชอบ
ตอเหตกุ ารณ ระหวา งเจาพนักงานตํารวจ ฝายปกครอง หนวยงานของรัฐอ่ืนๆ เพื่อสรา งความชัดเจน
เกย่ี วกบั ขอกฎหมาย รองรับการปฏิบตั ิหนาทขี่ องเจาพนักงานตํารวจ

๓๘

àÍ¡ÊÒÃÍÒŒ §Í§Ô

¡®ËÁÒÂ
พระราชบัญญัตกิ ารชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘
พระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนาท่ี พ.ศ.๒๕๓๙
พระราชบัญญตั ิกฎอัยการศกึ พ.ศ.๒๔๕๗
พระราชบญั ญัตกิ ารรกั ษาความม่นั คงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑
พระราชกาํ หนดการบรหิ ารราชการในสถานการณฉ กุ เฉนิ พ.ศ.๒๕๔๘
พระราชบญั ญัติวธิ ีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
พระราชบญั ญัตติ ํารวจแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๗
ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา

๓๙

ºÃóҹءÃÁ

คคั นางค มณีศรี ผศ.ดร. จิตวทิ ยาทว่ั ไป. พมิ พครงั้ ที่ ๓. ชอระกา การพิมพ. กรุงเทพฯ. ๒๕๕๖.
จิรภรณ ตง้ั กติ ติภาภรณ. จติ วิทยาทวั่ ไป. พมิ พครัง้ ท่ี ๒. สํานกั พิมพแ หงจุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั .

กรุงเทพฯ. ๒๕๕๗.
นพมาศ องุ พระ(ธีรเวคนิ ). จิตวทิ ยาสงั คม. พิมพค ร้งั ที่ ๑. หา งหุนสว นจํากัด สามลดา. กรงุ เทพฯ.

๒๕๕๕.
ปกรณ นิลประพนั ธ. หลกั สากลในการใชกาํ ลงั และอาวุธของเจาหนาทีข่ องรัฐในการยุติการชมุ นมุ

สาธารณะทีไ่ มช อบดว ยกฎหมาย. ๒๕๕๓.
ยงยทุ ธ วงศภ ริ มยศ านติ์ นพ. และคณะ. ประมวลสาระ ชดุ ฝก อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารใหแ กเ จา หนา ทข่ี องรฐั

เกี่ยวกับเสรภี าพในการชุมนุมในที่สาธารณะ. กรุงเทพฯ. ๒๕๕๕.
วรเจตน ภาคีรตั น. กฎหมายวธิ ปี ฏิบัติราชการทางปกครอง. พิมพค รัง้ ท่ี ๒. บริษทั เอ.พ.ี กราฟค ดไี ซน

และการพิมพ จาํ กัด. กรุงเทพฯ. ๒๕๕๔.
สาํ นักงานตาํ รวจแหง ชาต.ิ คมู ือการปฏบิ ตั ิตามพระราชบัญญตั กิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘.

โรงพิมพต าํ รวจ. กรุงเทพฯ. ๒๕๕๘.

๔๐

จัดพิมพโดย
โรงพิมพต าํ รวจ ถ.เศรษฐศิริ ดุสติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศพั ท ๐-๒๖๖๘-๒๘๑๑-๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๔๖๕๘

“เปนองคกรบังคับใชกฎหมายที่นําสมัย
ในระดับมาตรฐานสากล เพ�อใหประชาชนเช�อมั่นศรัทธา”

พลตํารวจเอก สุวัฒน แจงยอดสุข
ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ


Click to View FlipBook Version