The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

4_GE21104_เทคโนโลยีสารสนเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-06-28 04:17:39

4_GE21104_เทคโนโลยีสารสนเทศ

4_GE21104_เทคโนโลยีสารสนเทศ

วชิ า ศท. (GE) ๒๑๑๐๔

เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การปฏิบตั งิ าน
ตาํ รวจ

ตาํ ÃÒàÃÕ¹

ËÅ¡Ñ ÊμÙ Ã ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹¹ÒÂÊÔºตําÃǨ

ÇÔªÒ È·. (GE) òññðô à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È¡ºÑ ¡Òû¯ºÔ Ñμ§Ô Ò¹ตาํ ÃǨ

เอกสารน้ี “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หา มมิใหผ ูห นึง่ ผใู ดเผยแพร คดั ลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนง่ึ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเ้ี พอื่ การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทาน้ัน การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนท่ีไมมีอํานาจหนาท่ีจะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ สํา¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ¾ÃÇ.Ȩá.òËõ‹§ªöÒôμÔ

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ŒÒ

ÇÔªÒ à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È¡Ñº¡Òû¯ÔºμÑ Ô§Ò¹ตําÃǨ ñ

º··Õè ñ ¤ÇÒÁÃŒ·Ù èÇÑ ä»à¡ÕèÂǡѺ෤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È ๒
๑.๑ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๕
๑.๒ ระบบสารสนเทศและเครอื ขายคอมพวิ เตอร ๖
๑.๓ อปุ กรณใ นระบบเครือขาย ๑๒
๑.๔ บทบาทของอินเทอรเ นต็ อินทราเน็ตและเอ็กซท ราเนต็ ñõ
๑.๕ จริยธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๖
๒๑
º··èÕ ò ÃкºÊÒÃʹà·È¢Í§สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตําÃǨá˧‹ ªÒμÔ ๒๑
๒.๑ ระบบสารสนเทศ ตร. (POLice Information System : POLIS) ๒๓
๒.๒ ระบบสารสนเทศสถานีตํารวจ (Criminal Record and ๒๓
Information Management Enterprise System : CRIMES)
๒.๓ ระบบประชุมวดี ทิ ศั นท างไกล (Video Conference System) ๒๕
๒.๔ ศนู ยร ับแจง เหตฉุ กุ เฉนิ ๑๙๑ ๒๗
๒.๕ ระบบบรหิ ารจดั การใบส่ังออนไลน ๒๗
(Police Ticket Management : PTM) ๒๗
๒.๖ ระบบสารสนเทศสาํ นักงานตรวจคนเขา เมอื ง ๒๘
(Personal Identification and Blacklist Immigration ๒๘
Control System: PIBICS)
๒.๗ ระบบตรวจสอบลายพิมพนวิ้ มืออตั โนมัติ
(Automated Fingerprint Identification : AFIS)
๒.๘ ระบบฐานขอ มลู อาชญากรรม
(Criminal Database System : CDS)
๒.๙ การใชคอมพวิ เตอรสเกต็ ชและประกอบภาพใบหนาคนราย
(Adobe Photoshop)
๒.๑๐ ระบบฐานขอมูลอาชญากรรมขามชาติ
(Case Management Intelligence System : CMIS)
๒.๑๑ ระบบกลองอานหมายเลขปายทะเบียนรถอัตโนมัติ
(License Plate)

º··èÕ ó ÃкºÊÒÃʹà·ÈʶҹตÕ าํ ÃǨ ˹Ҍ
๓.๑ ระบบ CRIMES óñ
๓.๒ การขอ Username และ Password เพื่อเขาใชงานระบบ CRIMES ๓๒
๓.๓ ศนู ยชว ยเหลือ (Help desk) ๓๕
๓.๔ การฝกปฏิบตั ิ ๕๓
๓.๔.๑ เจาหนา ท่เี สมยี นประจาํ วัน ๕๔
๓.๔.๒ เจา หนา ทเี่ สมียนคดี ๕๔
๓.๔.๓ เจาหนาทฝี่ า ยสบื สวน, ปราบปราม ๗๔
๙๗



º··èÕ ñ

¤ÇÒÁÃŒ·Ù ÑÇè ä»à¡ÕÂè ǡѺ෤â¹âÅÂÊÕ ÒÃʹà·È

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤ : Objects

๑. ผเู รยี นเขาใจบทบาทสําคัญของเทคโนโลยีและการสือ่ สารท่มี ตี อระบบสารสนเทศ
๒. ผเู รียนรูจ ักอปุ กรณทางเทคโนโลยีสารสนเทศไดเ ปน อยางดี
๓. ผเู รียนมคี วามตระหนักรใู นจริยธรรมการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ

ËÇÑ ¢ŒÍàÃÍè× § : Topics

๑.๑ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
๑.๒ ระบบสารสนเทศและเครือขายคอมพิวเตอร
๑.๓ อปุ กรณในระบบเครือขา ย
๑.๔ บทบาทของอินเทอรเ นต็ อินทราเน็ตและเอก็ ซทราเนต็
๑.๕ จรยิ ธรรมในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ



º·¹Ó

วิวัฒนาการในเร่ืองของเทคโนโลยีในปจจุบันมีความกาวหนาและพัฒนาอยูตลอดเวลา
จนทาํ ใหผูใ ชง านคอมพิวเตอรถอื เปน ปจจยั จําเปน ในชวี ติ ประจาํ วันท้งั ทางตรงและทางออ ม ซ่ึงการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิผลยอมสามารถสนับสนุนการดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
การศึกษาเก่ียวกับระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการน้ันจึงเก่ียวของกับการนําระบบสารสนเทศ
ทเี่ หมาะสมมาใชใ นองคก รใหบรรลุเปาหมายตามตอ งการ

ñ.ñ à·¤â¹âÅÂÊÕ ÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊèÍ× ÊÒÃ

à·¤â¹âÅÂÊÕ ÒÃʹà·È (Information Technology : IT) หมายถงึ การนาํ เอาความรทู าง
เทคโนโลยที กุ ดา นมาจดั การสารสนเทศทตี่ อ งการ โดยอาศยั เครอ่ื งมอื ทางเทคโนโลยใี หมๆ เชน เทคโนโลยี
ดา นคอมพวิ เตอร เทคโนโลยดี า นเครอื ขา ยโทรคมนาคมและการสอ่ื สาร ตลอดจนอาศยั ความรใู นกระบวนการ
ดาํ เนนิ งานสารสนเทศในขนั้ ตอนตา ง ๆ ตง้ั แตก ารแสวงหา การวเิ คราะห การจดั เกบ็ รวมถงึ การจดั การเผยแพร
และแลกเปล่ียนสารสนเทศมาเพ่ิมประสิทธิภาพความถูกตอง ความแมนยําและความรวดเร็วใหทัน
ตอ การนาํ มาใชป ระโยชน และเมอ่ื มกี ารนาํ เครอื ขา ยโทรคมนาคมและการสอ่ื สารมาชว ยในการจดั การ
โดยการส่ือสารน้ันมาจากคําวา Communication จึงเรียกวาà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×èÍÊÒÃ
(Information and Communication Technology : ICT)

ñ.ò ÃкºÊÒÃʹà·ÈáÅÐà¤ÃÍ× ¢‹Ò¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÏ

การศกึ ษาเกยี่ วกบั ระบบสารสนเทศเพอื่ การจดั การนนั้ เกย่ี วขอ งกบั การนาํ ระบบสารสนเทศท่ี
เหมาะสมมาใชใ นองคก รใหบ รรลเุ ปา หมายตามตอ งการ ÃкºÊÒÃʹà·È(Information System : IS)จงึ หมายถงึ
ระบบตา งๆ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั สารสนเทศ ซง่ึ มกั ประกอบดว ยฐานขอ มลู ทน่ี าํ มาใชเ พอ่ื การจดั เกบ็ ดว ยระบบ
คอมพวิ เตอรเพ่ือเปนขอมลู ในองคก ร และดวยลาํ พงั เพียงเทคโนโลยีสารสนเทศ คงไมม คี วามหมาย
ใดๆ หรืออาจมีประโยชนเพียงนอยนิด หากผูใชไมรูจักนํามาประยุกตใชใหเกิดผลในทางรูปธรรมได
ดังนั้น ผูที่มีความรูและรูจักใชประโยชนจากเทคโนโลยีนี้เอง จึงจะสามารถนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศ
มาเปนเครอ่ื งมือเพือ่ ขับเคลือ่ นรว มกันกบั ระบบสารสนเทศได

ñ.ò.ñ ÃкºÊÒÃʹà·È (Information System) หมายถงึ ระบบจดั การขอ มลู จาํ นวนมาก
ไมว า จะเปน ขอ มลู ตวั เลข ภาพ เสียงหรือขา วสาร ใหสามารถชวยตัดสินใจในขอ มูลไดอยา งเปนระบบ
โดยมีองคป ระกอบสําคญั ๖ สว นดังน้ี

๑) ÎÒÏ´áÇÏ (Hardware) หมายถึง อปุ กรณต า ง ๆ ทป่ี ระกอบขน้ึ เปน เครอ่ื ง
คอมพวิ เตอร สามารถมองเหน็ ดว ยตาและสมั ผสั ได เชน จอภาพ แปน พมิ พ เมาส เปน ตน ซง่ึ แบง ลกั ษณะ
การทาํ งานได ๔ หนว ยคอื หนว ยรบั ขอ มลู (Input Unit) หนว ยประมวลผลกลาง (Central Processing
Unit : CPU) หนวยแสดงผล (Output Unit) และหนวยความจํา (Memory Unit) ซง่ึ รวมไปถึง
หนวยเกบ็ ขอมูลสาํ รอง (Secondary storage)



๒) «Í¿μáÇÏ (Software) หมายถึง โปรแกรมหรอื ชดุ คําส่ังทเี่ ขยี นขน้ึ เพือ่ ให
เครือ่ งคอมพิวเตอรปฏบิ ัติตาม แบงออกเปน ๒ ประเภทคือ ซอฟตแ วรร ะบบ (System software)
และซอฟตแวรประยกุ ต (Application software)

๓) º¤Ø ÅÒ¡Ã (Peopleware) หมายถงึ บคุ คลทเี่ กย่ี วขอ งกบั คอมพวิ เตอรใ นหนา ท่ี
ตา งๆ เชน นกั วเิ คราะหระบบ (System Analyst) โปรแกรมเมอร (Programmer) วศิ วกรซอฟตแ วร
(Software Engineering) ผูบริหารเครือขา ย (Network Administrator) และผใู ช (User) เปนตน

๔) ¢ÍŒ ÁÅÙ (Data) เปน องคป ระกอบทส่ี าํ คญั อยา งหนงึ่ ในระบบคอมพวิ เตอรท จี่ ะ
ตอ งนาํ เขา เพอ่ื ใหไ ดผ ลลพั ธอ อกมา ซงึ่ ขอ มลู ทน่ี าํ เขา จะมหี นว ยทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ไดแ ก μÇÑ Í¡Ñ ¢ÃÐ (Character)
ซ่งึ จะประกอบไปดวย ตัวเลข ตัวอักษร และสญั ลักษณต างๆ เมอ่ื นําตวั อกั ขระเหลา น้มี าประกอบกนั
จะทําใหไดหนวยขอมูลท่ีใหญข้ึนคือ ¿Å´ (Field) และการนําฟลดหลายๆ ฟลดมาประกอบกัน
จะเปน àä¤ÍÏ´ (Record) และถานําหลาย ๆ เรคคอรดมาประกอบกันก็จะเปน ä¿Å (File)
และหากนําหลาย ๆ ไฟลมารวมกันในลักษณะที่มีความสัมพันธกันในแตละไฟลดวยจะกลายเปน
°Ò¹¢ÍŒ ÁÅÙ (Database) เชน ฐานขอ มลู คดอี าญา-จราจร ฐานขอ มลู หมายจบั ฐานขอ มลู ทะเบยี นราษฎร
ฐานขอมลู ทะเบียนยานพาหนะ

๕) ¡Ãкǹ¡Òà (Process) คือ ระเบียบวิธีการปฏิบัติในการจัดเก็บขอมูล
ใหไ ดผ ลลพั ธห รอื สารสนเทศจากคอมพวิ เตอร ผใู ชจ งึ จาํ เปน ตอ งทราบขน้ั ตอนการทาํ งาน เพอ่ื ใหไ ดง าน
ทถี่ กู ตอ งและมปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ อาจจะมขี นั้ ตอนสลบั ซบั ซอ นหลายขนั้ ตอน ดงั นน้ั จงึ มคี วามจาํ เปน ตอ ง
มีคมู อื การปฏบิ ัตงิ าน เชน คมู ือผใู ช (User Manual) หรอื คูม ือผูด แู ลระบบ (Operation Manual)

๖) à¤Ã×Í¢‹ÒÂáÅСÒÃÊÍ×è ÊÒâŒÍÁÅÙ (Network and Communication) คอื
การนํากลุมคอมพิวเตอรและอุปกรณตาง ๆ มาเช่ือมตอกันผานสื่อกลางสงขอมูลใหสามารถสื่อสาร
ระหวางกนั ได

ñ.ò.ò »ÃÐàÀ·¢Í§à¤ÃÍ× ¢‹Ò¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÏ
à¤Ã×Í¢‹Ò¤ÍÁ¾ÔÇàμÍÏ (Computer Network) หมายถึง การเชื่อมตอ

คอมพิวเตอรตั้งแต ๒ เครื่องขึ้นไปเปนระบบเขาดวยกัน โดยผานส่ือกลางสายเคเบิลหรือส่ืออื่นๆ
ทที่ าํ ใหค อมพวิ เตอรส ามารถรบั สง ขอ มลู แกก นั และกนั ได ดงั เชน ทส่ี าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตไิ ดน าํ ระบบ
เครือขายคอมพิวเตอรเขามาใชงานเพื่อจัดเก็บรวบรวมขอมลู และการสืบคน สามารถรองรับการปฏิบตั งิ าน
ทง้ั ดานการสืบสวนสอบสวน การปองกันปราบปราม งานอํานวยการ เชน ระบบสารสนเทศสถานี
ตํารวจ (CRIMES) ระบบสารสนเทศหลัก ตร. (POLIS) เปนตน ซึ่งเครือขายคอมพิวเตอรนั้น
มีหลายชนิด สามารถใชหลักเกณฑการแบงไดหลายวิธี แตถาหากแบงตามกายภาพท่ีเกี่ยวของกับ
ระยะทางระหวา งโหนดบนเครอื ขา ยและขอ กาํ หนดดา นการสอ่ื สารและการบรกิ ารเปน หลกั แลว สามารถ
แบง ไดเปน ๔ ประเภทดงั น้ี



ñ) à¤ÃÍ× ¢Ò‹ ÂÃдѺ·ÍŒ §¶¹èÔ (Local Area Network : LAN) เปน เครือขาย
ระยะใกลใ ชกันอยูในบริเวณไมก วา งนกั อาจอยูในองคกรเดียวกันหรอื อาคารทใ่ี กลกัน ซ่ึงระยะไกลสดุ
ทส่ี ามารถรบั สง ขอ มลู แบบไมต ดิ ขดั นนั้ อยทู ป่ี ระมาณ ๑๐๐ เมตร ตวั อยา งการใชเ ครอื ขา ย เชน เครอื ขา ย
ภายในสํานักงาน ภายในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ที่มีการเชื่อมตอระหวางคอมพิวเตอรดวยกัน
และอปุ กรณตอพว ง เชน เครอื่ งพิมพ สแกนเนอร ทาํ ใหส ามารถแบง ปนการใชทรพั ยากรได

ò) à¤ÃÍ× ¢Ò‹ ÂÃдºÑ àÁÍ× § (Metropolitan Area Network : MAN) เปน เครอื ขา ย
ขนาดกลางท่ีใชรับสงขอมูลกันไดประมาณ ๖๐ กิโลเมตร หรือภายในเมืองหรือจังหวัดใกลเคียงกัน
เชน ระดับเคเบลิ ทวี ีที่มีสมาชกิ ตามบา นทว่ั ไป เปน ตน

ó) à¤ÃÍ× ¢Ò‹ ÂÃдºÑ »ÃÐà·È (Wide Area Network : WAN) เปน เครอื ขา ยขนาดใหญ
ใชติดตอบริเวณกวาง จะเช่ือมตอระยะทางไกลมาก จึงมีความเร็วในการส่ือสารไมสูงมากนัก เชน
ธนาคารทมี่ สี าขาทว่ั ประเทศจะมบี รกิ ารรบั ฝากถอนเงนิ ผา นตเู อทเี อม็ เปน ตน ใชส อ่ื กลางหลายชนดิ เชน
ระบบคลื่นวิทยุ คล่ืนไมโครเวฟ หรือมีการเช่ือมโยงดวยชองสัญญาณดาวเทียม เสนใยแกวนําแสง
และการใชงานอินเทอรเน็ตก็จดั วา เปน การตดิ ตอส่อื สารในระบบเครือขา ยระดับประเทศดวย

ô) à¤ÃÍ× ¢Ò‹ ÂÊÇ‹ ¹º¤Ø ¤Å (Personal Area Network : PAN) เปน เทคโนโลยเี ครอื ขา ย
ไรส าย ซงึ่ ทาํ ใหเ กดิ การเปลยี่ นแปลงแนวคดิ และวธิ กี ารจดั การทางดา นเครอื ขา ยคอมพวิ เตอรข ององคก รตา ง ๆ
ทงั้ ในองคก รเดมิ ทมี่ เี ครอื ขา ยคอมพวิ เตอรอ ยแู ลว และองคก รทเี่ กดิ ขน้ึ ใหมท ก่ี าํ ลงั วางแผนตดิ ตงั้ ระบบ
เครอื ขา ยคอมพวิ เตอร ซงึ่ เครอื ขา ยไรส ายนไี้ มใ ชเ ทคโนโลยเี ครอื ขา ยคอมพวิ เตอรท มี่ าทดแทนเครอื ขา ย
แบบใชสัญญาณ Wired Network แตเปนเทคโนโลยีท่ีสามารถขยายเครือขายแบบใชสัญญาณได
นอกจากนน้ั ยงั ถกู นาํ ไปใชใ นบรเิ วณทกี่ ารตดิ ตง้ั สายสญั ญาณมอี ปุ สรรคทางดา นภมู ศิ าสตรห รอื ในบรเิ วณ
ทตี่ อ งการความรวดเรว็ ในการตดิ ตงั้ เครอื ขา ยใหมส าํ หรบั การทาํ งานแบบชว่ั คราว ซงึ่ อาจเรยี กวา à¤ÃÍ× ¢Ò‹ Â
äÃÊŒ Ò (Wireless LAN : WLAN) มคี วามสะดวกรวดเรว็ ในการตดิ ตง้ั และรวดเรว็ ในการเคลอื่ นยา ย
อุปกรณเครอื ขาย รัศมกี ารใชงานระยะทางประมาณ ๓๓ ฟตุ สาํ หรบั อุปกรณที่นํามาเชื่อมตอ สามารถ
เปน คอมพวิ เตอรโ นต บกุ สมารท โฟน เครอ่ื งพดี เี อและเครอ่ื งเลน แบบพกพา ซงึ่ อปุ กรณท งั้ หลายเหลา น้ี
สามารถเชื่อมโยงและสงผานขอมูลระหวางกันแบบไรสายได เชน การถายโอนหรือคัดลอกขอมูล
การส่งั พิมพง านผานสื่อไรสายอยา งบลทู ูธ เปนตน



ปจจุบันเครือขายคอมพิวเตอรไดถูกหลอหลอมรวมเขาดวยกันกับเครือขายโทรศัพท
และเครอื ขา ยการสอ่ื สารทสี่ ามารถสง ผา นไดท ง้ั ขอ มลู ภาพและขอ มลู เสยี ง นอกจากนเ้ี ครอื ขา ยคอมพวิ เตอร
ก็มอี ยหู ลายขนาดดวยดังทีก่ ลา วมาแลว ตง้ั แตเ ครอื ขายขนาดเล็กทีส่ รางขนึ้ เพ่ือใชงานสว นตวั จนถงึ
เครือขายขนาดใหญค ือระบบอนิ เทอรเ นต็ ทม่ี ีการเชอ่ื มตอ เครอื ขายทงั้ โลกเขา ดว ยกัน

ñ.ó Í»Ø ¡Ã³ã¹Ãкºà¤Ã×Í¢‹ÒÂ

การที่คอมพิวเตอรจะเช่ือมตอกันเปนเครือขายไดนั้นควรตองมีองคประกอบพ้ืนฐาน
ดังตอ ไปน้ี

๑) การดเชื่อมตอเครือขาย (Network Interface Card : NIC) หมายถึง
แผงวงจรสําหรับใชในการเช่ือมตอสายสัญญาณของเครือขาย ติดต้ังไวในเครื่องคอมพิวเตอรที่เปน
เคร่ืองแมขาย และเครื่องท่ีเปนลูกขาย หนาที่ของการดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร
สงผา นไปตามสายสัญญาณ ทาํ ใหค อมพวิ เตอรในเครอื ขายแลกเปลย่ี นขอ มลู ขา วสารกนั ได

๒) โมเด็ม (Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณสําหรบั การแปลง
สัญญาณดิจิทัล (Digital) จากคอมพิวเตอรดานผูสง เพ่ือสงไปตามสายสัญญาณขอมูล
แบบอนาล็อก (Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอรดานผูรับ โมเด็มก็จะทําหนาท่ีแปลงสัญญาณ
อนาลอ็ กใหเ ปน ดจิ ทิ ลั นาํ เขา สเู ครอ่ื งคอมพวิ เตอร เพอ่ื ทาํ การประมวลผล โดยปกตจิ ะใชโ มเดม็ กบั ระบบ
เครือขา ยระยะไกล โดยการใชส ายโทรศพั ทเปน ส่ือกลาง เชน เครือขายอนิ เทอรเ น็ต เปนตน



๓) ฮับ (Hub) คือ อุปกรณเช่ือมตอที่ใชเปนจุดรวม และแยกสายสัญญาณ
เพอ่ื ใหเ กดิ ความสะดวกในการเชอ่ื มตอ ของเครอื ขา ยแบบดาว (Star) โดยปกตใิ ชเ ปน จดุ รวมการเชอื่ มตอ
สายสัญญาณระหวา ง File Server กบั Workstation ตาง ๆ

๔) อปุ กรณอ นื่ ๆ เชน เราเตอร (Router), สวิตช (Switch), รพี ที เตอร (Repeater),
บรดิ จ (Bridge) เปนตน

ñ.ô º·ºÒ·¢Í§ÍÔ¹à·ÍÃà ¹μç ÍÔ¹·ÃÒà¹μç áÅÐàÍç¡«·ÃÒà¹μç

เทคโนโลยีไดมีการพัฒนารูปแบบและการใชงานใหงายกับการดํารงชีวิตประจําวัน
เปน อยา งมาก โดยเฉพาะการจดั การดา นขอ มูลของหนว ยงาน การศกึ ษาเรยี นรู การสืบคน การตดิ ตอ
ส่ือสาร ซึ่งระบบการส่ือสารผานทางเครือขายคอมพิวเตอรที่รูจักกันคืออินเทอรเน็ต (Internet)
ท่ีเปรียบเสมือนเปนหองสมุดขนาดใหญที่เชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรท่ัวโลกเขาดวยกัน
โดยอาศยั เครอื ขา ยโทรคมนาคมเปน ตวั เชอื่ มเครอื ขา ย ภายใตม าตรฐานการเชอ่ื มโยงดว ยภาษาเดยี วกนั
เพื่อใหคอมพิวเตอรทุกเคร่ืองในอินเทอรเน็ตสามารถสื่อสารระหวางกันได ท่ีเรียกวาโปรโตคอลหรือ
TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) นบั วาเปนเครือขา ยทีก่ วา งขวาง
ท่สี ดุ เน่อื งจากมผี นู ิยมใชอ นิ เทอรเน็ตมากทส่ี ุด

การเช่ือมตอเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อใชในการติดตอส่ือสารระหวางซ่ึงกันและกัน
ในขน้ั ตอนแรกตอ งมกี ารเชอื่ มตอ คอมพวิ เตอรเ ขา กบั เครอื ขา ยอนิ เทอรเ นต็ เสยี กอ น เพอ่ื ใหแ ตล ะเครอ่ื ง
ท่ีอยูในเครือขายสามารถที่จะติดตอส่ือสารรวมกันได โดยการเช่ือมตออินเทอรเน็ตน้ันทําไดหลายวิธี
ไมว า จะเปน การเชอ่ื มตอ โดยตรงหรอื การเชอื่ มตอ ผา นทางผใู หบ รกิ าร และนอกจากนนั้ ยงั มกี ารพฒั นาการ
เชื่อมตออินเทอรเ น็ตเขากับโทรศพั ทเคลอ่ื นท่ี (มอื ถอื ) โดยผา นระบบ GPRS ซง่ึ สามารถเชื่อมตอได
ดวยระบบความเร็วสูงผา นระบบดาวเทยี มตามอัตราคา บรกิ ารหรือวิธีการอนื่ ๆ อกี มากมาย

ñ.ô.ñ ÍÔ¹à·ÍÃà ¹μç (Internet)
อินเทอรเน็ตเปนเครือขายสาธารณะที่ไดเขามามีบทบาทตอการดาํ เนินชีวิต

ในยุคนี้ ธุรกรรมตางๆ มากมายที่มีผูใชบริการผานอินเทอรเน็ต เชน การโอนเงินระหวางบัญชี
การจา ยคา สาธารณปู โภค การใชจ ดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส การใชโ ซเชยี ลมเี ดยี รวมถงึ การใชอ นิ เทอรเ นต็
เพ่อื งานสืบคน ความรวู ิชาการ และดานความบันเทงิ

อินเทอรเน็ตเปนเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีถือกําเนิดเม่ือประมาณ ๓๐ ป
ทแี่ ลว ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๒ โดยองคก รทางทหารของสหรฐั อเมรกิ า ชอื่ วา ย.ู เอส.
ดเี ฟนซ ดพี ารท เมนท (U.S. Defence Department) เปน ผคู ดิ คน ระบบขน้ึ มา มวี ตั ถปุ ระสงค คอื เพอ่ื ให
มรี ะบบเครอื ขา ยทไ่ี มม วี นั ตายแมจ ะมสี งคราม ระบบการสอื่ สารถกู ทาํ ลาย หรอื ตดั ขาด แตร ะบบเครอื ขา ย
แบบนย้ี งั ทาํ งานได ซง่ึ ระบบดงั กลา วจะใชว ธิ กี ารสง ขอ มลู ในรปู ของคลนื่ ไมโครเวฟ ฝา ยวจิ ยั ขององคก ร
จงึ ไดจ ัดตง้ั ระบบเนต็ เวริ กข้ึนมา เรียกวา ARPAnet ยอมาจากคําวา Advance Research Project



Agency net ซึ่งประสบความสําเร็จและไดรับความนิยมในหมูของหนวยงานทหาร องคกร รัฐบาล
และสถาบันการศึกษาตางๆ เปนอยา งมาก

ระบบเครือขา ยแบบเดิม

ระบบเครอื ขา ยแบบใหมทตี่ ดิ ตอ กันไดอยางอิสระ
การเชอื่ มตอ ในภาพแบบเดมิ นนั้ ถา ระบบเครอื ขา ยถกู ตดั ขาด ระบบกจ็ ะเสยี หายและทาํ ให
การเชอ่ื มตอขาดออกจากกัน แตในเครอื ขา ยแบบใหม แมวาระบบเครือขายหนึ่งถกู ตัดขาด เครอื ขาย
กย็ ังดาํ เนินไปไดไ มเ สยี หาย เพราะโดยตวั ระบบกห็ าชองทางอ่ืนเชอ่ื มโยงกันจนได
ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบความสําเร็จ ก็มีองคกรมหาวิทยาลัยตางๆ ให
ความสนใจเขา มารว มในโครงขา ยมากขน้ึ โดยเนน การรบั สง จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (Electronic Mail)
ระหวางกันเปนหลัก ตอมาก็ไดขยายการบริการไปถึงการสงแฟมขอมูลขาวสารและสงขาวสารความรู
ท่วั ไป แตไ มไดใชในเชงิ พาณิชย เนนการใหบ รกิ ารดา นวิชาการเปนหลกั



ป พ.ศ.๒๕๒๓ คนทั่วไปเร่ิมสนใจอินเทอรเน็ตมากข้ึน มีการนําอินเทอรเน็ตมาใชในเชิง
พาณชิ ย มกี ารทําธรุ กจิ บนอินเทอรเนต็ บรษิ ัท หางรา นตา งๆ กเ็ ขา รว มเครอื ขายอินเทอรเนต็ มากขน้ึ

ประเทศไทยไดเริ่มติดตอกับอินเทอรเน็ตในป พ.ศ.๒๕๓๐ ในลักษณะการใชบริการ
จดหมายอิเล็กทรอนิกสแบบแลกเปล่ียนถุงเมลเปนครั้งแรก โดยเร่ิมท่ีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
วิทยาเขตหาดใหญ (Prince of Songkla University) และสถาบนั เทคโนโลยีแหงเอเชยี หรอื สถาบัน
เอไอที (AIT) ภายใตโครงการความรวมมือระหวางประเทศไทยและออสเตรเลีย (โครงการ IDP)
ซ่ึงเปนการติดตอเช่ือมโยงโดยสายโทรศัพท จนกระทั่งป พ.ศ.๒๕๓๑ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
วิทยาเขตหาดใหญ ไดย่ืนขอท่ีอยูอินเทอรเน็ตในประเทศไทย โดยไดรับที่อยูอินเทอรเน็ต
Sritrang.psu.th ซ่ึงนับเปนที่อยูอินเทอรเน็ตแหงแรกของประเทศไทย ตอมาป พ.ศ.๒๕๓๔
บริษทั DEC (Thailand) จาํ กดั ไดข อทอ่ี ยูอนิ เทอรเน็ตเพื่อใชประโยชนภายในของบริษัท โดยไดรบั
ท่ีอยูอินเทอรเ น็ตเปน dect.co.th โดยทค่ี ํา “th” เปนสวนที่เรียกวา โดเมน (Domain) ซ่ึงเปนสวนท่ี
แสดงโซนของเครือขา ยอินเทอรเนต็ ในประเทศไทย โดยยอมาจากคาํ วา Thailand

กลา วไดว า การใชง านอนิ เทอรเ นต็ ชนดิ เตม็ รปู แบบตลอด ๒๔ ชว่ั โมง ในประเทศไทยเกดิ ขน้ึ
เปนคร้ังแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ป พ.ศ.๒๕๓๕ โดยสถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ไดเชาวงจรสื่อสารความเร็ว ๙๖๐๐ บิตตอวินาที จากการส่ือสารแหงประเทศไทยเพ่ือเชื่อมเขาสู
อินเทอรเนต็ ทบ่ี ริษทั ยยู เู น็ตเทคโนโลยี (UUNET Technologies) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า

ในปเดียวกัน ไดมีหนวยงานที่เช่ือมตอแบบออนไลนกับเครือขายอินเทอรเน็ตผาน
จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั หลายแหง ดวยกนั ไดแก สถาบนั เทคโนโลยแี หงเอเชยี (AIT) มหาวทิ ยาลัย
มหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาวิทยาเขตเจาคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม
และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ โดยเรียกเครือขายนี้วาเครือขาย “ไทยเน็ต (THAInet)”
ซ่ึงนับเปนเครือขายที่มี “เกตเวย (Gateway)” หรือประตูสูเครือขายอินเทอรเน็ตเปนแหงแรกของ
ประเทศไทย (ปจ จุบนั เครือขา ยไทยเน็ตประกอบดว ยสถาบนั การศกึ ษา ๔ แหง เทานน้ั สวนใหญย าย
การเช่ือมโยงอินเทอรเน็ตโดยผานเนคเทค (NECTEC) หรือศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส
และคอมพวิ เตอรแ หงชาติ)



ป พ.ศ.๒๕๓๕ เชนกัน เปนปเริ่มตนของการจัดต้ังกลุมจดหมายอิเล็กทรอนิกส
เพอ่ื การศึกษาและวิจยั โดยมีชือ่ วา “เอ็นดับเบิลยจู ี” (NWG: NECTEC E-mail Working Group)
โดยการดแู ลของเนคเทค และไดจ ดั ตั้งเครอื ขายช่อื วา “ไทยสาร” (ThaiSarn: Thai Social/Scientific
Academic and Research Network) เพอื่ การตดิ ตอ สอ่ื สารและแลกเปลย่ี นขอ มลู ขา วสารระหวา งกนั
โดยเร่ิมแรกประกอบดว ยสถาบนั การศึกษา ๘ แหง ปจจุบนั เครือขา ยไทยสารเชือ่ มโยงกับสถาบันตา งๆ
กวา ๓๐ แหง ทงั้ สถาบันการศึกษาและหนว ยงานของรัฐ

ปจจุบันไดมีผูรูจักและใชอินเทอรเน็ตมากขึ้น โดยมีอัตราการเติบโตมากกวา ๑๐๐%
สมาชิกของอินเทอรเน็ตจึงไดขยายวงกวางจากกลุมอาจารยและนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ไปสปู ระชาชนทั่วไป

อินเทอรเน็ตเปนเทคโนโลยีใหมในการส่ือสารสารสนเทศ เปรียบเสมือนชุมชนแหงใหม
ของโลก ซง่ึ รวมคนทว่ั ทกุ มมุ โลกเขา ดว ยกนั จงึ ทาํ ใหม บี รกิ ารตา งๆ เกดิ ขน้ึ ใหมต ลอดเวลา ซงึ่ มที ง้ั ขอ ดี
ท่ีเปนประโยชนและขอเสียในเร่ืองคาใชจาย และเน่ืองจากการนําเคร่ืองคอมพิวเตอรของเราเขาเช่ือม
กับอินเทอรเ นต็ สามารถกระทาํ ได ๒ ลักษณะ คือ Å¡Ñ É³Ðááเปน การเช่ือมตอโดยตรง การเช่อื มตอ
แบบนี้จะเปนการนําระบบของเราเขาเชื่อมตอโดยตรงกับสายหลัก (Backbone) ของอินเทอรเน็ต
โดยผา นอปุ กรณท เี่ รยี กวา เกตเวย (Gateway) หรอื เราเตอร (Router) รว มกบั สายสญั ญาณความเรว็ สงู
โดยเราจะตอ งตดิ ตอ โดยตรงกับ InterNIC ซง่ึ เปน องคกรทท่ี ําหนา ทเ่ี ปนตวั กลางในการรับสมคั รเปน
สมาชิกของชุมชนอินเทอรเน็ต เพือ่ ขอชอ่ื โดเมนและตดิ ต้ังเกตเวยเขา กับสายหลกั การเช่ือมตอแบบนี้

๑๐

จะสามารถตดิ ตอ กบั อนิ เทอรเ นต็ ไดต ลอดเวลา จงึ เหมาะสาํ หรบั องคก รทต่ี อ งการตดิ ตอ สอื่ สารกบั ผอู น่ื
ในระบบ ๒๔ ช่ัวโมง แตอยางไรกด็ ี คาใชจา ยในการเชือ่ มตอ ลักษณะนจี้ ะมีราคาแพงมากท้งั ทางดาน
อุปกรณและการบํารุงรักษา สวนÅѡɳзÕèÊͧท่ีเปนการเช่ือมตอผานทางผูใหบริการ ผูใหบริการ
การเชื่อมตอเขาระบบอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider) หรือที่เรียกสั้นๆ วา ไอเอสพี
(ISP) จะเปนองคกรๆ หน่งึ ทที่ ําการติดตัง้ และดแู ลเครื่องสาํ หรบั ใหบ รกิ าร (Server) ทต่ี อตรงเขากบั
ระบบอนิ เทอรเ นต็ ซง่ึ อนญุ าตใหผ สู มคั รเปน สมาชกิ ขององคก รนาํ ระบบของตนเขา มาเชอ่ื มตอ ได ISP
จึงเปรียบเสมือนชองทางผานเขาสูระบบอินเทอรเน็ต ซ่ึงหลังจากท่ีเราเชื่อมตอเขากับอินเทอรเน็ต
ไดแลว เราก็สามารถจะเชื่อมตอไปยังที่ใดก็ไดในระบบ และในการเชื่อมตอผานทาง ISP น้ียังแบง
ลกั ษณะการเชอ่ื มตอออกเปน ๒ ประเภท ตามความตองการใชงานของสมาชกิ ดังน้ี

ก. การเชอื่ มตอ แบบองคก ร (Corporate User Services) เปน องคก รทมี่ กี ารจดั ตง้ั ระบบ
เครือขายใชงานภายในองคกรอยูแลว จะสามารถนําเครื่องแมขาย (Server) ของเครือขายนั้นๆ
เขาเช่ือมกับ ISP เพือ่ เชอ่ื มโยงเขาสูระบบอนิ เทอรเ น็ตได

ข. การเชอื่ มโยงสวนบุคคล (Individual User Services) บุคคลธรรมดาทัว่ ไปสามารถ
ขอเชื่อมตอเขาสูอินเทอรเน็ตได โดยใชเคร่ืองคอมพิวเตอรที่ใชอยูเชื่อมตอผานทางสายโทรศัพท
ผา นอปุ กรณท เ่ี รยี กวา โมเดม็ (Modem) ซง่ึ คา ใชจ า ยไมส งู มากนกั โดยตดิ ตอ ขอใชบ รกิ ารผา นการสมคั ร
เปนสมาชิกของ ISP ซึ่งอาจจะเปนสมาชิกรายช่ัวโมง รายเดือน หรือเปนลักษณะสมาชิกสําเร็จรูป
แลวแตทาง ISP น้ันๆ จะใหบริการ โดยทาง ISP จะใหชื่อบัญชี (Internet Account Name)
และรหสั ผา น (Password) สําหรับสมาชิกแตล ะคนสําหรบั ใชในการเชื่อมตอเขาสูระบบอินเทอรเนต็

๑๑

เมอ่ื อนิ เทอรเ นต็ ประกอบดว ยเครอื ขา ยทหี่ ลากหลาย ดงั นน้ั จงึ ตอ งมกี ารเชอื่ มตอ ระหวา ง
เครอื ขา ยเขา ดว ยกนั เราเตอร (Router) จงึ จดั เปน อปุ กรณส าํ คญั ของเครอื ขา ย เพอื่ ใชส าํ หรบั กาํ หนดเสน ทาง
บนเครือขาย นอกจากน้ีระบบคอมพิวเตอรท่ีเชื่อมตอบนเครือขายอินเทอรเน็ตนั้นมีคอนขาง
หลากหลายและอาจมีแพลตฟอรมท่ีแตกตางกัน ไมวาจะเปนดานสถาปตยกรรมของฮารดแวร
และซอฟตแ วรก ต็ าม เมอ่ื เปน เชน น้ี อปุ กรณเ กตเวย (Gateway) จงึ ถกู นาํ มาใชเ พอื่ ใหร ะบบคอมพวิ เตอร
ทีม่ ีระบบแตกตางกันอยางส้นิ เชิงสามารถสอ่ื สารรว มกันเปน เครอื ขายเดยี วกันได

ดว ยโครงสรา งของเทคโนโลยอี นิ เทอรเ นต็ ซง่ึ เปน ระบบเปด ทมี่ คี วามยดื หยนุ สงู จงึ เปน ทมี่ า
ของการพฒั นาสเู ครอื ขา ยอนิ ทราเนต็ (Intranet) ซงึ่ เปน เครอื ขา ยระดบั องคก รทมี่ ใิ ชเ ครอื ขา ยสาธารณะ
อกี ตอ ไป อกี ทงั้ ยงั เชอื่ มโยงเครอื ขา ยอนิ ทราเนต็ ของแตล ะองคก รเขา ดว ยกนั เปน เครอื ขา ยเอก็ ซท ราเนต็
(Extranet) ทเี่ ปด โอกาสใหผ ไู ดร บั อนญุ าตสามารถตดิ ตอ สอื่ สารผา นเครอื ขา ยสว นตวั ได และดว ยอนิ ทราเนต็
และเอก็ ซท ราเนต็ ไดใ ชเ ทคโนโลยเี ดยี วกนั กบั อนิ เทอรเ นต็ ดงั นนั้ ระบบสารสนเทศทใ่ี ชง านกจ็ ะรนั อยบู น
พน้ื ฐานของเทคโนโลยเี วบ็ ผา นโปรแกรมเบราวเ ซอร (Browser) ทาํ ใหเ กดิ ความสะดวกตอ การสอื่ สาร
และการใชงานเปนอยางย่ิง ไมวาจะเปนการสื่อสารผานอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต หรือเอ็กซทราเน็ต
ทั้งน้ีคอมพิวเตอรที่ใชสื่อสารเพ่ือการเขาถึงเครือขาย ก็สามารถเปนไดท้ังคอมพิวเตอรสวนบุคคล
(Personal Computer : PC) Labtop รวมถงึ การเขา ถงึ แบบไรส ายอยา งเครอ่ื งพดี เี อและโทรศพั ทม อื ถอื

ñ.ô.ò Í¹Ô ·ÃÒà¹çμ (Intranets)
อนิ ทราเนต็ เปน เครอื ขา ยภายในองคก รทถี่ กู สรา งขน้ึ มาตามมาตรฐานเทคโนโลยี

เดียวกันกับอินเทอรเน็ตและเวิลดไวดเว็บ เพียงแตเปนเครือขายสวนบุคคล ดังน้ันพนักงานภายใน
องคกรเทานั้นท่ีจะไดรับสิทธ์ิการเขาถึงสารสนเทศบนเครือขายได ในขณะเดียวกันอินทราเน็ต
ยังสามารถเชื่อมโยงเขากับอินเทอรเน็ตซึ่งเปนเครือขายสาธารณะได แตไมไดหมายความวาผูใช
ภายนอกท่ีเช่ือมโยงผานเครือขายอินเทอรเน็ตจะสามารถเขาถึงอินทราเน็ตขององคกรได เน่ืองจาก
อนิ ทราเนต็ มรี ะบบปอ งกนั บคุ คลภายนอกเขา มาใชง าน โดยมไี ฟรว อลล (Firewall) ทาํ หนา ทป่ี อ งกนั
บคุ คลภายนอกเขาถึงเครือขา ยสว นตวั

จากที่ไดกลาวมาแลววาอินทราเน็ตถูกสรางดวยมาตรฐานเทคโนโลยีเดียวกัน
กับอินเทอรเน็ตและเวิลดไวดเว็บ จึงทําใหการใชงานแอปพลิเคช่ันจะดําเนินงานผานเว็บเบราวเซอร
ซึ่งเหมือนกับการใชงานผานเว็บทั่วไป ดังน้ันเคร่ืองมือการทํางานบนเว็บแอปพลิเคช่ันจึงสามารถ
นํามาใชรวมกับอินทราเน็ตได และแอปพลิเคชั่นท่ีถูกสรางขึ้นเพื่อใชงานบนอินทราเน็ตก็สามารถ
นาํ ไปรันใชง านบนเครือ่ งคอมพวิ เตอรห ลากหลายชนิดหลากหลายแพลตฟอรม

ñ.ô.ó àÍç¡«· ÃÒà¹çμ (Extranets)
จัดเปนเครือขายสวนบุคคลท่ีพัฒนาข้ึนดวยเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเชนเดียวกับ

อินทราเน็ต โดยมีจุดประสงคเพ่ือเชื่อมโยงระหวาง ๒ องคกรข้ึนไป การเชื่อมโยงอินทราเน็ต
ระหวา งองคก รจะสามารถสถาปนาการเชอ่ื มตอ ถงึ กนั โดยผา นลงิ กเ อก็ ซท ราเนต็ ดว ยเครอื ขา ยสว นตวั

๑๒

ที่เชอ่ื มโยงระหวา งกนั เรยี กวา à¤ÃÍ× ¢‹ÒÂàÊÁÍ× ¹ÊÇ‹ ¹μÇÑ (Virtual Private Networks : VPN) เปน
เครือขายท่ีมีการเช่ือมตอระหวางอินเทอรเน็ตภายนอกเขาสูเครือขายภายในองคกร โดยการสราง
Tunnel ทเ่ี ปน ทอ สง ขอ มลู ระหวา งกนั และแนน อนเพอ่ื ความปลอดภยั จงึ มกี ารเขา รหสั ในรปู แบบตา ง ๆ
ซง่ึ VPN น้นั แบงประเภทตามรปู แบบการเขารหสั ไดแก PPTP L2TP IPsec และ SSL VPN)
ประกอบกับความสามารถของไฟรวอลล (Firewall) ที่ติดต้ังบนเครือขายอินทราเน็ต (Intranet)
ของแตละองคกร ก็ถือเปนระบบความปลอดภัยอีกช้ันหนึ่งท่ีทําหนาที่คอยสกัดกั้นหมายเลขไอพีท่ีไม
เก่ียวขอ งของผูใชทีพ่ ยายามเขาถึงระบบโดยไมไ ดรับอนญุ าต

ñ.õ ¨ÃÔ¸ÃÃÁ㹡ÒÃ㪌෤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È

ในทางปฏบิ ตั แิ ลว การระบวุ า การกระทําสงิ่ ใดผดิ จรยิ ธรรมนนั้ อาจกลา วไดไ มช ดั เจนมากนกั
ท้ังนี้ยอมข้ึนอยูกับวัฒนธรรมของสังคมในแตละประเทศดวย อยางเชนกรณีในประเทศไทยท่ีเจาของ
บริษัทใชกลองวงจรปดติดต้ังในสถานที่ทํางานเพื่อใชในการตรวจจับหรือเฝาดูการทาํ งานของพนักงาน
ก็ยังไมถือไดวาเปนการใชคอมพิวเตอรอยางไรจริยธรรม แตในทางกลับกันหากมีกรณีเชนน้ีใน
ตา งประเทศถอื วา เปน การละเมดิ สทิ ธสิ ว นº¤Ø ¤Å ã¹ºÃºÔ ·¢Í§¡ÒáÃÐทํา¤ÇÒÁ¼´Ô áÅÇŒ ¹Í¡¨Ò¡¨ÐμÍŒ §
È¡Ö ÉÒà¾ÁèÔ àμÁÔ ¾.Ã.º.ÇÒ‹ ´ÇŒ ¡ÒáÃÐทํา¤ÇÒÁ¼´Ô à¡ÂèÕ Ç¡ºÑ ¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÏ ¾.È. òõöð áÅÇŒ 处 μÍŒ §È¡Ö ÉÒ
à¾ÔÁè àμÁÔ ¾.Ã.º.¤ŒÁØ ¤Ãͧ¢ŒÍÁÅÙ ÊÇ‹ ¹ºØ¤¤Å ¾.È. òõöò ÍÕ¡´ŒÇ áμ‹ã¹·Õè¹éÕเมอื่ พิจารณาถึงคณุ ธรรม
จรยิ ธรรมเกย่ี วกบั การใชเ ทคโนโลยคี อมพวิ เตอรแ ละสารสนเทศแลว จะกลา วถงึ ใน ๔ ประเดน็ ทร่ี จู กั กนั
ในลักษณะตัวยอวา PAPA ประกอบดวย

ñ.õ.ñ ¤ÇÒÁ໚¹Ê‹Ç¹μÑÇ (Information Privacy) หมายถึง สิทธิท่ีจะอยูตามลาํ พัง
และเปนสิทธิท่ีเจาของสามารถท่ีจะควบคุมขอมูลของตนเองในการเปดเผยใหกับผูอ่ืน สิทธิน้ีใชได
ครอบคลุมท้ังปจเจกบุคคล กลุมบุคคล และองคการตางๆ ปจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับความเปน
สว นตวั ท่เี ปน ขอนา สังเกตดังน้ี

๑) การเขา ไปดขู อ ความในจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละการบนั ทกึ ขอ มลู ในเครอ่ื ง
คอมพิวเตอร รวมทัง้ การบนั ทึก-แลกเปล่ยี นขอ มลู ที่บคุ คลเขา ไปใชบรกิ ารเว็บไซตและกลมุ ขาวสาร

๒) การใชเทคโนโลยีในการติดตามความเคล่ือนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล
ซึง่ ทําใหสูญเสียความเปนสว นตวั ซ่งึ การกระทาํ เชน นถ้ี ือเปน การผิดจรยิ ธรรม

๓) การใชข อ มลู ของลูกคาจากแหลง ตางๆ เพอ่ื ผลประโยชนในการขยายตลาด
๔) การรวบรวมหมายเลขโทรศพั ท ที่อยูอเี มล หมายเลขบัตรเครดิต และขอมูล
สวนตัวอื่นๆ เพื่อนําไปสรางฐานขอมูลประวัติลูกคาขึ้นมาใหมแลวนําไปขายใหกับบริษัทอ่ืน ดังน้ัน
เพ่ือเปนการปองกันการละเมิดสิทธิความเปนสวนตัวของขอมูลและสารสนเทศ จึงควรจะตองระวัง
การใหข อ มลู โดยเฉพาะการใชอ นิ เทอรเ นต็ ทม่ี กี ารใชโ ปรโมชน่ั หรอื ระบใุ หม กี ารลงทะเบยี นกอ นเขา ใช
บรกิ าร เชน ขอ มูลบัตรเครดติ และทีอ่ ยอู ีเมล

๑๓

ñ.õ.ò ¤ÇÒÁ¶¡Ù μÍŒ § (Information Accuracy) ในการใชค อมพวิ เตอรเ พอื่ การรวบรวม
จัดเก็บ และเรียกใชขอมูลนั้น คุณลักษณะที่สําคัญประการหนึ่ง คือ ความนาเช่ือถือไดของขอมูล
ทงั้ น้ี จะขนึ้ อยกู บั ความถกู ตอ งในการบนั ทกึ ขอ มลู ดว ย โดยทว่ั ไปจะพจิ ารณาวา ใครจะเปน ผรู บั ผดิ ชอบ
ตอความถูกตองของขอมูลท่ีจัดเก็บและเผยแพร ดังนั้น ในการจัดทําขอมูลและสารสนเทศใหมี
ความถูกตองและนาเช่ือถือนั้น ขอมูลควรไดรับการตรวจสอบความถูกตองกอนที่จะนําเขาฐานขอมูล
รวมถึงการปรับปรุงขอมูลใหมีความทันสมัยอยูเสมอ นอกจากนี้ ควรใหสิทธิแกบุคคลในการเขาไป
ตรวจสอบความถูกตองของขอ มูลตนเองดว ย

ñ.õ.ó ¤ÇÒÁ໚¹à¨ÒŒ ¢Í§ (Information Property) สทิ ธิความเปนเจาของ หมายถึง
กรรมสทิ ธ์ใิ นการถอื ครองทรัพยสนิ ซง่ึ อาจเปน ทรัพยส ินท่วั ไปทจ่ี บั ตองได เชน คอมพิวเตอร รถยนต
หรืออาจเปนทรัพยสินทางปญญา (ความคิด) ท่ีจับตองไมได เชน บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร
แตส ามารถถา ยทอดและบนั ทกึ ลงในสอื่ ตา งๆ ได เชน สง่ิ พมิ พ เทป ซดี รี อม เปน ตน โดยในการคดั ลอก
โปรแกรมคอมพวิ เตอรใ หก บั เพอ่ื น เปน การกระทาํ ทจ่ี ะตอ งพจิ ารณาใหร อบคอบกอ นวา โปรแกรมทจี่ ะ
ทําการคัดลอกนน้ั เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรท่ีทานมสี ทิ ธใิ์ นระดับใด

ñ.õ.ô ¡ÒÃࢌҶ֧¢ŒÍÁÙÅ (Data Accessibility) ปจจุบันการเขาใชงานโปรแกรม
หรือระบบคอมพิวเตอรมักจะมีการกําหนดสิทธิตามระดับของผูใชงาน ท้ังนี้ เพื่อเปนการปองกัน
การเขา ไปดาํ เนนิ การตา งๆ กบั ขอ มลู ของผใู ชท ไ่ี มม สี ว นเกย่ี วขอ ง และเปน การรกั ษาความลบั ของขอ มลู
ดังน้ัน ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรจึงไดมีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเขาถึง
ของผูใช และการเขาถึงขอมูลของผูอ่ืนโดยไมไดรับความยินยอมนั้น ก็ถือเปนการผิดจริยธรรม
เชน เดยี วกบั การละเมดิ ขอมลู สวนตวั

ÊÃ»Ø : Summary

เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information technology) เปน การนาํ เอาความรทู างเทคโนโลยี
ทุกดานมาจดั การสารสนเทศที่ตองการ โดยอาศยั เครอ่ื งมือทางเทคโนโลยี และมีกระบวนการทาํ งาน
๓ ขนั้ ตอน คอื การนาํ เขา ขอ มลู (Input) ประมวลผลขอ มลู (Process) และการแสดงผลขอ มลู (Output)
โดยมกี ารเชือ่ มโยงผา นระบบเครอื ขายคอมพวิ เตอร (Computer Network)

สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตมิ รี ะบบการจดั เกบ็ ขอ มลู หลายดา น ทง้ั ขอ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั คดแี ละไม
เก่ียวกบั คดี เชน กําลงั พล ยทุ ธภัณฑ บุคคลที่มหี มายจับ บคุ คลผมู ีประวัตคิ ดี ผูมีพฤตกิ ารณต องสงสัย
จึงมีระบบสารสนเทศหลากหลาย ดังน้ันระบบสารสนเทศเก่ียวกับการปฏิบัติงานของตํารวจ จึงเปน
สงิ่ สาํ คญั ในการเรยี นรู เพอ่ื สามารถนาํ มาใชป ระโยชนใ นการปฏบิ ตั หิ นา ทสี่ บื สวนสอบสวนและปอ งกนั
ปราบปรามอาชญากรรมตอไปไดเ ปน อยางดี

๑๔

áËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒà¾ÔèÁàμÔÁ

พนดิ า พานิชกุล. à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พเคทพี ,ี ๒๕๔๘
โอภาส เอย่ี มสริ วิ งศ และคณะ. ÃкºÊÒÃʹà·Èà¾Í×è ¡Òè´Ñ ¡ÒÃ. ¡ÃØ§à·¾Ï : สาํ นกั พมิ พ
ซีเอด็ ยูเคชน่ั , ๒๕๕๘.

๑๕

º··Õè ò

ÃкºÊÒÃʹà·È¢Í§สํา¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨáË‹§ªÒμÔ

ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤ : Objects

๑. ผเู รยี นมคี วามรแู ละสามารถจําแนกระบบสารสนเทศของสํานกั งานตํารวจแหง ชาตไิ ด
๒. ผูเรียนสามารถอธิบายระบบสารสนเทศท่ีสนับสนุนการปฏิบัติงานของตํารวจได
อยางเหมาะสม

ËÑǢ͌ àÃÍ×è § : Topics

๒.๑ ระบบสารสนเทศตร. (POLice Information System : POLIS)
๒.๒ ระบบสารสนเทศสถานตี ํารวจ (Crimes Record and Information Management
Enterprise System : CRIMES)
๒.๓ ระบบประชมุ วดี ิทัศนท างไกล (Video Conference System)
๒.๔ ศนู ยรบั แจง เหตฉุ กุ เฉนิ ๑๙๑
๒.๕ ระบบบริหารจดั การใบสัง่ ออนไลน (Police Ticket Management : PTM)
๒.๖ ระบบสารสนเทศสาํ นักงานตรวจคนเขาเมือง (Personal Identification and
Blacklist Immigration Control System : PIBICS)
๒.๗ ระบบตรวจสอบลายพมิ พน วิ้ มอื อตั โนมตั ิ (Automated Fingerprint Identification
: AFIS)
๒.๘ ระบบฐานขอ มลู อาชญากรรม (Criminal Database System : CDS)
๒.๙ การใชค อมพิวเตอรสเก็ตชและประกอบภาพใบหนา คนราย (Adobe Photoshop)
๒.๑๐ ระบบฐานขอ มลู อาชญากรรมขา มชาติ (Case Management Intelligence System
: CMIS)
๒.๑๑ ระบบกลอ งอา นหมายเลขปายทะเบยี นรถอตั โนมตั ิ (License Plate)

๑๖

º·นํา

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติมีมากมายหลายระบบ
โดยในบริบทน้ีจะกลาวถึง ระบบท่ีพัฒนาข้ึนสาํ หรับผูใชงานระดับสถานีตาํ รวจ และระบบอื่นที่
ใชในหนวยงานภายในสํานักงานตาํ รวจแหงชาติ เชน ระบบตรวจสอบลายพิมพน้ิวมืออัตโนมัติ
ระบบขอมูลประวัติอาชญากร ระบบตรวจสอบฐานขอมูลบุคคลทะเบียนราษฎร ระบบตรวจสอบ
ยานพาหนะ เปนตน

ò.ñ ÃкºÊÒÃʹà·È μÃ. (POLice Information System : POLIS)

สาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ ไดดาํ เนินโครงการพัฒนาศูนยขอมูลขอสนเทศ
ซงึ่ เปน การพฒั นาระบบสารสนเทศของสํานกั งานตํารวจแหง ชาติ (POLice Information System : POLIS)
เริ่มดําเนินงานตั้งแตป ๒๕๓๗ ใชงบประมาณในการดาํ เนินงานทั้งส้ิน ๓๓๑,๗๐๐,๐๐๐ บาท
มบี รษิ ัท คอนโทรล ดาตา (ประเทศไทย) จาํ กัด เปนบรษิ ัทคสู ัญญาในการพฒั นา โดยมีวัตถุประสงค
เพือ่ รวบรวมขอ มลู คดี ขอมลู บคุ คล ขอ มลู ยานพาหนะ ขอ มูลทองถ่ินตา งๆ ที่เกิดขึน้ ในสถานีตาํ รวจ
และกระจายขอ มูลดวยระบบเครือขา ยใยแกวนาํ แสง (Fiber Optic) และเชือ่ มโยงกบั หนว ยงานอ่นื ๆ
ในกรุงเทพมหานคร ในลักษณะคลายชุมสายยอย ไดแก กองบัญชาการตํารวจนครบาล ตํารวจภูธร
ภาค ๑-๙ และหนวยงานอ่ืนๆ ที่อยูใกลเคียงสามารถใชขอมูลและทรัพยากรรวมกันได ทาํ ใหระบบ
ขอ มูลขาวสารเปนรูปแบบเดียวกัน

๑๗

โครงการพัฒนาศูนยขอมูลขอสนเทศ (POLice Information System : POLIS)
มรี ะบบงาน ๖ กลมุ ประกอบดว ย ๒๖ ฐานขอ มูล ดังนี้

¡ÅÁØ‹ ·èÕ ñ ÃкºÊÒÃʹà·ÈÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Crime Information System : CIS)
ประกอบดวยระบบงานยอย ๑๒ ฐานขอมลู ไดแ ก

ñ) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅ·ÐàºÕ¹ÂÒ¹¾Ò˹Рเปนระบบงานบริการสอบถาม
ขอมูลเกี่ยวกับทะเบียนยานพาหนะ และขอมูลที่เกี่ยวของกับรถท่ีจดทะเบียน ซึ่งสํานักงานตํารวจ
แหง ชาตไิ ดทาํ บนั ทึกขอ ตกลง (MOU) กบั กรมการขนสงทางบก กระทรวงคมนาคม โดยพฒั นาระบบ
สอบถามขอ มลู ทะเบยี นยานพาหนะใหข า ราชการตาํ รวจทม่ี หี นา ทท่ี เ่ี กย่ี วขอ งใชใ นการสบื สวน สอบสวน
และปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม เบอ้ื งตน เปน การทาํ สาํ เนา (Copy) ขอ มลู จากกรมการขนสง ทางบก
มาเก็บไวท่ีเครื่องแมขายของระบบ POLIS และสงขอมูลเฉพาะท่ีมีการปรับปรุงมาเก็บในทุกๆ วัน
แตปจจุบันไดใชรูปแบบ Web Service ËÁÒ¶֧ การสอบถามขอมูลจากเคร่ืองคอมพิวเตอร
ลกู ขา ย (Client, ทเี่ ชอ่ื มตอ กบั เครอื ขา ยของระบบสารสนเทศ ตร. (POLIS)) ผา นเครอื่ งคอมพวิ เตอร

๑๘

แมขาย (Server) ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ไปยังเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย (Server)
ของกรมการขนสง ทางบกและตอบกลบั มาแบบทลี ะรายการ

ò) Ãкº°Ò¹¢ÍŒ ÁÙÅãºÍ¹ØÞÒμ¢ºÑ Ã¶ เปน ระบบงานบรกิ ารสอบถามขอ มลู
ใบอนุญาตขบั รถและใบอนุญาตผูประจาํ รถ มีลักษณะการทาํ งานเชนเดยี วกบั ขอ ๑)

ó) Ãкº°Ò¹¢ÍŒ ÁÅÙ ·ÐàºÂÕ ¹ÍÒÇ¸Ø »¹„ เปน ระบบงานบนั ทกึ /แกไ ข/สอบถาม
ขอ มลู ใบอนญุ าตใหมีและใชอ าวุธปน ขอ มูลการโอนยา ยทะเบยี นอาวธุ ปน

ô) Ãкº°Ò¹¢ÍŒ ÁÅÙ ãºÍ¹ÞØ Òμ¾¡¾ÒÍÒÇ¸Ø »¹„ เปน ระบบงานบรกิ ารบนั ทกึ /
แกไ ข/สอบถามขอมูลเก่ยี วกับใบอนญุ าตพกพาอาวธุ ปน

õ) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙźؤ¤Å¼ÙŒ¡ÃÐทํา¼Ô´¡®ËÁÒ (ÃÇÁà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹)
เปนระบบการบันทึก/แกไข/สอบถามขอมูลประวัติผูกระทําผิดกฎหมาย ขอมูลแผนประทุษกรรม
และประวัติผูตองหา ขอมูลผลคดีผูตองหาและรายงานท่ีเก่ียวของซ่ึงกองทะเบียนประวัติจะเปน
ผูรับผดิ ชอบในการดําเนินการ

ö) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅʶÔμÔ¤´ÕÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ เปนระบบที่นําขอมูลจากระบบ
ฐานขอมูลติดตามผลคดีมาจัดทําเปนรายงาน สถิติ เพื่อใหหนวยงานระดับบริหารใชในการวิเคราะห
วางแผนปฏบิ ัตกิ ารสําหรับการปอ งกนั ปราบปราม

÷) Ãкº°Ò¹¢ÍŒ ÁÅÙ ÍºØ μÑ àÔ Ëμ¨Ø ÃҨà เปน ระบบการบนั ทกึ ขอ มลู /แกไ ข/สอบถาม
ขอ มลู รายละเอยี ดเกยี่ วกบั คดจี ราจรทงั้ ในสว นทเ่ี ปน อบุ ตั เิ หตจุ ราจรทางบก และไมเ ปน อบุ ตั เิ หตจุ ราจร
ทางบก ตงั้ แตร บั คดจี นถงึ ผลการตดั สนิ คดีจากชนั้ ศาล

ø) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅ·ÃѾËÒ เปนระบบการบันทึก/แกไข/สอบถามขอมูล
รถยนตห าย รถหายไดค นื รถหายเบื้องตน พิมพประกาศ ถอนประกาศรถหายรวมถงึ ทรัพยห าย ฯลฯ
ซ่งึ กองทะเบยี นประวัติจะเปนผูรบั ผิดชอบในการดําเนินการ

ù) Ãкº°Ò¹¢ÍŒ ÁÅÙ º¤Ø ¤Å¾Å´Ñ Ëŧ เปน การเกบ็ ขอ มลู โดยกระบวนการทาํ งาน
เรม่ิ ตน สถานตี าํ รวจสง ตาํ หนริ ปู พรรณรายละเอยี ดพรอ มภาพถา ยตามแบบแจง รปู พรรณบคุ คลพลดั หลง
มายงั กองทะเบยี นประวตั อิ าชญากร เพอื่ จดั พมิ พป ระกาศสบื หาบคุ คลพลดั หลงและในกรณที ไี่ ดบ คุ คล
พลัดหลงคืนใหสถานีตํารวจสงขอมูลมาบันทึกปรับปรุงขอมูลเพื่อพิมพประกาศถอนการสืบคนบุคคล
พลดั หลงตอ ไป

ñð) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅ»ÃСÒÈÊ׺¨Ñº เปนระบบการบันทึก/แกไข/สอบถาม
ประกาศสบื จบั พมิ พป ระกาศ ถอนประกาศ ซง่ึ กองทะเบยี นประวตั จิ ะเปน ผรู บั ผดิ ชอบในการดาํ เนนิ การ

ññ) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙźؤ¤Å¾Œ¹â·É เปนระบบการบันทึก/แกไข/สอบถาม
ขอมูลประวัติอาชญากร/ท่ีอยู/ตําหนิรูปพรรณ/รูปถายประวัติการตองโทษ/การพนโทษ ฯลฯ
ซึ่งกองทะเบียนประวัตจิ ะเปนผูรบั ผดิ ชอบในการดาํ เนินการ

๑๙

ñò) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙźؤ¤Å¼ÙŒÁÕ¾ÄμÔ¡Òóã¹·Ò§ÁԪͺ (ºØ¤¤Å¹‹Òʹã¨)
จัดเก็บขอมูลบุคคลที่ตองคอยสอดสองพฤติการณและติดตามความเคลื่อนไหวของบุคคลนั้นๆ
เพ่อื ใชในการสืบสวนสอบสวนคดี

¡ÅÁ‹Ø ·Õè ò ÃкºÊÒÃʹà·Èà¾Íè× ¡ÒúÃËÔ Òà (Management Information System :
MIS) ประกอบดว ยระบบงานยอย ๔ ฐานขอมูล ไดแ ก

ñ) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅà§Ô¹à´×͹ เปนระบบการบันทึก/แกไข/สอบถามขอมูล
เงนิ เดอื นขา ราชการตาํ รวจ ขา ราชการบํานาญ และลูกจา ง ฯลฯ

ò) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅกําÅѧ¾Å เปนระบบการบันทึก/แกไข/สอบถามขอมูล
กาํ ลังพลตาํ รวจ ประวตั ิ การแตงตงั้ โอนยา ย เล่อื นเงินเดือน เลอ่ื นตําแหนง ฯลฯ

ó) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅá¼¹§Ò¹áÅЧº»ÃÐÁÒ³ เปนระบบการบันทึก/แกไข/
สอบถามขอมูลท่ีเกี่ยวของกับงบประมาณของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ทั้งการจัดต้ังและจัดสรร
งบประมาณรายจายประจําป เพ่ือประโยชนในการบริหารควบคุมและการกํากับดูแลงบประมาณ
รายจาย ตลอดจนติดตามและประเมินผลการใชจายงบประมาณตามแผนงานโครงการของแตละ
หนวยงานในสงั กดั สํานักงานตํารวจแหง ชาติ

ô) Ãкº°Ò¹¢ÍŒ ÁÅ٠ʧ‹ กาํ Å§Ñ บาํ Ã§Ø เปน ระบบการบนั ทกึ /แกไ ข/สอบถามขอ มลู
เกย่ี วกบั วสั ดุ ครภุ ณั ฑ การเบกิ จาย การบํารุงรกั ษาและคา ใชจ ายในการซอ ม ฯลฯ

¡ÅØÁ‹ ·èÕ ó ÃкºÊÒÃʹà·Èà¾è×ͤÇÒÁÁ¹èÑ ¤§ (Security Information System : SIS)
ประกอบดว ยระบบงานยอย ๒ ฐานขอมูล ไดแก

ñ) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅ·ÐàºÕ¹¡ÅÒ§ÊѹμÔºÒÅ เปนระบบการบันทึก/แกไข/
สอบถามขอ มูลเรือ่ งราวและเหตกุ ารณท ีเ่ กิดข้ึนในอดีตและปจจบุ ัน ขอ มลู ประวัตบิ ุคคลท่มี ีพฤติการณ
ประวตั ิกลมุ บคุ คล หรอื อาชญากร ฯลฯ

ò) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙŤ¹ÃŒÒ¢ŒÒÁªÒμÔ เปนระบบการบันทึก/แกไข/สอบถาม
ขอมูลประวัติคนรายขามชาติ และรายละเอียดประวัติคนราย ซึ่งไดรับขอมูลจากตํารวจสากล
หรอื หนวยงานตํารวจในตา งประเทศ โดยจะเช่อื มโยงกับระบบเครือขายสบื สวนสอบสวน

¡ÅÁØ‹ ·èÕ ô ÃкºÊÒÃʹà·Èà¾×èÍ¡ÒúÃÔ¡ÒÃÊѧ¤Á (Social Service Information
System : SSIS) ประกอบดวยระบบงานยอ ย ๒ ฐานขอ มูล ไดแก

ñ) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙŨÃҨà เปนระบบการบันทึก/แกไข/สอบถามขอมูล
เพ่ือควบคุมการรับ-เบกิ จา ยใบสง่ั ใหกบั หนวยปฏิบตั ิ รวมท้งั การยกเลิกใบสั่งทเ่ี บิกไปแลว โดยสามารถ
ตรวจสอบยอดใบส่ังคงเหลือในคลังได

ò) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙŹÔμÔàǪ เปนระบบการบันทึก/แกไขขอมูลตามแบบ
รายงานการตรวจพิสูจนศพของสถาบันนิติเวชวิทยา และสามารถสอบถามขอมูลคนตายไมทราบช่ือ
เม่ือมีญาติของผูตายมาติดตอขอดูศพ และสามารถพิมพรายงานการตรวจศพ เพ่ือสงใหพนักงาน
สอบสวนเจาของคดหี รอื บริษัทประกนั ชวี ติ ได

๒๐

¡ÅØ‹Á·èÕ õ Ãкº¢ŒÍÁÙÅÍè×¹à¾×èÍʹѺʹع§Ò¹´ŒÒ¹»‡Í§¡Ñ¹»ÃÒº»ÃÒÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ
(Service Crimes Information System : SCIS) ประกอบดว ยระบบงานยอ ย ๒ ฐานขอ มลู ไดแ ก

ñ) Ãкº¢ÍŒ ÁÙÅâ¤Ã§¢‹Ò¡ÒÃÊ׺ÊǹÊͺÊǹ¤´Õ เปน ระบบสอบถามขอ มลู
จากระบบงานตา งๆ ทพ่ี ฒั นาขน้ึ เชน ระบบฐานขอ มลู ผกู ระทาํ ผดิ กฎหมาย ระบบสถติ คิ ดอี าชญากรรม
ระบบภาพถาย เพื่อใหเกิดความเช่ือมโยงและตอเน่ืองกันเปนระบบท่ีชวยใหเจาหนาท่ีสืบสวน
ปฏบิ ตั งิ านไดค ลอ งตวั ขน้ึ เชน สอบถามขอ มลู คดอี กุ ฉกรรจ คดสี ะเทอื นขวญั คดฉี อ ฉล และคดฆี าตกรรม
ได นอกจากนย้ี งั สามารถใชใ นการวเิ คราะหเ หตกุ ารณแ ละความสมั พนั ธอ ยา งตอ เนอ่ื งกบั บคุ คล องคก าร
และแสดงผลลัพธตา งๆ ทางจอภาพในแบบของขอความและรปู ภาพๆ ได

ò) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅÀÒ¾¶‹Ò เปนระบบการบันทึก/แกไข/สอบถามขอมูล
บคุ คลและเหตกุ ารณท เี่ กยี่ วขอ งกบั อาชญากรรม เปน ระบบฐานขอ มลู เพอื่ สนบั สนนุ ระบบฐานขอ มลู อนื่
ในลกั ษณะการเช่อื มโยงขอมูลกนั เชน ระบบบุคคลผูกระทาํ ผดิ กฎหมาย ระบบทรัพยห าย ระบบบุคคล
พลัดหลง ระบบประกาศสืบจบั บุคคลพน โทษ ฯลฯ เปนตน โดยการนาํ เขา ขอมูลในรปู แบบภาพถา ย
ตอ งใชอ ปุ กรณส แกนเนอรแ ละกลองถายรปู ซงึ่ กองทะเบยี นประวตั ิจะเปน ผูร ับผดิ ชอบในการดาํ เนนิ การ

¡ÅÁ‹Ø ·Õè ö ÃкºÊÒÃʹà·ÈʶҹÕμÒí ÃǨ (Police Station Information System :
PSIS) ประกอบดวยระบบงานยอย ๔ ฐานขอมูล ไดแ ก

ñ) Ãкº§Ò¹ºÃÔËÒÃÀÒÂã¹Ê¶Ò¹Õตาํ ÃǨ (˹‹Ç§ҹ‹ÍÂ) เปนระบบ
รวบรวมขอ มลู การบรหิ ารงานในสถานตี ํารวจ เชน ประวตั บิ คุ ลากรในสถานตี าํ รวจ ขอ มลู การเงนิ ขอ มลู
สงกาํ ลังบาํ รุง ฯลฯ เชน การจัดตารางเวลาในการปฏิบัติหนาท่ี การควบคุมการใชจายงบประมาณ
การควบคมุ วัสดุ ครภุ ณั ฑ และส่อื อุปกรณ ฯลฯ

ò) Ãкº°Ò¹¢ÍŒ ÁÅÙ μ´Ô μÒÁ¼Å¤´Õ เปน ระบบทเ่ี กบ็ รวบรวมขอ มลู รายละเอยี ด
เกี่ยวกับคดีอาญา คดีอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญ ตั้งแตรับคดีจนถึงผลการดาํ เนินคดีจากชั้นศาล
เชื่อมโยงขอมูลจากระบบสถิติคดีอาชญากรรม เชน คนหาขอมูลเลขคดี หนวยงาน เพ่ือนาํ มาบันทึก
ผลของคดีน้ันๆ ไวใชในการติดตามความคืบหนาของผลคดีท่ียังไมสิ้นสุด นอกจากนี้ยังเชื่อมโยง
ขอ มลู กบั ระบบฐานขอ มลู อบุ ตั เิ หตจุ ราจร หมายจบั ทรพั ยห าย คนหายพลดั หลง (กรณถี กู ลกั พาตวั เรยี ก
คาไถ) นติ ิเวช เครอื ขา ยสืบสวนประวตั ิผูกระทาํ ผิด

ó) Ãкº§Ò¹¢ŒÍÁÙŨÃҨà เปนระบบการบันทึก/แกไข/สอบถามขอมูล
การออกใบสัง่ (สีเหลอื ง) การบนั ทึกคะแนน และการชาํ ระคา ปรบั

ô) Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅ»‡Í§¡Ñ¹»ÃÒº»ÃÒÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ จัดเก็บขอมูลบุคคล
และสถานท่ตี ามประเภทกลมุ ขอมูลตางๆ เพือ่ ใชในการสบื สวนและการปองกันปราบปราม

ชื่อโครงการพัฒนาศนู ยขอมูลขอ สนเทศ (POLice Information System : POLIS)
มีการใชงานในหลากหลายช่ือ เชน ระบบ POLIS, ระบบสารสนเทศหลัก ตร. (โครงการ POLIS),
ระบบสารสนเทศ ตร. (POLIS) ซึ่งในปจจุบันสํานักงานตาํ รวจแหงชาติก็ยังไมไดมีชื่อท่ีระบุชัดเจน
เปนลายลักษณอักษรเพียงแตใชกันทั่วไปในหนังสือราชการวา “ระบบสารสนเทศ ตร. (POLIS)”
และใชอยางไมเปน ทางการวา “ระบบ POLIS”

๒๑

ต้ังแต ๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ เปนตนมา สํานักงานตํารวจแหงชาติไดมีหนังสือสั่งการ๑
ใหทุกหนวยงานนําระบบสารสนเทศสถานีตํารวจ (CRIMES) มาใชในการบริหารจัดการขอมูล
ดานการสอบสวน สบื สวนและปอ งกนั ปราบปราม ทาํ ใหร ะบบสารสนเทศ ตร. (POLIS) จะคงเหลือ
การบนั ทกึ ขอ มลู เพยี ง ๕ ระบบ ประกอบดว ยระบบกาํ ลงั พล ระบบพสั ดุ ระบบบนั ทกึ ใบสงั่ จราจร ระบบ
ควบคมุ ใบสงั่ จราจร (อยรู ะหวา งการพฒั นาไปเปน ระบบ PTM) และระบบสารสนเทศอาชญากรรม (CIS)
ของกองทะเบยี นประวตั ิอาชญากร
แหลง คน ควา เพม่ิ เตมิ : ศนู ยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศกลาง สาํ นกั งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
(ศทก.สทส.)

ò.ò ÃкºÊÒÃʹà·ÈʶҹÕตําÃǨ (Criminal Record and Information
Management Enterprise System : CRIMES)

CRIMES คือ ระบบสารสนเทศที่รวบรวมขอมูลการรับแจง ขอมูลเกี่ยวกับคดี
เพอื่ เปน เครอ่ื งมอื ชว ยในการสบื สวน สอบสวน ปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม อนั เปน ระบบทอ่ี ํานวย
ความสะดวกใหกับเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน โดยเปนจุดศูนยกลางสูการเชื่อมตอไปยังฐานขอมูลของ
หนวยงานตางๆ ท้ังในสํานักงานตํารวจแหงชาติและหนวยงานภายนอก นอกจากน้ันยังเปนระบบ
ที่รองรับการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งถือวาระบบนี้ชวยให
ประชาชนท่ีมาติดตอสถานีตํารวจ ไดรับการอาํ นวยความสะดวกและความยุติธรรมไดอยางโปรงใส
และรวดเรว็ ซงึ่ ¨Ðä´Œ¡Å‹ÒÇâ´ÂÅÐàÍÕ´㹺··Õè ó ตอ ไป

ò.ó Ãкº»ÃЪÁØ ÇÕ´·Ô ÈÑ ¹· Ò§ä¡Å สาํ ¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨáË‹§ªÒμÔ (Video Conference
System)

ระบบประชุมวีดิทัศนทางไกล สาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ (Video Conference
System) คือ การนาํ เทคโนโลยีตางๆ มาใชสาํ หรับการประชุมท่ีผูเขารวมประชุมอยูคนละสถานที่
โดยไมจาํ กัดระยะทาง สามารถประชุมรวมกันและมีปฏิสัมพันธโตตอบกันได สามารถสงท้ังภาพ
และเสยี งไปยงั สถานท่ตี า งๆ ได ปจ จุบนั หนวยงานตางๆ ของสํานกั งานตาํ รวจแหงชาตไิ ดมกี ารตดิ ตง้ั
ใชงานระบบประชุมวีดิทัศนทางไกลแบบฮารดแวรหลายหนวยงาน เชน ศูนยปฏิบัติการสํานักงาน
ตาํ รวจแหงชาติ ศูนยปฏิบัติการกองบัญชาการตาํ รวจนครบาล ศูนยปฏิบัติการตํารวจภูธรภาค ๑-๙
กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน กองบัญชาการตาํ รวจสอบสวนกลาง โรงเรียนนายรอยตาํ รวจ
กองบญั ชาการศึกษา และตาํ รวจภูธรจงั หวัดหลายๆ แหง

ทง้ั นี้ กองบงั คบั การตาํ รวจสอื่ สารยงั ไดจ ดั หาโปรแกรมหรอื ซอฟตแ วรใ นการประชมุ
วดี ิทัศนทางไกลใหห นว ยงานตางๆ ของสาํ นกั งานตํารวจแหงชาติทั่วประเทศ เชน GIN conference,
SCOPIA โดยใหดาวนโ หลดเพอื่ ใชใ นการเฝาฟง การประชมุ ของผบู งั คับบัญชาในสังกดั ได

๑ หนงั สอื ตร.ที่ ๐๐๓๓.๔๑/๓๒๕๙ ลงวนั ท่ี ๙ ก.ย. ๒๕๕๙

๒๒

ปจจุบันระบบประชุมวีดิทัศนทางไกล สํานักงานตํารวจแหงชาติมีระบบแมขาย
ที่ทําใหสามารถทําการประชุมไดแบบหลายหนวยพรอมๆ กัน เรียกวา MCU (Multipoint Control
Unit) ซง่ึ ตดิ ตงั้ อยทู ก่ี องบงั คบั การตาํ รวจสอื่ สาร สามารถรองรบั การประชมุ พรอ มกนั จาํ นวน ๑๒๐ แหง
โดยจัดแบงจํานวนหองประชุมไดตามความเหมาะสม ซ่ึงระบบการประชุม Video Conference
ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ โดยกองตํารวจสื่อสารไดจัดทําระบบใหสามารถทําการประชุม
ไดหลากหลายเสนทางการส่ือสาร เชน VPN, Internet เปนตน ซึ่งจะทําใหหนวยงานตางๆ
ของสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตสิ ามารถทาํ การประชมุ ไดต อ เนอ่ื ง รวมทง้ั ยงั สามารถใชง านระบบโทรศพั ท
เขา รว มการประชมุ ในลกั ษณะของ Voice Conference ไดอ กี ทางหนงึ่ ดว ย ทง้ั นหี้ ากเครอื ขา ยหลกั มปี ญ หา
ก็สามารถใชเครือขายสํารองในการประชุมไดอีกทางหนึ่ง นอกจากน้ีปจจุบันยังสามารถรองรับระบบ
การประชุมทางไกลผานทางเครือขา ยโทรศพั ทเ คลอื่ นที่ระบบ ๓G, ๔G ไดอ กี ดวย

แหลงคน ควา เพม่ิ เติม : กองบังคบั การตํารวจสอ่ื สาร สาํ นักงานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
(สส.สทส.)

๒๓

ò.ô ȹ٠ÂÏ ѺᨧŒ àËμ©Ø Ø¡à©¹Ô ñùñ
ศูนยรับแจงเหตุฉุกเฉิน ๑๙๑ หรือ “ระบบ ๑๙๑” หรือ “Call Center ๑๙๑”

เกิดขึ้นในกรมตาํ รวจประมาณป ๒๕๒๐ ในขณะน้ันใชผูรับโทรศัพทเพียง ๒๐ คูสาย งาน ๑๙๑
อยูในกองกาํ กับการศูนยรวมขาวของกองบัญชาการตาํ รวจนครบาล ตอมาในป ๒๕๒๓ กองตาํ รวจ
สื่อสารไดเขียนโครงการของบจากประเทศญ่ีปุน ในป ๒๕๓๒ ประเทศญี่ปุนไดใหงบมาพัฒนา
ศนู ย ๑๙๑ ประมาณ ๒๐๐ ลา นบาท ตอมาในป ๒๕๓๕ กรมตาํ รวจ ไดน ําเทคโนโลยี C๓I มาใชใน
ระบบของศูนย ๑๙๑ กองบญั ชาการตํารวจนครบาลใชงบประมาณ ๒๕๐ ลา นบาท ดําเนินการพัฒนา
ระบบของศนู ย ๑๙๑ ในป ๒๕๓๙-๒๕๔๔ คณะรฐั มนตรี ในคราวประชุมเมอ่ื ๑ เม.ย. ๒๕๔๖ ไดมมี ติ
เห็นชอบใหสวนราชการและหนวยงานของรัฐที่มีหนาท่ีบริการประชาชนไปพิจารณาความเหมาะสม
และเปน ไปไดในการจัดต้งั ศนู ยบริการประชาชนขน้ึ ในหนว ยงาน ในสวนของสํานักงานตํารวจแหง ชาติ
จงึ ไดก ําหนดแนวทางการพฒั นาศนู ยบ รกิ ารประชาชน (Call Center) โดยการปรบั ปรงุ ระบบสารสนเทศ
และการสอ่ื สาร โทรศพั ทส ายดว น ๑๙๑ เรยี กวา “ศนู ยร บั แจง เหตฉุ กุ เฉนิ ๑๙๑” ของตํารวจภธู รจงั หวดั
ในแตละจงั หวัดเพียงแหง เดียว

ò.õ ÃкººÃÔËÒèѴ¡ÒÃãºÊ§èÑ Í͹䬏 (Police Ticket Management : PTM)
สาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติมีนโยบายท่ีจะเพิ่มชองทางในการใหบริการชาํ ระ

คาปรับคดีจราจรแกประชาชน เพ่ืออํานวยความสะดวก ลดความขัดแยงระหวางเจาหนาท่ีตํารวจ
กบั ประชาชน จงึ มกี ารออกคาํ สง่ั คณะทํางานพจิ ารณาการออกระเบยี บ ขอ กาํ หนด หลกั เกณฑ ขอ ตกลง
และวิธีการเก่ียวกับการชําระคาปรับโดยวิธีการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส บัตรเครดิต หรือวิธีการอื่น
โดยผานธนาคารหรือหนวยบริการรับชาํ ระเงินโดยมีผูบัญชาการสํานักงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสาร เปนคณะทํางาน เน่อื งจาก

๑) ระบบ PTM มีการใชงานระบบเครือขายของ ตร. เชื่อมโยงระบบระหวาง
ธนาคารกรงุ ไทย ไปยังหนว ยตางๆ ของ ตร.

๒) มีการใช Username áÅÐ Password และการกาํ หนดสิทธิ์การเขาถึงขอมูล
ระบบจากระบบ POLIS

๓) มีการเรียกใช Web Service สําหรับตรวจสอบขอมูลใบอนุญาตขับขี่
และทะเบยี นยานพาหนะผา นระบบ POLIS

๔) มีการโอนขอมูลการออกใบสั่ง และขอมูลอื่นๆ ที่เก่ียวของจาก PTM
สรู ะบบ POLIS

จากน้ัน สํานักงานตาํ รวจแหงชาติไดมีการลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือ
(MOU) กับบริษทั ธนาคารกรงุ ไทย จาํ กัด (มหาชน) พฒั นาระบบ PTM โดยธนาคารกรงุ ไทยเปน ผู
พฒั นาโปรแกรม จดั หาเครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ มข า ย จดั หาชอ งทางการรบั ชาํ ระเงนิ คา ปรบั ใหก บั สํานกั งาน
ตํารวจแหง ชาติ โดยแบงการพฒั นาเปน ๓ ระยะ ดงั นี้

๒๔

ระยะท่ี ๑ การออกใบสงั่ จากกลอง
ระยะที่ ๒ การออกใบส่ังเลม
ระยะท่ี ๓ พฒั นา Application สําหรบั ออกใบสั่งผานอุปกรณพกพา

»ÃÐ⪹·Õäè ´ÃŒ ºÑ ¨Ò¡Ãкº PTM
๑. ลดข้นั ตอนการออกใบสั่งและการบนั ทกึ ขอ มลู ใบสง่ั จราจร

๑.๑ สามารถนําภาพการกระทําผดิ ใสในระบบได
๑.๒ สามารถตรวจสอบขอมูลผูครอบครองรถจากระบบได
๑.๓ สามารถพมิ พใ บสัง่ ออกจากระบบได
๒. ประชาชนมคี วามสะดวกในการชาํ ระคาใบสัง่ จราจร
๒.๑ สามารถชําระเงินคาปรับทางธนาคารได เชน เคานเตอรธนาคาร, ATM
Internet/Mobile Banking เปน ตน
๒.๒ ลดระยะเวลาและคา ใชจาย โดยมคี า ธรรมเนียมไมเ กิน ๒๐ บาทตอ ใบสั่ง
๓. สามารถตรวจสอบสถานะใบส่งั และขอ มลู การชําระคา ปรบั ผานระบบได

๒๕

๔. สงขอมูลผูคางชําระคาใบสั่งจราจรผานระบบไปยังกรมการขนสงทางบกเพื่อระงับ
การออกเครือ่ งหมายแสดงการเสยี ภาษีประจําป

๕. สามารถตรวจสอบไดวาใบสั่งท่ีออกน้ัน เปนใบสั่งท่ีชอบดวยกฎหมายหรือไม
และมกี ารชําระเงนิ ผา นทางชอ งทางใด
แหลง คน ควา เพม่ิ เตมิ : ศนู ยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศกลาง สาํ นกั งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
(ศทก.สทส.)

ò.ö ÃкºÊÒÃʹà·ÈÊíÒ¹¡Ñ §Ò¹μÃǨ¤¹à¢ŒÒàÁ×ͧ (Personal Identification and
Blacklist Immigration Control System : PIBICS)

เปนระบบสารสนเทศท่ีทางสํานักงานตรวจคนเขาเมืองพัฒนาขึ้นโดยมี
บรษิ ทั คอนโทรล ดาตา (ประเทศไทย) จํากดั เปน บรษิ ทั คสู ญั ญา เพอื่ รวบรวมขอ มลู ประวตั กิ ารเดนิ ทาง
เขา–ออกราชอาณาจักรไทย สามารถเชอื่ มโยงขอมูลตางๆ ได เชน ขอ มลู การขออยูตอ การตรวจสอบ
บญั ชีเฝาดู การตรวจสอบเปรียบเทียบกบั ภาพบุคคลกบั ผทู ่ีมีบญั ชีตอ งหาม (Black List) และใบหนา
คนทเ่ี คยเขา มาในราชอาณาจกั ร หรอื รปู ทอี่ ยใู นหนงั สอื เดนิ ทาง (Passport) รวมทง้ั ประวตั ทิ เ่ี คยเขา มา
ในอดตี เพอ่ื ปอ งกนั การสวมรอย ปอ งกนั การปลอมพาสปอรต ซงึ่ ดา นตา งๆ ของสํานกั งานตรวจคนเขา เมอื ง
มีอยูทั่วราชอาณาจักร สามารถเชื่อมโยงขอมูลถึงกันได ระบบโครงขายสวนตัวเสมือน (Virtual
Private Network : VPN) ทาํ ใหข อ มลู มคี วามทนั สมยั และทนั ตอ เหตกุ ารณ การดําเนนิ การนอี้ ยภู ายใน
กํากับดูแลของÈٹ෤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È สาํ ¹Ñ¡§Ò¹μÃǨ¤¹à¢ŒÒàÁ×ͧ (È·Ê.μÁ.) ทําหนาท่ีเปน
“áÍ´Á¹Ô ” หรอื ผดู แู ลระบบ มหี นา ทค่ี อยควบคมุ และออกแบบระบบใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ ระบบ PIBICS
จะชว ยในการบรู ณาการขอ มลู ถอื วาเปน กระดูกสันหลงั เปนคลังขอ มลู ของสํานักงานตรวจคนเขาเมือง

๒๖

ทั้งน้ี ขอ มลู เปรียบเสมือนอาวุธการจะรบกันในยคุ ของฐานขอ มูล (Knowledge Base) จําเปนตอ ง
มีขอมูลในปริมาณที่มากและทันสมัยถึงจะรบชนะ ซึ่งการบริหารงานแบบใชขอมูลเปนการเสริม
การทาํ งานใหก บั ทมี สอบสวนของ สตม.ดว ย ระบบฐานขอ มลู ในระบบ PIBICS ทง้ั หมด ๒๕ ฐานขอ มลู
ดงั น้ี

ภาพรวมระบบงานสารสนเทศสํานักงานตรวจคนเขาเมอื ง
ระบบในกลุมงานตรวจคนเขาเมอื ง

• ระบบการเดนิ ทางเขา-ออกราชอาณาจกั ร
• ระบบหนังสือเดินทางไทย
• ระบบการจัดเกบ็ บัตรเดนิ ทางเขา -ออกราชอาณาจกั ร ตม.๖
• ระบบตรวจผโู ดยสารผา นลํา
• ระบบการตรวจลกู เรอื
• Visa On Arrival
ระบบในกลุม งานควบคุม (บรกิ าร) คนเขา เมอื ง
• ระบบขออยูต อ ในราชอาณาจักร
• ระบบแจง ทพ่ี กั อาศัย
• ระบบการอนญุ าตใหกลับเขามาในราชอาณาจักร
• ระบบการขอมถี ิ่นทีอ่ ยูในราชอาณาจักร
• ระบบงานทะเบยี นใบสําคญั ถ่นิ ท่ีอยู
• ระบบสลักหลงั แจงออกและตรวจลงตรา
• ระบบงานทะเบยี นคนตา งดาว
ระบบในกลุมงานการกระทาํ ความผดิ
• ระบบบัญชีบคุ คลตอ งหา มและบัญชีเฝา ดู
• ระบบงานทะเบียนผตู อ งกัก
• ระบบพิธกี ารเขา เมืองเกี่ยวกับคนไทยทท่ี ําความผดิ ในตางประเทศ
• ระบบสบื สวน
• ระบบสอบสวนและตดิ ตามคดี
ระบบในกลมุ งานธรุ การและอํานวยการ
• ระบบฝก อบรม
• ระบบจดั เก็บคาธรรมเนยี มและคา ปรบั
• ระบบคา ลวงเวลา
• ระบบทะเบียนพล
• ระบบคดวี นิ ยั
• ระบบสวสั ดิการ

๒๗

การเชื่อมโยงขอ มูลกับระบบสารสนเทศอ่ืนๆ
• ระบบงานเชือ่ มตอ ขอมูลจากโครงการ POLIS (ขอมูลหมายจบั )
• ระบบงานเชื่อมตอขอมูลกับกองการตางประเทศ (ตท.) ระบบ CMIS
(ขอ มลู หมายจับขา มชาต)ิ

แหลง คนควาเพิ่มเติม : ศนู ยเทคโนโลยีสารสนเทศ สาํ นกั งานตรวจคนเขา เมอื ง (ศทส.ตม.)
ò.÷ ÃкºμÃǨÊͺÅÒ¾ÔÁ¾¹ÔéÇÁ×ÍÍÑμâ¹ÁÑμÔ (Automated Fingerprint

Identification : AFIS)
เปนการนาํ เทคโนโลยีคอมพิวเตอรมาใชงานรวมกับหลักวิชาพิมพน้ิวมือ

โดยในข้ันตอนการทํางานน้ัน ลายพิมพน้ิวของอาชญากรท่ัวประเทศจะถูกสงมาตรวจสอบและเก็บ
ในฐานขอ มลู ระบบ AFIS ของกองทะเบียนประวัตอิ าชญากร Software ของระบบ AFIS จะอาน
และแยกประเภทของลายพิมพน้ิวมือแตละน้ิววาเปนลายประเภทใด เชน ประเภทโคง ประเภท
มดั หวาย ประเภทกน หอย เปน ตน และแสดงจดุ ใจกลางของลายเสน ในลายนวิ้ มอื และจดุ สาํ คญั ลกั ษณะ
พิเศษของลายเสนแลวคาํ นวณคาสัมพันธของจุดตางๆ ดังกลาวเปนคาทางคณิตศาสตรโดยอัตโนมัติ
จากนน้ั ระบบจะนาํ คา ทไี่ ดไ ปคน หาเปรยี บเทยี บขอ มลู ในระบบ AFIS หากพบขอ มลู ทต่ี รงกนั กแ็ สดงวา
ผนู ้ันเคยมปี ระวตั ิการกระทําความผิดมากอ น ระบบ AFIS จะเชื่อมโยงไปยงั ระบบฐานขอมลู ประวัติ
อาชญากร เพอ่ื ทจ่ี ะแสดงรายละเอยี ดและยนื ยนั ประวตั ขิ องผตู อ งหา ตาํ หนริ ปู พรรณ แผนประทษุ กรรม
และภาพถาย ใชเปนขอ มลู และหลกั ฐานในการดาํ เนนิ คดีกบั ผตู อ งหาไดอยา งแมนยํา
แหลงคนควาเพิ่มเตมิ : กองทะเบียนประวตั อิ าชญากร สํานกั งานพิสูจนหลักฐาน (ทว.สพฐ.)

ò.ø Ãкº°Ò¹¢ÍŒ ÁÙÅÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Criminal Database System : CDS)
เปนระบบที่รวบรวมขอมูลเก่ียวกับประวัติอาชญากรมาจัดเก็บเชนเดียวกับระบบ

สารสนเทศอาชญากรรม (ระบบ CIS) ซ่ึงปจจุบันกองทะเบียนประวัติอาชญากรเปนผูดูแล ผูบันทึก
และใชงานขอมูล แตระบบ CDS หนวยงานศนู ยพ ิสจู นหลกั ฐานตา งๆ ทวั่ ประเทศเปนผบู ันทกึ ขอมลู
และใชงานขอมูล ความสามารถของระบบ CDS สามารถสืบคนจากช่ือ-นามสกุล ตาํ หนิรูปพรรณ
วิธีการกระทาํ ความผิด ลักษณะเชนน้ีในพ้ืนที่ใกลเคียงกันมีก่ีคดี และในแตละคดีมีบุคคลใด
เปน ผูตอ งสงสัย จึงทําใหงานสบื สวนสามารถทราบขอมลู ของอาชญากรรมทตี่ อ งการไดอยา งรวดเร็ว
แหลง คน ควา เพ่ิมเติม : กองทะเบยี นประวตั อิ าชญากร สาํ นกั งานพสิ ูจนห ลกั ฐาน (ทว.สพฐ.)

ò.ù ¡ÒÃ㪤Œ ÍÁ¾ÇÔ àμÍÃʏ à¡μç ªá ÅлÃСͺÀÒ¾ãºË¹ÒŒ ¤¹ÃÒŒ  (Adobe Photoshop)
เปนเทคนคิ การบอกเลา เหตุการณท ี่ผูพบเห็นภาพใบหนา ลกั ษณะตาํ หนิรปู พรรณ

การสวมเสื้อผาของผูตองสงสัยออกมาเปนรูปภาพวาดเพ่ือนาํ ไปสูการออกหมายจับ หรือกระบวน
สืบสวนหาผูกระทําความผิดผานเทคโนโลยีท่ีทันสมัยในยุคปจจุบันโดยไมมีการใชโปรแกรมประยุกต

๒๘

ที่ตายตัว เปนการเลือกใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ผสมผสานกับความเชี่ยวชาญของเจาหนาที่
กองทะเบียนประวัติอาชญากร ที่ฝกฝนจนเกิดความชํานาญ เช่ียวชาญ ในวิชาการสเก็ตชภาพ
ผูตองสงสัยสวนลําดับข้ันตอนการวาดภาพสเก็ตชคนรายน้ัน ผูเสียหายตองมาคัดเลือกชิ้นสวนตางๆ
ของใบหนา เชน โครงหนา ค้วิ คาง ปาก จมูก ฯลฯ จากสมุดแฟมภาพสเกต็ ชอาชญากร โดยจดหมาย
เลขรหัสใตรูปนาํ ไปใหเจาหนาที่ประกอบรูปคนราย ทาํ ใหหลายๆ คดีคลี่คลายจนดําเนินการจับตัว
ผกู ระทําความผดิ มาดําเนินคดีได
แหลงคน ควา เพ่มิ เตมิ : กองทะเบยี นประวัติอาชญากร สาํ นกั งานพิสูจนห ลักฐาน (ทว.สพฐ.)

ò.ñð Ãкº°Ò¹¢ŒÍÁÙÅÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¢ŒÒÁªÒμÔ (Case Management Intelligence
System : CMIS)

สํานกั งานตํารวจแหง ชาตเิ ปน หนว ยรบั ผดิ ชอบและเปน หนว ยงานเจา ภาพในกรอบ
ความรวมมือวาดวยอาชญากรรมขามชาติของอาเซียนไดมีการจัดทําความตกลงแลกเปล่ียนขาวกรอง
มีความรวมมอื ระหวางกนั และมีความรวมมอื ในดา นอื่นๆ เชน อนุสัญญาอาเซยี นวาดวยการตอ ตาน
การกอ การรา ย นอกจากนยี้ งั มกี รอบความรว มมอื ภายใตส นธสิ ญั ญาอาเซยี นวา ดว ยการใหค วามชว ยเหลอื
ซ่ึงกันและกันทางอาญา (Mutaul Legal Assistance Treaty : MLAT) อีกกรอบหน่ึงท่ีจะใช
ในอนาคตและไดจัดต้ังศูนยประสานงานปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ (Transnational
Crime Coordination Center (TCCC)) (ศอปช.) แบงเปนระดับสํานักงานตํารวจแหงชาติ
(ศอปช.ตร.) กองบญั ชาการ (ศอปช.ภ.) กองบังคบั การ (ศอปช.ภ.จว.) ขน้ึ มา เพอื่ ดาํ เนนิ การประสาน
การปฏิบัติ การสืบสวน ปราบปราม จับกุม และดําเนินคดีกับอาชญากร กลุมองคกรอาชญากรรม
ขามชาติที่มีลักษณะเปนกระบวนการและเปนเครือขายทั้งในประเทศและตางประเทศผานระบบ
ฐานขอ มูลอาชญากรรมขา มชาติ (Case Management Intelligence System : CMIS) เปนระบบ
ที่รวบรวมขอมูลขาวสารเก่ียวกับตัวบุคคลและกลุมบุคคลหรือองคกรท่ีมีลักษณะเปนเครือขาย
มีพฤติการณกระทาํ ผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมขามชาติเพ่ือนาํ ไปสูการจับกุมและตรวจยึดหรืออายัด
ทรัพยของผูกระทําผิด รวมทั้งประชาสัมพันธรูปแบบแผนประทุษกรรมของกลุมอาชญากรโดย
กองการตา งประเทศ (ตท.) เปน ผดู แู ลระบบ หนว ยงานระดบั กองบญั ชาการ (กองบงั คบั การกองกํากบั การ
สืบสวน) และกองบังคับการ (กองกํากับการสืบสวน) เปนผูบันทึกขอมูลอาชญากรรมขามชาติ
และความผิดอาญาทเ่ี ขา ขา ยอาชญากรรมขามชาติลงในระบบและใชขอมลู รวมกัน
แหลงคนควา เพิม่ เตมิ : กองการตา งประเทศ สํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ (ตท.)

ò.ññ Ãкº¡ÅÍŒ §ÍÒ‹ ¹ËÁÒÂàÅ¢»‡Ò·ÐàºÂÕ ¹Ã¶ÍμÑ â¹ÁμÑ Ô (License Plate)
สืบเนื่องจากจุดตรวจ/ดานตรวจตางๆ มีเจาหนาท่ีทําการตรวจบริการ

การเดนิ ทางของประชาชนเปน บางเวลา ไมต อ เนอื่ ง ทําใหเ ปน ชอ งวา งในการทก่ี ลมุ คนรา ยลําเลยี งยาเสพตดิ
และกออาชญากรรมตางๆ ได สาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติจึงไดหาวิธีการนําเทคโนโลยีเพื่อรักษา

๒๙

ความปลอดภัย สบื สวน ปอ งกันและปราบปรามอาชญากรรมตา งๆ ในป พ.ศ.๒๕๕๕ ผบู ญั ชาการ
ตํารวจแหงชาติสมัยน้ัน จึงไดจัดตั้งศูนยสกัดก้ันการลาํ เลียงยาเสพติดข้ึน เพ่ือสกัดกั้นการลําเลียง
ยาเสพติดท่ีมีแหลงผลิตภายนอกประเทศ มิใหเขาสูพื้นที่ตอนในของประเทศ รวมท้ังปองกันและ
ปราบปรามอาชญากรรมตางๆ โดยใชระบบกลองวงจรปดท่ีสามารถนําภาพที่เห็นมาแปลงเปนขอมูล
หรือเรียกวาอานปายแผนทะเบียน แลวทําการบันทึกขอมูลจาํ นวนรถท่ีผานเสนทางจุดนั้นๆ ทาํ ให
เจา หนา ทต่ี าํ รวจสามารถนําขอ มลู นนั้ ๆ มาใชใ นการคดั แยกรถ ตรวจสอบรถ แจง เตอื นภยั รถกรณรี ถตอ งสงสยั
ซง่ึ จดุ ตดิ ตง้ั ระบบกลอ งอา นแผน ปา ยทะเบยี น มอี ยทู วั่ ทกุ ภาคทวั่ ประเทศ ทง้ั หมด ๓๗๖ จดุ ประสทิ ธภิ าพ
ของระบบกลอ งอา นปายทะเบียน สามารถใชไ ดก บั ยานพาหนะ รถยนต รถบรรทกุ ทาํ งานไดทงั้ เวลา
กลางวนั และกลางคนื จากนนั้ ขอ มลู ทถ่ี กู แปลงแลว จากดา นตรวจจํานวนมากทงั้ ประเทศ จะถกู สง ขนึ้ มา
ท่ีศูนยควบคุมสวนกลาง ท่ีกองบังคับการสกัดก้ันการลําเลียงยาเสพติด กองบัญชาการตํารวจ
ปราบปรามยาเสพติด ในทันที ในสวนศูนยควบคุมส่ังการฯ ไดดําเนินการจัดทําเว็บบริการ สาํ หรับ
ขา ราชการตํารวจทเี่ กยี่ วขอ งใหส ามารถเขา ถงึ ขอ มลู โดยมรี หสั ลบั ในการเขา ถงึ ขอ มลู เพอื่ ทจี่ ะสามารถ
ใชบ รกิ ารในการตรวจสอบสบื คน หาและดขู อ มลู สถานทต่ี ง้ั ของกลอ ง หมายเลขทะเบยี นรถ ประเภทรถ
ภาพถายรถ วันและเวลาท่ีถูกตอง อีกทั้งสามารถเรียกดูภาพและประวัติการใชเสนทางยอนหลังของ
ยานพาหนะ และเชอื่ มโยงเสนทางของยานพาหนะ ทัง้ กอ นหนา และหลังใชเ สนทาง ไดอยางรวดเร็ว
โดยอัตโนมัติและมีประสิทธิภาพสูง เจาหนาท่ีจึงตองศึกษาเพื่อใหเขาถึงหลักการทาํ งานและนาํ ขอมูล
มาวิเคราะห สืบสวนประกอบกบั เทคโนโลยีอนื่ ๆ
แหลงคนควา เพิม่ เตมิ : กองบงั คบั การสกัดกน้ั การลาํ เลียงยาเสพติด กองบญั ชาการตํารวจปราบปราม
ยาเสพติด (บก.สกัดกัน้ การลําเลยี งยาเสพตดิ บช.ปส.)

ÊÃØ»·ŒÒº· : Summary

ดวยภารกิจของสํานักงานตํารวจแหงชาติมีความหลากหลายเปนเรื่องยากที่ระบบ
สารสนเทศที่นํามาใชงานจะตอบสนองความตองการใหครอบคลุมทุกหนวยงานในสังกัดใหเบ็ดเสร็จ
ระบบงานเดียว จึงเปนเหตุผลใหทุกหนวยงานพยายามที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศข้ึนมาใชงานเอง
เพ่ือตอบสนองความตองการในภารกิจของตัวเองใหครบทุกมิติ และสิ่งที่สํานักงานตํารวจแหงชาติ
ตองทําเปนลําดับแรก คือ ตองทําใหทุกระบบมีความเช่ือมโยงกันใหไดมากที่สุด เพื่อความตอเนื่อง
และรองรับงานสบื สวนสอบสวน เพราะการกระทําผิดของผตู องสงสัย ๑ คน สามารถสรางฐานขอมลู
ใหเกิดขึ้นกับทุกหนวยงาน ดังนั้น ทุกองคกรตองบูรณาการขอมูลรวมกันเพื่อลดความซ้ําซอน
และลดงบประมาณของประเทศชาติไดอยางมหาศาล ซึ่งในภาพรวมของการแบงประเภทของระบบ
สารสนเทศในสํานักงานตาํ รวจแหง ชาติ จงึ แบง ไดเปน ๒ ประเภทใหญๆ คอื ÃкºÊÒÃʹà·ÈÊÒí ËÃѺ
¼ÙŒãªŒ§Ò¹ÃдѺʶҹÕตําÃǨ อันไดแก ระบบสารสนเทศ ตร. (POLice Information System :
POLIS) ระบบสารสนเทศสถานีตํารวจ (Crimes Record and Information Management

๓๐

Enterprise System : CRIMES) ระบบประชุมวีดิทศั นท างไกล (Video Conference System)
ศูนยร บั แจงเหตุฉกุ เฉิน ๑๙๑ และระบบบรหิ ารจัดการใบสัง่ ออนไลน (Police Ticket Management
: PTM) สว นÃкºÊÒÃʹà·È͹×è ·ãèÕ ªãŒ ¹Ë¹Ç‹ §ҹÀÒÂã¹สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨá˧‹ ªÒμนÔ น้ั มกั เปน ระบบ
เฉพาะภายในภารกิจของแตล ะหนวย เชน สาํ นักงานตรวจคนเขาเมืองใชร ะบบสารสนเทศ สาํ นกั งาน
ตรวจคนเขา เมอื ง (Personal Identification and Blacklist Immigration Control System : PIBICS),
กองทะเบยี นประวตั อิ าชญากรใชร ะบบตรวจสอบลายพมิ พน ว้ิ มอื อตั โนมตั ิ (Automated Fingerprint
Identification : AFIS) ระบบฐานขอมลู อาชญากรรม (Criminal Database System : CDS)
และการใชคอมพิวเตอรสเก็ตชและประกอบภาพใบหนาคนราย, กองการตางประเทศใชระบบ
ฐานขอมูลอาชญากรรมขามชาติ (Case Management Intelligence System : CMIS)
และกองบัญชาการปราบปรามยาเสพติดใชระบบกลองอานหมายเลขปายทะเบียนรถอัตโนมัติ
(License Plate)

áËŧ‹ ¤Œ¹¤ÇÒŒ à¾èÁÔ àμÔÁ

ศ.พ.ต.อ.หญิง พชั รา สินลอยมา และคณะ. เอกสารประกอบการสัมมนา โครงการพฒั นา
ประสิทธิภาพดานการนําเทคโนโลยีมาใชในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตาํ รวจระดับสถานีตาํ รวจ.
กรงุ เทพฯ : โรงเรียนนายรอ ยตํารวจ, ๒๕๕๖

๓๑

º··èÕ ó

ÃкºÊÒÃʹà·ÈʶҹตÕ ําÃǨ (CRIMES)

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ : Objects

๑. ผเู รียนมคี วามรเู ก่ียวกับระบบสารสนเทศสถานีตํารวจ (CRIMES)
๒. ผเู รยี นสามารถสบื คน และใชร ะบบสารสนเทศสถานตี าํ รวจ (CRIMES) เพอ่ื สนบั สนนุ
การปฏิบตั งิ านไดอยา งเหมาะสม

ËÑÇ¢ŒÍàÃÍè× § : Topics

๓.๑ ระบบ CRIMES
๓.๒ การขอ Username และ Password เพอื่ เขา ใชงานระบบ
๓.๓ ศนู ยช ว ยเหลือ (Help desk)
๓.๔ การใชง าน

๓.๔.๑ เจา หนา ทีเ่ สมียนประจาํ วัน
๓.๔.๒ เจาหนาทเ่ี สมยี นคดี
๓.๔.๓ เจาหนา ทส่ี บื สวน, ปราบปราม

๓๒

º·นาํ

การรวบรวมขอมูล การรับแจงขอมูลเกี่ยวกับคดีท่ีถูกตองเปนระบบ รวมทั้ง
การเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลกับหนวยงานภายนอกและนําขอมูลไปใชประโยชนในงานดานตาง ๆ
ของตํารวจ เปรยี บเสมอื นกระบวนการทํางานของ “สายพานขอ มลู ” ทจ่ี ะตอ งลําเลยี งขอ มลู ทด่ี สี ง ตอ ไป
ยงั จดุ ตา ง ๆ เพอื่ นําไปใชป ระโยชนใ นกระบวนการยตุ ธิ รรมหนว ยงานตา ง ๆ ทงั้ อยั การ ศาล ราชทณั ฑ
และหนว ยงานอนื่ ทเ่ี กยี่ วขอ ง สาํ นกั งานตํารวจแหง ชาตติ ระหนกั ถงึ ขอ มลู ทจ่ี ะตอ งถกู ตอ งและเปน ระบบ
มากทสี่ ดุ เพราะขอ มลู ทดี่ มี ปี ระสทิ ธผิ ล จะเปน ตวั บง ชก้ี ระบวนการอาํ นวยความยตุ ธิ รรมทมี่ เี สถยี รภาพ
จงึ ไดมกี ารพัฒนาระบบท่นี าํ มาใชง านระดบั สถานตี ํารวจทกุ แหง ทวั่ ประเทศ

ó.ñ Ãкº CRIMES

CRIMES ยอมาจาก Criminal Record and Information Management
Enterprise System สํานักงานตํารวจแหงชาติเล็งเห็นความสําคัญของการใชเทคโนโลยี
ในการปฏิบัติงานจึงใหปรับปรุงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใหทันสมัยมีประสิทธิภาพ สามารถ
ตอบสนองตอการปฏิบัติงานของสถานีตํารวจไดมากย่ิงข้ึน โดยในป พ.ศ. ๒๕๔๙ ไดทําการศึกษา
สภาพปญหารวบรวมขอมูลความตองการของสถานีตํารวจวิเคราะหและพิจารณาความเปนไปได
อยางรอบคอบ จากน้ันจึงจัดทําโครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสถานีตํารวจ (CRIMES)
และเร่ิมพฒั นาระบบในป พ.ศ. ๒๕๕๔ เรยี กวา ระบบสารสนเทศสถานตี ํารวจ (Criminal Record
Information Management Enterprise System : CRIMES) โดยมีข้นั ตอนการทํางาน ดังนี้

• เจาหนาท่ีตํารวจจะบันทึกขอมูลการแจงของทุกราย
ลงระบบสารสนเทศสถานีตํารวจ (CRIMES) ทันที
ชวยลดปญ หาการเลือกปฏิบตั ิปฏิเสธการรบั แจง

• พนกั งานสอบสวนพจิ ารณาแลว หากตอ งทําการสบื สวน
หาขอมูลเพ่ิม จะสงขอมูลใหกับเจาหนาที่ตาํ รวจ
ฝายสืบสวน ปราบปราม ผานระบบเพื่อดําเนินการ
ในสว นทเ่ี กย่ี วขอ งตอ โดยทป่ี ระชาชนไมต อ งใหข อ มลู กบั
เจาหนาท่ตี าํ รวจซ้าํ หลายครัง้ จะมเี พียงการใหขอ มูล
เพิ่มเตมิ ในภายหลงั เกิดการบริการท่ีสะดวกรวดเร็วมากข้นึ

• การเช่ือมโยงขอมูลกับหนวยงานราชการอ่ืนทําให
เจาหนาที่ตํารวจสามารถสืบคนและตรวจสอบขอมูล
เบื้องตนไดผานระบบ ลดเวลาในการติดตอขอขอมูล
ระหวา งหนวยงาน ทาํ ใหส ะดวกรวดเรว็ ข้ึน

๓๓

• หากประชาชนตองการทราบผลความคืบหนาคดี
ของตน ก็สามารถสอบถามไดจากเจาหนาท่ีตาํ รวจ
ซ่ึงจะทาํ การตรวจสอบขอมูลในระบบและแจงใหทราบ
ไดทันที

• เจาหนาท่ีตํารวจฝายปราบปรามจะนําขอมูลในระบบ
ไปวางแผนควบคุมอาชญากรรม เพ่ิมกําลังสายตรวจ
ในพื้นท่ีของตนไดทันตอสถานการณ ทาํ ใหประชาชน
มีความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยสนิ มากขึ้น

๓๔

ระบบสารสนเทศสถานีตํารวจ (CRIMES) ระยะท่ี ๑ ประกอบดวยระบบงาน ๕ กลุม
ไดแก

(๑) ระบบงานบนั ทึกขอมลู (Data Entry) ประกอบดว ยขอมลู
- คดอี าญาทวั่ ไป คดอี บุ ตั เิ หตจุ ราจร เหตทุ รพั ยห าย เหตรุ ถหาย เหตคุ นหายพลดั หลง

เหตคุ นตายไมท ราบชอ่ื แผนประทษุ กรรม เหตุที่ตอ งรายงาน
- การออกคาํ ขอตา งๆ : หมายจับผัดฟองฝากขัง ประกนั ตวั
- ขอมลู หมายจบั
- ความคบื หนา/ผลคดี : ความเหน็ ชนั้ พนกั งานสอบสวน สั่งฟอง / ไมฟอง
- การบริหารจดั การคดีของหวั หนา งานสอบสวน การโอนคดี
- การปลอยตวั ชั่วคราว
- การจับกมุ การประกันตวั เปนตน

๓๕

(๒) ระบบงานสบื คน ขอ มลู (Data Search)
เปนสวนสําคัญในการนําขอมูลไปใชประโยชนในการปฏิบัติงานตํารวจ สามารถ

ตรวจสอบขอมูล เพอ่ื ตดิ ตามจบั กมุ คนรา ยไดอ ยา งรวดเร็ว มปี ระสิทธิภาพ อนั ประกอบดว ย
- ขอมูลจากระบบสารสนเทศของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ไดแก ขอมูลคดีอาญา

คดจี ราจร หมายจบั ผกู ระทาํ ผดิ ประวตั กิ ารแจง เบอ้ื งตน ขอ มลู ยานพาหนะ/อาวธุ /ทรพั ยใ นคดี เปน ตน
- ขอ มูลจากหนว ยงานภายนอก ไดแ ก
ขอ มลู ทะเบยี นราษฎร ขอ มลู ยานพาหนะ ขอ มลู ประกนั สงั คม ขอ มลู ประกนั สขุ ภาพ

ขอ มูลคนตา งดาว ขอมูลทะเบียนพาณิชย รวมถึงออกแบบรองรบั การเช่ือมโยงและแลกเปล่ยี นขอมูล
ของหนว ยงานในกระบวนการยุตธิ รรม ไดแ ก ศาล อยั การ กรมคุมประพฤติ เรอื นจํา ฯลฯ

(๓) ระบบงานบรกิ ารขอ มูลอเิ ล็กทรอนกิ ส (e-Data Services)
ระบบรายงานสถิติในรูปแบบตางๆ เชน รายงานสถิติคดีตามชวงเวลาแยกตาม

สถานี ภาค หรอื ท้งั ประเทศ รายงานสถิติคดีอาญา ๔ ประเภท สถติ ิการรับแจง
(๔) ระบบแจงเตือน (Alarm & Alert Services )
แจงเตือนเกี่ยวกับการครบกําหนดเวลาของงานตางๆ เชน ครบกําหนดฝากขัง

ครบกําหนดประกันตัว แจงเตือนเกี่ยวกับการตรวจสอบอัตโนมัติ เชน การพบหมายจับอ่ืนๆ
ขณะทาํ การบันทกึ ขอ มลู ของผูตอ งหา เปน ตน

(๕) ระบบงานบรหิ ารจดั การขอ มลู และระบบ (Data & System Management) สาํ หรบั
ผดู แู ลระบบ ประกอบดวย

- ระบบบริหารสิทธิตางๆ สําหรับขอมูลโปรแกรมระบบงาน, ระบบ Backup &
Restore ของขอมูลระบบงาน ระบบบริหารการเชือ่ มโยงและเฝาดูการทาํ งานของเครอื่ งคอมพิวเตอร
ลูกขา ย เปนตน

- ระบบบริหารจดั การคดีในสว นของหัวหนางาน เพอ่ื การควบคุม เรงรัด ตรวจสอบ
ความคืบหนาทางคดี ในความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวนได

ó.ò ¡ÒÃ¢Í Username áÅÐ Password à¾è×ÍࢌÒ㪧Œ Ò¹Ãкº CRIMES

เครื่องคอมพิวเตอรท่ีจะใชขอ Username และ Password จะตองเช่ือมตอเครือขาย
VPN - Network หรอื การใชงานผา นอนิ เทอรเ น็ตดว ยการเชอ่ื มตอ SSL VPN (Secure Sockets
Layer Virtual Private Network) ซงึ่ เปน VPN ทท่ี ําใหส ามารถใชง านผา นทางหนา เวบ็ เบราวเ ซอรไ ด
โดยไมจ าํ กดั วา ตอ งใชเ ครอ่ื งในสถานตี าํ รวจเพยี งเทา นน้ั โดยผขู อสทิ ธใ์ิ ชง านระบบ CRIMES กจ็ ะตอ ง
ขอสทิ ธกิ์ ารใชงาน SSL VPN อกี ดว ย

๓๖

¡. ¡ÒÃ㪌§Ò¹ VPN Network
¡ÒÃÊÁ¤Ñ Ã㪌§Ò¹Ãкº GRIMES
Í»Ø ¡Ã³·èÕμŒÍ§ãª§Œ Ò¹
๑. เครอ่ื ง Thin client ท่ี สน./สภ. หรอื เครอ่ื งสว นตวั ทเี่ ชอื่ มตอ ผา นสายระบบ VPN ตร.
๒. โปรแกรม “ตรวจสอบและสมัครสมาชิก” โหลดไดท่ีคลังดาวนโหลดหนาเว็บ

CRIMES

๓. เคร่อื งอานบัตรประจาํ ตวั ประชาชน Smart Card Reader
๔. คลิกไอคอน “ตรวจสอบและสมัครสมาชิก” ระบบจะแสดงหนาจอ คลิกที่
“ตรวจสอบสทิ ธ์กิ ารใชง าน” ระบบจะแสดงหนาจอ ตามขอ ๗

๓๗

๕. เสียบบัตรประชาชนของเจาหนาที่ตาํ รวจที่ตองการขอ Username ที่เครื่อง
Card Reader

๖. โดยระบบจะอา นขอมลู ๑๓ หลัก ช่อื สกุล วันเดือนปเกิด จาก Chip ในบัตร
μÃǨÊͺ¡Ñº°Ò¹กาํ Å§Ñ ¾Å Ãкº POLIS เพอ่ื หาเลขตาํ แหนง และ Duty code (หมายความวา
จะตอ งมีขอ มูลขาราชการตาํ รวจในระบบฐานขอ มูลกาํ ลังพล เชน เลข ๑๓ หลัก ยศ ชอ่ื สกุล วนั เดือน
ปเกดิ เลขตําแหนงและรหสั สายงาน กอนการขอ Username)

ถา มขี อมูลจากฐานกําลงั พลแลว จะตรวจสอบวามี User POLIS หรือไม
๖.๑ ถา ไมม ีจะกาํ หนดใหใหม (ใหสมัคร POLIS กอนสมัคร CRIMES)
๖.๒ ถามีจะแสดง Username ตวั เดยี วกบั POLIS
๗. คลิกท่ี “ยอมรับเง่ือนไขการใชงาน พรอมแสดงรหัสผูใชงาน” ระบบจะแสดง
Username กรณีมีขอ มูลขาราชการตํารวจในระบบฐานขอ มลู กาํ ลงั พล (POLIS) จะแสดงหนา จอ

๓๘

- กรุณาตรวจสอบขอมูลบัตร และขอมูลกาํ ลังพล วาถูกตองตรงกันหรือไม
ถา ขอ มลู ไมถ กู ตอ ง ตดิ ตอ เจา หนา ทก่ี ําลงั พลของ บก. ใหป รบั ปรงุ ขอ มลู กําลงั พลใหถ กู ตอ งและเปน ปจ จบุ นั

๘. ถาตองการเปล่ียนรหัสผา น (password) ใหม หรือจํารหสั ผา นไมได ให คลิกปมุ
ระบบจะแสดง Password

ไดท นั ที ๙. สามารถนํารหัสผูใชงานและรหัสผาน ท่ีไดจากระบบ ล็อกอินระบบ GRIMES

๓๙

๑๐. หากตอ งการเปลยี่ นรหสั ผา นใหม ระบบจะแสดงหนา จอ (มมุ จอดา นบนขวา) คลกิ
“แกไ ขรหสั ผาน”

๑๑. ใสรหัสผานใหมอยางนอย ๘ ตัวอักษร แตไมเกิน ๒๕ ตัวอักษร จากนั้นคลิก
“ยืนยนั การเปลย่ี นรหัสผา น” ระบบจะแสดงรหสั ผา นที่ทานเปลีย่ น

๔๐

¡ÒÃÊÁ¤Ñ à SSL VPN ¼Ò‹ ¹Ãкº CRIMES

๑. ลอ็ กอนิ เขา สรู ะบบ Crimes ไดท ่ี URL พมิ พ http://172.31.191.72 หรอื http://
crimespolice.com (หากทา นไมส ามารถลอ็ กอนิ หรือลืมรหัสผา น ใหทาํ ตาม “¡ÒÃÊÁ¤Ñ Ã㪌§Ò¹Ãкº
Crimes” หนาที่ ๓)

๒. คลิกที่ หรอื คลกิ ท่ชี ือ่ ระบบจะแสดงหนาจอ (มมุ จอดา นบนขวา) คลิก
“ขอ มูลบคุ คล”

๓. คลกิ “¢ÍÊÔ·¸Ôì㪌§Ò¹ SSL VPN”

๔๑

๔. ใสขอมูล (ชองหมายเลข ๑-๔)
- หมายเลขโทรศพั ทต ดิ ตอ*
- อเี มล (ถา ม)ี
- ปฏิบัติหนาท*่ี
- เลข Laser หลังบัตร* ไมต องใส (-)

๕. เสยี บบตั รประชาชนและคลิกปุม (หมายเลข ๕)

๖. แนบไฟลค ําขอใชง านทห่ี วั หนา หนว ยรบั รอง (หมายเลข ๖) / แนบไฟล/ รปู บตั รประจาํ ตวั
เจา หนา ทร่ี ฐั (หมายเลข ๗) (**หากบตั รหายหรือทาํ บัตรใหม ใหแ นบหนังสอื รับรองการเปนขา ราชการ
ในสงั กัด โดยใหห วั หนาสถานีหรอื รองหัวหนาสถานี เซน็ รับรอง)

๗. คลกิ “สง คํารอ งให ศทก.” (๘) รอประมาณ ๑-๒ วนั หรอื จนกวา จะมี SMS แจง สถานะ
๗.๑ SMS อนุมัติ สามารถใชงานไดทันทีผานโปรแกรม GlobalProtect **โดย

Username และ Password ของ SSL VPN จะรว มกับระบบ Crimes”

๔๒

๗.๒ SMS ไมอนุมัติ สามารถตรวจสอบสถานะไดท่ีหนาเว็บ Crimes เมนู
“μÃǨÊͺʶҹД

๗.๒.๑ สงคาํ ขอใหม ไดท่ีเมนู “ÊÌҧคํา¢ÍãËÁ‹” ทาํ ตามขอ ๔-๖ อีกคร้ัง
รอประมาณ ๑-๒ วัน หรอื จนกวาจะมี SMS แจง สถานะ

๔๓

¡ÒÃμÍ‹ ÍÒÂØ SSL VPN ¼‹Ò¹Ãкº Crimes

¡Ã³Õ·èÕ ñ ËÁ´ÍÒÂØ Ãкºá¨Œ§àμ×͹ÅÇ‹ §Ë¹ŒÒ óð ǹÑ
๑. ลอ็ กอนิ เขา สรู ะบบ Crimes ไดท ี่ URL พมิ พ http://172.31.191.72 หรอื http://
crimespolice.com

๒. หนา จอจะมี Pop Up แจง วนั หมดอายลุ วงหนา ๓๐ วัน ใหท า นคลิก “μÍ‹ ÍÒ”Ø
๒.๑ ใสขอมลู เลข Laser หลังบัตร * ไมต องใส - (ตามรปู ดา นลาง) (๑))
เสียบบัตรประชาชนและคลิกปุม (ตามรูปดานลาง (๒)) ระบบตออายุรหัสผาน

ไปอีก ๙๐ วนั นับจากวันทเี่ สียบบัตรตออายุ

๔๔

¡Ã³Õ·èÕ ò μ‹ÍÍÒÂØ ¡‹Í¹á¨Œ§àμ×͹ËÁ´ÍÒÂØ óð Çѹ
๑. ลอ็ กอนิ เขา สรู ะบบ Crimes ไดท ่ี URL พมิ พ http://172.31.191.72 หรอื http://
crimespolice.com

๒. คลิก หรือคลิกท่ีชื่อ ระบบจะแสดงหนาจอ (มุมจอดานบนขวา) คลิก
“ขอ มูลบคุ คล”

๓. คลิก “μÍ‹ ÍÒÂØ¡ÒÃ㪌§Ò¹ SSL VPN”

๔๕

๔. ใสขอ มูลเลข Laser หลังบตั ร * ไมตอ งใส - (ตามรูปดานลา ง (๑))
๕. เสยี บัตรประชาชนและคลิกปมุ (ตามรปู ดา นลา ง (๒))

- ระบบตอ อายรุ หสั ผา นไปอกี ๙๐ วนั นบั จากวนั ทเ่ี สยี บบตั รตอ อายุ และจะแจง เตอื น
กอ นหมดอายลุ ว งหนา ๑ เดือน


Click to View FlipBook Version