The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

13_PA21304_งานสารบรรณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-07 09:35:58

13_PA21304_งานสารบรรณ

13_PA21304_งานสารบรรณ

วชิ า บร. (PA) ๒๑๓๐๔

งานสารบรรณ

ตาํ ÃÒàÃÂÕ ¹

ËÅ¡Ñ ÊÙμà ¹¡Ñ àÃÕ¹¹ÒÂÊºÔ ตําÃǨ

ÇÔªÒ ºÃ. (PA) òñóðô §Ò¹ÊÒúÃó

เอกสารนี้ “໹š ¤ÇÒÁÅºÑ ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หา มมใิ หผหู นงึ่ ผใู ดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนง่ึ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเี้ พอื่ การอยา งอน่ื นอกจาก “à¾Í×è ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทาน้ัน การเปดเผยขอความแกบุคคลอื่นที่ไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตํา¾ÃÇ.Ȩá.òËõ‹§ªöÒôμÔ

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ŒÒ

ÇÔªÒ §Ò¹ÊÒúÃó ñ

º··èÕ ๑ »ÃÐÇÑμÔ ¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ§Ò¹ÊÒúÃó ๒
- ประวตั ิระเบียบงานสารบรรณ ๒
- ความหมายของงานสารบรรณ ๓
- ความสําคญั ของงานสารบรรณ õ
- ประโยชนของงานสารบรรณ ๖
๓๕
º··èÕ ò ÃÐàºÕºสํา¹¡Ñ ¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÕ ÇÒ‹ ´ÇŒ §ҹÊÒúÃó ÷ñ
- ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดว ยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ ๗๓
และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๘ ๗๙
- ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๖๐ øó
๘๓
ÀÒ¤¼¹Ç¡ ๘๕
ภาคผนวก ๑ การกาํ หนดเลขท่หี นงั สอื ออก ๘๖
ภาคผนวก ๒ คําข้นึ ตน สรรพนาม คําลงทายฯ ๘๗
๘๘
º··èÕ ó ÊÒúÃóตําÃǨ ๘๙
- งานสารบรรณตํารวจ ๘๙
- การใชบ ันทกึ ขอ ความ ๙๓
- การจดั ทาํ หนังสอื ๑๐๖
- การเสนองาน
- การรับและการสงหนังสอื
- การคดั สําเนา และการลงชื่อตรวจ
- การกาํ หนดเลขประจาํ หนว ยงานภายในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
- การใชคํายอ ในราชการตํารวจ
- ไปรษณียสนามของตาํ รวจชายแดน

º··èÕ ô ¡ÒúÑÞÞμÑ ÈÔ Ñ¾·ÀÒÉÒÍѧ¡ÄɪÍè× Ë¹‹Ç§ҹ ÂÈ áÅÐตาํ á˹‹§ ˹ŒÒ
ã¹สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตําÃǨá˧‹ ªÒμÔ
ñññ
º··Õè õ ˹§Ñ ÊÍ× ÃÒª¡ÒÃÅѺ ñòó
- หนังสอื ราชการลับ ๑๒๓
- การปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับเอกสารลับ ๑๒๕
ñò÷
º··èÕ ö ¡ÒÃËҧáÅСÒÃà¢ÂÕ ¹Ë¹Ñ§ÊÍ× ÃÒª¡Òà ๑๒๗
- การเขยี นหนังสือราชการ ๑๓๙
- บันทึกฝา ยอํานวยการ ñôñ
๑๔๑
º··Õè ÷ ¡ÒþÔÁ¾Ë ¹§Ñ ÊÍ× ÃÒª¡Òà ๑๔๔
- การพมิ พห นงั สือราชการ ๑๔๙
- การพมิ พหนงั สือราชการภาษาไทยดวยโปรแกรมการพมิ พ
ในเครอื่ งคอมพิวเตอร
- ตวั อยา งการพิมพห นงั สอื ราชการ



º··Õè ñ

»ÃÐÇÑμÔ ¤ÇÒÁ໹š ÁҢͧ§Ò¹ÊÒúÃó

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤

๑. เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจและสามารถอธิบายประวัติ ความเปนมา
ความสําคัญและประโยชนของงานสารบรรณไดอ ยา งถูกตอง

๒. เพอ่ื ใหผ เู รยี นมคี วามรคู วามเขา ใจ และสามารถอธบิ ายความหมายของงานสารบรรณ
ไดอยางถูกตอ ง

¡Å‹ÒÇนาํ

งานสารบรรณ เปนการส่ือสารที่เปนลายลักษณอักษรที่สวนราชการตองถือปฏิบัติและ
จดั ทําตามรูปแบบท่กี ําหนดของการจัดทําเอกสารราชการ เชน หนงั สือราชการ บันทึกขอ ความ คําสั่ง
ประกาศ ขา ว หนังสือรบั รอง เปน ตน

»ÃÐÇμÑ ÔÃÐàºÕº§Ò¹ÊÒúÃó

กอนป ๒๔๙๗ ยังไมมีการกําหนดระเบียบงานสารบรรณขึ้นมาโดยเฉพาะ แตละ
สวนราชการ ตางมีระเบียบเกี่ยวกับการรางหนังสือ การเก็บรักษาเอกสารตาง ๆ ของตนโดยเฉพาะ
ตางคนตางทําไมมีหลักการที่แนนอน และในป ๒๔๙๖ รัฐบาลจึงไดจัดต้ังคณะกรรมการรางระเบียบ
งานสารบรรณ

ตอมาในป ๒๕๐๒ ก็ไดมีการพิจารณาปรับปรุงระเบียบงานสารบรรณอีกครั้งหนึ่ง
โดยไดนําเอาขอเสนอแนะและปญหาตาง ๆ จากการใชระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.๒๔๙๗ และ
๒๔๙๘ มาปรับปรุงใหเหมาะสมยิ่งขึ้น เมื่อไดพิจารณาปรับปรุงระเบียบงานสารบรรณเรียบรอยแลว
ก็ไดเสนอใหคณะรฐั มนตรีพิจารณา คณะรัฐมนตรีไดมีมติเหน็ ชอบเมอื่ วนั ที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๐๖ และ
เรยี กระเบยี บน้ีวา ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวา ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๐๖ โดยใหม ีผลบงั คบั ใช
ตั้งแตวนั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๐๗ เปนตนไป

แตร ะเบยี บงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๐๖ ไมครอบคลุมถึงงานสารบรรณท่ปี ฏิบัติอยทู ั้งหมด
ประกอบกบั มสี ว นราชการตา ง ๆ ไดห ารอื แนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั งานสารบรรณมายงั สาํ นกั นายกรฐั มนตรี
อยูเสมอ สํานักนายกรัฐมนตรีก็ไดพิจารณาแลวเห็นวา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีที่ออกใชบังคับ
และเปน หลกั ในการปฏบิ ตั งิ านนน้ั มอี ยหู ลายระเบยี บดว ยกนั บางระเบยี บไดอ อกมาใชบ งั คบั เปน เวลานาน
ทําใหว ิธีปฏบิ ตั บิ างตอน บางเร่อื งลาสมยั ระเบียบตา ง ๆ กระจัดกระจายอยใู นท่ตี าง ๆ มิไดป ระมวล
เขาเปนระเบียบปฏิบัติในเรื่องเดียวกัน ทําใหเปนอุปสรรคกับการปฏิบัติงาน ระเบียบบางฉบับไมได



กาํ หนดใหส ว นราชการใดเปน ผรู กั ษาระเบยี บรบั ผดิ ชอบโดยเฉพาะ ทาํ ใหเ กดิ ปญ หาไมม ผี วู นิ จิ ฉยั ตคี วาม
และติดตามการปฏิบัติตามระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีจึงไดเสนอใหรัฐบาลพิจารณาและแตงตั้ง
คณะกรรมการพจิ ารณาปรบั ปรงุ และพฒั นาระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรโี ดยมปี ลดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรี
เปนประธานกรรมการในป ๒๕๑๘ คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบสํานักนายก
รฐั มนตรี ไดแ ตง ตง้ั คณะกรรมการวชิ าการขนึ้ เพอ่ื ปรบั ปรงุ ระเบยี บงานสารบรรณโดยเฉพาะในปเ ดยี วกนั

ตอ มาคณะกรรมการวชิ าการไดเ ปลย่ี นชอื่ เปน คณะอนกุ รรมการปรบั ปรงุ ระเบยี บงานสารบรรณ
พ.ศ.๒๕๐๖ และไดเสนอรางระเบียบงานสารบรรณขึ้นมาใหม ใหคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุง
และพัฒนาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีพิจารณา คณะกรรมการไดนํารางระเบียบสารบรรณเสนอให
คณะรัฐมนตรีพิจารณาเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๒๖ ซึ่งคณะรัฐมนตรีก็ไดมีมติเห็นชอบและใหมีผลใช
บงั คบั ตง้ั แต ๑ มถิ นุ ายน ๒๕๒๖ เปนตนไป

ตอมา เพ่ือใหเหมาะสมกับสภาวการณในปจจุบันที่มีการปฏิบัติงานสารบรรณดวยระบบ
สารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละเปน การสอดคลอ งกบั การบรหิ ารราชการแนวทางใหมท มี่ งุ เนน ผลสมั ฤทธิ์
ความคมุ คา และลดขน้ั ตอนในการปฏบิ ตั งิ านและเพอ่ื ใหร ะบบงานสารบรรณมคี วามรวดเรว็ มปี ระสทิ ธภิ าพ
จึงวางระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรี วา ดวยงานสารบรรณ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๘ มีผลบงั คบั ใชต ้ังแต
วนั ที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๘ เปนตนไป

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ§Ò¹ÊÒúÃó

“งานสารบรรณ” หมายถึง “งานที่เก่ียวกับการบริหารงานเอกสารเร่ิมตั้งแตการจัดทํา
การรบั การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย” ซึ่งเปน การกําหนดข้นั ตอนและขอบขายของ
งานสารบรรณวา เกยี่ วขอ งกบั เรอ่ื งอะไรบา ง แตใ นทางปฏบิ ตั กิ ารบรหิ ารงานเอกสารทงั้ ปวง จะเรมิ่ ตงั้ แต
การคิด อาน ราง เขียน แตง พิมพ จด จํา ทําสําเนา สงหรือสื่อขอความ รับ บันทึก จดรายงาน
การประชมุ สรปุ ยอ เรอ่ื ง เสนอ สง่ั การ ตอบ ทํารหสั เกบ็ เขา ที่ คน หา ตดิ ตามและทาํ ลาย ทงั้ น้ี ตอ งเปน
ระบบทใ่ี หความสะดวก รวดเร็ว ถกู ตอง และมปี ระสทิ ธภิ าพเพื่อประหยดั เวลา แรงงาน และคาใชจ าย

ผทู จี่ ะทาํ งานสารบรรณไดด จี าํ เปน ตอ งรงู านธรุ การดว ย เชน การตดิ ตอ โตต อบ และประสานงาน
รจู กั ความควรหรอื ไมค วร มคี วามคลอ งแคลว วอ งไว นอกจากนน้ั ตอ งมคี วามรทู างดา นภาษาเปน อยา งดี
โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ภาษาไทย และควรรรู ะบบขา วสารทง้ั ปวง สามารถพมิ พด ดี ได เมอื่ มคี วามจาํ เปน จะ
ตอ งกระทาํ การปฏบิ ตั ิงานสารบรรณ หากมสี วนเก่ยี วของงานทางเทคนิคควรตดิ ตอประสานกับผทู ม่ี ี
ความรทู างเทคนคิ นนั้ ๆ โดยตรงดว ย ผทู ท่ี าํ งานสารบรรณทเี่ กย่ี วกบั การประชมุ จะตอ งมคี วามสามารถ
ในการจดรายงานการประชมุ และสามารถถอดความคดิ เหน็ ของทป่ี ระชมุ ออกมาไดถ กู ตอ งและเขา ใจไดด ี

¤ÇÒÁสาํ ¤Ñޢͧ§Ò¹ÊÒúÃó

๑. ใชเปนเครอื่ งมอื ในการบริหารงาน
๒. ใชใหเ ปน สือ่ ในการติดตอ ทําความเขา ใจระหวา งหนว ยงาน



๓. ใชเปนหลักฐานอางอิงในการติดตอหรือทําความตกลง
๔. เอกสารทําขนึ้ เปนเสมอื นเครื่องเตอื นความจาํ ของหนว ยงาน
๕. เอกสารท่ที าํ ข้นึ เปนสิ่งทมี่ คี ณุ คา ในการศกึ ษาคน ควาในอนาคต

»ÃÐ⪹¢ ͧ§Ò¹ÊÒúÃó

๑. ทําใหก ารปฏบิ ัติงานเปนระบบและมคี วามเปนระเบยี บ
๒. เกิดการประหยดั
๓. เกิดความสะดวกในการอางองิ และคน หา
๔. เกดิ ความตอเนือ่ งในการทํางาน
๕. ทาํ ใหระบบการทํางานมปี ระสิทธิภาพ

º·ÊûØ

งานสารบรรณนบั เปน หวั ใจสาํ คญั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นหนงั สอื เพราะตอ งใชใ นการตดิ ตอ
สอ่ื สารและประสานงานระหวา งสว นราชการ หนว ยงาน หรอื บคุ คล การทจี่ ะปฏบิ ตั งิ านราชการเกย่ี วกบั
หนงั สือไดด ีนั้นจะตอ งรูแ ละเขา ใจระเบยี บกอน แลวจงึ นาํ ไปสูก ารปฏบิ ัตใิ หถ ูกตองและมีประสิทธภิ าพ

¡¨Ô ¡ÃÃÁ

แบงกลุมรวมทํากิจกรรมเกี่ยวกับเน้ือหาท่ีเรียนไดอยางเหมาะสมตามจุดประสงค
ในการเรยี นการสอน



º··èÕ ò

ÃÐàºÕºสํา¹Ñ¡¹ÒÂ¡Ã°Ñ Á¹μÃÕ ÇÒ‹ ´ÇŒ §ҹÊÒúÃó ¾.È.òõòö
á¡äŒ ¢à¾ÁèÔ àμÁÔ (©ººÑ ·èÕ ò) ¾.È.òõôø áÅÐ (©ººÑ ·èÕ ó) ¾.È.òõöð

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

๑. เพือ่ ใหผเู รยี นมคี วามรู ความเขาใจ และสามารถอธบิ ายหนงั สือราชการทง้ั ๖ ชนดิ
และสามารถบอกความแตกตางไดอยา งถูกตอ ง

๒. เพ่ือใหผูเรียนมคี วามรู ความเขา ใจ และสามารถอธบิ ายระดับช้ันความเร็ว การจัดทาํ
ทําสาํ เนา และหนงั สอื เวยี น ไดอ ยางถูกตอ ง

๓. เพือ่ ใหผ ูเรียนมคี วามรู ความเขาใจ และสามารถอธบิ ายการจัดทาํ การรับและการสง
หนังสือราชการดวยระบบแบบปกติและดวยระบบอิเล็กทรอนิกสไดอ ยา งถูกตอ ง

๔. เพอ่ื ใหผ เู รยี นมคี วามรู ความเขา ใจ และสามารถอธบิ ายวธิ กี ารปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การเกบ็
รกั ษา การยมื และการทาํ ลายหนงั สอื ไดอยา งถกู ตอ ง

๕. เพ่ือใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และสามารถอธิบายมาตรฐานตรา แบบพิมพ
และซอง ไดอยา งถูกตอ ง

ʋǹนํา

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ ๒๕๒๖ เปนระเบียบท่ีเก่ียวของใน
การจดั ทาํ หนงั สอื ราชการแตล ะชนดิ จะมรี ปู แบบของหนงั สอื ทแี่ ตกตา งกนั และ ฉบบั ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๔๘
ไดมแี กไ ขเพ่ิมนยิ ามคําวา “อิเลก็ ทรอนกิ ส” และคาํ วา “ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนกิ ส” ระหวางนยิ าม
คาํ วา “หนังสอื ” และ “สวนราชการ”



เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๑ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

ÃÐàºÂÕ ºสาํ นกั ¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÕ

Ç‹Ò´ŒÇ§ҹÊÒúÃó ¾.È. òõòö
áÅзÕèá¡Œä¢à¾ÔÁè àμÁÔ (©ºÑº·Õè ò) ¾.È. òõôø

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ
พ.ศ. ๒๕๐๖ เสียใหมใ หเ หมาะสมย่งิ ข้นึ คณะรฐั มนตรจี ึงวางระเบียบไว ดังตอไปน๑ี้

ขอ ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา “ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖”
ขอ ๒ ระเบียบนใี้ หใ ชบงั คับต้ังแตว ันท่ี ๑ มถิ ุนายน ๒๕๒๖ เปนตนไป๒
¢อŒ ๓ ใหยกเลกิ

๓.๑ ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๐๖
๓.๒ ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยการลงชอื่ ในหนงั สอื ราชการ พ.ศ.๒๕๐๗
๓.๓ ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยการลงชอื่ ในหนงั สอื ราชการ (ฉบบั ท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๑๖
บรรดาระเบียบ ขอบังคับ มติของคณะรฐั มนตรี และคาํ ส่งั อน่ื ใด ในสว นท่กี ําหนดไวแ ลว
ในระเบยี บนี้ หรือซ่ึงขดั หรอื แยงกบั ระเบียบน้ี ใหใ ชระเบยี บนี้แทน เวนแตกรณีท่ีกลาวในขอ ๕
ขอ ๔ ระเบียบนใี้ หใชบงั คบั แกส ว นราชการ
สวนราชการใดมีความจาํ เปนท่ีตองปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ไดกาํ หนดไว
ในระเบียบนี้ ใหข อทําความตกลงกบั ผูรักษาการตามระเบยี บนี้

๑ ความวรรคน้ี ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๘ ความวา
“โดยท่ีเปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ เพื่อใหเหมาะสมกับ

สภาวการณในปจจุบันที่มีการปฏิบัติงานสารบรรณดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส และเปนการสอดคลองกับการบริหาร
ราชการแนวทางใหมท่มี ุงเนนผลสัมฤทธ์ิ ความคมุ คา และการลดขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน สมควรวางระบบงานสารบรรณใหเปน
การดาํ เนินงานที่มีระบบ มคี วามรวดเร็ว มีประสิทธภิ าพ และลดความซาํ้ ซอ นในการปฏบิ ัติราชการ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหง พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผนดิน พ.ศ.๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรี
โดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรจี งึ วางระเบียบไว ดังตอไปน”ี้
๒ ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๘ ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศใน
ราชกจิ จานุเบกษาเปนตนไป (ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง วนั ท่ี ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘)



เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๒ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

ขอ ๕๓ ในกรณที ก่ี ฎหมาย ระเบยี บวา ดว ยการรกั ษาความปลอดภยั แหง ชาติ หรอื ระเบยี บ
วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ กาํ หนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับงานสารบรรณไวเปนอยางอื่น
ใหถอื ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือระเบยี บวาดว ยการนน้ั

ขอ ๖ ในระเบยี บนี้
“งานสารบรรณ” หมายความวา งานทเี่ กยี่ วกบั การบรหิ ารงานเอกสารเรมิ่ ตงั้ แตก ารจดั ทาํ
การรับ การสง การเกบ็ รักษา การยืม จนถึงการทําลาย
“หนงั สือ” หมายความวา หนงั สือราชการ
“อเิ ลก็ ทรอนกิ ส” ๔ หมายความวา การประยกุ ตใ ชว ธิ กี ารทางอเิ ลก็ ตรอน ไฟฟา คลน่ื แมเ หลก็ ไฟฟา
หรือวธิ อี ืน่ ใดในลกั ษณะคลา ยกนั และใหหมายความรวมถงึ การประยุกตใชว ธิ ีการทางแสง วธิ กี ารทาง
แมเหลก็ หรอื อปุ กรณทเี่ กี่ยวขอ งกบั การประยุกตใ ชตา งๆ เชน วา นั้น
“ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส” ๕ หมายความวา การรบั สง ขอ มลู ขา วสารหรอื หนงั สอื ผา น
ระบบสือ่ สารดว ยวธิ กี ารทางอิเลก็ ทรอนิกส
“สว นราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานกั งาน หรอื หนว ยงานอนื่ ใดของรฐั
ทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่นหรือใน
ตา งประเทศ และใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดว ย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบคุ คลทไ่ี ดร บั มอบหมายจากทางราชการใหป ฏบิ ตั งิ าน
ในเร่ืองใดๆ และใหห มายความรวมถงึ คณะอนกุ รรมการ คณะทาํ งาน หรอื คณะบคุ คลอ่ืนที่ปฏิบตั งิ าน
ในลักษณะเดียวกัน
ขอ ๗ คําอธบิ ายซงึ่ กําหนดไวท า ยระเบยี บ ใหถ อื วา เปน สว นประกอบทใ่ี ชง านสารบรรณ
และใหใชเปนแนวทางในการปฏบิ ัติ
ขอ ๘ ใหป ลดั สํานกั นายกรฐั มนตรรี กั ษาการตามระเบยี บน้ี และใหม อี ํานาจตคี วามและ
วนิ จิ ฉยั ปญ หาเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บนี้ รวมทง้ั การแกไ ขเพมิ่ เตมิ ภาคผนวกและจดั ทําคําอธบิ าย
กบั ใหมีหนา ท่ดี าํ เนินการฝก อบรมเก่ยี วกบั งานสารบรรณ
การตคี วาม การวนิ จิ ฉยั ปญ หา และการแกไ ขเพมิ่ เตมิ ภาคผนวก และคําอธบิ ายตามวรรคหนง่ึ
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีจะขอความเห็นจากคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบ
สาํ นักนายกรัฐมนตรเี พือ่ ประกอบการพจิ ารณากไ็ ด

๓ ขอ ๕ ความเดิมถกู ยกเลกิ โดยขอ ๓ แหง ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรี วา ดวยงานสารบรรณ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ
ใหใชค วามทพี่ ิมพไ วแ ทน
๔ บทนยิ ามน้เี พิม่ เติมโดยขอ ๔ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘
๕ บทนยิ ามน้ีเพิม่ เตมิ โดยขอ ๔ แหง ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดว ยงานสารบรรณ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘



เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๓ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

ËÁÇ´ ñ
ª¹´Ô ¢Í§Ë¹§Ñ Ê×Í

ขอ ๙๖ หนังสอื ราชการ คือ เอกสารทเี่ ปน หลกั ฐานในราชการ ไดแ ก
๙.๑ หนังสือท่ีมีไปมาระหวางสวนราชการ
๙.๒ หนังสือท่ีสวนราชการมีไปถึงหนวยงานอ่ืนใดซ่ึงมิใชสวนราชการ หรือท่ีมี

ไปถึงบคุ คลภายนอก
๙.๓ หนงั สอื ทห่ี นว ยงานอน่ื ใดซงึ่ มใิ ชส ว นราชการ หรอื ทบี่ คุ คลภายนอกมมี าถงึ

สวนราชการ
๙.๔ เอกสารท่ที างราชการจดั ทําขนึ้ เพอื่ เปนหลักฐานในราชการ
๙.๕ เอกสารทท่ี างราชการจดั ทาํ ขึน้ ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอ บงั คบั
๙.๖ ขอมลู ขา วสารหรอื หนงั สือทไ่ี ดรบั จากระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส

ขอ ๑๐ หนังสือ มี ๖ ชนดิ คอื
๑๐.๑ หนังสอื ภายนอก
๑๐.๒ หนงั สือภายใน
๑๐.๓ หนังสอื ประทับตรา
๑๐.๔ หนงั สอื สั่งการ
๑๐.๕ หนงั สอื ประชาสมั พันธ
๑๐.๖ หนังสือทเ่ี จา หนาท่ที ําขึ้นหรอื รับไวเปนหลักฐานในราชการ

ʋǹ·èÕ ñ
˹ѧÊÍ× ÀÒ¹͡

ขอ ๑๑ หนงั สอื ภายนอก คอื หนงั สอื ตดิ ตอ ราชการทเี่ ปน แบบพธิ โี ดยใชก ระดาษตราครฑุ
เปน หนงั สอื ติดตอระหวา งสว นราชการ หรือสวนราชการมถี ึงหนว ยงานอนื่ ใดซงึ่ มิใชสว นราชการ หรอื
ท่มี ีถงึ บคุ คลภายนอก ใหจัดทาํ ตามแบบที่ ๑ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั น้ี

๑๑.๑ ที่ ใหล งรหสั ตวั พยญั ชนะและเลขประจําของเจา ของเรอ่ื ง ตามทก่ี ําหนดไว
ในภาคผนวก ๑ ทบั เลขทะเบยี นหนงั สอื สง สําหรบั หนงั สอื ของคณะกรรมการใหก ําหนดรหสั ตวั พยญั ชนะ
เพิม่ ข้นึ ไดตามความจาํ เปน

๖ ขอ ๙ ความเดิมถูกยกเลิกโดยขอ ๕ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘
และใหใ ชความทพ่ี ิมพไวแ ทน



เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๔ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

๑๑.๒ สว นราชการเจา ของหนงั สือ ใหล งชอ่ื สว นราชการ สถานทีร่ าชการหรือ
คณะกรรมการซึง่ เปน เจาของหนังสือนน้ั และโดยปกตใิ หลงที่ตัง้ ไวดวย

๑๑.๓ วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันท่ี ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของ
ปพุทธศักราชท่ีออกหนังสอื

๑๑.๔ เร่ือง ใหล งเรื่องยอ ทเี่ ปน ใจความสน้ั ท่สี ดุ ของหนงั สือฉบับนน้ั ในกรณที ่ี
เปนหนงั สอื ตอเนือ่ งโดยปกติใหล งเร่ืองของหนงั สอื ฉบับเดิม

๑๑.๕ คําข้ึนตน ใหใชคาํ ขึ้นตนตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใช
คาํ ขึ้นตน สรรพนาม และคาํ ลงทา ย ทีก่ าํ หนดไวในภาคผนวก ๒ แลวลงตาํ แหนงของผทู ่หี นังสือนัน้ มีถงึ
หรือชอ่ื บุคคลในกรณีท่มี ถี งึ ตวั บุคคลไมเ กยี่ วกับตําแหนง หนาท่ี

๑๑.๖ อางถึง (ถามี) ใหอางถึงหนังสือที่เคยมีติดตอกันเฉพาะหนังสือท่ี
สว นราชการผรู บั หนงั สอื ไดร บั มากอ นแลว จะจากสว นราชการใดกต็ าม โดยใหล งชอื่ สว นราชการเจา ของ
หนงั สอื และเลขที่หนงั สอื วันที่ เดอื น ปพุทธศักราชของหนังสอื นน้ั

การอางถึง ใหอางถึงหนังสือฉบับสุดทายท่ีติดตอกันเพียงฉบับเดียว
เวนแตมีเร่ืองอื่นท่ีเปนสาระสาํ คัญตองนาํ มาพิจารณา จึงอางถึงหนังสือฉบับอื่นๆ ท่ีเก่ียวกับเรื่องนั้น
โดยเฉพาะใหทราบดวย

๑๑.๗ ส่ิงท่ีสงมาดวย (ถามี) ใหลงช่ือสิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสารที่สงไป
พรอ มกบั หนังสือนั้น ในกรณีที่ไมสามารถสงไปในซองเดียวกันไดใ หแ จงดว ยวา สงไปโดยทางใด

๑๑.๘ ขอความ ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย หากมี
ความประสงคหลายประการใหแยกเปนขอ ๆ

๑๑.๙ คําลงทาย ใหใชคําลงทายตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใช
คําขนึ้ ตน สรรพนาม และคาํ ลงทาย ทกี่ ําหนดไวในภาคผนวก ๒

๑๑.๑๐ ลงชื่อ ใหลงลายมือช่ือเจาของหนังสือ และใหพิมพช่ือเต็มของเจาของ
ลายมือชือ่ ไวใตลายมือชื่อ ตามรายละเอียดทกี่ ําหนดไวใ นภาคผนวก ๓

๑๑.๑๑ ตาํ แหนง ใหลงตาํ แหนงของเจา ของหนงั สอื
๑๑.๑๒ สว นราชการเจา ของเรอ่ื ง ใหล งชอ่ื สว นราชการเจา ของเรอ่ื ง หรอื หนว ยงาน
ที่ออกหนังสือ ถาสวนราชการท่ีออกหนังสืออยูในระดับกระทรวงหรือทบวง ใหลงช่ือสวนราชการ
เจาของเร่ืองทั้งระดับกรมและกอง ถาสวนราชการท่ีออกหนังสืออยูในระดับกรมลงมาใหลงช่ือ
สวนราชการเจาของเรอ่ื งเพียงระดับกองหรอื หนวยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ
๑๑.๑๓ โทร. ใหลงหมายเลขโทรศัพทของสวนราชการเจาของเร่ือง หรือ
หนวยงานท่อี อกหนังสอื และหมายเลขภายในตสู าขา (ถาม)ี ไวด ว ย

๑๐

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๕ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

๑๑.๑๔ สําเนาสง (ถามี) ในกรณีท่ีผูสงจัดทาํ สําเนาสงไปใหสวนราชการหรือ
บคุ คลอ่นื ทราบ และประสงคจะใหผ รู บั ทราบวา ไดม ีสาํ เนาสง ไปใหผ ูใดแลว ใหพิมพชือ่ เต็มหรอื ช่อื ยอ
ของสว นราชการหรอื ชอ่ื บคุ คลทสี่ ง สําเนาไปให เพอ่ื ใหเ ปน ทเ่ี ขา ใจระหวา งผสู ง และผรู บั ถา หากมรี ายชอ่ื
ท่สี ง มากใหพ มิ พว าสงไปตามรายชื่อทแ่ี นบและแนบรายชอื่ ไปดว ย

ʋǹ·Õè ò
˹ѧÊ×ÍÀÒÂã¹
ขอ ๑๒ หนงั สอื ภายใน คอื หนงั สอื ตดิ ตอ ราชการทเี่ ปน แบบพธิ นี อ ยกวา หนงั สอื ภายนอก
เปน หนังสือตดิ ตอ ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรอื จงั หวดั เดยี วกัน ใชกระดาษบันทึกขอ ความ และให
จัดทําตามแบบที่ ๒ ทา ยระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดังน้ี
๑๒.๑ สวนราชการ ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเร่ือง หรือหนวยงานที่ออก
หนังสือโดยมีรายละเอียดพอสมควร โดยปกติถาสวนราชการท่ีออกหนังสืออยูในระดับกรมข้ึนไป
ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง ถาสวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับ
ตา่ํ กวากรมลงมา ใหลงช่ือสวนราชการเจาของเรื่องเพียงระดับกอง หรือสวนราชการเจาของเร่ือง
พรอมทัง้ หมายเลขโทรศพั ท (ถา มี)
๑๒.๒ ท่ี ใหล งรหสั ตวั พยญั ชนะและเลขประจําของเจา ของเรอื่ ง ตามทกี่ ําหนดไว
ในภาคผนวก ๑ ทบั เลขทะเบยี นหนงั สอื สง สําหรบั หนงั สอื ของคณะกรรมการใหก ําหนดรหสั ตวั พยญั ชนะ
เพมิ่ ขนึ้ ไดตามความจาํ เปน
๑๒.๓ วนั ท่ี ใหล งตวั เลขของวนั ที่ ชอื่ เตม็ ของเดอื น และตวั เลขของปพ ทุ ธศกั ราช
ที่ออกหนังสอื
๑๒.๔ เรอื่ ง ใหล งเรอ่ื งยอ ทเี่ ปน ใจความสน้ั ทส่ี ดุ ของหนงั สอื ฉบบั นน้ั ในกรณที เ่ี ปน
หนงั สอื ตอเนือ่ งโดยปกติใหล งเร่ืองของหนงั สอื ฉบับเดิม
๑๒.๕ คาํ ขึ้นตน ใหใชคําข้ึนตนตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใช
คาํ ขน้ึ ตน สรรพนาม และคําลงทา ย ทีก่ ําหนดไวในภาคผนวก ๒ แลวลงตําแหนง ของผูท ีห่ นังสือนน้ั มถี งึ
หรือชือ่ บคุ คลในกรณีที่มีถงึ ตัวบุคคลไมเก่ียวกับตําแหนงหนา ที่
๑๒.๖ ขอความ ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย หากมี
ความประสงคหลายประการ ใหแยกเปนขอๆ ในกรณีท่ีมีการอางถึงหนังสือที่เคยมีติดตอกันหรือ
มีสง่ิ ทีส่ ง มาดวย ใหร ะบุไวใ นขอน้ี
๑๒.๗ ลงชอื่ และตําแหนง ใหป ฏบิ ตั ติ ามขอ ๑๑.๑๐ และขอ ๑๑.๑๑ โดยอนโุ ลม
ในกรณที กี่ ระทรวง ทบวง กรม หรอื จงั หวดั ใดประสงคจ ะกําหนดแบบการเขยี นโดยเฉพาะ
เพื่อใชต ามความเหมาะสมก็ใหก ระทาํ ได

๑๑

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๖ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

ÊÇ‹ ¹·Õè ó
˹ѧÊÍ× »ÃзѺμÃÒ

ขอ ๑๓ หนังสือประทับตรา คือ หนังสือท่ีใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนา
สว นราชการระดบั กรมขน้ึ ไป โดยใหห วั หนาสวนราชการระดบั กองหรอื ผูที่ไดร ับมอบหมายจากหัวหนา
สว นราชการระดบั กรมขึ้นไป เปนผรู ับผดิ ชอบลงช่ือยอกาํ กับตรา

หนงั สอื ประทบั ตราใหใ ชไ ดท ง้ั ระหวา งสว นราชการกบั สว นราชการ และระหวา งสว นราชการ
กบั บุคคลภายนอก เฉพาะกรณีทีไ่ มใ ชเ ร่ืองสาํ คัญ ไดแ ก

๑๓.๑ การขอรายละเอียดเพิม่ เติม
๑๓.๒ การสง สาํ เนาหนงั สอื สง่ิ ของ เอกสาร หรือบรรณสาร
๑๓.๓ การตอบรับทราบท่ไี มเ กีย่ วกับราชการสําคัญหรอื การเงิน
๑๓.๔ การแจง ผลงานทไี่ ดดาํ เนินการไปแลว ใหสว นราชการท่ีเก่ยี วของทราบ
๑๓.๕ การเตอื นเรอ่ื งที่คาง
๑๓.๖ เรื่องซ่ึงหัวหนาสวนราชการระดับกรมข้ึนไปกาํ หนดโดยทําเปนคาํ ส่ัง
ใหใชห นังสือประทบั ตรา
ขอ ๑๔ หนงั สอื ประทบั ตรา ใชก ระดาษตราครฑุ และใหจ ดั ทาํ ตามแบบท่ี ๓ ทา ยระเบยี บ
โดยกรอกรายละเอียดดังนี้
๑๔.๑ ท่ี ใหล งรหสั ตวั พยญั ชนะและเลขประจําของเจา ของเรอื่ ง ตามทกี่ าํ หนดไว
ในภาคผนวก ๑ ทับเลขทะเบียนหนังสอื สง
๑๔.๒ ถงึ ใหลงชอ่ื สว นราชการ หนว ยงาน หรือบคุ คลทห่ี นังสอื น้นั มีถงึ
๑๔.๓ ขอ ความ ใหลงสาระสําคญั ของเรอ่ื งใหช ัดเจนและเขาใจงาย
๑๔.๔ ชอื่ สวนราชการทส่ี ง หนงั สือออก ใหลงช่อื สวนราชการทสี่ งหนังสอื ออก
๑๔.๕ ตราชอื่ สว นราชการ ใหป ระทบั ตราชอ่ื สว นราชการตามขอ ๗๒ ดว ยหมกึ แดง
และใหผรู บั ผิดชอบลงลายมอื ชือ่ ยอ กํากับตรา
๑๔.๖ วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ช่ือเต็มของเดือนและตัวเลขของ
ปพ ทุ ธศักราชที่ออกหนงั สอื
๑๔.๗ สว นราชการเจา ของเรอื่ ง ใหล งชอ่ื สว นราชการเจา ของเรอ่ื งหรอื หนว ยงาน
ทีอ่ อกหนังสอื
๑๔.๘ โทร. หรอื ทต่ี งั้ ใหล งหมายเลขโทรศพั ทข องสว นราชการเจา ของเรอื่ งและ
หมายเลขภายในตูสาขา (ถามี) ดวย ในกรณีที่ไมมีโทรศัพท ใหลงที่ตั้งของสวนราชการเจาของเรื่อง
โดยใหล งตาํ บลทอ่ี ยตู ามความจําเปน และแขวงไปรษณีย (ถาม)ี

๑๒

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๗ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

ʋǹ·èÕ ô
˹§Ñ ÊÍ× Ê§èÑ ¡ÒÃ

ขอ ๑๕ หนงั สอื สงั่ การ ใหใ ชต ามแบบทก่ี าํ หนดไวใ นระเบยี บนี้ เวน แตจ ะมกี ฎหมายกําหนด
แบบไวโ ดยเฉพาะ

หนังสอื สั่งการมี ๓ ชนดิ ไดแ ก คําสง่ั ระเบยี บ และขอ บงั คับ
ขอ ๑๖ คาํ สงั่ คอื บรรดาขอ ความทผ่ี บู งั คบั บญั ชาสง่ั การใหป ฏบิ ตั โิ ดยชอบดว ยกฎหมาย
ใชกระดาษตราครฑุ และใหจัดทาํ ตามแบบท่ี ๔ ทายระเบยี บ โดยกรอกรายละเอียดดงั นี้

๑๖.๑ คาํ สั่ง ใหลงช่อื สวนราชการหรือตําแหนง ของผูมีอํานาจทีอ่ อกคาํ สัง่
๑๖.๒ ท่ี ใหลงเลขทีท่ ่อี อกคาํ สงั่ โดยเริ่มฉบบั แรกจากเลข ๑ เรียงเปน ลาํ ดบั ไป
จนสิน้ ปปฏิทิน ทับเลขปพ ุทธศกั ราชทีอ่ อกคาํ สัง่
๑๖.๓ เร่อื ง ใหลงช่อื เร่อื งทอี่ อกคาํ สง่ั
๑๖.๔ ขอ ความ ใหอ า งเหตทุ อี่ อกคาํ สง่ั และอา งถงึ อาํ นาจทใ่ี หอ อกคาํ สงั่ (ถา ม)ี
ไวดวย และจึงลงขอความท่ีสั่ง และวนั ใชบงั คับ
๑๖.๕ สั่ง ณ วันท่ี ใหลงตัวเลขของวันที่ ช่ือเต็มของเดือน และตัวเลขของป
พุทธศกั ราชทอ่ี อกคาํ ส่ัง
๑๖.๖ ลงชอ่ื ใหล งลายมอื ชอ่ื ผอู อกคาํ สงั่ และพมิ พช อื่ เตม็ ของเจา ของลายมอื ชอ่ื
ไวใ ตลายมอื ชื่อ
๑๖.๗ ตําแหนง ใหล งตาํ แหนงของผูอ อกคําส่ัง
ขอ ๑๗ ระเบยี บ คอื บรรดาขอ ความทผ่ี มู อี ํานาจหนา ทไ่ี ดว างไว โดยจะอาศยั อาํ นาจของ
กฎหมายหรือไมก ไ็ ด เพื่อถือเปน หลักปฏบิ ตั ิงานเปน การประจํา ใชกระดาษตราครุฑและใหจ ดั ทาํ ตาม
แบบที่ ๕ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้
๑๗.๑ ระเบยี บ ใหล งชอ่ื สวนราชการที่ออกระเบยี บ
๑๗.๒ วาดวย ใหลงช่อื ของระเบียบ
๑๗.๓ ฉบับท่ี ถาเปนระเบียบที่กลาวถึงเปนคร้ังแรกในเร่ืองนั้น ไมตองลงวา
เปนฉบับท่เี ทาใด แตถา เปน ระเบยี บเรอื่ งเดียวกนั ท่ีมกี ารแกไขเพ่มิ เตมิ ใหลงเปน ฉบับที่ ๒ และทีถ่ ดั ๆ
ไปตามลําดับ
๑๗.๔ พ.ศ. ใหล งตวั เลขของปพ ุทธศักราชทีอ่ อกระเบยี บ
๑๗.๕ ขอความ ใหอางเหตุผลโดยยอ เพ่ือแสดงถึงความมุงหมายที่ตองออก
ระเบยี บและอางถงึ กฎหมายทใี่ หอาํ นาจออกระเบียบ (ถา ม)ี

๑๓

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๘ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

๑๗.๖ ขอ ใหเรียงขอความที่จะใชเปนระเบียบเปนขอๆ โดยใหขอ ๑ เปนชื่อ
ระเบยี บ ขอ ๒ เปน วนั ใชบงั คบั กาํ หนดวาใหใ ชบ งั คับต้ังแตเม่ือใด และขอสุดทา ย เปน ขอผูร ักษาการ
ระเบยี บใดถา มมี ากขอ หรอื หลายเรอ่ื งจะแบง เปน หมวดกไ็ ด โดยใหย า ยขอ ผรู กั ษาการไปเปน ขอ สดุ ทา ย
กอ นทีจ่ ะข้นึ หมวด ๑

๑๗.๗ ประกาศ ณ วนั ที่ ใหลงตวั เลขของวันท่ี ชื่อเตม็ ของเดอื น และตัวเลขของ
ปพ ทุ ธศกั ราชที่ออกระเบยี บ

๑๗.๘ ลงช่ือ ใหลงลายมือชื่อผูออกระเบียบ และพิมพช่ือเต็มของเจาของ
ลายมอื ชื่อไวใ ตล ายมอื ชือ่

๑๗.๙ ตําแหนง ใหลงตําแหนง ของผูอ อกระเบียบ
ขอ ๑๘ ขอบังคับ คือ บรรดาขอความท่ีผูมีอาํ นาจหนาท่ีกาํ หนดใหใชโดยอาศัยอาํ นาจ
ของกฎหมายที่บัญญัติใหกระทาํ ได ใชกระดาษตราครุฑ และใหจัดทาํ ตามแบบที่ ๖ ทายระเบียบ
โดยกรอกรายละเอียด ดังน้ี

๑๘.๑ ขอ บงั คับ ใหล งช่อื สวนราชการท่อี อกขอบงั คับ
๑๘.๒ วาดวย ใหลงชื่อของขอบังคบั
๑๘.๓ ฉบบั ท่ี ถา เปน ขอ บงั คบั ทก่ี ลา วถงึ เปน ครง้ั แรกในเรอ่ื งนน้ั ไมต อ งลงวา เปน
ฉบับท่เี ทาใด แตถ าเปน ขอ บงั คับเรื่องเดียวกันท่มี ีการแกไขเพ่ิมเตมิ ใหลงเปน ฉบบั ที่ ๒ และทีถ่ ดั ๆ ๆ
ไปตามลาํ ดับ
๑๘.๔ พ.ศ. ใหลงตวั เลขของปพ ุทธศกั ราชทอ่ี อกขอ บงั คบั
๑๘.๕ ขอความ ใหอางเหตุผลโดยยอเพ่ือแสดงถึงความมุงหมายที่ตองออก
ขอ บังคับและอา งถึงกฎหมายทใ่ี หอ ํานาจของขอบังคับ
๑๘.๖ ขอ ใหเ รยี งขอ ความทจ่ี ะใชบ งั คบั เปน ขอ ๆ โดยให ขอ ๑ เปน ชอ่ื ขอ บงั คบั
ขอ ๒ เปน วนั ทใ่ี ชบ งั คบั กําหนดวา ใหใ ชบ งั คบั ตงั้ แตเ มอ่ื ใด และขอ สดุ ทา ยเปน ขอ ผรู กั ษาการ ขอ บงั คบั ใด
ถา มมี ากขอ หรอื หลายเรอื่ งจะแบง เปน หมวดกไ็ ด โดยใหย า ยขอ ผรู กั ษาการไปเปน ขอ สดุ ทา ยกอ นทจ่ี ะขน้ึ
หมวด ๑
๑๘.๗ ประกาศ ณ วันท่ี ใหลงตวั เลขของวันที่ ชอ่ื เต็มของเดือน และตวั เลขของ
ปพ ทุ ธศกั ราชท่ีออกขอบังคับ
๑๘.๘ ลงชื่อ ใหลงลายมือช่ือผูออกขอบังคับ และพิมพช่ือเต็มของเจาของ
ลายมือชอ่ื ไวใตล ายมอื ชอื่
๑๘.๙ ตําแหนง ใหล งตาํ แหนง ของผอู อกขอ บงั คบั

๑๔

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๙ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

ÊÇ‹ ¹·Õè õ
˹§Ñ ÊÍ× »ÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸

ขอ ๑๙ หนงั สอื ประชาสมั พนั ธ ใหใ ชต ามแบบทก่ี ําหนดไวใ นระเบยี บนี้ เวน แตจ ะมกี ฎหมาย
กําหนดแบบไวโ ดยเฉพาะ

หนังสอื ประชาสมั พันธม ี ๓ ชนิด ไดแ ก ประกาศ แถลงการณ และขา ว
ขอ ๒๐ ประกาศ คือ บรรดาขอความท่ีทางราชการประกาศหรือชี้แจงใหทราบ หรือ
แนะแนวทางปฏบิ ตั ิ ใชก ระดาษตราครฑุ และใหจ ดั ทําตามแบบที่ ๗ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ด
ดงั นี้

๒๐.๑ ประกาศ ใหล งช่ือสว นราชการทอ่ี อกประกาศ
๒๐.๒ เร่อื ง ใหล งชือ่ เรื่องท่ปี ระกาศ
๒๐.๓ ขอ ความ ใหอา งเหตุผลทีต่ องออกประกาศและขอความทป่ี ระกาศ
๒๐.๔ ประกาศ ณ วนั ท่ี ใหล งตวั เลขของวนั ที่ ชอ่ื เตม็ ของเดอื น และตวั เลขของ
ปพ ุทธศักราชท่ีออกประกาศ
๒๐.๕ ลงชอ่ื ใหล งลายมอื ชอื่ ผอู อกประกาศ และพมิ พช อ่ื เตม็ ของเจา ของลายมอื ชอ่ื
ไวใตล ายมอื ช่อื
๒๐.๖ ตําแหนง ใหล งตําแหนงของผูออกประกาศ
ในกรณที กี่ ฎหมายกําหนดใหทําเปนแจง ความ ใหเ ปลย่ี นคําวาประกาศ เปน แจงความ
ขอ ๒๑ แถลงการณ คอื บรรดาขอ ความทท่ี างราชการแถลงเพอื่ ทาํ ความเขา ใจในกจิ การ
ของทางราชการ หรือเหตุการณหรอื กรณใี ดๆ ใหท ราบชดั เจนโดยท่วั กนั ใชกระดาษตราครฑุ และให
จดั ทําตามแบบที่ ๘ ทายระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดังน้ี
๒๑.๑ แถลงการณ ใหลงชอ่ื สว นราชการท่ีออกแถลงการณ
๒๑.๒ เรื่อง ใหลงชอื่ เรื่องท่ีออกแถลงการณ
๒๑.๓ ฉบับท่ี ใชในกรณีท่ีจะตองออกแถลงการณหลายฉบับในเรื่องเดียวที่
ตอ เนื่องกนั ใหลงฉบบั ท่ีเรยี งตามลําดับไวดวย
๒๑.๔ ขอ ความ ใหอ า งเหตผุ ลทต่ี อ งออกแถลงการณแ ละขอ ความทแี่ ถลงการณ
๒๑.๕ สว นราชการท่ีออกแถลงการณ ใหล งช่อื สวนราชการท่อี อกแถลงการณ
๒๑.๖ วนั เดอื น ป ใหลงตวั เลขของวนั ที่ ชือ่ เต็มของเดอื น และตวั เลขของป
พุทธศักราชทอ่ี อกแถลงการณ
ขอ ๒๒ ขาว คือ บรรดาขอความท่ีทางราชการเห็นสมควรเผยแพรใหทราบ ใหจัดทํา
ตามแบบท่ี ๙ ทายระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้

๑๕

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๑๐ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

๒๒.๑ ขาว ใหล งชอื่ สว นราชการที่ออกขา ว
๒๒.๒ เรอ่ื ง ใหลงชอื่ เรื่องทีอ่ อกขา ว
๒๒.๓ ฉบบั ท่ี ใชใ นกรณที จ่ี ะตอ งออกขา วหลายฉบบั ในเรอื่ งเดยี วทตี่ อ เนอ่ื งกนั
ใหลงฉบับทเ่ี รยี งตามลําดบั ไวดว ย
๒๒.๔ ขอ ความ ใหล งรายละเอียดเกีย่ วกับเร่ืองของขาว
๒๒.๕ สว นราชการท่อี อกขาว ใหลงชือ่ สวนราชการท่ีออกขา ว
๒๒.๖ วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ช่ือเต็มของเดือน และตัวเลขของ
ปพทุ ธศักราชทอี่ อกขา ว

ʋǹ·èÕ ö
˹ѧÊ×Í·àèÕ ¨ŒÒ˹ŒÒ·ทèÕ ํา¢¹éÖ ËÃ×ÍÃѺäÇàŒ »¹š ËÅ¡Ñ °Ò¹ã¹ÃÒª¡ÒÃ

ขอ ๒๓ หนงั สอื ทเ่ี จา หนา ทที่ าํ ขน้ึ รบั ไวเ ปน หลกั ฐานในราชการ คอื หนงั สอื ทที่ างราชการทําขนึ้
นอกจากท่ีกลาวมาแลวขางตน หรือหนังสือที่หนวยงานอ่ืนใดซึ่งมิใชสวนราชการหรือบุคคลภายนอก
มมี าถงึ สว นราชการ และสวนราชการรบั ไวเปนหลักฐานของทางราชการ มี ๔ ชนิด คอื หนงั สอื รับรอง
รายงานการประชุม บันทึก และหนงั สอื อื่น

ขอ ๒๔ หนงั สอื รบั รอง คอื หนงั สอื ทส่ี ว นราชการออกใหเ พอื่ รบั รองแก บคุ คล นติ บิ คุ คล
หรือหนวยงาน เพ่ือวัตถุประสงคอยางหน่ึงอยางใดใหปรากฏแกบุคคลโดยทั่วไปไมจาํ เพาะเจาะจง
ใชก ระดาษตราครุฑ และใหจ ัดทําตามแบบท่ี ๑๐ ทา ยระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั น้ี

๒๔.๑ เลขที่ ใหล งที่ของหนังสอื รับรองโดยเฉพาะ เรมิ่ ต้งั แตเลขที่ ๑ เรียงเปน
ลําดับไปจนถึงสิ้นปปฏิทิน ทับเลขปพุทธศักราชท่ีออกหนังสือรับรอง หรือลงเลขท่ีของหนังสือทั่วไป
ตามแบบหนงั สอื ภายนอกอยา งหนึง่ อยา งใด

๒๔.๒ สวนราชการเจาของหนังสือ ใหลงชื่อของสวนราชการซึ่งเปนเจาของ
หนงั สือนน้ั และจะลงสถานทีต่ ั้งของสวนราชการเจาของหนังสือดว ยกไ็ ด

๒๔.๓ ขอความ ใหลงขอความข้ึนตนวา หนังสือฉบับน้ีใหไวเพื่อรับรองวา
แลว ตอ ดวยช่อื บคุ คล นิติบคุ คล หรือหนว ยงานท่ีทางราชการรบั รอง ในกรณเี ปนบคุ คลใหพิมพชอ่ื เต็ม
โดยมีคาํ นําหนา นาม ชอ่ื นามสกลุ ตาํ แหนงหนาท่ี และสังกัดหนวยงานทีผ่ ูนั้นทาํ งานอยูอ ยางชดั แจง
แลว จงึ ลงขอความท่ีรับรอง

๒๔.๔ ใหไ ว ณ วนั ท่ี ใหล งตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของป
พทุ ธศักราชทอี่ อกหนงั สอื รบั รอง

๑๖

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๑ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

๒๔.๕ ลงช่ือ ใหลงลายมือชื่อหัวหนาสวนราชการผูออกหนังสือหรือผูท่ีไดรับ
มอบหมายและพิมพช่อื เตม็ ของเจา ของลายมอื ชือ่ ไวใ ตล ายมือชือ่

๒๔.๖ ตําแหนง ใหล งตําแหนงของผูลงลายมือชอื่ ในหนงั สือ
๒๔.๗ รูปถายและลายมือช่ือผูไดรับการรับรอง ในกรณีท่ีการรับรองเปน
เรื่องสาํ คัญท่ีออกใหแกบุคคลใหติดรูปถายของผูท่ีไดรับการรับรอง ขนาด ๔x๖ เซนติเมตร หนาตรง
ไมสวมหมวก ประทับตราชื่อสวนราชการท่ีออกหนังสือบนขอบลางดานขวาของรูปถายคาบตอลงบน
แผนกระดาษ และใหผูนั้นลงลายมือช่ือไวใตรูปถายพรอมท้ังพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือช่ือไวใต
ลายมอื ชือ่ ดวย
ขอ ๒๕ รายงานการประชมุ คอื การบนั ทกึ ความคดิ เหน็ ของผมู าประชมุ ผเู ขา รว มประชมุ
และมติของทีป่ ระชมุ ไวเ ปน หลกั ฐาน ใหจดั ทาํ ตามแบบท่ี ๑๑ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้
๒๕.๑ รายงานการประชุม ใหลงช่อื คณะท่ปี ระชมุ หรอื ชื่อการประชุมนั้น
๒๕.๒ คร้งั ที่ ใหล งคร้ังทป่ี ระชมุ
๒๕.๓ เมือ่ ใหล งวันเดอื นปท ่ปี ระชมุ
๒๕.๔ ณ ใหล งสถานท่ีท่ปี ระชุม
๒๕.๕ ผมู าประชมุ ใหล งชอ่ื และหรอื ตําแหนง ของผไู ดร บั แตง ตงั้ เปน คณะทป่ี ระชมุ
ซ่ึงมาประชุมในกรณีท่ีมีผูมาประชุมแทนใหลงช่ือผูมาประชุมแทน และลงวามาประชุมแทน
ผใู ดหรอื ตาํ แหนง ใด
๒๕.๖ ผูไมมาประชุม ใหลงช่ือและหรือตําแหนงของผูท่ีไดรับการแตงต้ังเปน
คณะทปี่ ระชุมซึง่ มไิ ดม าประชุมพรอมท้ังเหตผุ ล (ถา มี)
๒๕.๗ ผเู ขา รว มประชมุ ใหล งชอ่ื และหรอื ตาํ แหนง ของผทู มี่ ไิ ดร บั การแตง ตง้ั เปน
คณะทีป่ ระชุมซีึง่ ไดเขา รวมประชมุ (ถา มี)
๒๕.๘ เริ่มประชุมเวลา ใหล งเวลาที่เร่ิมประชุม
๒๕.๙ ขอความ ใหบันทึกขอความท่ีประชุม โดยปกติใหเร่ิมตนดวยประธาน
กลาวเปด ประชมุ และเรือ่ งทป่ี ระชุมกับมตหิ รือขอสรุปของทปี่ ระชมุ ในแตละเรอ่ื งตามลําดับ
๒๕.๑๐ เลกิ ประชุมเวลา ใหล งเวลาท่เี ลิกประชมุ
๒๕.๑๑ ผจู ดรายงานการประชุม ใหลงช่อื ผูจดรายงานการประชมุ คร้ังน้ัน
ขอ ๒๖ บนั ทกึ คอื ขอ ความซงึ่ ผใู ตบ งั คบั บญั ชาเสนอตอ ผบู งั คบั บญั ชา หรอื ผบู งั คบั บญั ชา
สง่ั การแกผ ใู ตบ งั คบั บญั ชา หรอื ขอ ความทเี่ จา หนา ทห่ี รอื หนว ยงานระดบั ต่ํากวา สว นราชการระดบั กรม
ติดตอกนั ในการปฏบิ ตั ิราชการ โดยปกติใหใ ชกระดาษบันทกึ ขอความ และใหม หี วั ขอ ดงั ตอ ไปนี้
๒๖.๑ ช่ือตาํ แหนงท่บี นั ทกึ ถึง โดยใชค าํ ขน้ึ ตน ตามท่กี าํ หนดไวภาคผนวก ๒

๑๗

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๒ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

๒๖.๒ สาระสําคญั ของเรอ่ื ง ใหล งใจความของเรอื่ งทบ่ี นั ทกึ ถา มเี อกสารประกอบ
ก็ใหระบุไวดว ย

๒๖.๓ ช่ือและตาํ แหนง ใหลงลายมือช่ือและตําแหนง ของผบู นั ทึก และในกรณี
ทไ่ี มใ ชก ระดาษบนั ทึกขอ ความ ใหลงวนั เดือนปท บ่ี นั ทกึ ไวดวย

การบนั ทกึ ตอ เนอ่ื ง โดยปกตใิ หผ บู นั ทกึ ระบคุ าํ ขนึ้ ตน ใจความบนั ทกึ และลงชอ่ื เชน เดยี วกบั
ท่ไี ดกลา วไวขางตน และใหลงวัน เดอื น ป กาํ กบั ใตล ายมือช่อื ผูบันทึก หากไมมคี วามเหน็ ใดเพ่มิ เติม
ใหล งชอื่ และวัน เดอื น ป กํากบั เทา นน้ั

ขอ ๒๗๗ หนังสืออ่ืน คือ หนงั สือหรอื เอกสารอน่ื ใดทเ่ี กิดข้ึนเนอื่ งจากการปฏิบตั ิงานของ
เจา หนา ทเี่ พือ่ เปน หลกั ฐานในราชการ ซ่งึ รวมถงึ ภาพถาย ฟลม แถบบันทกึ เสียง แถบบนั ทึกภาพ และ
ส่ือกลางบนั ทกึ ขอมูลดวย หรอื หนงั สือของบคุ คลภายนอก ทย่ี ่นื ตอเจา หนา ที่ และเจา หนา ทไี่ ดร ับเขา
ทะเบียนรับหนังสือของทางราชการแลว มีรูปแบบตามที่กระทรวง ทบวง กรม จะกาํ หนดข้ึนใชตาม
ความเหมาะสม เวน แตมีแบบตามกฎหมายเฉพาะเรื่องใหทาํ ตามแบบ เชน โฉนด แผนท่ี แบบ แผนผงั
สญั ญา หลักฐานการสืบสวนและสอบสวน และคํารอง เปน ตน

สื่อกลางบนั ทึกขอ มลู ตามวรรคหนึ่ง หมายความถึง สอื่ ใดๆ ท่ีอาจใชบ นั ทึกขอมลู ไดด วย
อปุ กรณทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส เชน แผนบันทึกขอมูล เทปแมเ หล็ก จานแมเหลก็ แผน ซีด-ี อา นอยา งเดยี ว
หรอื แผนดจิ ทิ ลั อเนกประสงค เปน ตน

ʋǹ·Õè ÷
º·àºç´àμÅ´ç

ขอ ๒๘ หนงั สือที่ตองปฏิบตั ิใหเรว็ กวาปกติ เปนหนงั สือท่ตี อ งจัดสงและดาํ เนินการทาง
สารบรรณดวยความรวดเร็วเปนพเิ ศษ แบง เปน ๓ ประเภท คอื

๒๘.๑ ดว นที่สุด ใหเ จาหนา ที่ปฏิบัตใิ นทนั ทที ี่ไดร บั หนังสอื น้ัน
๒๘.๒ ดว นมาก ใหเ จา หนา ทีป่ ฏบิ ตั โิ ดยเรว็
๒๘.๓ ดวน ใหเ จาหนา ที่ปฏิบตั เิ ร็วกวาปกติ เทาท่จี ะทําได
ใหระบุช้ันความเรว็ ดวยตวั อักษรสีแดงขนาดไมเ ลก็ กวาตัวพิมพโปง ๓๒ พอยต ใหเห็นชัด
บนหนังสอื และบนซอง ตามที่กาํ หนดไวใ นแบบที่ ๑ แบบท่ี ๒ แบบท่ี ๓ และแบบที่ ๑๕ ทา ยระเบยี บ
โดยใหระบคุ าํ วา ดว นทสี่ ดุ ดว นมาก หรอื ดว น สําหรบั หนงั สอื ตามขอ ๒๘.๑ ขอ ๒๘.๒ และขอ ๒๘.๓
แลว แตก รณี

๗ ขอ ๒๗ ความเดิมถกู ยกเลกิ โดยขอ ๖ แหง ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรี วาดว ยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ
ใหใชความท่ีพมิ พไ วแ ทน

๑๘

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๑๓ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

ในกรณที ตี่ องการใหหนังสือสงถงึ ผูรับภายในเวลาทก่ี ําหนด ใหร ะบุคําวา ดวนภายในแลว
ลงวัน เดือน ป และกําหนดเวลาทีต่ องการใหหนงั สอื นั้นไปถึงผูรบั กับใหเจา หนาที่สงถึงผรู บั ซ่งึ ระบบุ น
หนา ซองภายในเวลาทก่ี าํ หนด

ขอ ๒๙๘ การติดตอราชการนอกจากจะดาํ เนินการ โดยหนังสือที่เปนเอกสารสามารถ
ดําเนนิ การดว ยระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกสไ ด

ในกรณีท่ีติดตอราชการดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ใหผูสงตรวจสอบผลการสง
ทุกครงั้ และใหผูรบั แจงตอบรับ เพอื่ ยืนยันวาหนงั สือไดจัดสง ไปยังผรู บั เรยี บรอ ยแลว และสว นราชการ
ผูสงไมตองจัดสงหนังสือเปนเอกสาร เวนแตกรณีเปนเร่ืองสาํ คัญจําเปนตองยืนยันเปนเอกสาร ใหทาํ
เอกสารยืนยันตามไปทันที

การสงขอความทางเคร่ืองมือสื่อสาร เชน โทรเลข วิทยุโทรเลข โทรพิมพ โทรศัพท
วิทยุสื่อสาร วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน เปนตน ใหผูรับปฏิบัติเชนเดียวกับไดรับหนังสือ
ในกรณีท่จี ะตอ งยนื ยนั เปนหนงั สือ ใหท ําหนังสอื ยนื ยันตามไปทันที

การสงขอความทางเคร่ืองมือส่ือสารซึ่งไมมีหลักฐานปรากฏชัดแจง เชน ทางโทรศัพท
วทิ ยสุ อื่ สาร วทิ ยกุ ระจายเสยี ง หรอื วทิ ยโุ ทรทศั น เปน ตน ใหผ สู ง และผรู บั บนั ทกึ ขอ ความไวเ ปน หลกั ฐาน

ขอ ๓๐ หนังสือทจ่ี ัดทาํ ขึน้ โดยปกติใหม สี ําเนาคูฉบับเก็บไวทตี่ น เรือ่ ง ๑ ฉบบั และใหมี
สําเนาเกบ็ ไวท ีห่ นว ยงานสารบรรณกลาง ๑ ฉบับ

สาํ เนาคูฉบับใหผูลงช่ือลงลายมอื ช่ือหรือลายมือช่ือยอ และใหผ ูรา ง ผพู มิ พ และผูตรวจ
ลงลายมือช่อื หรอื ลายมอื ช่อื ยอ ไวท ่ีขา งทา ยขอบลางดานขวาของหนังสือ

ขอ ๓๑ หนงั สอื ทเี่ จา ของหนงั สอื เหน็ วา มสี ว นราชการอน่ื ทเ่ี กยี่ วขอ งควรไดร บั ทราบดว ย
โดยปกตใิ หส งสําเนาไปใหทราบโดยทําเปน หนังสือประทับตรา

สาํ เนาหนงั สอื นใี้ หม คี าํ รบั รองวา สาํ เนาถกู ตอ ง โดยใหเ จา หนา ทต่ี งั้ แตร ะดบั ๒ หรอื เทยี บเทา
ข้ึนไป ซ่ึงเปนเจาของเร่ืองลงลายมือช่ือรับรอง พรอมท้ังลงช่ือตัวบรรจงและตําแหนงที่ขอบลางของ
หนงั สือ

ขอ ๓๒ หนังสือเวียน คือ หนังสือท่ีมีถึงผูรับเปนจํานวนมาก มีใจความอยางเดียวกัน
ใหเพ่ิมรหัสตัวพยัญชนะ ว หนาเลขทะเบียนหนังสือสง ซ่ึงกําหนดเปนเลขที่หนังสือเวียนโดยเฉพาะ
เริ่มตั้งแตเลข ๑ เรียงเปนลําดับไปจนถึงส้ินปปฏิทิน หรือใชเลขท่ีของหนังสือท่ัวไปตามแบบหนังสือ
ภายนอกอยา งหน่ึงอยา งใด

๘ ขอ ๒๙ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดยขอ ๗ แหง ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรี วาดว ยงานสารบรรณ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ
ใหใชความทีพ่ ิมพไวแทน

๑๙

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๔ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

เมอื่ ผรู บั ไดร บั หนงั สอื เวยี นแลว เหน็ วา เรอื่ งนน้ั จะตอ งใหห นว ยงานหรอื บคุ คลในบงั คบั บญั ชา
ในระดบั ตา งๆ ไดร บั ทราบดว ย กใ็ หม หี นา ทจี่ ดั ทาํ สาํ เนาหรอื จดั สง ใหห นว ยงานหรอื บคุ คลเหลา นน้ั โดยเรว็

ขอ ๓๓ สรรพนามทใี่ ชใ นหนงั สอื ใหใ ชต ามฐานะแหง ความสมั พนั ธร ะหวา งเจา ของหนงั สอื
และผรู ับหนังสอื ตามภาคผนวก ๒

ขอ ๓๔ หนงั สอื ภาษาตางประเทศ ใหใชก ระดาษตราครฑุ
หนงั สอื ทีเ่ ปนภาษาอังกฤษ ใหท ําตามแบบท่ีกําหนดไวใ นภาคผนวก ๔
สาํ หรับหนังสอื ทเ่ี ปนภาษาอน่ื ๆ ซึ่งมใิ ชภาษาอังกฤษ ใหเ ปน ไปตามประเพณีนยิ ม

ËÁÇ´ ò
¡ÒÃÃѺáÅÐʧ‹ ˹§Ñ Ê×Í

ʋǹ·Õè ñ
¡ÒÃÃѺ˹ѧÊ×Í

ขอ ๓๕๙ หนงั สอื รบั คือ หนงั สือที่ไดร ับเขามาจากภายนอก ใหเจา หนา ทีข่ องหนวยงาน
สารบรรณกลางปฏบิ ัตติ ามทกี่ าํ หนดไวในสวนน้ี

การรับหนงั สอื ท่มี ชี ัน้ ความลบั ในชัน้ ลบั หรือลบั มาก ดวยระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส
ใหผูใชงานหรือผูปฏิบัติงานที่ไดรับการแตงตั้งใหเขาถึงเอกสารลับแตละระดับ เปนผูรับผานระบบ
การรกั ษาความปลอดภัย โดยใหเปน ไปตามระเบยี บวาดว ยการรักษาความลบั ของทางราชการ

ขอ ๓๖ จดั ลําดบั ความสําคญั และความเรง ดว นของหนงั สอื เพอ่ื ดําเนนิ การกอ นหลงั และ
ใหผ เู ปด ซองตรวจเอกสาร หากไมถ กู ตอ งใหต ดิ ตอ สว นราชการเจา ของเรอื่ ง หรอื หนว ยงานทอ่ี อกหนงั สอื
เพ่อื ดําเนนิ การใหถ กู ตอง หรอื บันทึกขอ บกพรองไวเ ปน หลกั ฐาน แลวจงึ ดาํ เนนิ การเรอ่ื งน้ันตอไป

ขอ ๓๗ ประทบั ตรารบั หนงั สอื ตามแบบที่ ๑๒ ทา ยระเบยี บ ทม่ี มุ บนดา นขวาของหนงั สอื
โดยกรอกรายละเอยี ดดังน้ี

๓๗.๑ เลขรบั ใหลงเลขทรี่ ับตามเลขทร่ี บั ในทะเบียน
๓๗.๒ วนั ท่ี ใหล งวันเดอื นปท รี่ บั หนงั สอื
๓๗.๓ เวลา ใหล งเวลาทีร่ ับหนังสือ

๙ ขอ ๓๕ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดยขอ ๘ แหงระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดว ยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ
ใหใชความท่พี ิมพไ วแ ทน

๒๐

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๕ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ ๓๘ ลงทะเบียนรับหนังสือในทะเบียนหนังสือรับตามแบบท่ี ๑๓ ทายระเบียบ
โดยกรอกรายละเอยี ดดังน้ี

๓๘.๑ ทะเบียนหนังสือรบั วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวนั เดือนปที่ลงทะเบยี น
๓๘.๒ เลขทะเบยี นรบั ใหล งเลขลําดบั ของทะเบยี นหนงั สอื รบั เรยี งลาํ ดบั ตดิ ตอ
กนั ไปตลอดปปฏิทนิ เลขทะเบยี นของหนงั สือรบั จะตอ งตรงกบั เลขทีใ่ นตรารับหนังสือ
๓๘.๓ ท่ี ใหลงเลขที่ของหนงั สือท่ีรบั เขา มา
๓๘.๔ ลงวนั ที่ ใหลงวนั เดือนป ของหนงั สือท่รี บั เขา มา
๓๘.๕ จาก ใหลงตาํ แหนงเจาของหนังสอื หรือช่อื สว นราชการหรอื ชอ่ื บุคคลใน
กรณที ไ่ี มม ตี ําแหนง
๓๘.๖ ถึง ใหลงตาํ แหนงของผูท่ีหนังสือนั้นมีถึงหรือช่ือสวนราชการหรือช่ือ
บุคคลในกรณีท่ไี มมตี าํ แหนง
๓๘.๗ เร่ือง ใหลงชือ่ เร่ืองของหนงั สอื ฉบับนน้ั ในกรณีท่ไี มมีชื่อเรื่องใหล งสรุป
เรื่องยอ
๓๘.๘ การปฏบิ ัติ ใหบ ันทกึ การปฏิบัติเกีย่ วกับหนังสือฉบับนน้ั
๓๘.๙ หมายเหตุ ใหบนั ทึกขอความอืน่ ใด (ถา มี)
ขอ ๓๙ จัดแยกหนังสือที่ลงทะเบียนรับแลวสงใหสวนราชการที่เก่ียวของดาํ เนินการ
โดยใหลงชื่อหนวยงานท่ีรับหนังสือน้ันในชองการปฏิบัติ ถามีชื่อบุคคลหรือตําแหนงท่ีเกี่ยวของกับ
การรบั หนังสือ ใหลงชอ่ื หรือตําแหนง ไวดว ย
การสง หนงั สอื ทลี่ งทะเบยี นรบั แลว ไปใหส ว นราชการทเ่ี กยี่ วขอ งดาํ เนนิ การตามวรรคหนงึ่
จะสงโดยใชสมุดสงหนังสือตามขอ ๔๘ หรือใหผูรับหนังสือลงชื่อและวันเดือนปที่รับหนังสือไวเปน
หลักฐานในทะเบียนรับหนังสอื ก็ได
การดําเนนิ การตามขนั้ ตอนนจ้ี ะเสนอผา นผบู งั คบั บญั ชาผใู ดหรอื ไม ใหเ ปน ไปตามทห่ี วั หนา
สว นราชการกาํ หนด
ถาหนังสือรับนั้นจะตองดาํ เนินเร่ืองในหนวยงานนั้นเองจนถึงขั้นไดตอบหนังสือไปแลว
ใหลงทะเบยี นวาไดสงออกไปโดยหนังสอื ทเ่ี ทา ใด วนั เดือนปใด
ขอ ๔๐ การรบั หนงั สอื ภายในสว นราชการเดยี วกนั เมอื่ ผรู บั ไดร บั หนงั สอื จากหนว ยงาน
สารบรรณกลางแลว ใหป ฏิบัตติ ามวธิ กี ารทีก่ ลา วขา งตนโดยอนุโลม

๒๑

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๖ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

ʋǹ·Õè ò
¡ÒÃʧ‹ ˹§Ñ ÊÍ×

ขอ ๔๑๑๐ หนงั สอื สง คอื หนงั สอื ทส่ี ง ออกไปภายนอก ใหป ฏบิ ตั ติ ามทก่ี าํ หนดไวใ นสว นน้ี
การสงหนงั สือที่มชี น้ั ความลบั ในชั้นลับหรอื ลบั มาก ดว ยระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส
ใหผูใชงานหรือผูปฏิบัติงานท่ีไดรับการแตงตั้งใหเขาถึงเอกสารลับแตละระดับ เปนผูสงผานระบบ
การรักษาความปลอดภัย โดยใหเปน ไปตามระเบียบวา ดวยการรักษาความลบั ของทางราชการ
ขอ ๔๒ ใหเจาของเร่ืองตรวจความเรียบรอยของหนังสือ รวมท้ังสิ่งท่ีจะสงไปดวย
ใหค รบถว น แลว สง เรื่องใหเ จาหนาทีข่ องหนวยงานสารบรรณกลางเพ่อื สงออก
ขอ ๔๓ เมื่อเจา หนา ที่ของหนวยงานสารบรรณกลางไดร บั เรื่องแลว ใหป ฏบิ ัติดังนี้

๔๓.๑ ลงทะเบยี นหนังสือในทะเบยี นหนังสอื สง ตามแบบท่ี ๑๔ ทายระเบยี บ
โดยกรอกรายละเอียดดงั นี้

๔๓.๑.๑ ทะเบียนหนังสือสง วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวันเดือนปท่ี
ลงทะเบยี น

๔๓.๑.๒ เลขทะเบยี นสง ใหล งลาํ ดบั ของทะเบยี นหนงั สอื ลงเรยี งลาํ ดบั
ตดิ ตอ กนั ไปตลอดปปฏทิ ิน

๔๓.๑.๓ ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจาํ ของสวนราชการ
เจาของเร่ืองในหนงั สือที่จะสงออก ถา ไมม ที ดี่ ังกลา วชองน้ีจะวาง

๔๓.๑.๔ ลงวันท่ี ใหลงวันเดือนปทจ่ี ะสงหนงั สือนั้นออก
๔๓.๑.๕ จาก ใหลงตาํ แหนงเจาของหนังสือหรือช่ือสวนราชการหรือ
ชื่อบุคคลในกรณีท่ีไมมตี าํ แหนง
๔๓.๑.๖ ถงึ ใหล งตาํ แหนง ของผทู ห่ี นงั สอื นน้ั มถี งึ หรอื ชอื่ สว นราชการ
หรือชอื่ บุคคลในกรณีที่ไมม ีตําแหนง
๔๓.๑.๗ เรอ่ื ง ใหล งชอ่ื เรอื่ งของหนงั สอื ฉบบั นน้ั ในกรณที ไ่ี มม ชี อ่ื เรอ่ื ง
ใหลงสรุปเรื่องยอ
๔๓.๑.๘ การปฏบิ ตั ิ ใหบนั ทึกการปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั หนังสือฉบับนนั้
๔๓.๑.๙ หมายเหตุ ใหบนั ทกึ ขอ ความอื่นใด (ถามี)
๔๓.๒ ลงเลขทีแ่ ละวันเดอื นปในหนงั สือที่จะสง ออกท้ังในตนฉบับ และสาํ เนา
คฉู บบั ใหตรงกบั เลขทะเบยี นสง และวันเดือนปใ นทะเบยี นหนังสือสงตามขอ ๔๓.๑.๒ และขอ ๔๓.๑.๔

๑๐ ขอ ๔๑ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดยขอ ๙ แหงระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดว ยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ
ใหใชความท่ีพิมพไวแทน

๒๒

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๗ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ ๔๔ กอนบรรจุซองใหเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลางตรวจความเรียบรอย
ของหนังสือ ตลอดจนสิ่งทีส่ ง ไปดวยอกี ครงั้ หนึ่ง แลว ปด ผนึก

หนงั สอื ทไี่ มม คี วามสาํ คญั มากนกั อาจสง ไปโดยวธิ พี บั ยดึ ตดิ ดว ยแถบกาว กาว เยบ็ ดว ยลวด
หรอื วิธอี น่ื แทนการบรรจุซอง

ขอ ๔๕ การจา หนา ซองใหป ฏิบัติตามแบบที่ ๑๕ ทา ยระเบียบ
สําหรับหนงั สอื ที่ตอ งปฏบิ ตั ใิ หเ รว็ กวา ปกติ ใหป ฏิบัติตามขอ ๒๘
ในกรณีท่ไี มใ ชส มดุ สงหนงั สอื ใหม ใี บรบั หนังสอื ตามขอ ๔๙ แนบตดิ ซองไปดวย
ขอ ๔๖ การสง หนงั สอื โดยทางไปรษณยี  ใหถ อื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บหรอื วธิ กี ารทก่ี ารสอื่ สาร
แหง ประเทศไทยกําหนด
การสง หนงั สอื ซง่ึ มใิ ชเ ปนการสงโดยทางไปรษณีย เมอ่ื สง หนังสือใหผ รู บั แลว ผสู งตองให
ผรู บั ลงชอื่ รบั ในสมดุ สง หนงั สอื หรอื ใบรบั แลว แตก รณี ถา เปน ใบรบั ใหน ําใบรบั นน้ั มาผนกึ ตดิ ไวท ส่ี าํ เนา
คฉู บับ
ขอ ๔๗ หนงั สอื ทไี่ ดล งทะเบยี นสง ในกรณที เี่ ปน การตอบหนงั สอื ซง่ึ รบั เขา มาใหล งทะเบยี น
วา หนังสอื นน้ั ไดตอบตามหนงั สอื รบั ท่เี ทาใด วนั เดือนปใด
ขอ ๔๘ สมุดสงหนังสือใหจัดทาํ ตามแบบที่ ๑๖ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียด
ดังนี้

๔๘.๑ เลขทะเบียน ใหล งเลขทะเบียนหนงั สือสง
๔๘.๒ จาก ใหลงตาํ แหนงหรือช่ือสวนราชการหรือช่ือบุคคลที่เปนเจาของ
หนังสอื
๔๘.๓ ถึง ใหลงตาํ แหนงของผูท่ีหนังสือน้ันมีถึงหรือชื่อสวนราชการหรือช่ือ
บุคคลในกรณีที่ไมม ตี าํ แหนง
๔๘.๔ หนวยรบั ใหลงชือ่ สวนราชการทร่ี บั หนังสอื
๔๘.๕ ผูร บั ใหผรู ับหนงั สอื ลงชื่อทีส่ ามารถอา นออกได
๔๘.๖ วันและเวลา ใหผ ูรับหนงั สอื ลงวนั เดือนปแ ละเวลาท่ีรับหนงั สอื
๔๘.๗ หมายเหตุ ใหบ นั ทึกขอความอื่นใด (ถามี)
ขอ ๔๙ ใบรบั หนงั สอื ใหจ ดั ทําตามแบบท่ี ๑๗ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้
๔๙.๑ ที่ ใหลงเลขท่ีของหนังสอื ฉบับน้นั
๔๙.๒ ถึง ใหลงตําแหนงของผูท่ีหนังสือน้ันมีถึงหรือช่ือสวนราชการหรือช่ือ
บคุ คลในกรณีท่ีไมมตี าํ แหนง
๔๙.๓ เร่ือง ใหลงชอ่ื เรอื่ งของหนงั สือฉบบั นั้น ในกรณที ่ีไมม ชี ื่อเรอ่ื งใหล งสรุป
เรื่องยอ

๒๓

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๑๘ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

๔๙.๔ รับวนั ท่ี ใหผ ูรบั หนังสอื ลงวนั เดือนปทร่ี ับหนงั สือ
๔๙.๕ เวลา ใหผ รู บั หนงั สือลงเวลาทรี่ บั หนังสอื
๔๙.๖ ผรู ับ ใหผ รู ับหนงั สือลงชอื่ ท่ีสามารถอานออกได

ÊÇ‹ ¹·Õè ó
º·àº´ç àμÅ´ç
ขอ ๕๐ เพื่อใหการรับและสงหนังสือดาํ เนินไปโดยสะดวกเรียบรอยและรวดเร็ว
สวนราชการจะกําหนดหนาทข่ี องผปู ฏบิ ัตติ ลอดจนแนวทางปฏิบตั นิ ั้นไวดวยก็ได ทงั้ นี้ ใหม ีการสํารวจ
ทะเบียนหนังสือรับเปนประจาํ วาหนังสือตามทะเบียนรับน้ันไดมีการปฏิบัติไปแลวเพียงใดและใหมี
การติดตามเร่ืองดวย ในการน้ี สวนราชการใดเห็นสมควรจะจัดใหมีบัตรตรวจคนสําหรับหนังสือรับ
และหนังสอื สงเพ่ือความสะดวกในการคนหากไ็ ดตามความเหมาะสม
ขอ ๕๑ บตั รตรวจคน ใหจดั ทาํ ตามแบบท่ี ๑๘ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอียด ดังน้ี
๕๑.๑ เร่อื ง รหสั ใหลงเร่อื งและรหสั ตามหมวดหมูของหนงั สอื
๕๑.๒ เลขทะเบยี นรับ ใหลงเลขทะเบยี นตามที่ปรากฏในทะเบยี นหนงั สือรบั
๕๑.๓ ที่ ใหลงเลขทีข่ องหนังสือ
๕๑.๔ ลงวันท่ี ใหล งวนั เดือนปของหนงั สอื
๕๑.๕ รายการ ใหล งเรอื่ งยอ ของหนงั สอื เพอื่ ใหท ราบวา หนงั สอื นน้ั มาจากทใี่ ด
เรื่องอะไร
๕๑.๖ การปฏบิ ตั ิ ใหบ นั ทึกการปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับหนังสอื นน้ั เพ่อื ใหท ราบวาสง ไป
ที่ใด เมอ่ื ใด

ËÁÇ´ ó
¡ÒÃࡺç Ã¡Ñ ÉÒ Â×Á áÅÐทําÅÒÂ˹§Ñ Ê×Í

ÊÇ‹ ¹·Õè ñ
¡ÒÃࡺç ÃÑ¡ÉÒ
ขอ ๕๒ การเกบ็ หนงั สอื แบง ออกเปน การเกบ็ ระหวา งปฏบิ ตั ิ การเกบ็ เมอ่ื ปฏบิ ตั เิ สรจ็ แลว
และการเกบ็ ไวเพ่ือใชในการตรวจสอบ
ขอ ๕๓ การเกบ็ ระหวา งปฏบิ ตั ิ คอื การเกบ็ หนงั สอื ทปี่ ฏบิ ตั ยิ งั ไมเ สรจ็ ใหอ ยใู นความรบั ผดิ ชอบ
ของเจาของเรอ่ื งโดยใหก าํ หนดวธิ กี ารเก็บใหเหมาะสมตามขนั้ ตอนของการปฏิบตั ิงาน

๒๔

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๙ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ ๕๔ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลว คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว
และไมมอี ะไรท่ีจะตองปฏิบตั ิตอ ไปอีก ใหเ จา หนาทข่ี องเจาของเรือ่ งปฏบิ ตั ิดังนี้

๕๔.๑ จัดทาํ บัญชหี นังสอื สงเกบ็ ตามแบบท่ี ๑๙ ทายระเบยี บ อยา งนอ ยใหมี
ตนฉบับและสาํ เนาคูฉบับสําหรับเจาของเร่ืองและหนวยเก็บเก็บไวอยางละฉบับโดยกรอกรายละเอียด
ดงั น้ี

๔๕.๑.๑ ลาํ ดบั ที่ ใหล งเลขลําดบั เรอื่ งของหนังสือที่เก็บ
๔๕.๑.๒ ที่ ใหลงเลขทข่ี องหนงั สือแตละฉบับ
๔๕.๑.๓ ลงวนั ที่ ใหล งวนั เดอื นปของหนังสอื แตละฉบับ
๔๕.๑.๔ เรื่อง ใหลงชื่อเร่ืองของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีท่ีไมมี
ชื่อเรอ่ื งใหล งสรุปเร่อื งยอ
๔๕.๑.๕ อายุการเก็บหนังสือ ใหลงวันเดือนปที่จะเก็บถึง ในกรณีให
เก็บไวตลอดไป ใหลงคาํ วา หา มทาํ ลาย
๕๔.๑.๖ หมายเหตุ ใหบ ันทกึ ขอ ความอนื่ ใด (ถามี)
๕๔.๒ สง หนงั สอื และเรอ่ื งปฏบิ ตั ทิ งั้ ปวงทเ่ี กยี่ วขอ งกบั หนงั สอื นน้ั พรอ มทง้ั บญั ชี
หนงั สอื สง เก็บไปใหหนวยเกบ็ ทีส่ ว นราชการนนั้ ๆ กําหนด
ขอ ๕๕ เมอื่ ไดร บั เรอื่ งจากเจา ของเรอ่ื งตามขอ ๕๔ แลว ใหเ จา หนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบในการเกบ็
หนงั สอื ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
๕๕.๑ ประทับตรากาํ หนดเก็บหนังสือตามขอ ๗๓ ไวที่มุมลางดานขวาของ
กระดาษแผนแรกของหนังสอื ฉบับนั้น และลงลายมอื ชอื่ ยอ กํากบั ตรา
๕๕.๑.๑ หนงั สอื ทตี่ อ งเกบ็ ไวต ลอดไป ใหป ระทบั ตราคําวา หา มทาํ ลาย
ดว ยหมกึ สแี ดง
๕๕.๑.๒ หนังสือท่ีเก็บโดยมีกําหนดเวลา ใหประทับตราคําวา เก็บถึง
พ.ศ. .... ดวยหมึกสนี าํ้ เงิน และลงเลขของปพ ุทธศกั ราชท่ีใหเ ก็บถงึ
๕๕.๒ ลงทะเบียนหนังสือเก็บไวเปนหลักฐานตามแบบที่ ๒๐ ทายระเบียบ
โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้
๕๕.๒.๑ ลาํ ดบั ท่ี ใหลงเลขลาํ ดบั เร่อื งของหนงั สอื ทีเ่ กบ็
๕๕.๒.๒ วันเกบ็ ใหลงวนั เดอื นปท ่นี าํ หนังสือนัน้ เขาทะเบยี นเก็บ
๕๕.๒.๓ เลขทะเบยี นรบั ใหล งเลขทะเบยี นรบั ของหนังสอื แตล ะฉบับ
๕๕.๒.๔ ที่ ใหล งเลขท่ขี องหนังสือแตละฉบับ
๕๕.๒.๕ เร่ือง ใหลงช่ือเร่ืองของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีที่ไมมี
ช่อื เรื่องใหลงสรุปเร่ืองยอ

๒๕

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๒๐ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

๕๕.๒.๖ รหสั แฟม ใหล งหมายเลขลําดบั หมขู องการจดั แฟม เกบ็ หนงั สอื
๕๕.๒.๗ กาํ หนดเวลาเก็บ ใหลงระยะเวลาการเก็บตามท่ีกําหนดใน
ตรากาํ หนดเกบ็ หนงั สอื ตามขอ ๕๕.๑
๕๕.๒.๘ หมายเหตุ ใหบ ันทึกขอ ความอื่นใด (ถา ม)ี
ขอ ๕๖ การเกบ็ ไวเ พอ่ื ใชใ นการตรวจสอบ คอื การเกบ็ หนงั สอื ทปี่ ฏบิ ตั เิ สรจ็ เรยี บรอ ยแลว
แตจ ําเปน จะตอ งใชใ นการตรวจสอบเปน ประจํา ไมส ะดวกในการสง ไปเกบ็ ยงั หนว ยเกบ็ ของสว นราชการ
ตามขอ ๕๔ ใหเจาของเร่ืองเก็บเปนเอกเทศ โดยแตงต้ังเจาหนาท่ีข้ึนรับผิดชอบก็ได เม่ือหมด
ความจาํ เปนท่ีจะตองใชในการตรวจสอบแลว ใหจัดสงหนังสือน้ันไปยังหนวยเก็บของสวนราชการ
โดยใหถอื ปฏบิ ัติตามขอ ๕๔ และขอ ๕๕ โดยอนุโลม
ขอ ๕๗๑๑ อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติใหเก็บไวไมนอยกวา ๑๐ ป เวนแตหนังสือ
ดงั ตอ ไปนี้
๕๗.๑ หนงั สอื ทตี่ อ งสงวนเปน ความลบั ใหป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บวา ดว ย
การรักษาความปลอดภัยแหง ชาติ หรอื ระเบยี บวา ดว ยการรักษาความลับของทางราชการ
๕๗.๒ หนังสือท่ีเปนหลักฐานทางอรรถคดี สาํ นวนของศาลหรือของพนักงาน
สอบสวนหรือหนังสืออ่ืนใดท่ีไดมีกฎหมายหรือระเบียบแบบแผนกําหนดไวเปนพิเศษแลว การเก็บ
ใหเปนไปตามกฎหมายและระเบยี บแบบแผนวาดว ยการน้ัน
๕๗.๓ หนังสือท่ีมีคุณคาทางประวัติศาสตรทุกสาขาวิชา และมีคุณคาตอ
การศึกษา คนควา วจิ ัย ใหเก็บไวเ ปนหลักฐานสําคัญทางประวัติศาสตรของชาตติ ลอดไป หรือตามที่
สํานักหอจดหมายเหตุแหง ชาติ กรมศิลปากร กําหนด
๕๗.๔ หนงั สอื ทไ่ี ดป ฏบิ ตั งิ านเสรจ็ สน้ิ แลว และเปน คสู ําเนาทมี่ ตี น เรอ่ื งจะคน ได
จากทอ่ี ื่น ใหเ กบ็ ไวไ มน อยกวา ๕ ป
๕๗.๕ หนังสือที่เปนเรื่องธรรมดาสามัญซึ่งไมมีความสําคัญ และเปนเร่ืองที่
เกดิ ขึน้ เปนประจําเมื่อดําเนนิ การแลวเสรจ็ ใหเก็บไวไ มน อยกวา ๑ ป
๕๗.๖ หนังสือหรอื เอกสารเกย่ี วกับการเงิน การจายเงนิ หรอื การกอ หนีผ้ กู พนั
ทางการเงินท่ีไมเปนหลักฐานแหงการกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงับซ่ึงสิทธิในทางการเงิน
รวมถึงหนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับการรับเงิน การจายเงิน หรือการกอหนี้ผูกพันทางการเงินที่หมด
ความจาํ เปนในการใชเปนหลักฐานแหงการกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงับซ่ึงสิทธิในทาง
การเงินเพราะไดมีหนังสือหรือเอกสารอ่ืนท่ีสามารถนาํ มาใชอางอิงหรือทดแทนหนังสือหรือเอกสาร

๑๑ ขอ ๕๗ ความเดิมถูกยกเลกิ โดยขอ ๑๐ แหง ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘
และใหใ ชความที่พมิ พไวแ ทน

๒๖

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๑ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

ดงั กลา วแลว เมอ่ื สํานกั งานการตรวจเงนิ แผน ดนิ ตรวจสอบแลว ไมม ปี ญ หา และไมม คี วามจําเปน ตอ งใช
ประกอบการตรวจสอบหรือเพอื่ การใดๆ อีก ใหเ กบ็ ไวไมน อ ยกวา ๕ ป

หนังสือที่เกี่ยวกับการเงิน ซ่ึงเห็นวาไมมีความจําเปนตองเก็บไวถึง ๑๐ ป หรือ ๕ ป
แลวแตก รณีใหทาํ ความตกลงกบั กระทรวงการคลงั

ขอ ๕๘๑๒ ทุกปปฏิทินใหสวนราชการจัดสงหนังสือท่ีมีอายุครบ ๒๐ ป นับจากวันท่ีได
จดั ทําขน้ึ ทเี่ กบ็ ไว ณ สว นราชการใด พรอ มทง้ั บญั ชสี ง มอบหนงั สอื ครบ ๒๐ ป ใหส ํานกั หอจดหมายเหตุ
แหงชาติ กรมศลิ ปากร ภายในวันที่ ๓๑ มกราคม ของปถัดไป เวนแตหนงั สือดงั ตอไปน้ี

๕๘.๑ หนงั สอื ทต่ี อ งสงวนเปน ความลบั ใหป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บวา ดว ย
การรักษาความปลอดภยั แหง ชาติ หรือระเบยี บวาดวยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ

๕๘.๒ หนังสือท่ีมีกฎหมาย ขอบังคับ หรือระเบียบท่ีออกใชเปนการท่ัวไป
กําหนดไวเ ปน อยางอ่นื

๕๘.๓ หนงั สอื ทส่ี ว นราชการมคี วามจําเปน ตอ งเกบ็ ไวท สี่ ว นราชการนน้ั ใหจ ดั ทาํ
บญั ชหี นงั สอื ครบ ๒๐ ปท ขี่ อเกบ็ เอง สง มอบใหส ํานักหอจดหมายเหตแุ หงชาติ กรมศิลปากร

ขอ ๕๙๑๓ บัญชีสงมอบหนังสือครบ ๒๐ ป และบัญชีหนังสือครบ ๒๐ ปที่ขอเก็บเอง
อยา งนอ ยใหม ตี น ฉบบั และสาํ เนาคฉู บบั เพอ่ื ใหส ว นราชการผมู อบและสาํ นกั หอจดหมายเหตแุ หง ชาติ
กรมศิลปากร ผรู บั มอบยึดถอื ไวเปนหลกั ฐานฝายละฉบบั

๕๙.๑ บัญชีสง มอบหนังสอื ครบ ๒๐ ป ใหจัดทําตามแบบท่ี ๒๑ ทา ยระเบยี บ
โดยกรอกรายละเอยี ดดงั น้ี

๕๙.๑.๑ ชือ่ บญั ชสี งมอบหนงั สอื ครบ ๒๐ ป ประจาํ ป ใหลงตัวเลขของ
ปพุทธศกั ราชที่จดั ทาํ บัญชี

๕๙.๑.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงช่ือสว นราชการทจ่ี ัดทําบญั ชี
๕๙.๑.๓ วันที่ ใหล งวัน เดือน ปท จ่ี ัดทําบญั ชี
๕๙.๑.๔ แผน ที่ ใหลงเลขลาํ ดับของแผนบัญชี
๕๙.๑.๕ ลําดับที่ ใหลงเลขลาํ ดบั เรอื่ งของหนงั สอื ทีส่ ง มอบ
๕๙.๑.๖ รหสั แฟม ใหล งหมายเลขลําดบั หมขู องการจดั แฟม เกบ็ หนงั สอื
๕๙.๑.๗ ที่ ใหล งเลขท่ีของหนังสอื แตล ะฉบับ
๕๙.๑.๘ ลงวันท่ี ใหลงวนั เดือน ปของหนังสอื แตล ะฉบบั
๕๙.๑.๙ เลขทะเบียนรบั ใหล งเลขทะเบยี นรบั ของหนงั สือแตละฉบับ

๑๒ ขอ ๕๘ ความเดิมถูกยกเลกิ โดยขอ ๑๐ แหง ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘
และใหใชค วามท่พี มิ พไวแทน
๑๓ ขอ ๕๙ ความเดิมถกู ยกเลกิ โดยขอ ๑๐ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วา ดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘
และใหใ ชค วามทพ่ี ิมพไวแ ทน

๒๗

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๒ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

๕๙.๑.๑๐ เรื่อง ใหลงช่ือเรื่องของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีท่ีไมมี
ชอื่ เรอ่ื งใหลงสรปุ เรือ่ งยอ

๕๙.๑.๑๑ หมายเหตุ ใหบันทึกขอ ความอ่นื ใด (ถา ม)ี
๕๙.๑.๑๒ ลงชอ่ื ผมู อบ ใหผ มู อบลงลายมอื ชอ่ื และวงเลบ็ ชอื่ และนามสกลุ
ดว ยตัวบรรจง พรอมทง้ั ลงตําแหนงของผมู อบ
๕๙.๑.๑๓ ลงชอ่ื ผรู บั มอบ ใหผ รู บั มอบลงลายมอื ชอ่ื และวงเลบ็ ชอื่ และ
นามสกลุ ดว ยตวั บรรจงพรอมทงั้ ลงตําแหนง ของผูร ับมอบ
๕๙.๒ บัญชีหนังสือครบ ๒๐ ป ท่ีขอเก็บเอง ใหจัดทําตามแบบที่ ๒๒
ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอียดดังน้ี
๕๙.๒.๑ ชอื่ บญั ชหี นงั สอื ครบ ๒๐ ป ทขี่ อเกบ็ เองประจาํ ป ใหล งตวั เลข
ของปพทุ ธศักราชที่จดั ทาํ บญั ชี
๕๙.๒.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงช่ือสว นราชการทจ่ี ดั ทําบญั ชี
๕๙.๒.๓ วนั ท่ี ใหล งวนั เดอื น ปท ่ีจดั ทาํ บญั ชี
๕๙.๒.๔ แผน ที่ ใหล งเลขลําดบั ของแผนบัญชี
๕๙.๒.๕ ลําดับท่ี ใหล งเลขลาํ ดับเรื่องของหนงั สอื ที่ขอเก็บเอง
๕๙.๒.๖ รหสั แฟม ใหล งหมายเลขลําดบั หมขู องการจดั แฟม เกบ็ หนงั สอื
๕๙.๒.๗ ที่ ใหล งเลขท่ีของหนงั สือแตละฉบับ
๕๙.๒.๘ ลงวนั ท่ี ใหล งวนั เดอื น ปของหนงั สอื แตละฉบบั
๕๙.๒.๙ เร่ือง ใหลงชื่อเร่ืองของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีที่ไมมี
ชื่อเรอ่ื งใหลงสรปุ เรือ่ งยอ
๕๙.๒.๑๐ หมายเหตุ ใหบันทึกขอความอ่นื ใด (ถา ม)ี
ขอ ๖๐ หนงั สอื ทยี่ งั ไมถ งึ กาํ หนดทําลายซง่ึ สว นราชการเหน็ วา เปน หนงั สอื ทม่ี คี วามสําคญั
และประสงคจ ะฝากใหก องจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศิลปากร เกบ็ ไว ใหป ฏบิ ตั ดิ งั น้ี
๖๐.๑ จัดทาํ บัญชีฝากหนังสือตามแบบท่ี ๒๓ ทายระเบียบ อยางนอยไมมี
ตน ฉบับและสาํ เนาคูฉบบั โดยกรอกรายละเอียดดงั น้ี
๖๐.๑.๑ ช่ือบัญชีฝากหนังสือประจําป ใหลงตัวเลขของปพุทธศักราช
ท่จี ดั ทาํ บัญชี
๖๐.๑.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงชื่อสว นราชการท่ีจดั ทาํ บัญชี
๖๐.๑.๓ วนั ที่ ใหล งวนั เดอื น ปท ่จี ัดทําบญั ชี
๖๐.๑.๔ แผน ท่ี ใหลงเลขลาํ ดบั ของแผนบัญชี
๖๐.๑.๕ ลําดับท่ี ใหล งเลขลาํ ดับเรอื่ งของหนังสอื

๒๘

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๓ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

๖๐.๑.๖ รหสั แฟม ใหล งหมายเลขลําดบั หมขู องการจดั แฟม เกบ็ หนงั สอื
๖๐.๑.๗ ที่ ใหล งเลขที่ของหนงั สอื แตละฉบับ
๖๐.๑.๘ ลงวนั ที่ ใหล งวัน เดอื น ปของหนงั สือแตล ะฉบบั
๖๐.๑.๙ เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขทะเบียนรบั ของหนังสือแตละฉบับ
๖๐.๑.๑๐ เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีท่ีไมมี
ช่อื เรอื่ งใหล งสรุปเร่ืองยอ
๖๐.๑.๑๑ หมายเหตุ ใหบนั ทึกขอความอ่นื ใด (ถาม)ี
๖๐.๑.๑๒ ลงชอ่ื ผฝู าก ใหผ ฝู ากลงลายมอื ชอื่ และวงเลบ็ ชอื่ และนามสกลุ
ดวยตัวบรรจง พรอมทัง้ ลงตําแหนง ของผฝู าก
๖๐.๑.๑๓ ลงชื่อผูรับฝาก ใหผูรับฝากลงลายมือชื่อและวงเล็บช่ือและ
นามสกลุ ดวยตวั บรรจงพรอมทง้ั ลงตําแหนง ของผูรับฝาก
๖๐.๒ สง ตน ฉบบั และสาํ เนาคฉู บบั บญั ชฝี ากหนงั สอื พรอ มกบั หนงั สอื ทจี่ ะฝาก
ใหก องจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศลิ ปากร
๖๐.๓ เม่ือกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ตรวจหนังสือและรับฝาก
หนังสือแลว ใหล งนามในบญั ชฝี ากหนงั สอื แลว คืนตน ฉบบั ใหส วนราชการผูฝากเก็บไวเ ปน หลกั ฐาน
หนังสือที่ฝากเก็บไวท่ีกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ใหถือวาเปนหนังสือของ
สวนราชการผูฝาก หากสวนราชการผูฝากตองการใชหนังสือหรือขอคืน ใหทําไดโดยจัดทาํ หลักฐาน
ตอกันไวใ หช ดั แจง
เมื่อถงึ กาํ หนดการทําลายแลว ใหส ว นราชการผูฝากดําเนนิ การตามขอ ๖๖
ขอ ๖๑ การรกั ษาหนงั สอื ใหเ จา หนา ทร่ี ะมดั ระวงั รกั ษาหนงั สอื ใหอ ยใู นสภาพใชร าชการ
ไดทุกโอกาส หากชาํ รุดเสียหายตองรีบซอมใหใชราชการไดเหมือนเดิม หากสูญหายตองหาสําเนา
มาแทน ถาชาํ รุดเสียหายจนไมสามารถซอมแซมใหคงสภาพเดิมได ใหรายงานผูบังคับบัญชาทราบ
และใหหมายเหตไุ วในทะเบียนเกบ็ ดว ย
ถาหนังสือท่ีสูญหายเปนเอกสารสิทธิตามกฎหมายหรือหนังสือสาํ คัญที่เปนการแสดง
เอกสารสิทธใิ หดาํ เนินการแจง ความตอ พนักงานสอบสวน

ʋǹ·èÕ ò
¡ÒÃÂÁ×

ขอ ๖๒ การยืมหนงั สอื ทีส่ ง เก็บแลว ใหป ฏิบัติดังน้ี
๖๒.๑ ผูยืมจะตอ งแจง ใหทราบวาเร่อื งทย่ี ืมนั้นจะนําไปใชใ นราชการใด

๒๙

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๒๔ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

๖๒.๒ ผยู มื จะตอ งมอบหลกั ฐานการยมื ใหเ จา หนา ทเี่ กบ็ แลว ลงชอื่ รบั เรอื่ งทย่ี มื
ไวใ นบัตรยมื หนงั สือ และใหเ จา หนา ท่เี ก็บรวบรวมหลักฐานการยมื เรียงลาํ ดับวนั เดอื นปไวเ พอ่ื ตดิ ตาม
ทวงถาม สวนบัตรยืมหนังสือน้นั ใหเ ก็บไวแทนท่ีหนงั สือท่ถี ูกยมื ไป

๖๒.๓ การยืมหนังสือระหวางสวนราชการ ผูยืมและผูอนุญาตใหยืมตองเปน
หัวหนาสวนราชการระดบั กองขนึ้ ไป หรือผทู ่ไี ดรับมอบหมาย

๖๒.๔ การยมื หนงั สอื ภายในสว นราชการเดยี วกนั ผยู มื และผอู นญุ าตใหย มื ตอ งเปน
หวั หนาสวนราชการระดบั แผนกขึ้นไป หรือผทู ่ีไดรบั มอบหมาย

ขอ ๖๓ บตั รยมื หนงั สอื ใหจ ดั ทําตามแบบท่ี ๒๔ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้
๖๓.๑ รายการ ใหล งช่ือเรื่องหนงั สอื ที่ขอยมื ไปพรอมดว ยรหสั ของหนังสือน้ัน
๖๓.๒ ผยู ืม ใหล งชอ่ื บุคคล ตําแหนง หรือสว นราชการทยี่ มื หนงั สอื น้นั
๖๓.๓ ผูรับ ใหผูรับหนังสือนั้นลงลายมือชื่อ และวงเล็บชื่อกํากับพรอมดวย

ตําแหนงบรรทัดถัดไป
๖๓.๔ วันยืม ใหล งวนั เดือนปที่ยมื หนงั สอื นั้น
๖๓.๕ กาํ หนดสงคืน ใหล งวันเดอื นปท ี่จะสงหนงั สอื นั้นคนื
๖๓.๖ ผูส งคนื ใหผ สู งคืนลงลายมอื ช่อื
๖๓.๗ วนั สงคนื ใหล งวันเดอื นปทสี่ งหนงั สือคืน

ขอ ๖๔ การยืมหนังสือท่ีปฏิบัติยังไมเสร็จหรือหนังสือที่เก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ
ใหถ ือปฏิบัติตามขอ ๖๒ โดยอนโุ ลม

ขอ ๖๕ การใหบ คุ คลภายนอกยมื หนงั สอื จะกระทํามไิ ด เวน แตจ ะใหด หู รอื คดั ลอกหนงั สอื
ท้งั น้ี จะตอ งไดรับอนุญาตจากหัวหนาสว นราชการระดบั กองข้นึ ไป หรอื ผทู ไ่ี ดรบั มอบหมายกอ น

สǹ·èÕ ó
¡ÒÃทําÅÒÂ

ขอ ๖๖ ภายใน ๖๐ วนั หลงั จากวนั สนิ้ ปป ฏทิ นิ ใหเ จา หนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบในการเกบ็ หนงั สอื
สาํ รวจหนังสือที่ครบกาํ หนดอายุการเก็บในปน้ัน ไมวาจะเปนหนังสือท่ีเก็บไวเองหรือท่ีฝากเก็บไวท่ี
กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร แลวจัดทําบัญชีหนังสือขอทําลายเสนอหัวหนาสวนราชการ
ระดับกรมเพ่ือพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการทาํ ลายหนังสอื

บญั ชหี นงั สอื ขอทาํ ลายใหจ ดั ทําตามแบบท่ี ๒๕ ทา ยระเบยี บ อยา งนอ ยใหม ตี น ฉบบั และ
สาํ เนาคูฉบับโดยกรอกรายละเอียดดังน้ี

๓๐

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๕ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

๖๖.๑ ชอื่ บญั ชหี นงั สอื ขอทําลายประจาํ ป ใหล งตวั เลขของปพ ทุ ธศกั ราชทจี่ ดั ทาํ
บญั ชี

๖๖.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหล งชือ่ สว นราชการทจ่ี ัดทําบัญชี
๖๖.๓ วันที่ ใหล งวัน เดือน ปท ่ีจดั ทําบัญชี
๖๖.๔ แผน ท่ี ใหลงเลขลาํ ดับของแผนบญั ชี
๖๖.๕ ลําดบั ที่ ใหล งเลขลาํ ดับเรอื่ งของหนังสอื
๖๖.๖ รหัสแฟม ใหล งหมายเลขลําดับหมูข องการจดั แฟม เก็บหนงั สือ
๖๖.๗ ที่ ใหล งเลขที่ของหนงั สอื แตล ะฉบบั
๖๖.๘ ลงวันท่ี ใหล งวัน เดอื น ปข องหนงั สอื แตละฉบับ
๖๖.๙ เลขทะเบียนรับ ใหลงทะเบียนรับของหนงั สอื แตละฉบบั
๖๖.๑๐ เรอ่ื ง ใหลงช่อื เรื่องของหนังสือแตล ะฉบบั ในกรณีทไี่ มมชี ่อื เร่อื งใหลง
สรุปเร่อื งยอ
๖๖.๑๑ การพจิ ารณา ใหค ณะกรรมการทาํ ลายหนงั สือเปน ผกู รอก
๖๖.๑๒ หมายเหตุ ใหบนั ทกึ ขอ ความอืน่ ใด (ถาม)ี
ขอ ๖๗ ใหหัวหนาสวนราชการระดับกรมแตงตั้งคณะกรรมการทาํ ลายหนังสือ
ประกอบดว ย ประธานกรรมการ และกรรมการอีกอยา งนอยสองคน โดยปกตใิ หแ ตงตง้ั จากขาราชการ
ตั้งแตร ะดับ ๓ หรอื เทยี บเทาขนึ้ ไป
ถาประธานกรรมการไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีไดใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการ
คนหนึ่งทาํ หนา ทป่ี ระธาน
มติของคณะกรรมการใหถือเสียงขางมาก ถากรรมการผูใดไมเห็นดวยใหทาํ บันทึก
ความเหน็ แยง ไว
ขอ ๖๘ คณะกรรมการทาํ ลายหนังสือ มีหนา ทด่ี งั น้ี
๖๘.๑ พิจารณาหนงั สือที่จะขอทําลายตามบัญชหี นังสอื ขอทําลาย
๖๘.๒ ในกรณที ค่ี ณะกรรมการมคี วามเหน็ วา หนงั สอื ฉบบั ใดไมค วรทาํ ลายและ
ควรจะขยายเวลาการเก็บไว ใหลงความเห็นวาจะขยายเวลาการเก็บไวถึงเม่ือใด ในชองการพิจารณา
ตามขอ ๖๖.๑๑ ของบญั ชหี นงั สอื ขอทําลาย แลว ใหแ กไ ขอายกุ ารเกบ็ หนงั สอื ในตรากําหนดเกบ็ หนงั สอื
โดยใหประธานกรรมการทําลายหนังสือลงลายมอื ชอื่ กาํ กับการแกไ ข
๖๘.๓ ในกรณีท่ีคณะกรรมการมีความเห็นวาหนังสือเรื่องใดควรใหทาํ ลาย
ใหก รอกเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ลงในชองการพิจารณา ตามขอ ๖๖.๑๑ ของบัญชหี นังสือขอทาํ ลาย
๖๘.๔ เสนอรายงานผลการพิจารณาพรอมทั้งบันทึกความเห็นแยงของ
คณะกรรมการ (ถา มี) ตอหวั หนาสว นราชการระดับกรมเพ่อื พิจารณาสัง่ การตามขอ ๖๙

๓๑

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๖ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

๖๘.๕ ควบคุมการทาํ ลายหนังสือซ่ึงผูมีอาํ นาจอนุมัติใหทาํ ลายไดแลว
โดยการเผาหรอื วธิ อี น่ื ใดทจี่ ะไมใ หห นงั สอื นนั้ อา นเปน เรอ่ื งได และเมอ่ื ทําลายเรยี บรอ ยแลว ใหท าํ บนั ทกึ
ลงนามรว มกนั เสนอผมู ีอํานาจอนุมตั ทิ ราบ

ขอ ๖๙ เมื่อหัวหนา สวนราชการระดับกรมไดร ับรายงานตามขอ ๖๘.๔ แลว ใหพจิ ารณา
ส่งั การ ดังนี้

๖๙.๑ ถา เห็นวาหนงั สอื เรอื่ งใดยังไมควรทาํ ลาย ใหส่งั การใหเก็บหนงั สอื น้นั ไว
จนถึงเวลาการทําลายงวดตอไป

๖๙.๒ ถาเห็นวาหนังสือเรื่องใดควรทาํ ลาย ใหสงบัญชีหนังสือขอทาํ ลายให
กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร พจิ ารณากอ น เวน แตห นงั สือประเภทที่สว นราชการนั้นไดข อ
ทาํ ความตกลงกบั กรมศลิ ปากรแลว ไมต อ งสงไปใหพ ิจารณา

ขอ ๗๐ ใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร พิจารณารายการในบัญชีหนังสือ
ขอทาํ ลายแลว แจงใหส ว นราชการท่สี งบัญชีหนังสอื ขอทําลายทราบดังนี้

๗๐.๑ ถากองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร เห็นชอบดวย ใหแจงให
สว นราชการนนั้ ดําเนนิ การทําลายหนงั สอื ตอ ไปได หากกองจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร ไมแ จง
ใหท ราบอยา งใด ภายในกาํ หนดเวลา ๖๐ วนั นบั แตว นั ทสี่ ว นราชการนน้ั ไดส ง เรอื่ งใหก องจดหมายเหตุ
แหงชาติ กรมศิลปากร ใหถ ือวา กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศลิ ปากร ไดใ หความเห็นชอบแลว และ
ใหสวนราชการทําลายหนงั สือได

๗๐.๒ ถา กองจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร เหน็ วา หนงั สอื ฉบบั ใดควรจะ
ขยายเวลาการเกบ็ ไวอ ยา งใดหรอื ใหเ กบ็ ไวต ลอดไป ใหแ จง ใหส ว นราชการนน้ั ทราบ และใหส ว นราชการ
นน้ั ๆ ทําการแกไ ขตามทก่ี องจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร แจง มา หากหนงั สอื ใดกองจดหมายเหตุ
แหงชาติ กรมศิลปากร เห็นควรใหสงไปเก็บไวท่ีกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ก็ให
สวนราชการน้นั ๆ ปฏิบตั ติ าม

เพ่ือประโยชนในการน้ี กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร จะสงเจาหนาท่ีมารวม
ตรวจสอบหนังสือสว นราชการน้ันกไ็ ด

ËÁÇ´ ô
ÁÒμðҹμÃÒ áºº¾ÔÁ¾ áÅЫͧ

ขอ ๗๑ ตราครฑุ สาํ หรับแบบพมิ พใหใชตามแบบที่ ๒๖ ทายระเบยี บ มี ๒ ขนาด คอื
๗๑.๑ ขนาดตวั ครฑุ สงู ๓ เซนติเมตร
๗๑.๒ ขนาดตัวครฑุ สงู ๑.๕ เซนติเมตร

๓๒

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๒๗ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ ๗๒ ตราช่ือสว นราชการใหใชต ามแบบที่ ๒๗ ทา ยระเบยี บ มีลักษณะเปนรปู วงกลม
สองวงซอนกันเสน ผาศูนยก ลางวงนอก ๔.๕ เซนติเมตร วงใน ๓.๕ เซนติเมตร ลอมครุฑตามขอ ๗๑.๑
ระหวางวงนอกและวงในมีอักษรไทยชื่อกระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืน
ท่มี ีฐานะเปนกรมหรือจงั หวัดอยขู อบลางของตรา

สว นราชการใดทม่ี กี ารตดิ ตอ กบั ตา งประเทศ จะใหม ชี อื่ ภาษาตา งประเทศเพม่ิ ขนึ้ ดว ยกไ็ ด
โดยใหอักษรไทยอยขู อบบนและอักษรโรมันอยขู อบลา งของตรา

ขอ ๗๓ ตรากาํ หนดเก็บหนังสือ คือ ตราท่ใี ชประทับบนหนงั สือเก็บเพือ่ ใหท ราบกาํ หนด
ระยะเวลาการเกบ็ หนังสอื นั้นมคี าํ วา เก็บถึง พ.ศ. .... หรอื คาํ วา หา มทาํ ลาย ขนาดไมเ ล็กกวาตัวพิมพ
๒๔ พอยท

ขอ ๗๔ มาตรฐานกระดาษและซอง
๗๔.๑ มาตรฐานกระดาษโดยปกติใหใชกระดาษปอนดขาว นํา้ หนัก ๖๐ กรัม

ตอ ตารางเมตร มี ๓ ขนาด คือ
๗๔.๑.๑ ขนาดเอ ๔ หมายความวา ขนาด ๒๑๐ มิลลิเมตร x

๒๙๗ มิลลิเมตร
๗๔.๑.๒ ขนาดเอ ๕ หมายความวา ขนาด ๑๔๘ มิลลิเมตร x

๒๑๐ มลิ ลเิ มตร
๗๔.๑.๓ ขนาดเอ ๘ หมายความวา ขนาด ๕๒ มิลลิเมตร x

๗๔ มิลลิเมตร
๗๔.๒ มาตรฐานซอง โดยปกตใิ หใ ชก ระดาษสขี าวหรอื สนี ํา้ ตาล นํา้ หนกั ๘๐ กรมั

ตอ ตารางเมตร เวน แตซ องของขนาด ซี ๔ ใหใ ชก ระดาษนํา้ หนกั ๑๒๐ กรมั ตอ ตารางเมตร มี ๔ ขนาด คอื
๗๔.๒.๑ ขนาดซี ๔ หมายความวา ขนาด ๒๒๙ มิลลิเมตร x

๓๒๔ มลิ ลเิ มตร
๗๔.๒.๒ ขนาดซี ๕ หมายความวา ขนาด ๑๖๒ มลิ ลเิ มตร x ๒๒๙

มิลลเิ มตร
๗๔.๒.๓ ขนาดซี ๖ หมายความวา ขนาด ๑๑๕ มิลลิเมตร x

๑๖๒ มลิ ลิเมตร
๗๔.๒.๔ ขนาดดแี อล หมายความวา ขนาด ๑๑๐ x ๒๒๐ มิลลิเมตร

ขอ ๗๕ กระดาษตราครุฑใหใชกระดาษขนาดเอ ๔ พิมพครุฑตามขอ ๗๑.๑ ดวยหมึก
สีดาํ หรอื ทาํ เปน ครุฑดนุ ท่กี ่ึงกลางสว นบนของกระดาษตามแบบที่ ๒๘ ทายระเบยี บ

ขอ ๗๖ กระดาษบนั ทึกขอความ ใหใชก ระดาษขนาด เอ ๔ หรือ ขนาด เอ ๕ พมิ พค รฑุ
ตามขอ ๗๑.๒ ดวยหมึกสดี าํ ทม่ี ุมบนดา นซาย ตามแบบที่ ๒๙ ทายระเบยี บ

๓๓

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๒๘ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

ขอ ๗๗ ซองหนังสอื ใหพมิ พค รฑุ ตามขอ ๗๑.๒ ดว ยหมึกสีดําทมี่ ุมบนดา นซายของซอง
๗๗.๑ ขนาดซี ๔ ใชส าํ หรบั บรรจหุ นงั สอื กระดาษตราครฑุ โดยไมต อ งพบั มชี นดิ

ธรรมดาและขยายขา ง
๗๗.๒ ขนาดซี ๕ ใชสาํ หรบั บรรจหุ นังสอื กระดาษตราครฑุ พับ ๒
๗๗.๓ ขนาดซี ๖ ใชส าํ หรับกระดาษตราครุฑพบั ๔
๗๗.๔ ขนาดดแี อล ใชส ําหรบั บรรจุหนงั สือกระดาษตราครุฑพับ ๓

สว นราชการใดมคี วามจําเปน ตอ งใชซ องสําหรบั สง ทางไปรษณยี อ ากาศโดยเฉพาะ อาจใช
ซองพิเศษสําหรบั สง ทางไปรษณยี อ ากาศและพมิ พต ราครฑุ ตามที่กลาวขา งตนไดโดยอนุโลม

ขอ ๗๘ ตรารับหนังสือ คือ ตราที่ใชประทับบนหนังสือ เพื่อลงเลขทะเบียนรับหนังสือ
ตามแบบที่ ๑๒ ทา ยระเบยี บ มลี ักษณะเปนรูปสเ่ี หลีย่ มผืนผา ขนาด ๒.๕ เซนติเมตร x ๕ เซนตเิ มตร
มชี ื่อสว นราชการอยตู อนบน

ขอ ๗๙ ทะเบียนหนังสือรับ ใชสําหรับลงรายการหนังสือท่ีไดรับเขาเปนประจาํ วัน
โดยเรยี งลําดับลงมาตามเวลาท่ไี ดรบั หนงั สือ มขี นาดเอ ๔ พิมพสองหนา มสี องชนดิ คือ ชนดิ เปนเลม
และชนดิ เปน แผนตามแบบท่ี ๑๓ ทายระเบยี บ

ขอ ๘๐ ทะเบียนหนังสือสง ใชสาํ หรับลงรายการหนังสือที่ไดสงออกเปนประจําวัน
โดยเรียงลําดบั ลงมาตามเวลาทไ่ี ดส ง หนงั สือ มขี นาดเอ ๔ พิมพสองหนา มีสองชนิด คือ ชนิดเปน เลม
และชนิดเปนแผนตามแบบที่ ๑๔ ทา ยระเบยี บ

ขอ ๘๑ สมุดสงหนังสือและใบรับหนังสือ ใชสําหรับลงรายการละเอียดเกี่ยวกับการสง
หนังสือ โดยใหผนู าํ สง ถอื กาํ กบั ไปกับหนงั สือเพื่อใหผูเซน็ รบั แลวรับกลบั คนื มา

๘๑.๑ สมุดสงหนังสือ เปนสมุดสาํ หรับใชลงรายการสงหนังสือ มีขนาดเอ ๕
พิมพสองหนา ตามแบบที่ ๑๖ ทา ยระเบยี บ

๘๑.๒ ใบรบั หนงั สอื ใชส าํ หรบั กาํ กบั ไปกบั หนงั สอื ทน่ี ําสง โดยใหผ รู บั เซน็ ชอ่ื รบั
แลวรบั กลบั คนื มา มขี นาดเอ ๘ พมิ พหนา เดียว ตามแบบที่ ๑๘ ทายระเบียบ

ขอ ๘๒ บัตรตรวจคน เปนบัตรกาํ กับหนังสือแตละรายการเพื่อใหทราบวาหนังสือนั้นๆ
ไดมีการดาํ เนินการตามลาํ ดับข้ันตอนอยางใด จนกระทั่งเสร็จสิ้น บัตรน้ีเก็บเรียงลาํ ดับกันเปนชุด
ในท่ีเก็บโดยมีกระดาษติดเปนบัตรดรรชนี ซ่ึงแบงออกเปนตอนๆ เพื่อสะดวกแกการตรวจคน
มขี นาดเอ ๕ พมิ พส องหนา ตามแบบท่ี ๑๘ ทายระเบยี บ

ขอ ๘๓ บัญชีหนังสือสงเก็บ ใชสําหรับลงรายการหนังสือท่ีจะสงเก็บ มีขนาดเอ ๔
พมิ พห นา เดียวตามแบบที่ ๑๙ ทา ยระเบยี บ

ขอ ๘๔ ทะเบียนหนังสือเก็บ เปนทะเบียนที่ใชลงรายการหนังสือเก็บ มีขนาดเอ ๔
พมิ พสองหนามสี องชนดิ คอื ชนิดเปน เลม และชนิดเปนแผน ตามแบบที่ ๒๐ ทา ยระเบียบ

๓๔

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๙ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

ขอ ๘๕ บัญชีสงมอบหนังสือครบ ๒๕ ป เปนบัญชีที่ใชลงรายการหนังสือที่มีอายุครบ
๒๕ ป สงมอบเก็บไวที่กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร มีลักษณะเปนแผนขนาดเอ ๔
พิมพส องหนา ตามแบบที่ ๒๑ ทายระเบยี บ

ขอ ๘๖ บัญชีหนังสือครบ ๒๕ ป ท่ีขอเก็บเอง เปนบัญชีท่ีใชลงรายการหนังสือ
ที่มีอายุครบ ๒๕ ป ซ่ึงสวนราชการน้ันมีความประสงคจะเก็บไวเอง มีลักษณะเปนแผนขนาดเอ ๔
พิมพส องหนา ตามแบบที่ ๒๒ ทายระเบยี บ

ขอ ๘๗ บัญชีฝากหนังสือ เปนบัญชีท่ีใชลงรายการหนังสือที่สวนราชการนาํ ฝากไวกับ
กองจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศิลปากร มลี ักษณะเปน แผน ขนาดเอ ๔ พมิ พสองหนา ตามแบบท่ี ๒๓
ทา ยระเบยี บ

ขอ ๘๘ บัตรยืมหนังสือ ใชสาํ หรับเปนหลักฐานแทนหนังสือท่ีใหยืมไป มีขนาดเอ ๔
พมิ พห นา เดยี ว ตามแบบที่ ๒๔ ทายระเบยี บ

ขอ ๘๙ บญั ชหี นงั สอื ขอทําลาย เปน บญั ชที ลี่ งรายการหนงั สอื ทคี่ รบกาํ หนดเวลาการเกบ็
มีลกั ษณะเปน แผน ขนาดเอ ๔ พิมพส องหนา ตามแบบที่ ๒๕ ทา ยระเบยี บ

º·à©¾ÒСÒÅ

ขอ ๙๐ แบบพมิ พ และซอง ซง่ึ มอี ยกู อ นวนั ทรี่ ะเบยี บนใ้ี ชบ งั คบั ใหใ ชไ ดต อ ไปจนกวา จะหมด

ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๖๑๔
พลเอก เปรม ติณสูลานนท
นายกรฐั มนตรี

๑๔ ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วา ดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๘
พันตํารวจโท ทักษณิ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี

๓๕

เลม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๓๒๕ ง หนา ๕ ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

ÃÐàºÂÕ ºสาํ นัก¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÕ

Ç‹Ò´ÇŒ §ҹÊÒúÃó (©ººÑ ·Õè ó)
¾.È. òõöð

โดยที่เปนการสมควรแกไขเพ่ิมเติมระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ
พ.ศ.๒๕๒๖ เพอ่ื ระบตุ าํ แหนง ประเภทตําแหนง และระดบั ตําแหนง ของขา ราชการพลเรอื น และพนกั งาน
สว นทอ งถนิ่ ใหส อดคลอ งกบั ตําแหนง ประเภทตําแหนง และระดบั ตาํ แหนง ของขา ราชการพลเรอื นหรอื
พนักงานสวนทองถิน่ นนั้ รวมทัง้ กาํ หนดใหพนกั งานราชการและเจา หนา ที่ของรฐั อ่นื มีหนา ทท่ี าํ สําเนา
หนงั สอื และรับรองสาํ เนาหนังสอื นน้ั ไดด ว ย

อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหง พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน ดนิ
พ.ศ.๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรโี ดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรจี งึ ออกระเบยี บไว ดังตอ ไปนี้

ขอ ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา “ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยงานสารบรรณ (ฉบบั ที่ ๓)
พ.ศ.๒๕๖๐”

ขอ ๒ ระเบยี บนใ้ี หใชบังคับต้งั แตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตน ไป
ขอ ๓ ใหย กเลกิ ความในวรรคสองของขอ ๓๑ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ย
งานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และใหใ ชค วามดังตอ ไปนีแ้ ทน
“สาํ เนาหนังสือตามวรรคหน่ึงใหมีคาํ รับรองวา สาํ เนาถูกตอง โดยใหขาราชการพลเรือน
หรือพนักงานสวนทองถิ่นประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภทท่ัวไป ระดับชํานาญงาน
ขน้ึ ไป หรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั อนื่ ทเ่ี ทยี บเทา หรอื พนกั งานราชการ ซงึ่ เปน เจา ของเรอื่ งทที่ าํ สําเนาหนงั สอื นนั้
ลงลายมอื ชอ่ื รบั รอง พรอ มทง้ั ลงชอ่ื ตวั บรรจง ตาํ แหนง และวนั เดอื น ปท ร่ี บั รอง ไวท ขี่ อบลา งของหนงั สอื ”
ขอ ๔ ใหย กเลกิ ความในวรรคหนง่ึ ของขอ ๖๗ แหง ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ย
งานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และใหใ ชความดังตอไปน้แี ทน
“ใหหัวหนาสวนราชการระดับกรมแตงต้ังคณะกรรมการทําลายหนังสือ ประกอบดวย
ประธานกรรมการและกรรมการอีกอยางนอยสองคน โดยปกติใหแตงตั้งจากขาราชการพลเรือนหรือ
พนักงานสวนทองถิ่นประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภททั่วไป ระดับชาํ นาญงาน ขึ้นไป
หรือเจาหนาทขี่ องรฐั อนื่ ท่เี ทียบเทา ”

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา
นายกรัฐมนตรี

๓๖

ʋǹÊûØ

การปฏบิ ตั งิ านหนงั สอื ตามระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖
และทีแ่ กไขเพ่มิ เตมิ ฉบบั ท่ี ๒ พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบบั ที่ ๓ พ.ศ.๒๕๖๐) ทาํ ใหง านเอกสารเกิดความเปน
ระเบียบ เปน ไปตามแนวทางและรูปแบบเดียวกัน ซ่ึงจะทาํ ใหการบริหารงานเอกสารเกดิ ประสิทธภิ าพ
และประสิทธผิ ล บรรลวุ ตั ถุประสงคข องทางราชการ

¡¨Ô ¡ÃÃÁá¹Ðนาํ

๑. ทําแบบประเมนิ ผลกอ นเรยี น
๒. ระดมความคิดรวมกันสรุปบทเรยี น

๓๗

Ẻ·ÒŒ ÂÃÐàºÕº
(Ẻ·èÕ ñ - òù)

๓๙

๔๐

๔๑

๔๒

๔๓

๔๔

๔๕

๔๖

๔๗


Click to View FlipBook Version