The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนระบบจัดการฐานข้อมูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchart klinkheaw, 2020-12-15 11:28:19

แผนการสอนระบบจัดการฐานข้อมูล

แผนการสอนระบบจัดการฐานข้อมูล

41

ผลทจ่ี ะเกิดขนึ้ กับนักศึกษาจากการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่บรู ณาการหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

1. นักศึกษาจะได้ฝกึ คดิ และฝกึ ปฏิบตั ติ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

เงอ่ื นไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม

ความรู้ท่ผี ู้เรยี นต้องมกี ่อนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ คุณธรรมของนกั เรียนในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

- ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษา ผู้เรียนมีการตรงต่อเวลา การอดทนอดกล้ัน ความ

ฐานข้อมลู สนใจใฝร่ ู้ ในการปฏบิ ัติงาน การบูรณาการกบั ค่านยิ มหลัก

ของคนไทย 12 ประการ

ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมภี ูมิคุม้ กนั ในตัวที่ดี

1. ผูเ้ รยี นเตรยี มเครือ่ งมืออุปกรณอ์ ย่าง 3. ผู้เรียนอธิบายภาษาฐานข้อมลู 5. ผู้เรยี นปฏิบัติงานดว้ ยความไม่ประมาท

เหมาะสมกับการทางานดว้ ยความ 6. ผู้เรียนใช้วาจาและกิริยาท่ีสุภาพต่อ

ปลอดภัย บคุ คลอน่ื

2.ผู้เรียนเลือกใช้อุปกรณท์ ่นี ามาทดสอบ

ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

2. ผเู้ รยี นจะไดเ้ รยี นรกู้ ารใชช้ วี ติ ท่ีสมดลุ และพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง 4 มิติตามหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

จุดมงุ่ หมาย สมดุลและพร้อมรบั การเปล่ียนแปลง

การเรยี นรู้ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสงั คม ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ด้านวัฒนธรรม

ดา้ นพทุ ธิ 1. ผู้เรยี นเตรียมเครอื่ งมอื 1. ผู้เรียนเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พสิ ยั (K) อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ เครื่องมอื อปุ กรณอ์ ย่าง ดว้ ยความไม่ประมาท ด้วยความไมป่ ระมาท

การทางานดว้ ยความ เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผู้เรยี นใช้วาจาและ

ปลอดภัย ทางานดว้ ยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผเู้ รยี นเลือกใช้อุปกรณท์ ่ี ปลอดภยั อนื่ บคุ คลอน่ื

นามาทดสอบได้อย่างถูกต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

3. ผ้เู รยี นอธิบายภาษา ด้วยความไมป่ ระมาท

ฐานข้อมลู 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อน่ื

วิทยาลัยการอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พัทลงุ

42

จดุ มงุ่ หมาย สมดลุ และพร้อมรับการเปล่ียนแปลง
การเรียนรู้
ดา้ นทักษะ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ดา้ นส่งิ แวดล้อม ด้านวัฒนธรรม
พสิ ัย (P) 1. ผู้เรยี นเตรียมเคร่ืองมือ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกบั 1. ผู้เรียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน ด้วยความไม่ประมาท
ด้านจติ การทางานด้วยความ 2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
พิสยั ปลอดภยั เครอื่ งมอื อุปกรณ์อยา่ ง ด้วยความไม่ประมาท กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ
(A) 2.ผู้เรยี นเลือกใช้อปุ กรณ์ที่ บุคคลอ่ืน
นามาทดสอบได้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผู้เรียนอธิบายภาษา 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ฐานข้อมูล ทางานดว้ ยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล ด้วยความไมป่ ระมาท
2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
1. ผูเ้ รยี นเตรยี มเคร่ืองมอื ปลอดภยั อน่ื กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ
อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ บุคคลอ่ืน
การทางานด้วยความ 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ปลอดภัย
2.ผเู้ รยี นเลอื กใชอ้ ปุ กรณท์ ่ี ด้วยความไม่ประมาท
นามาทดสอบกบั ไดอ้ ย่าง
ถูกต้อง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผ้เู รียนอธิบายภาษา
ฐานขอ้ มลู กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อ่นื

1. ผเู้ รยี นเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

เคร่อื งมืออุปกรณ์อย่าง ด้วยความไมป่ ระมาท

เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ

ทางานด้วยความ กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

ปลอดภยั อ่นื

2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

ดว้ ยความไมป่ ระมาท

3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อ่ืน

วทิ ยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพทั ลุง

แผนการเรียนรทู้ ่ี 8

หนว่ ยที่ 8 จานวน 8 ช่ัวโมง สปั ดาห์ที่ 13 - 14

ชื่อวิชา ระบบจดั การฐานข้อมลู รหสั 3204 - 2004

ชื่อหนว่ ย การแปลงแบบจาลอง E – R เป็นตาราง

1. สาระสาคญั

การแปลงแบบจาลอง E-R เป็นตารางเพื่อนาไปใช้ภาษาการนิยามฐานข้อมูลในการสร้างรีเลชัน
โดยใชภ้ าษาในระบบจัดการฐานขอ้ มลู โดยการแปลงเอนทิตใี นแบบจาลอง E-R ใหเ้ ปน็ รีเลชัน และแปลง
ประเภทของความสัมพันธ์ของเอนทิตีเป็นความสัมพันธ์ของรีเลชัน แล้วแปลงรายละเอียดของเอนทิตีให้
เป็นแอททริบิวต์ของรีเลชัน รวมถึงพิจารณาคีย์หลักและคีย์นอกของแต่ละรีเลชัน การแปลงแบบจาลอง
E-R เป็นตารางจึงเป็นการนาแนวคิดในการออกแบบฐานข้อมูลมาใช้เพื่อให้รายละเอียดของข้อมูลท่ีจะ
แปลงไปเปน็ ฐานขอ้ มูลรปู แบบต่าง ๆ ที่สอดคลอ้ งกับระบบจัดการฐานขอ้ มลู ที่เลือกใช้

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การแปลงแบบจาลอง E – R เป็นตาราง
2. แสดงพฤติกรรม ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ ความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพื่อใหร้ แู้ ละเขา้ ใจ ขั้นตอนการแปลงแบบจาลอง E-R เปน็ ตาราง
2. เพื่อให้รูแ้ ละเขา้ ใจแบบจาลอง E-R เปน็ ตารางโดยใชภ้ าษาเอสควิ แอล
จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. บอกขัน้ ตอนการแปลงแบบจาลอง E-R เป็นตารางได้
2. อธิบายขั้นตอนการแปลงแบบจาลอง E-R ได้
3. แปลงแบบจาลอง E-R เป็นตารางโดยใช้ภาษาเอสควิ แอลได้
4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และคุณลักษณะอัน

พงึ ประสงค์ท่ีสามารถสังเกตเห็นไดใ้ นดา้ นการตรงตอ่ เวลา การอดทนอดกล้ัน ความสนใจใฝร่ ู้

4. สาระการเรยี นรู้

1. การแปลงแบบจาลอง E-R เปน็ ตาราง
2. หลกั การแปลงแบบจาลอง E-R เปน็ ตารางโดยใช้ภาษาเอสควิ แอล
3. การแปลงแบบจาลอง E-R เปน็ ตารางโดยใช้ภาษาเอสควิ แอล

วิทยาลัยการอาชพี บางแก้ว จงั หวัดพัทลุง

44

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

สอนครง้ั ท่ี 13- 14 ชวั่ โมงที่ 49 – 56
ข้ันนาเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครูทบทวนเน้ือหา ความเป็นมาของภาษา SQL องค์ประกอบของภาษา SQL ภาษาสาหรับการ

นิยามขอ้ มูล ภาษาสาหรับการจัดการข้อมูล ภาษาสาหรบั การควบคมุ ข้อมลู
2. ครนู าเข้าสูบ่ ทเรียนโดยใช้ภาพตวั อย่างการแปลงแบบจาลอง E-R เป็นตาราง พร้อมยกตวั อยา่ ง

ประกอบ
ข้นั สอน
3. ครูอธิบายเรื่องหลกั การแปลงแบบจาลอง E-R เป็นตารางโดยใช้ภาษาเอสควิ แอล พรอ้ ม

ยกตัวอยา่ ง
4. ครูอธิบายการแปลงแบบจาลอง E-R เป็นตารางโดยใชภ้ าษาเอสควิ แอล พร้อมยกตัวอยา่ ง แลว้ ให้

นกั ศึกษาแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน สรา้ งแบบจาลอง E-R แลว้ ทาการแปลงแบบจาลอง E-R เปน็
ตารางโดยใช้ภาษา SQL จากฐานข้อมลู ต่อไปนี้
กลุ่มที่ 1 รา้ นขายเครื่องใชไ้ ฟฟ้า
กลุ่มที่ 2 รา้ นมนิ ิมาร์ท
กลุ่มท่ี 3 ร้านขายโทรศัพทม์ ือถือ
กลมุ่ ท่ี 4 รา้ นขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ พร้อมยกตัวอย่าง ส่งตวั แทนนาเสนอหนา้ ช้ันเรียน
ขนั้ สรุป
5. ครยู กตัวอยา่ งการแปลงแบบจาลอง E-R เป็นตารางโดยใช้ภาษาเอสควิ แอล ครูและนักศกึ ษาร่วมกนั
สรุป ตอบขอ้ สงสัย คน้ ควา้ เพิม่ เตมิ
6. แจกใบงานและควบคุมการทางาน
7. ประเมินผลการเรยี นของนักศึกษาในหนว่ ยที่ 8 จากแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 8
8. มอบหมายงานใหน้ ักศกึ ษาไปศกึ ษาเรื่อง ปัญหาและการควบคมุ การใชฐ้ านข้อมลู ในหน่วยที่ 9
9. ครูดแู ลการทาความสะอาดจดั เคร่อื งมือใหเ้ รยี บรอ้ ยและปดิ ห้องปฏิบตั งิ านเมือ่ ไมใ่ ช้
ครบู นั ทกึ ข้อมูลเกยี่ วกับ กิจกรรมการเรียนหลงั การสอน เพ่ือใชแ้ กไ้ ขปัญหาที่อาจเกิดข้ึนกับกลุ่มอน่ื
ต่อไปหรือความรู้ใหมท่ ี่เกิดขน้ึ
10. ครูผู้สอนเน้นย้าผู้เรียนตระหนักถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและค่านิยมหลักของคนไทย
12 ประการ ในสว่ นของการตรงตอ่ เวลา การอดทนอดกลั้น ความสนใจใฝ่รู้ของการปฏิบัตงิ าน

6. สื่อและแหล่งการเรยี นรู้

1. PowerPoint เร่ือง การแปลงแบบจาลอง E-R เป็นตาราง
2. หนังสือระบบจัดการฐานข้อมลู

วิทยาลยั การอาชีพบางแกว้ จงั หวดั พัทลุง

45

3. ใบความร้เู รื่องการแปลงแบบจาลอง E-R เปน็ ตาราง
4. แบบฝึกหดั เรอ่ื งการแปลงแบบจาลอง E-R เปน็ ตาราง
5. แบบทดสอบเรื่องการแปลงแบบจาลอง E-R เป็นตาราง

7. หลักฐานการเรยี นรู้

หลักฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝกึ หดั / ใบงาน
3. ผลการตอบคาถามท้ายกิจกรรม
หลักฐานการปฏบิ ตั ิงาน
1. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้และแบบประเมินพฤติกรรม
2. ใบงานท่ี 8 เร่ือง การแปลงแบบจาลอง E-R เปน็ ตาราง

8. การวดั ผลประเมินผล

วิธวี ัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบทา้ ยบท
2. ตรวจใบกจิ กรรม/ใบงาน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เครอ่ื งมือวดั ผล
1. แบบประเมนิ ผลการทาแบบทดสอบท้ายบท
2. แบบประเมนิ กจิ กรรม / แบบประเมนิ ใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
รว่ มกนั ประเมิน

เกณฑ์การประเมินผล

1. แบบประเมนิ ผลการทาแบบทดสอบท้ายบท เกณฑผ์ า่ น 60% ขึน้ ไป
2. แบบประเมินกจิ กรรม / แบบประเมนิ ใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ
ประเมินตามสภาพจริง

วทิ ยาลัยการอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พทั ลุง

46

9. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้

1 ขอ้ สรปุ หลังการจัดการเรียนรู้

2 ปญั หาท่พี บ

3 แนวทางแก้ปญั หา

วิทยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พัทลงุ

47

ผลท่จี ะเกดิ ขึ้นกับนกั ศกึ ษาจากการจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ีบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง

1. นกั ศึกษาจะไดฝ้ กึ คดิ และฝึกปฏบิ ัตติ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เงื่อนไขความรู้ เงอ่ื นไขคุณธรรม

ความรู้ทผ่ี เู้ รียนต้องมีก่อนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ คณุ ธรรมของนักเรยี นในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

- ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลง ผูเ้ รียนมีการตรงต่อเวลา การอดทนอดกลัน้ ความ

แบบจาลอง E-R เป็นตาราง สนใจใฝร่ ู้ ในการปฏบิ ตั งิ าน การบรู ณาการกับ ค่านิยมหลัก

ของคนไทย 12 ประการ

ความพอประมาณ ความมเี หตุผล ความมีภูมิคุ้มกนั ในตัวท่ดี ี
5. ผ้เู รยี นปฏิบัติงานดว้ ยความไมป่ ระมาท
1. ผู้เรียนเตรียมเคร่ืองมืออุปกรณ์อย่าง 3. ผเู้ รยี นอธิบายการแปลง 6. ผู้เรียนใช้วาจาและกิริยาท่ีสุภาพต่อ
บคุ คลอ่นื
เหมาะสมกบั การทางานด้วยความ แบบจาลอง E-R เป็นตาราง

ปลอดภยั

2.ผู้เรียนเลอื กใช้อปุ กรณท์ ี่นามาทดสอบ

ไดอ้ ย่างถกู ต้อง

2. ผเู้ รียนจะได้เรียนร้กู ารใช้ชีวติ ท่ีสมดลุ และพร้อมรับการเปล่ยี นแปลง 4 มติ ิตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพียง

จุดมุ่งหมาย สมดลุ และพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง

การเรียนรู้ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ด้านวฒั นธรรม

ด้านพุทธิ 1. ผูเ้ รยี นเตรียมเครอ่ื งมอื 1. ผูเ้ รยี นเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พสิ ยั (K) อปุ กรณ์อย่างเหมาะสมกบั เครื่องมืออปุ กรณอ์ ย่าง ด้วยความไม่ประมาท ดว้ ยความไมป่ ระมาท

การทางานด้วยความ เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผู้เรยี นใช้วาจาและ

ปลอดภยั ทางานดว้ ยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผเู้ รยี นเลอื กใชอ้ ปุ กรณท์ ่ี ปลอดภัย อนื่ บุคคลอื่น

นามาทดสอบได้อย่างถูกต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

3. ผูเ้ รียนอธบิ ายการแปลง ด้วยความไม่ประมาท

แบบจาลอง E-R เปน็ ตาราง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อ่นื

วิทยาลัยการอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพัทลงุ

48

จดุ มุ่งหมาย สมดุลและพร้อมรบั การเปลยี่ นแปลง

การเรยี นรู้ ด้านเศรษฐกจิ ด้านสังคม ดา้ นส่งิ แวดล้อม ด้านวัฒนธรรม

ดา้ นทักษะ 1. ผเู้ รยี นเตรยี มเคร่ืองมือ 1. ผ้เู รียนเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พิสยั (P) อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์อยา่ ง ด้วยความไม่ประมาท ด้วยความไม่ประมาท

การทางานด้วยความ เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ

ปลอดภัย ทางานด้วยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผู้เรยี นเลอื กใช้อุปกรณท์ ่ี ปลอดภัย อืน่ บุคคลอ่ืน

นามาทดสอบได้อยา่ งถูกต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

3. ผู้เรยี นอธบิ ายการแปลง ดว้ ยความไมป่ ระมาท

แบบจาลอง E-R เป็นตาราง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อืน่

ด้านจิต 1. ผู้เรียนเตรยี มเคร่อื งมือ 1. ผู้เรยี นเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พิสัย อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ เครื่องมืออปุ กรณอ์ ยา่ ง ด้วยความไมป่ ระมาท ด้วยความไมป่ ระมาท

(A) การทางานดว้ ยความ เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ

ปลอดภัย ทางานด้วยความ กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผ้เู รียนเลือกใช้อุปกรณ์ที่ ปลอดภัย อน่ื บุคคลอ่ืน

นามาทดสอบกบั ไดอ้ ย่าง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

ถกู ต้อง ด้วยความไม่ประมาท

3. ผู้เรยี นอธิบายการแปลง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

แบบจาลอง E-R เป็นตาราง กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อืน่

วิทยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพัทลงุ

แผนการเรยี นรู้ท่ี 9

หน่วยที่ 9 จานวน 8 ช่วั โมง สปั ดาหท์ ี่ 15 - 16

ชื่อวชิ า ระบบจดั การฐานขอ้ มลู รหสั 3204 - 2004

ช่อื หนว่ ย ปญั หาและการควบคุมการใชฐ้ านข้อมูล

1. สาระสาคัญ

การควบคุมความคงสภาพของข้อมูล เป็นการควบคุมให้ข้อมูลท่ีถูกเก็บอยู่ในฐานข้อมูลมีความ
ถูกต้องสอดคล้อง น่าเชื่อถือและไมม่ ีความขัดแย้งใด ๆ เกดิ ขน้ึ เมื่อมีการกระทาใด ๆ ของผใู้ ชก้ ับข้อมูลใน
ฐานข้อมูล หรือเม่ือเกดิ เหตกุ ารณ์ทไ่ี ม่คาดคิดขึน้ ทมี่ ีผลกระทบต่อความคงสภาพของขอ้ มูล

กฎที่ใชค้ วบคุมความคงสภาพของฐานขอ้ มูลจะประกอบด้วยสองกฎหลัก ไดแ้ ก่ กฎ ความคง
สภาพของเอนทิตี และกฎความคงสภาพของการอ้างอิง ซึ่งในการควบคุมความคงสภาพของฐานข้อมูลให้
เป็นไปตามกฎท้ังสองข้อนี้สามารถทาได้โดยใช้ภาษา DDL ของระบบจัดการฐานข้อมูล และเขียน
โปรแกรมประยุกต์ควบคุม การควบคุมตามกฎข้อที่สอง จะต้องเขียนด้วยโปรแกรมประยกุ ต์โดยการเขียน
คาส่ังในลกั ษณะของการจดั การรายการเปล่ยี นแปลง เพ่ือควบคมุ กลุม่ ของคาส่ัง การกระทาที่เกดิ ข้ึน
ในรายการเปลยี่ นแปลงหนึ่ง ๆ ให้สามารถทาจนเสร็จส้ินสมบูรณ์ทุกคาสั่ง แต่ถ้ามีคาสั่งการกระทาใดท่ีทา
ไม่เสร็จสิ้น ก็ต้องทาการยกเลิกการกระทากลุ่มคาสั่งเหล่านั้นในรายการเปล่ียนแปลงทั้งหมดโดยอาศัย
ข้อมลู ทีเ่ กบ็ อยู่ในแฟ้มลอกเพื่อช่วยในการกคู้ ืนขอ้ มลู เหล่านั้น

การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล เป็นการป้องกันข้อมูลในฐานข้อมูลจากผู้ที่ไม่มีสิทธิ์
เกยี่ วขอ้ งกบั ขอ้ มูลไมใ่ หส้ ามารถเขา้ มาใช้งานฐานข้อมูลได้ ซึง่ ควรทาท้ังฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟต์แวร์

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั ปญั หาและการควบคุมการใช้ฐานข้อมูล
2. แสดงพฤติกรรม มีความสนใจใฝร่ ู้ ความรับผดิ ชอบ ความซือ่ สตั ย์

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

จดุ ประสงค์ทั่วไป
1. เพือ่ ใหร้ แู้ ละเข้าใจ ความหมายของความคงสภาพของฐานข้อมลู และกฎท่ีใชค้ วบคุมความคง

สภาพของฐานข้อมลู ได้
2. เพอื่ ให้ร้แู ละเขา้ ใจความหมาย และคุณสมบตั ิของรายการเปลย่ี นแปลง
3. เพ่ือให้รู้และเขา้ ใจปญั หา และการแกป้ ัญหาการเข้าถงึ ข้อมูลในฐานขอ้ มลู พรอ้ มกนั
4. เพือ่ ให้รู้และเขา้ ใจความหมายความปลอดภยั ของฐานข้อมลู และการสารองข้อมูลและการกู้

คืนข้อมูล

วิทยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พทั ลงุ

50

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. บอกความหมายของความคงสภาพของฐานข้อมูลได้
2. บอกกฎท่ีใช้ควบคุมความคงสภาพของฐานข้อมูลได้
3. บอกความหมาย และคณุ สมบัตขิ องรายการเปลย่ี นแปลงได้
4. บอกปัญหา และการแก้ปญั หาการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ในฐานขอ้ มลู พร้อมกนั ได้
5. อธิบายการสารองขอ้ มลู และการกู้คนื ข้อมลู ได้
6. อธิบายความหมายความปลอดภัยของฐานข้อมูลได้
7. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และคุณลักษณะอัน

พงึ ประสงค์ทีส่ ามารถสังเกตเหน็ ไดใ้ นด้านความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความซ่อื สัตย์

4. สาระการเรียนรู้

1. ความคงสภาพของฐานขอ้ มลู
2. การควบคุมใหเ้ ป็นไปตามกฎความคงสภาพ
3. การจัดรายการเปลย่ี นแปลง
4. การควบคุมการใชง้ านฐานขอ้ มลู โดยผใู้ ชห้ ลายคน
5. การสารองข้อมูลและการกู้คนื ข้อมูล (Database Recovery)
6. การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล (Database Security)

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

สอนคร้งั ที่ 13- 14 ชว่ั โมงที่ 49 – 56
ขนั้ นาเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. ครูทบทวนเนื้อหา หลกั การแปลงแบบจาลอง E-R เป็นตารางโดยใชภ้ าษาเอสควิ แอล และหลักการ

แปลงแบบจาลอง E-R เปน็ ตารางโดยใช้ภาษา SQL
2. ครนู าเข้าสบู่ ทเรยี นโดยแสดงปญั หาทพ่ี บในการใช้ระบบฐานข้อมูล พร้อมยกตวั อยา่ ง
ขน้ั สอน
3. ครูอธิบายเรื่องความคงสภาพของฐานข้อมลู กฎความคงสภาพของข้อมูล การควบคุมใหเ้ ป็นไปตาม

กฎความคงสภาพ พรอ้ มยกตวั อยา่ ง
4. ครูอธบิ ายการจัดการรายการเปล่ยี น การควบคมุ การใชง้ านฐานข้อมูลโดยผู้ใชห้ ลายคน พร้อม

ยกตัวอย่าง
5. ครูอธิบายการสารองข้อมูลและการกู้คนื ข้อมูล และการรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล

วิทยาลยั การอาชพี บางแก้ว จงั หวดั พัทลงุ

51

ขน้ั สรปุ
6. ประเมินผลการเรียนของนักศกึ ษาในหนว่ ยที่ 9 จากแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 9
7. ครผู สู้ อนเนน้ ย้าผู้เรยี นตระหนกั ถึงหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12

ประการ ในส่วนของความสนใจใฝ่รู้ ความรบั ผดิ ชอบ ความซื่อสตั ย์ ของการปฏิบัติงาน

6. ส่อื และแหล่งการเรียนรู้

1. PowerPoint เรือ่ ง ปัญหาและการควบคุมการใช้ฐานข้อมลู
2. หนังสอื ระบบจดั การฐานข้อมูล
3. ใบความรู้เร่อื งปัญหาและการควบคมุ การใชฐ้ านข้อมูล
4. แบบฝกึ หดั เร่ืองปัญหาและการควบคมุ การใชฐ้ านข้อมลู
5. แบบทดสอบเร่ืองปญั หาและการควบคุมการใชฐ้ านข้อมลู

7. หลกั ฐานการเรยี นรู้

หลักฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝกึ หัด
3. ผลการตอบคาถามท้ายกิจกรรม
หลักฐานการปฏิบัติงาน
1. แบบประเมินผลการเรยี นรแู้ ละแบบประเมินพฤติกรรม

8. การวดั ผลประเมนิ ผล

วธิ วี ัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบท้ายบท
2. ตรวจใบกิจกรรม
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เคร่อื งมือวดั ผล
1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบทา้ ยบท
2. แบบประเมินกจิ กรรม
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
รว่ มกันประเมิน

วทิ ยาลัยการอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพัทลงุ

52

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 60% ขึ้นไป
2. แบบประเมนิ กจิ กรรม
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ
ประเมินตามสภาพจริง

9. บันทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้

1 ข้อสรปุ หลังการจดั การเรียนรู้

2 ปัญหาทีพ่ บ

3 แนวทางแก้ปัญหา

วทิ ยาลัยการอาชพี บางแกว้ จงั หวดั พทั ลุง

53

ผลทจ่ี ะเกดิ ข้ึนกบั นกั ศกึ ษาจากการจดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ ่บี ูรณาการหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

1. นกั ศึกษาจะได้ฝกึ คิดและฝกึ ปฏิบัติตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

เงอ่ื นไขความรู้ เง่อื นไขคณุ ธรรม

ความรทู้ ผี่ ู้เรียนต้องมกี ่อนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ คุณธรรมของนกั เรียนในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

- ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับปัญหาและ ผ้เู รียนมีความสนใจใฝ่รู้ ความรบั ผิดชอบ ความซ่ือสตั ย์

การควบคมุ การใชฐ้ านข้อมลู ในการปฏิบตั ิงาน การบูรณาการกับ ค่านิยมหลักของคน

ไทย 12 ประการ

ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมภี ูมคิ ุ้มกนั ในตวั ท่ดี ี
5. ผเู้ รยี นปฏิบตั ิงานดว้ ยความไม่ประมาท
1. ผเู้ รยี นเตรียมเครื่องมืออปุ กรณ์อย่าง 3. ผู้เรยี นอธิบายปญั หาและการ 6. ผู้เรียนใช้วาจาและกิริยาท่ีสุภาพต่อ
บุคคลอ่นื
เหมาะสมกับการทางานด้วยความ ควบคมุ การใชฐ้ านข้อมูล

ปลอดภยั

2.ผเู้ รยี นเลือกใชอ้ ุปกรณท์ ่นี ามาทดสอบ

ได้อย่างถูกตอ้ ง

2. ผู้เรียนจะไดเ้ รียนร้กู ารใช้ชวี ติ ทส่ี มดลุ และพรอ้ มรบั การเปลี่ยนแปลง 4 มิติตามหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

จุดมุง่ หมาย สมดลุ และพร้อมรบั การเปลยี่ นแปลง

การเรียนรู้ ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสังคม ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ด้านวฒั นธรรม

ด้านพทุ ธิ 1. ผูเ้ รียนเตรยี มเครอ่ื งมือ 1. ผู้เรียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พสิ ยั (K) อุปกรณ์อย่างเหมาะสมกับ เคร่อื งมืออุปกรณอ์ ยา่ ง ดว้ ยความไม่ประมาท ดว้ ยความไมป่ ระมาท

การทางานด้วยความ เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผ้เู รียนใช้วาจาและ

ปลอดภยั ทางานด้วยความ กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผู้เรียนเลือกใช้อุปกรณ์ที่ ปลอดภยั อน่ื บุคคลอนื่

นามาทดสอบได้อย่างถูกต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

3. ผ้เู รยี นอธบิ ายปญั หาและ ดว้ ยความไมป่ ระมาท

การควบคุมการใช้ฐานข้อมูล 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อ่ืน

วทิ ยาลัยการอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พทั ลุง

54

จดุ มงุ่ หมาย สมดุลและพร้อมรบั การเปลี่ยนแปลง
การเรียนรู้
ดา้ นทักษะ ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นสังคม ดา้ นส่งิ แวดล้อม ด้านวัฒนธรรม
พสิ ยั (P) 1. ผเู้ รยี นเตรียมเครื่องมือ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ 1. ผเู้ รียนเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน ด้วยความไม่ประมาท
ด้านจติ การทางานด้วยความ 2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
พสิ ยั ปลอดภยั เครอื่ งมืออปุ กรณ์อยา่ ง ด้วยความไม่ประมาท กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ
(A) 2.ผเู้ รยี นเลือกใชอ้ ปุ กรณ์ที่ บุคคลอ่ืน
นามาทดสอบได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผเู้ รยี นอธบิ ายปญั หาและ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
การควบคุมการใชฐ้ านข้อมลู ทางานดว้ ยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล ด้วยความไมป่ ระมาท
2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
1. ผู้เรียนเตรยี มเครื่องมอื ปลอดภัย อื่น กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ
อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกบั บุคคลอ่ืน
การทางานด้วยความ 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ปลอดภยั
2.ผเู้ รยี นเลอื กใชอ้ ปุ กรณท์ ี่ ด้วยความไม่ประมาท
นามาทดสอบกบั ได้อย่าง
ถูกต้อง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผเู้ รียนอธบิ ายปัญหาและ
การควบคมุ การใชฐ้ านข้อมูล กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อื่น

1. ผูเ้ รียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

เคร่อื งมอื อปุ กรณอ์ ย่าง ด้วยความไมป่ ระมาท

เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ

ทางานดว้ ยความ กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

ปลอดภยั อ่นื

2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

ด้วยความไมป่ ระมาท

3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อนื่

วทิ ยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพทั ลุง

แผนการเรียนรู้ที่ 10

หนว่ ยท่ี 10 จานวน 4 ช่ัวโมง สปั ดาหท์ ี่ 17

ชือ่ วชิ า ระบบจัดการฐานขอ้ มูล รหสั 3204 - 2004

ชอื่ หนว่ ย ระบบฐานข้อมลู แบบกระจาย

1. สาระสาคัญ

ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Database System) เป็นการกระจาย การ
จัดเก็บข้อมูลไว้ในหลาย ๆ สถานที่ ซึง่ สถานท่ีแต่ละแห่งจะมีเคร่อื งคอมพิวเตอร์ และฐานขอ้ มูลที่เป็นของ
ตนเอง เพื่อรองรับการใช้งานต่าง ๆ ของผู้ใช้แต่ละแห่ง รวมถึงการเชื่อมต่อระหว่างสถานท่ีต่าง ๆ ด้วย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) เพ่ือส่งถ่ายข้อมูล (Data Transmission) ไปมา
ระหว่างฐานข้อมูลแต่ละแห่ง ดังน้ันข้อมูลต่าง ๆ จะต้องถูกจัดเก็บในฐานข้อมูลที่เหมาะสม และต้องเป็น
ฐานข้อมูลที่ใช้งานง่าย ข้อดีของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย ได้แก่ ลดเวลาและค่าใช้จ่ายท่ีต้องเสียไป
ในการสื่อสารข้อมูลของระบบฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ เน่ืองจากข้อมูลถูกจัดเก็บในสถานที่ท่ีมีการใช้งาน
จริง ข้อมูลมีความปลอดภัยมากข้ึน และผู้ใช้ในแต่ละสาขาสามารถกาหนดขอบเขตให้กับโปรแกรมที่ใช้
งานกับฐานข้อมูลของสาขาน้ันได้ตามความต้องการ ข้อเสีย ได้แก่ การควบคุมความถูกต้อง และการ
ซ้าซ้อนของข้อมูลท่ีจัดเก็บในฐานข้อมูลในสาขาต่าง ๆ จะกระทาได้ยาก คาส่ังที่ใช้ในการเรียกใช้ข้อมูลจะ
ยุง่ ยากข้ึน มีค่าใช้จา่ ยเพ่มิ ข้ึน และเวลาท่ใี ชใ้ นการประมวลผลโปรแกรมมากข้ึน

2. สมรรถนะประจาหน่วย

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบฐานขอ้ มูลแบบกระจาย
2. แสดงพฤติกรรม ความรบั ผิดชอบ ความซ่ือสัตย์ ความคดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพอ่ื ให้รู้และเข้าใจ ความหมายของระบบฐานข้อมลู แบบกระจาย
2. เพื่อให้ร้แู ละเขา้ ใจองค์ประกอบในการเลอื กใช้ระบบฐานขอ้ มลู แบบกระจาย
3. เพอื่ ให้ร้แู ละเขา้ ใจผลดแี ละผลเสียของระบบฐานขอ้ มลู แบบกระจาย
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. อธบิ ายความหมายของระบบฐานขอ้ มลู แบบกระจายได้
2. บอกลักษณะของการมองผา่ นได้
3. บอกองค์ประกอบในการเลอื กใช้ระบบฐานขอ้ มูลแบบกระจายได้
4. บอกผลดีและผลเสยี ของระบบฐานข้อมลู แบบกระจายได้

วทิ ยาลยั การอาชพี บางแก้ว จงั หวดั พทั ลงุ

56

5. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ท่ีสามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความรับผิดชอบ ความซ่ือสัตย์ ความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์

4. สาระการเรียนรู้

1. ความหมายของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย
2. การมองผา่ น
3. องคป์ ระกอบในการเลือกใช้ระบบฐานข้อมลู แบบกระจาย
4. ผลดแี ละผลเสยี ของระบบฐานขอ้ มลู แบบกระจาย

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

สอนครง้ั ท่ี 17 ชั่วโมงท่ี 65 - 68
ขั้นนาเข้าส่บู ทเรยี น
1. ครูทบทวนเนื้อหา ความคงสภาพของฐานข้อมูล กฎความคงสภาพของข้อมลู การควบคุมให้

เปน็ ไปตามกฎความคงสภาพ การจดั การรายการเปลี่ยน การควบคุมการใช้งานฐานข้อมูลโดยผู้ใช้
หลายคน และการสารองข้อมูลและกาก้คู ืนข้อมูล และการรักษาความปลอดภยั ของฐานข้อมูล
2. ครูนาเข้าสบู่ ทเรยี นโดยแสดงตวั อยา่ งระบบฐานขอ้ มลู แบบกระจาย
ขน้ั สอน
3. ครูอธบิ ายเร่ืองความหมายของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย การมองผา่ น องค์ประกอบในการ
เลอื กใช้ระบบฐานข้อมลู แบบกระจาย พร้อมยกตวั อย่าง
4. ครูอธิบายผลดีและผลเสียของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย พร้อมยกตวั อย่าง
ขน้ั สรุป
5. ประเมนิ ผลการเรยี นของ นักศึกษาในหนว่ ยท่ี 10 จากแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 10
6. มอบหมายงานใหน้ กั ศกึ ษาไปศึกษาเรอื่ ง การประยุกต์ใช้โปรแกรมฐานขอ้ มูล ในหน่วยท่ี 11
7. ครดู ูแลการทาความสะอาดจดั เครือ่ งมือใหเ้ รียบร้อยและปดิ ห้องปฏบิ ัตงิ านเมอ่ื ไมใ่ ช้
ครบู นั ทกึ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั กจิ กรรมการเรียนหลงั การสอน เพื่อใชแ้ ก้ไขปัญหาท่ีอาจเกิดขึ้นกับกลุม่ อ่ืน ๆ
ตอ่ ไปหรือความรู้ใหมท่ ่ีเกิดขึน้
8. ครูผู้สอนเน้นย้าผู้เรียนตระหนักถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและค่านิยมหลักของคนไทย
12 ประการ ในส่วนของความรบั ผดิ ชอบ ความซือ่ สตั ย์ ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ของการปฏิบัตงิ าน

6. สื่อและแหล่งการเรยี นรู้

1. PowerPoint เรือ่ ง ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย
2. หนังสอื ระบบจดั การฐานข้อมูล

วิทยาลัยการอาชพี บางแกว้ จงั หวดั พัทลุง

57

3. ใบความรเู้ รอื่ งระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย
4. แบบฝึกหัดเร่อื งระบบฐานขอ้ มลู แบบกระจาย
5. แบบทดสอบเร่ืองระบบฐานข้อมลู แบบกระจาย

7. หลักฐานการเรยี นรู้

หลักฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝกึ หดั
3. ผลการตอบคาถามท้ายกจิ กรรม
หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงาน
1. แบบประเมนิ ผลการเรียนรูแ้ ละแบบประเมินพฤติกรรม

8. การวัดผลประเมนิ ผล

วิธวี ัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบทา้ ยบท
2. ตรวจใบกจิ กรรม
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เคร่ืองมอื วดั ผล
1. แบบประเมนิ ผลการทาแบบทดสอบท้ายบท
2. แบบประเมนิ กิจกรรม
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
ร่วมกันประเมนิ

เกณฑ์การประเมินผล

1. แบบประเมนิ ผลการทาแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 60% ขนึ้ ไป
2. แบบประเมินกจิ กรรม
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กบั การ
ประเมนิ ตามสภาพจริง

วทิ ยาลัยการอาชพี บางแก้ว จงั หวัดพัทลงุ

58

9. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้

1 ขอ้ สรปุ หลังการจัดการเรียนรู้

2 ปญั หาท่พี บ

3 แนวทางแก้ปญั หา

วิทยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พัทลงุ

59

ผลท่ีจะเกดิ ขึน้ กบั นกั ศกึ ษาจากการจดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ ี่บูรณาการหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง

1. นกั ศึกษาจะได้ฝกึ คดิ และฝึกปฏบิ ตั ติ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เงอ่ื นไขความรู้ เงื่อนไขคณุ ธรรม

ความรทู้ ่ีผู้เรียนตอ้ งมกี ่อนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ คุณธรรมของนกั เรียนในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

- ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบ ผู้เรยี นมีความรบั ผิดชอบ ความซื่อสัตย์ ความคดิ รเิ ริม่

ฐานขอ้ มลู แบบกระจาย สรา้ งสรรค์ ในการปฏบิ ตั ิงาน การบูรณาการกบั ค่านิยม

หลกั ของคนไทย 12 ประการ

ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมภี ูมิคมุ้ กันในตัวท่ีดี

1. ผูเ้ รียนเตรยี มเครื่องมอื อปุ กรณอ์ ย่าง 3. ผเู้ รียนอธบิ ายระบบฐานข้อมูล 5. ผู้เรยี นปฏบิ ตั ิงานด้วยความไมป่ ระมาท

เหมาะสมกับการทางานดว้ ยความ แบบกระจาย 6. ผู้เรียนใช้วาจาและกิริยาท่ีสุภาพต่อ

ปลอดภยั บุคคลอื่น

2.ผเู้ รียนเลือกใช้อปุ กรณท์ น่ี ามาทดสอบ

ได้อยา่ งถูกตอ้ ง

2. ผูเ้ รียนจะไดเ้ รยี นรูก้ ารใชช้ ีวติ ที่สมดุลและพร้อมรบั การเปลย่ี นแปลง 4 มติ ติ ามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง

จดุ มงุ่ หมาย สมดลุ และพร้อมรับการเปลย่ี นแปลง

การเรยี นรู้ ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสังคม ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ดา้ นวัฒนธรรม

ดา้ นพุทธิ 1. ผูเ้ รยี นเตรยี มเครื่องมอื 1. ผู้เรยี นเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พิสยั (K) อปุ กรณ์อย่างเหมาะสมกับ เครื่องมืออปุ กรณอ์ ยา่ ง ด้วยความไมป่ ระมาท ด้วยความไม่ประมาท

การทางานด้วยความ เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผ้เู รียนใช้วาจาและ

ปลอดภัย ทางานดว้ ยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผ้เู รียนเลือกใช้อปุ กรณท์ ่ี ปลอดภยั อืน่ บุคคลอื่น

นามาทดสอบได้อย่างถกู ต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

3. ผู้เรยี นอธิบายระบบ ดว้ ยความไม่ประมาท

ฐานข้อมูลแบบกระจาย 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อ่นื

วทิ ยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวัดพทั ลุง

60

จุดมุ่งหมาย สมดุลและพร้อมรบั การเปล่ยี นแปลง
การเรยี นรู้
ดา้ นทกั ษะ ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ดา้ นส่งิ แวดล้อม ด้านวัฒนธรรม
พสิ ยั (P) 1. ผูเ้ รยี นเตรยี มเครื่องมือ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
อปุ กรณ์อย่างเหมาะสมกับ 1. ผู้เรียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน ดว้ ยความไม่ประมาท
ดา้ นจติ การทางานด้วยความ 2. ผูเ้ รียนใช้วาจาและ
พสิ ยั ปลอดภัย เครื่องมอื อุปกรณอ์ ย่าง ดว้ ยความไม่ประมาท กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ
(A) 2.ผเู้ รยี นเลอื กใช้อุปกรณ์ที่ บคุ คลอ่ืน
นามาทดสอบได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผเู้ รยี นอธิบายระบบ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ฐานข้อมูลแบบกระจาย ทางานด้วยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล ดว้ ยความไมป่ ระมาท
2. ผู้เรียนใช้วาจาและ
1. ผเู้ รยี นเตรียมเครอ่ื งมอื ปลอดภยั อน่ื กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ
อปุ กรณ์อยา่ งเหมาะสมกบั บุคคลอ่ืน
การทางานดว้ ยความ 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ปลอดภยั
2.ผู้เรียนเลือกใช้อุปกรณ์ท่ี ด้วยความไม่ประมาท
นามาทดสอบกบั ไดอ้ ย่าง
ถูกต้อง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผเู้ รยี นอธบิ ายระบบ
ฐานขอ้ มูลแบบกระจาย กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อ่นื

1. ผู้เรยี นเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

เคร่ืองมืออปุ กรณอ์ ยา่ ง ด้วยความไมป่ ระมาท

เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ

ทางานดว้ ยความ กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

ปลอดภัย อ่นื

2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

ดว้ ยความไมป่ ระมาท

3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อื่น

วิทยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวดั พัทลงุ


Click to View FlipBook Version