The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนระบบจัดการฐานข้อมูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchart klinkheaw, 2020-12-15 11:28:19

แผนการสอนระบบจัดการฐานข้อมูล

แผนการสอนระบบจัดการฐานข้อมูล

แผนการจัดการเรยี นรู้

รหัสวชิ า 3204-2004 วิชา ระบบจดั การฐานขอ้ มลู
หลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสงู
ประเภทวิชา พาณิชยกรรม

สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ สาขางาน คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ

จัดทาโดย
นายสชุ าติ กลิน่ เขยี ว

วิทยาลยั การอาชีพบางแกว้
อาเภอบางแกว้ จังหวัดพัทลงุ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา



คานา

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004 ระดับชั้น
ประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ สูง เล่มน้ไี ด้จัดทาข้นึ เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดการเรียนรโู้ ดยเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ สามารถสร้างองค์
ความรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง ท้ังเป็นรายบคุ คลและรายกลุ่ม สร้างสถานการณก์ ารเรียนรู้ทั้งในห้องเรียน
และนอกห้องเรยี น ทาให้นกั เรียนสามารถเชื่อมโยงความรใู้ นกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ื่น ๆ ไดใ้ นเชิง
บูรณาการด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปความรู้
ด้วยตนเอง ทาให้นักเรียนได้รับการพัฒนาท้ังด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ และด้าน
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีดี นาไปสู่การอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอย่างสันติสขุ

การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ วิวิชาระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
โดยได้นาเสนอแผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายชั่วโมงตามหน่วยการเรียนรู้ และในแต่ละหน่วย
การเรียนรู้ยังมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ท้ัง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านทักษะ/
กระบวนการ และด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ ม

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004 เล่มนี้
ได้ออกแบบการเรียนรู้ด้วยเทคนิคและวิธีการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อการจัดการเรียนรู้
สาหรบั นกั เรยี นให้บรรลุเปา้ หมายของหลกั สตู รต่อไป

ลงชือ่ ครผู ูส้ อน
สุชาติ กล่ินเขียว

วิทยาลัยการอาชีพบางแกว้ จงั หวดั พทั ลงุ

สารบญั ค

คานา หน้า
สารบญั ข
ลกั ษณะรายวชิ า ค
ตารางวิเคราะห์การเรยี นรู้ ง
ตารางกาหนดการสอน จ
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 ความรเู้ บื้องตน้ เกยี่ วกบั ฐานขอ้ มูล ฉ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 รปู แบบของฐานข้อมลู 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การออกแบบฐานข้อมูล 7
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 ฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์ 13
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 แบบจาลองความสมั พันธร์ ะหว่างขอ้ มูล 19
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การจัดระบบข้อมูลในรปู แบบบรรทัดฐาน 25
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7 ภาษาฐานข้อมูล 31
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การแปลงแบบจาลอง E – R เป็นตาราง 37
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 9 ปญั หาและการควบคมุ การใช้ฐานข้อมลู 43
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ระบบฐานข้อมลู แบบกระจาย 49
55

วิทยาลัยการอาชพี บางแก้ว จงั หวัดพทั ลุง



ลักษณะรายวิชา

รหสั วชิ า 3204 - 2004 ชือ่ วชิ า ระบบจัดการฐานขอ้ มลู
หนว่ ยกิต 3 หน่วยกิต เวลาเรยี น 4 ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์

_________________________________

จุดประสงคร์ ายวิชา

1. เขา้ ใจเกี่ยวกับการออกแบบฐานข้อมลู
2. มีทกั ษะในการใชโ้ ปรแกรมจดั การระบบฐานข้อมลู
3. มีคุณลักษณะนสิ ยั ท่ีพงึ ประสงค์ และเจตคติที่ดใี นวิชาชพี คอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรูเ้ กย่ี วกับหลักการระบบจดั การฐานข้อมลู
2. ออกแบบฐานข้อมลู เชงิ สมั พันธต์ ามหลักการของการจดั รูปแบบบรรทดั ฐาน
3. ใช้โปรแกรมสาเรจ็ รูปในการจัดการฐานขอ้ มูล

คาอธบิ ายรายวชิ า

ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเกยี่ วกบั หลักการของระบบฐานขอ้ มูล ขั้นตอนการพฒั นาระบบ
ฐานข้อมูลสถาปตั ยกรรมฐานขอ้ มลู แบบจาลองขอ้ มูล การวิเคราะห์และการออกแบบ
ฐานข้อมูล แบบจาลองเอนทติ ี้และความสัมพันธ์ รูปแบบบรรทัดฐาน การออกแบบฐานขอ้ มลู
เชงิ สมั พนั ธ์ ภาษามาตรฐานบนระบบฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพนั ธ์ การเกดิ ภาวะพร้อมกัน และการกู้
คนื การประยกุ ตใ์ ช้ฐานขอ้ มลู เพื่อพฒั นาระบบงาน กรณศี ึกษา

วทิ ยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวัดพัทลุง



ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู ร
รหัสวชิ า 3204-2004 ช่ือวชิ า ระบบจัดการฐานข้อมลู หน่วยกิต 3 หนว่ ยกติ

ระดบั ชั้น ปวส.2 สาขาวิชา / กล่มุ วิชา คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ

พฤตกิ รรม พทุ ธพิ ิสัย

ชอ่ื หน่วย ความรู้
ความเข้าใจ
การนาไปใ ้ช
วิเคราะห์/สังเคราะห์
ประเ ิมน ่คา
สร้างสรรค์
ทักษะพิสัย
ิจตพิสัย
ลา ัดบความสาคัญ
จานวนคาบ

1. ความรูเ้ บื้องต้นเกย่ี วกบั 1 2 1 1 - - 1 234

ฐานข้อมลู

2. รูปแบบของฐานข้อมลู 1 1 1 1 - - 1 224

3. การออกแบบฐานข้อมลู 1211 1 228

4. ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพันธ์ 1 1 1 1 - - 1 218

5. แบบจาลองความสมั พันธ์ 2 1 1 1 - - 1 2 1 8

ระหว่างขอ้ มูล

6. การจัดระบบข้อมูลในรูปแบบ 2 1 1 1 - - 1 2 1 8

บรรทดั ฐาน

7. ภาษาฐานขอ้ มลู 2 1 1 1 - - 1 218

8. การแปลงแบบจาลอง E – R 2 1 1 1 - - 1 2 1 8

เป็นตาราง

9. ปัญหาและการควบคุมการใช้ 1 1 1 2 1 1 1 2 8

ฐานข้อมูล

10. ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย 1 1 1 1 112 4

สอบปลายภาค 484211- - 4

สัดส่วน 70 10 20 72

รวม 100

วทิ ยาลัยการอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพทั ลุง



กาหนดการสอน

ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ / สมรรถนะประจาหนว่ ย / สัปดาห์ ชั่วโมงท่ี
รายการสอน เกณฑ์การปฏิบัติงาน ท่ี 1–4
1
1. ความรู้เบ้ืองต้นเกย่ี วกับฐานขอ้ มลู สมรรถนะ
1.1 ความหมายฐานข้อมลู
1.2 โครงสร้างข้อมูล 1. แสดงความร้เู บือ้ งตน้ เกย่ี วกบั ฐานข้อมูล
1.3 ความเป็นมาของฐานข้อมูล 2. แสดงพฤติกรรม ความสนใจใฝ่รู้ ความ
1.4 องค์ประกอบของฐานข้อมูล รับผดิ ชอบ ความซื่อสัตย์
1.5 ความสาคญั ของฐานข้อมูล เกณฑก์ ารปฏบิ ัตงิ าน
1. ปฏิบตั ิงานดว้ ยความถกู ต้องและรอบคอบ
2. มคี วามสนใจใฝร่ ู้ ความรบั ผดิ ชอบ ความ
ซอื่ สตั ย์
3. นอ้ มนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้

ในการปฏิบัติงาน

2. รูปแบบของฐานขอ้ มูล สมรรถนะ 2 5–8

2.1 ศพั ทพ์ ื้นฐาน 1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั รูปแบบของฐานข้อมลู
2.2 เคา้ ร่างของฐานข้อมลู 2. แสดงพฤติกรรม ความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์
2.3 ความสัมพันธร์ ะหว่างเอนทิตี ความรกั สามัคคี การมีวนิ ยั
2.4 ระดบั ของข้อมลู
2.5 รูปแบบของฐานขอ้ มูล เกณฑ์การปฏิบตั งิ าน

1. ปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความถูกต้องและรอบคอบ
2. มีความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ ความรักสามัคคี
การมีวนิ ัย
3. น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไป
ใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน

วทิ ยาลยั การอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพทั ลงุ



ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ / สมรรถนะประจาหน่วย / สัปดาห์ ชั่วโมงท่ี
รายการสอน เกณฑก์ ารปฏิบัติงาน ที่ 9 – 16

3. การออกแบบฐานข้อมูล สมรรถนะ 3–4 17 – 24
3.1 จดุ ประสงค์ของการออกแบบ
1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั การออกแบบฐานขอ้ มูล 5-6
ฐานขอ้ มูล 2. แสดงพฤติกรรม ความมีมนุษยสมั พนั ธ์
3.2 ระดับของการออกแบบฐานข้อมลู ความเช่ือมัน่ ในตนเอง การตรงต่อเวลา
3.3 ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมลู
เกณฑก์ ารปฏบิ ตั งิ าน
4. ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์
4.1 ฐานข้อมลู เชงิ สมั พันธ์ 1. ปฏิบัตงิ านดว้ ยความถูกต้องและรอบคอบ
4.2 โครงสรา้ งฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพันธ์ 2. มีความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความเชอื่ มนั่ ใน
4.3 ประเภทของคยี ์ ตนเอง การตรงตอ่ เวลา
3. น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้
ในการปฏิบตั งิ าน

สมรรถนะ

1. แสดงความรู้เกย่ี วกับฐานข้อมูลเชิงสมั พนั ธ์
2. แสดงพฤติกรรม การอดทนอดกล้นั ความ
สนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ
เกณฑ์การปฏบิ ตั ิงาน
1. ปฏบิ ตั ิงานด้วยความถกู ต้องและรอบคอบ
2. มกี ารอดทนอดกลน้ั ความสนใจใฝ่รู้ ความ
รบั ผดิ ชอบ
3. นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
ในการปฏิบตั งิ าน

วิทยาลยั การอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพทั ลุง



ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ / สมรรถนะประจาหนว่ ย / สปั ดาห์ ชั่วโมงท่ี
ท่ี
รายการสอน เกณฑก์ ารปฏบิ ตั ิงาน 25 – 32
7–8
5. แบบจาลองความสมั พันธร์ ะหวา่ งข้อมลู สมรรถนะ 33 - 40
9 – 10
5.1 องค์ประกอบของแบบจาลอง E-R 1. แสดงความรู้เก่ยี วกับแบบจาลอง

5.2 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งขอ้ มูล

5.3 ขนั้ ตอนการออกแบบฐานขอ้ มลู โดย 2. แสดงพฤตกิ รรม ความซื่อสัตย์ ความคดิ

ใชแ้ บบจาลอง E-R ริเริ่มสรา้ งสรรค์ ความรกั สามัคคี

5.4 การออกแบบและการใชฐ้ านข้อมลู เกณฑ์การปฏิบัตงิ าน

5.5 ปัญหาในการสรา้ งแบบจาลอง E-R 1. ปฏิบตั งิ านดว้ ยความถูกต้องและรอบคอบ

2. มีความซ่ือสัตย์ ความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์

ความรักสามัคคี

3. นอ้ มนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไป

ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน

6. การจัดระบบข้อมลู ในรปู แบบบรรทัด สมรรถนะ

ฐาน 1. แสดงความรู้เก่ียวกบั การจัดระบบข้อมลู ใน

6.1 การจดั ระบบขอ้ มูลในรปู แบบบรรทัด รูปแบบบรรทดั ฐาน

ฐาน 2. แสดงพฤติกรรม การมีวนิ ยั ความมมี นุษย

6.2 วัตถุประสงคข์ องการจัดระบบข้อมูล สัมพนั ธ์ ความเช่อื ม่นั ในตนเอง

ในรูปแบบบรรทดั ฐาน เกณฑ์การปฏิบตั ิงาน

6.3 กระบวนการปรบั บรรทัดฐาน 1. ปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความถูกต้องและรอบคอบ

6.4 รปู แบบบรรทดั ฐาน (Normal 2. มกี ารมวี ินยั ความมีมนุษยสัมพนั ธ์ ความ

Form) เชื่อม่นั ในตนเอง

3. นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้

ในการปฏบิ ัติงาน

วทิ ยาลยั การอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพัทลุง



ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ / สมรรถนะประจาหนว่ ย / สัปดาห์ ชวั่ โมงท่ี
ท่ี
รายการสอน เกณฑ์การปฏิบตั งิ าน 41 – 48
11 – 12
7. ภาษาฐานขอ้ มูล สมรรถนะ 49 – 56
13 – 14
7.1 ความเปน็ มาของภาษา SQL 1. แสดงความรู้เกยี่ วกับภาษาฐานขอ้ มลู 57 - 64
15-16
7.2 องคป์ ระกอบของภาษา SQL 2. แสดงพฤติกรรม การตรงต่อเวลา การ

7.3 ภาษาสาหรบั การนิยามข้อมูล อดทนอดกล้นั ความสนใจใฝร่ ู้

7.4 ภาษาสาหรับการจัดการข้อมูล เกณฑ์การปฏิบัตงิ าน

7.5 ภาษาสาหรับการควบคุมขอ้ มูล 1. ปฏบิ ัตงิ านด้วยความถกู ต้องและรอบคอบ

2. มกี ารตรงตอ่ เวลา การอดทนอดกลัน้

ความสนใจใฝ่รู้

3. นอ้ มนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไป

ใช้ในการปฏิบตั งิ าน

8. การแปลงแบบจาลอง E – R เปน็ สมรรถนะ

ตาราง 1. แสดงความรู้เก่ยี วกับการแปลงแบบจาลอง

8.1 การแปลงแบบจาลอง E-R เป็น E – R เป็ นตาราง
ตาราง
2. แสดงพฤติกรรม ความรับผิดชอบ ความ

8.2 หลักการแปลงแบบจาลอง E-R เป็น ซอ่ื สัตย์ ความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์

ตารางโดยใชภ้ าษาเอสควิ แอล เกณฑก์ ารปฏิบัติงาน

8.3 การแปลงแบบจาลอง E-R เป็น 1. ปฏิบัติงานดว้ ยความถูกต้องและรอบคอบ

ตารางโดยใช้ภาษาเอสควิ แอล 2. มคี วามรบั ผิดชอบ ความซอ่ื สตั ย์ ความคิด

รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์

3. น้อมนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงไป

ใช้ในการปฏิบัตงิ าน

9. ปัญหาและการควบคุมการใช้ฐานขอ้ มลู สมรรถนะ

9.1 ความคงสภาพของฐานข้อมูล 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับปญั หาและการควบคุม

9.2 การควบคมุ ให้เปน็ ไปตามกฎความคง การใช้ฐานขอ้ มูล

สภาพ 2. แสดงพฤติกรรม มคี วามสนใจใฝร่ ู้ ความ

9.3 การจัดรายการเปลยี่ นแปลง รับผิดชอบ ความซ่อื สัตย์

9.4 การควบคุมการใช้งานฐานข้อมลู โดย

ผใู้ ชห้ ลายคน

9.5 การสารองข้อมลู และการกู้คืนขอ้ มูล

(Database Recovery)

วิทยาลัยการอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพทั ลงุ



ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ / สมรรถนะประจาหนว่ ย / สัปดาห์ ชั่วโมงท่ี
ที่
รายการสอน เกณฑก์ ารปฏิบตั งิ าน 65 - 68
17
9.6 การรักษาความปลอดภยั ของฐานข้อมูล เกณฑก์ ารปฏิบัติงาน

(Database Security) 1. ปฏบิ ตั งิ านด้วยความถูกต้องและรอบคอบ

2. มคี วามรับผดิ ชอบ ความซ่อื สัตย์ ความคิด

ริเร่มิ สรา้ งสรรค์

3. นอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไป

ใช้ในการปฏิบตั ิงาน

10. ระบบฐานขอ้ มูลแบบกระจาย สมรรถนะ

10.1 ความหมายของระบบฐานข้อมูลแบบ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบฐานขอ้ มลู แบบ

กระจาย กระจาย

10.2 การมองผ่าน 2. แสดงพฤติกรรม ความรบั ผิดชอบ ความ

10.3 องค์ประกอบในการเลือกใช้ระบบ ซ่อื สัตย์ ความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์

ฐานขอ้ มลู แบบกระจาย เกณฑ์การปฏบิ ัตงิ าน

10.4 ผลดีและผลเสยี ของระบบฐานขอ้ มลู 1. ปฏิบตั งิ านด้วยความถูกต้องและรอบคอบ

แบบกระจาย 2. มคี วามรบั ผดิ ชอบ ความซอ่ื สัตย์ ความคิด

ริเริ่มสร้างสรรค์

3. นอ้ มนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไป

ใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน

วทิ ยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พทั ลงุ

แผนการเรยี นร้ทู ่ี 1

หน่วยที่ 1 จานวน 4 ชว่ั โมง สปั ดาหท์ ี่ 1

ช่ือวิชา ระบบจัดการฐานขอ้ มลู รหัส 3204 - 2004

ชื่อหน่วย ความรูเ้ บอื้ งตน้ เก่ียวกับฐานข้อมลู

1. สาระสาคัญ

ฐานขอ้ มลู เป็นการจัดเกบ็ ข้อมลู ทีม่ คี วามสัมพนั ธ์กนั ไวอ้ ยา่ งเป็นระบบในท่เี ดียวกัน ซึง่ ผู้ใช้
สามารถเรยี กใช้ขอ้ มลู รว่ มกนั ได้ ซงึ่ จะสามารถแก้ไขปญั หาในการจดั เกบ็ ข้อมลู แบบแฟ้มข้อมลู ได้ การ
จดั เก็บข้อมูลแบบฐานขอ้ มูลจะเปน็ การลดความซา้ ซ้อนของขอ้ มลู ความไม่ถูกต้องของข้อมลู และการ
สูญเสียความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มูล องคป์ ระกอบของฐานขอ้ มูล ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ขอ้ มลู ซ่ึง
ผใู้ ช้หลายคนสามารถเรยี กใชห้ รอื ดึงข้อมลู ชุดเดยี วกันได้ ณ เวลาเดยี วกนั หรอื ตา่ งเวลากัน บคุ ลากร
และขันตอนการปฏิบัติงานทงั ในสภาวะปกติ และในสภาวะท่ีระบบเกิดปัญหา การจดั เก็บข้อมูลในรปู แบบ
ฐานข้อมลู มคี วามส้าคัญ คือ ลดการเกบ็ ขอ้ มลู ที่ซ้าซ้อน ท้าให้ไม่เปลืองเนือท่ีในการเกบ็ ข้อมูล ขอ้ มลู จึง
มคี วามถูกต้องเช่ือถือได้ ผใู้ ช้สามารถเรยี กใช้ขอ้ มลู รว่ มกันได้

2. สมรรถนะประจาหน่วย

1. แสดงความรู้เบืองตน้ เก่ียวกบั ฐานขอ้ มูล
2. แสดงพฤติกรรม ความสนใจใฝร่ ู้ ความรบั ผิดชอบ ความซ่ือสตั ย์

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อใหร้ แู้ ละเขา้ ใจความหมายของข้อมูล ฐานขอ้ มูล และการจัดการฐานข้อมูล
2. เพื่อใหร้ ู้และเข้าใจโครงสรา้ งของข้อมลู ความเป็นมาของฐานข้อมลู องค์ประกอบ และหนา้ ที่

ของฐานข้อมูล หนา้ ท่ีของระบบจดั การฐานข้อมูล และ ความสา้ คัญของฐานข้อมูล
3. เพ่อื ใหร้ ้แู ละเขา้ ใจการออกแบบการจดั เกบ็ ข้อมูลในแฟม้ ข้อมลู
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. บอกความหมายของข้อมูล ฐานขอ้ มลู และการจัดการฐานข้อมูลได้
4. จา้ แนกขอ้ มลู ตามโครงสร้างของข้อมูลได้
5. บอกความเป็นมาของฐานขอ้ มูลได้
6. บอกองค์ประกอบ และหน้าท่ขี องฐานขอ้ มูลได้
7. บอกหน้าที่ของระบบจัดการฐานขอ้ มลู ได้
8. บอกความส้าคญั ของฐานขอ้ มลู ได้

วิทยาลัยการอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพทั ลงุ

2

9. สามารถออกแบบการจดั เกบ็ ขอ้ มูลในแฟ้มข้อมูลได้
10. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และคุณลักษณะอัน

พงึ ประสงค์ท่ีสามารถสงั เกตเหน็ ไดใ้ นดา้ นความสนใจใฝร่ ู้ ความรับผดิ ชอบ ความซอ่ื สตั ย์

4. สาระการเรยี นรู้

1.1 ความหมายฐานข้อมลู
1.2 โครงสรา้ งขอ้ มลู
1.3 ความเป็นมาของฐานข้อมูล
1.4 องคป์ ระกอบของฐานข้อมูล
1.5 ความส้าคญั ของฐานข้อมูล

5. กิจกรรมการเรียนรู้

สอนคร้ังท่ี 1 ชวั่ โมงที่ 1 – 4
ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรยี น
1. แนะน้าตัวครูผู้สอน ผู้เรียน ชื่อ วิชา รหัสวิชา จุดประสงค์ของรายวิชา ค้าอธิบายรายวิชา เกณฑ์
การประเมินผลทฤษฎี/ปฏิบตั ิ
2. ครนู ้าเข้าสู่บทเรียนโดยถามนักเรียนว่าปัจจบุ ันในชวี ิตประจ้าวันนักศึกษาใชข้ ้อมูลอะไรบ้าง และใช้
อย่างไร
ขนั้ สอน
1. ครูอธิบายเรื่องความส้าคัญของข้อมลู , ความหมายของข้อมูล ฐานข้อมูล, โครงสร้างข้อมูล
2. ครูยกตัวอย่างโครงสร้างข้อมูลโดยใช้ตัวอย่างแฟ้มทะเบียนประวัตินักศึกษา แล้วให้นศ.แบ่งกลมุ่ เปน็ 4

กลุ่ม บอก จ้าแนก และอธบิ ายเกย่ี วกบั โครงสร้างข้อมลู ของฐานข้อมูลดังต่อไปนี
กลุ่มที่ 1 รา้ นขายเครื่องใช้ไฟฟ้า
กลุ่มที่ 2 รา้ นมนิ ิมาร์ท
กลุ่มที่ 3 ร้านขายโทรศัพท์มือถือ
กลุ่มท่ี 4 ร้านขายอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์
ส่งตวั แทนน้าเสนอหน้าชันเรียน
3. ครูตรวจสอบความถูกต้อง เฉลย อธบิ ายเพ่ิมเติม ตอบขอ้ สงสยั
4. ครูอธิบายเรอื่ งความเป็นมาของฐานขอ้ มลู , องคป์ ระกอบของฐานขอ้ มูล, ความส้าคญั ของฐานข้อมลู

ข้ันสรุป
1. ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั สรุป ตอบขอ้ สงสัย ค้นควา้ เพ่ิมเตมิ
2. แจกใบงานและควบคมุ การท้างาน

วทิ ยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพัทลงุ

3

3. ประเมินผลการเรยี นของ นกั ศกึ ษาเรยี นในหนว่ ยท่ี 1 จากแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 1

4. มอบหมายงานให้นกั ศกึ ษาไปศึกษาเรอ่ื ง รูปแบบของฐานข้อมูลในหนว่ ยท่ี 2

5. ครดู ูแลการท้าความสะอาดจัดเคร่ืองมือใหเ้ รียบร้อยและปิดห้องปฏิบตั งิ านเมือ่ ไมใ่ ช้

6. ครูบันทึกข้อมูลเก่ียวกับกิจกรรมการเรียนหลังการสอน เพื่อใช้แก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึนกับกลุ่มอื่น

ๆ ตอ่ ไปหรอื ความร้ใู หม่

7. ครูผู้สอนเน้นย้าผู้เรียนตระหนักถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและค่านิยมหลักของคนไทย

12 ประการ ในสว่ นของความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความซอ่ื สตั ย์ ของการปฏบิ ตั งิ าน

6. สื่อและแหลง่ การเรียนรู้

1. PowerPoint ความรู้เบอื งต้นเก่ยี วกบั ฐานข้อมลู
2. หนงั สือระบบจัดการฐานข้อมลู
3. ใบความรู้เร่ืองความรเู้ บอื งตน้ เก่ยี วกับฐานขอ้ มูล
4. แบบฝกึ หดั เร่ืองความรูเ้ บอื งตน้ เก่ยี วกับฐานขอ้ มลู
5. แบบทดสอบเรอื่ งความรเู้ บอื งตน้ เกย่ี วกับฐานข้อมลู

7. หลกั ฐานการเรยี นรู้

หลักฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทา้ แบบฝึกหัด
3. ผลการตอบคา้ ถามท้ายกิจกรรม
หลกั ฐานการปฏิบตั ิงาน
1. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้และแบบประเมินพฤติกรรม

8. การวัดผลประเมนิ ผล

วธิ ีวดั ผล
1. ตรวจแบบทดสอบทา้ ยบท
2. ตรวจใบกจิ กรรม
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เคร่ืองมอื วัดผล
1. แบบประเมนิ ผลการทา้ แบบทดสอบท้ายบท
2. แบบประเมินกิจกรรม

วทิ ยาลัยการอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพทั ลงุ

4
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
ร่วมกนั ประเมิน

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

1. แบบประเมนิ ผลการทา้ แบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 60% ขนึ ไป
2. แบบประเมนิ กิจกรรม
3. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึนอยู่กับการ
ประเมินตามสภาพจรงิ

9. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้

1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้

2 ปัญหาทพ่ี บ

3 แนวทางแก้ปัญหา

วทิ ยาลัยการอาชพี บางแกว้ จงั หวดั พัทลงุ

5

ผลที่จะเกิดข้ึนกบั นักศกึ ษาจากการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่บี ูรณาการหลกั ปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

1. นักศึกษาจะไดฝ้ กึ คิดและฝึกปฏิบตั ติ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เงือ่ นไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม

ความรูท้ ีผ่ ูเ้ รียนต้องมกี ่อนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คุณธรรมของนักเรยี นในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

- ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความรู้ ผเู้ รยี นมีความสนใจใฝ่รู้ ความรบั ผิดชอบ ความซ่ือสัตย์

เบืองตน้ เกย่ี วกบั ฐานข้อมลู ในการปฏบิ ตั งิ าน การบูรณาการกับ คา่ นิยมหลักของคน

ไทย 12 ประการ

ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมภี ูมคิ ุ้มกนั ในตัวทด่ี ี

1. ผู้เรียนเตรยี มเครอ่ื งมอื อุปกรณ์อย่าง 3. ผู้เรียนอธบิ ายความรู้เบืองตน้ 5. ผู้เรยี นปฏิบตั ิงานดว้ ยความไมป่ ระมาท

เหมาะสมกบั การท้างานด้วยความ เก่ียวกบั ฐานข้อมูล 6. ผู้เรียนใช้วาจาและกิริยาท่ีสุภาพต่อ

ปลอดภยั บุคคลอื่น

2.ผู้เรยี นเลอื กใชอ้ ปุ กรณท์ ี่น้ามาทดสอบ

ได้อยา่ งถกู ต้อง

2. ผเู้ รยี นจะได้เรยี นรูก้ ารใช้ชวี ติ ท่สี มดลุ และพรอ้ มรับการเปลี่ยนแปลง 4 มติ ติ ามหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

จุดมุ่งหมาย สมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง

การเรยี นรู้ ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านส่ิงแวดล้อม ด้านวัฒนธรรม

ด้านพทุ ธิ 1. ผเู้ รยี นเตรยี มเคร่อื งมอื 1. ผเู้ รยี นเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พสิ ัย (K) อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ เครื่องมอื อปุ กรณ์อย่าง ดว้ ยความไม่ประมาท ดว้ ยความไมป่ ระมาท

การท้างานดว้ ยความ เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผเู้ รียนใช้วาจาและ

ปลอดภยั ท้างานดว้ ยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผูเ้ รียนเลอื กใช้อุปกรณท์ ่ี ปลอดภยั อืน่ บคุ คลอน่ื

นา้ มาทดสอบได้อย่างถูกต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

3. ผู้เรียนอธบิ ายความรู้ ด้วยความไมป่ ระมาท

เบอื งต้นเกยี่ วกับฐานข้อมูล 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อนื่

วิทยาลยั การอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพัทลุง

6

จุดม่งุ หมาย สมดุลและพร้อมรบั การเปลี่ยนแปลง
การเรียนรู้
ด้านทักษะ ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ด้านสิ่งแวดล้อม ดา้ นวัฒนธรรม
พสิ ัย (P) 1. ผู้เรยี นเตรยี มเคร่ืองมือ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกบั 1. ผเู้ รียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน ดว้ ยความไม่ประมาท
ด้านจิต การทา้ งานด้วยความ 2. ผเู้ รียนใช้วาจาและ
พิสยั ปลอดภัย เคร่อื งมอื อปุ กรณอ์ ย่าง ดว้ ยความไมป่ ระมาท กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ
(A) 2.ผู้เรยี นเลือกใชอ้ ปุ กรณ์ท่ี บุคคลอื่น
น้ามาทดสอบได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผ้เู รยี นอธิบายความรู้ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
เบอื งตน้ เก่ยี วกบั ฐานข้อมลู ทา้ งานด้วยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล ดว้ ยความไมป่ ระมาท
2. ผูเ้ รียนใช้วาจาและ
1. ผูเ้ รยี นเตรียมเครื่องมอื ปลอดภัย อื่น กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ
อปุ กรณ์อยา่ งเหมาะสมกบั บคุ คลอื่น
การท้างานดว้ ยความ 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ปลอดภัย
2.ผู้เรียนเลอื กใช้อปุ กรณ์ที่ ด้วยความไมป่ ระมาท
น้ามาทดสอบกบั ไดอ้ ย่าง
ถูกต้อง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผู้เรยี นอธบิ ายความรู้
เบอื งตน้ เก่ยี วกับฐานข้อมูล กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อน่ื

1. ผู้เรยี นเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

เครอื่ งมอื อุปกรณอ์ ย่าง ดว้ ยความไม่ประมาท

เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ

ทา้ งานดว้ ยความ กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

ปลอดภัย อืน่

2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

ด้วยความไมป่ ระมาท

3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อ่ืน

วทิ ยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวัดพัทลงุ

แผนการเรียนรู้ที่ 2

หน่วยที่ 2 จานวน 4 ชวั่ โมง สปั ดาห์ท่ี 2

ช่อื วิชา ระบบจดั การฐานข้อมลู รหสั 3204 - 2004

ช่อื หน่วย รปู แบบของฐานข้อมลู

1. สาระสาคัญ

ฐานข้อมลู มกี ารเรียกใช้โดยผ้ใู ช้หลายกล่มุ ขอ้ มูลที่ผใู้ ช้สามารถเรยี กใช้ได้มกี ารแบ่งระดับ
ของข้อมูลออกเป็นระดับต่าง ๆ เพ่ือให้การใช้ข้อมูลของผู้ใช้เป็นไปอย่างเหมาะสม โดยข้อมูลในฐานข้อมูล
จะถูกสร้างให้มีโครงสร้างที่ง่ายต่อความเข้าใจและการใช้งานของผู้ใช้ ซ่ึงฐานข้อมูลมีโครงสร้างของ
ฐานข้อมูลแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ ฐานข้อมูล แบบลาดับขั้น และ
ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ซ่ึงโครงสร้างของฐานข้อมูลแต่ละประเภทจะมีลักษณะการจัดระดับของข้อมูล
แตกต่างกัน

2. สมรรถนะประจาหน่วย

1. แสดงความรู้เก่ียวกับรูปแบบของฐานขอ้ มลู
2. แสดงพฤติกรรม ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ความรักสามัคคี การมวี นิ ัย

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงคท์ ่ัวไป
1. เพื่อให้รแู้ ละเข้าใจศัพท์พืน้ ฐานของฐานข้อมูล เค้าร่างของฐานข้อมูล ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง

เอนทิตี
2. เพื่อใหร้ ู้และเขา้ ใจระดบั ของข้อมลู ให้เหมาะสมกับผใู้ ช้ รูปแบบของข้อมูลแต่ละประเภท

คุณลกั ษณะทสี่ าคญั ของรปู แบบฐานขอ้ มูล
3. เพื่อใหร้ ูแ้ ละเขา้ ใจตัวอย่างความสมั พันธ์ระหวา่ งเอนทิตี
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายศัพท์พน้ื ฐานของฐานข้อมลู ได้
2. จาแนกเค้าร่างของฐานข้อมลู ได้
3. บอกความสมั พนั ธ์ระหว่างเอนทติ ไี ด้
4. จาแนกระดับของข้อมูลใหเ้ หมาะสมกับผใู้ ช้ได้
5. อธบิ ายรูปแบบของขอ้ มูลแตล่ ะประเภทได้
6. บอกคุณลกั ษณะท่ีสาคัญของรูปแบบฐานข้อมลู ได้
7. สามารถยกตัวอย่างความสมั พันธ์ระหว่างเอนทิตีได้

วทิ ยาลยั การอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพทั ลุง

8

8. มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ และคุณลกั ษณะอัน
พึงประสงคท์ สี่ ามารถสังเกตเห็นไดใ้ นด้านความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ ความรกั สามัคคี การมี
วินัย

4. สาระการเรยี นรู้
1. ศพั ทพ์ น้ื ฐาน
2. เค้าร่างของฐานขอ้ มูล
3. ความสมั พันธ์ระหว่างเอนทิตี
4. ระดบั ของข้อมลู
5. รปู แบบของฐานข้อมลู

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

สอนคร้งั ที่ 2 ชว่ั โมงท่ี 5 – 8
ขัน้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น
1. ครูทบทวนเนื้อหา ความสาคัญของข้อมลู , ความหมายของข้อมูล ฐานข้อมูล, โครงสร้างข้อมูล
2. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใช้แผนภมู ิแสดงโครงสรา้ งของข้อมูล อธบิ ายศัพท์พนื้ ฐานทเ่ี กยี่ วกับฐานข้อมลู

พร้อมยกตัวอย่าง
ขั้นสอน
3. ครูอธิบายเร่ืองเคา้ รา่ งของฐานข้อมลู ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเอนทิตี
4. ครูใหน้ ักศึกษาแบ่งกลุ่มกลุม่ ละ 4 คน อภิปรายเก่ียวกับความสมั พันธร์ ะหว่างเอนทติ ี พร้อมยกตวั อย่าง

ส่งตวั แทนนาเสนอหน้าช้ันเรยี น
5. ครูยกตัวอย่างความสัมพันธ์ระหวา่ งเอนทิตี แล้วให้นศ.บอก จาแนก และอธิบายเกีย่ วกับความสัมพนั ธ์

ระหว่างเอนทิตี
6. ครูอธิบายเรือ่ งระดับของขอ้ มูลรปู แบบของฐานข้อมลู

ขั้นสรุป
7. ครูและนกั ศึกษารว่ มกนั สรปุ ตอบข้อสงสัย ค้นคว้าเพม่ิ เตมิ
8. แจกใบงานและควบคมุ การทางาน
9. ประเมนิ ผลการเรยี นของ นักศกึ ษาในหน่วยที่ 2 จากแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 2
10. มอบหมายงานให้นกั ศึกษาไปศึกษาเร่ือง การออกแบบฐานขอ้ มูลในหนว่ ยท่ี 3
11. ครูดแู ลการทาความสะอาดจดั เคร่อื งมือให้เรยี บรอ้ ยและปดิ ห้องปฏิบตั งิ านเมอื่ ไมใ่ ช้
12. ครบู นั ทกึ ข้อมลู เก่ยี วกบั กิจกรรมการเรียนหลงั การสอน เพ่ือใช้แก้ไขปัญหาท่ีอาจเกดิ ขนึ้ กับกลมุ่ อน่ื

ตอ่ ไปหรือความรู้ใหมท่ ่เี กิดขึ้น

วิทยาลัยการอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพทั ลงุ

9

13. ครผู สู้ อนเนน้ ย้าผ้เู รยี นตระหนักถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย
12 ประการ ในสว่ นของความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ ความรักสามคั คี การมวี ินัย ของการปฏิบตั งิ าน

6. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

1. PowerPoint เรือ่ ง รูปแบบของฐานขอ้ มูล
2. หนังสอื ระบบจัดการฐานขอ้ มูล
3. ใบความรเู้ ร่ืองรูปแบบของฐานข้อมูล
4. แบบฝกึ หดั เรอ่ื งรปู แบบของฐานข้อมูล
5. แบบทดสอบเรือ่ งรูปแบบของฐานข้อมลู

7. หลกั ฐานการเรยี นรู้

หลกั ฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝกึ หดั / ใบงาน
3. ผลการตอบคาถามท้ายกจิ กรรม
หลักฐานการปฏิบตั ิงาน
1. แบบประเมินผลการเรยี นรู้และแบบประเมินพฤติกรรม
2. ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง รูปแบบของฐานขอ้ มลู

8. การวดั ผลประเมนิ ผล

วธิ วี ัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบท้ายบท
2. ตรวจใบกจิ กรรม/ใบงาน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เคร่อื งมือวัดผล
1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบทา้ ยบท
2. แบบประเมินกจิ กรรม / แบบประเมินใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
รว่ มกนั ประเมิน

เกณฑ์การประเมินผล

1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 60% ข้นึ ไป

วิทยาลัยการอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พทั ลงุ

10

2. แบบประเมนิ กจิ กรรม / แบบประเมนิ ใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

9. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้

1 ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรยี นรู้

2 ปญั หาท่ีพบ

3 แนวทางแก้ปัญหา

วิทยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พัทลงุ

11

ผลท่ีจะเกดิ ขึ้นกบั นกั ศึกษาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทบี่ รู ณาการหลกั ปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. นักศึกษาจะไดฝ้ กึ คดิ และฝึกปฏบิ ตั ิตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

เง่อื นไขความรู้ เง่ือนไขคณุ ธรรม

ความรู้ทีผ่ ู้เรียนตอ้ งมีก่อนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ คณุ ธรรมของนักเรยี นในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

- ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับรูปแบบของ ผูเ้ รยี นมีความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ ความรักสามัคคี การ

ฐานข้อมูล มวี ินัย ในการปฏบิ ัตงิ าน การบรู ณาการกบั ค่านิยมหลัก

ของคนไทย 12 ประการ

ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมภี ูมคิ ุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี
5. ผเู้ รยี นปฏิบตั ิงานดว้ ยความไมป่ ระมาท
1. ผู้เรียนเตรียมเครือ่ งมอื อปุ กรณ์อย่าง 3. ผูเ้ รยี นอธบิ ายรูปแบบของ 6. ผู้เรียนใช้วาจาและกิริยาที่สุภาพต่อ
บุคคลอ่ืน
เหมาะสมกับการทางานด้วยความ ฐานข้อมลู

ปลอดภยั

2.ผเู้ รียนเลอื กใช้อปุ กรณ์ทีน่ ามาทดสอบ

ได้อย่างถูกตอ้ ง

2. ผเู้ รียนจะได้เรียนรกู้ ารใช้ชีวิตท่สี มดลุ และพรอ้ มรับการเปลีย่ นแปลง 4 มติ ิตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพียง

จุดมุ่งหมาย สมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง

การเรยี นรู้ ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสงั คม ด้านสิง่ แวดลอ้ ม ด้านวัฒนธรรม

ดา้ นพทุ ธิ 1. ผู้เรยี นเตรยี มเครื่องมือ 1. ผู้เรียนเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พสิ ัย (K) อุปกรณ์อย่างเหมาะสมกบั เคร่อื งมอื อปุ กรณ์อยา่ ง ด้วยความไมป่ ระมาท ดว้ ยความไมป่ ระมาท

การทางานดว้ ยความ เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผูเ้ รยี นใช้วาจาและ

ปลอดภยั ทางานดว้ ยความ กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผูเ้ รียนเลือกใชอ้ ปุ กรณ์ที่ ปลอดภยั อน่ื บคุ คลอนื่

นามาทดสอบได้อยา่ งถูกต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

3. ผูเ้ รียนอธิบายรูปแบบของ ดว้ ยความไมป่ ระมาท

ฐานข้อมลู 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อน่ื

จดุ มุ่งหมาย สมดลุ และพร้อมรบั การเปลย่ี นแปลง

วิทยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพัทลุง

12

การเรียนรู้ ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ดา้ นสง่ิ แวดล้อม ด้านวัฒนธรรม
ด้านทกั ษะ 1. ผู้เรยี นเตรียมเครอ่ื งมือ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
พิสัย (P) อปุ กรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ 1. ผเู้ รยี นเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน ด้วยความไม่ประมาท
การทางานด้วยความ 2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
ดา้ นจติ ปลอดภัย เคร่อื งมอื อุปกรณ์อย่าง ด้วยความไม่ประมาท กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ
พิสัย 2.ผ้เู รียนเลอื กใชอ้ ปุ กรณท์ ่ี บคุ คลอ่ืน
(A) นามาทดสอบได้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผเู้ รียนอธิบายรปู แบบของ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ฐานขอ้ มลู ทางานดว้ ยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล ดว้ ยความไมป่ ระมาท
2. ผูเ้ รียนใช้วาจาและ
1. ผเู้ รยี นเตรยี มเคร่ืองมอื ปลอดภัย อ่ืน กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ
อปุ กรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ บุคคลอืน่
การทางานดว้ ยความ 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ปลอดภยั
2.ผู้เรยี นเลอื กใช้อปุ กรณ์ท่ี ด้วยความไม่ประมาท
นามาทดสอบกับได้อย่าง
ถกู ต้อง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผเู้ รียนอธบิ ายรูปแบบของ
ฐานข้อมูล กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อน่ื

1. ผเู้ รยี นเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

เครอ่ื งมอื อุปกรณ์อย่าง ด้วยความไม่ประมาท

เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ

ทางานด้วยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

ปลอดภัย อนื่

2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

ด้วยความไมป่ ระมาท

3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อ่ืน

วทิ ยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวดั พทั ลงุ

แผนการเรยี นรู้ที่ 3

หนว่ ยที่ 3 จานวน 8 ชวั่ โมง สปั ดาห์ท่ี 3-4

ชือ่ วิชา ระบบจัดการฐานขอ้ มูล รหัส 3204 - 2004

ช่ือหนว่ ย การออกแบบฐานขอ้ มลู

1. สาระสาคัญ

ฐานข้อมูลมีการเรียกใช้โดยผู้ใช้หลายกลุ่ม ข้อมูลที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้มีการแบ่งระดับของ
ขอ้ มูลออกเปน็ ระดับตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหก้ ารใช้ข้อมูลของผู้ใชเ้ ป็นไปอย่างเหมาะสม โดยข้อมลู ในฐานข้อมูลจะถูก
สร้างใหม้ ีโครงสร้างที่งา่ ยต่อความเขา้ ใจและการใช้งานของผใู้ ช้ ซึง่ ฐานขอ้ มลู มีโครงสรา้ งของฐานข้อมลู แบ่ง
ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ฐานข้อมลู แบบเชิงสัมพันธ์ ฐานขอ้ มูล แบบลาดบั ข้ัน และฐานข้อมูลแบบ
เครือขา่ ย ซึ่งโครงสร้างของฐานข้อมูลแตล่ ะประเภทจะมีลักษณะการจัดระดับของข้อมูลแตกตา่ งกนั

2. สมรรถนะประจาหน่วย

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการออกแบบฐานขอ้ มูล
2. แสดงพฤตกิ รรม ความมีมนษุ ยสมั พันธ์ ความเชื่อมน่ั ในตนเอง การตรงต่อเวลา

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

จดุ ประสงค์ท่ัวไป
1. เพ่อื ให้รแู้ ละเข้าใจศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล เค้าร่างของฐานข้อมลู ความสมั พันธ์ระหว่าง

เอนทติ ี
2. เพื่อใหร้ ้แู ละเข้าใจระดบั ของข้อมลู ให้เหมาะสมกบั ผ้ใู ช้ รปู แบบของข้อมลู แตล่ ะประเภท

คณุ ลักษณะท่สี าคัญของรูปแบบฐานข้อมูล
3. เพ่ือใหร้ ู้และเขา้ ใจตัวอยา่ งความสัมพันธร์ ะหว่างเอนทิตี
จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม

1. บอกจดุ ประสงค์ของการออกแบบฐานขอ้ มลู ได้
2. สามารถออกแบบฐานข้อมลู ใหเ้ หมาะสมกบั ระดบั ของข้อมูลได้
3. จาแนกการออกแบบฐานข้อมูลใหเ้ หมาะสมกบั ระดับของข้อมูลได้
4. บอกขน้ั ตอนการพฒั นาฐานข้อมูลได้
5. ยกตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลได้
6. มีการพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ และ

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ทสี่ ามารถสงั เกตเห็นได้ในดา้ นความมีมนุษยสัมพันธ์ ความ
เช่ือมน่ั ในตนเอง การตรงต่อเวลา

วทิ ยาลยั การอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพัทลุง

14

4. สาระการเรยี นรู้

1. จุดประสงค์ของการออกแบบฐานขอ้ มลู
2. ระดับของการออกแบบฐานขอ้ มลู
3. ขัน้ ตอนการออกแบบฐานข้อมลู

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

สอนครง้ั ที่ 3-4 ชัว่ โมงท่ี 9 – 16
ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1. ครูทบทวนเนื้อหา ศัพท์พนื้ ฐานทเ่ี กี่ยวกบั ฐานข้อมลู , เค้ารา่ งของฐานข้อมลู , ความสัมพันธร์ ะหว่าง
เอนทิต,ี ระดับของข้อมลู และรปู แบบของฐานข้อมูล
2. ครนู าเขา้ ส่บู ทเรียนโดยใช้แผนภูมิแสดงการออกแบบฐานข้อมลู พร้อมยกตวั อย่าง
ขน้ั สอน
3. ครูอธบิ ายเร่ืองจดุ ประสงค์ของการออกแบบฐานข้อมลู , การออกแบบฐานข้อมลู และข้ันตอนการ
ออกแบบฐานข้อมูล
4. ครูใหน้ ักศึกษาแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 คน อภิปรายเก่ียวกับขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมลู , พร้อม
ยกตวั อย่าง ส่งตวั แทนนาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
5. ครูยกตัวอย่างข้ันตอนการออกแบบฐานข้อมูล แลว้ ใหน้ ศ.บอก จาแนก และอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนการ
ออกแบบฐานข้อมลู

ขั้นสรุป
6. ครูและนักศกึ ษารว่ มกันสรปุ ตอบข้อสงสยั คน้ ควา้ เพมิ่ เติม
7. ประเมินผลการเรยี นของนักศึกษาในหน่วยท่ี 3 จากแบบฝึกหดั หน่วยที่ 3
8. มอบหมายงานให้นกั ศึกษาไปศกึ ษาเร่ือง ฐานข้อมูลเชงิ สัมพนั ธ์ ในหนว่ ยที่ 4
9. ครูดแู ลการทาความสะอาดจัดเครือ่ งมือใหเ้ รียบรอ้ ยและปิดห้องปฏิบัติงานเม่อื ไม่ใช้
10. ครบู นั ทึกขอ้ มลู เกีย่ วกับ กิจกรรมการเรียนหลงั การสอน เพ่ือใชแ้ ก้ไขปญั หาที่อาจเกดิ ขึ้นกับกลมุ่ อืน่
ๆ ตอ่ ไปหรือความรู้ใหมท่ ่เี กดิ ขน้ึ
11. ครูผู้สอนเน้นย้าผู้เรยี นตระหนักถึงหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและคา่ นิยมหลักของคนไทย

12 ประการ ในสว่ นของความมีมนุษยสัมพันธ์ ความเช่อื ม่ันในตนเอง การตรงตอ่ เวลา ของการ
ปฏิบัตงิ าน

วทิ ยาลัยการอาชีพบางแก้ว จงั หวัดพัทลงุ

15

6. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้

1. PowerPoint เรือ่ ง การออกแบบฐานขอ้ มลู
2. หนังสือระบบจัดการฐานข้อมลู
3. ใบความรเู้ รอ่ื งการออกแบบฐานข้อมูล
4. แบบฝึกหัดเรื่องการออกแบบฐานขอ้ มูล
5. แบบทดสอบเรือ่ งการออกแบบฐานขอ้ มูล

7. หลักฐานการเรียนรู้

หลักฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝกึ หัด / ใบงาน
3. ผลการตอบคาถามท้ายกจิ กรรม
หลักฐานการปฏิบตั ิงาน
1. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้และแบบประเมนิ พฤติกรรม
2. ใบงานท่ี 3 เร่อื ง การออกแบบฐานข้อมลู

8. การวดั ผลประเมินผล

วธิ ีวดั ผล
1. ตรวจแบบทดสอบทา้ ยบท
2. ตรวจใบกจิ กรรม/ใบงาน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เครอ่ื งมือวัดผล
1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบทา้ ยบท
2. แบบประเมนิ กิจกรรม / แบบประเมินใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
ร่วมกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบท้ายบท เกณฑผ์ ่าน 60% ข้นึ ไป
2. แบบประเมินกิจกรรม / แบบประเมนิ ใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กบั การ
ประเมินตามสภาพจริง

วิทยาลยั การอาชีพบางแกว้ จงั หวดั พทั ลงุ

16

9. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้

1 ขอ้ สรปุ หลังการจัดการเรียนรู้

2 ปญั หาท่พี บ
3 แนวทางแก้ปญั หา

วิทยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พัทลงุ

17

ผลท่ีจะเกดิ ข้ึนกับนกั ศึกษาจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. นักศกึ ษาจะไดฝ้ กึ คดิ และฝึกปฏิบตั ิตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เงอื่ นไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม

ความรู้ท่ผี ู้เรียนต้องมีก่อนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คุณธรรมของนกั เรยี นในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

- ผู้เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับการออกแบบ ผู้เรียนมีความมมี นุษยสมั พนั ธ์ ความเชื่อมน่ั ในตนเอง

ฐานขอ้ มลู การตรงต่อเวลา ในการปฏบิ ตั ิงาน การบูรณาการกับ

ค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ

ความพอประมาณ ความมเี หตุผล ความมีภูมิคมุ้ กันในตวั ทดี่ ี
5. ผเู้ รียนปฏิบัตงิ านดว้ ยความไม่ประมาท
1. ผู้เรยี นเตรยี มเคร่ืองมอื อุปกรณ์อย่าง 3. ผเู้ รยี นอธบิ ายการออกแบบ 6. ผู้เรียนใช้วาจาและกิริยาท่ีสุภาพต่อ
บคุ คลอื่น
เหมาะสมกับการทางานด้วยความ ฐานข้อมลู

ปลอดภยั

2.ผ้เู รยี นเลอื กใชอ้ ุปกรณ์ท่นี ามาทดสอบ

ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

2. ผเู้ รียนจะไดเ้ รียนรู้การใช้ชีวติ ที่สมดุลและพร้อมรบั การเปลีย่ นแปลง 4 มติ ติ ามหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกจิ พอเพียง

จดุ มงุ่ หมาย สมดุลและพร้อมรบั การเปลยี่ นแปลง

การเรียนรู้ ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นสังคม ดา้ นสิ่งแวดล้อม ด้านวัฒนธรรม

ด้านพุทธิ 1. ผู้เรียนเตรียมเครื่องมอื 1. ผ้เู รียนเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พสิ ัย (K) อุปกรณ์อย่างเหมาะสมกับ เครอ่ื งมืออุปกรณอ์ ยา่ ง ดว้ ยความไม่ประมาท ดว้ ยความไมป่ ระมาท

การทางานดว้ ยความ เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผู้เรยี นใช้วาจาและ

ปลอดภัย ทางานด้วยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผูเ้ รยี นเลอื กใช้อุปกรณ์ที่ ปลอดภยั อ่นื บคุ คลอ่ืน

นามาทดสอบได้อยา่ งถกู ต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

3. ผู้เรียนอธบิ ายการ ดว้ ยความไมป่ ระมาท

ออกแบบฐานข้อมูล 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อ่นื

วิทยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพัทลงุ

18

จดุ มุ่งหมาย สมดลุ และพร้อมรบั การเปลีย่ นแปลง
การเรียนรู้
ด้านทักษะ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสงั คม ดา้ นส่งิ แวดล้อม ด้านวัฒนธรรม
พสิ ัย (P) 1. ผเู้ รยี นเตรยี มเคร่อื งมอื 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ 1. ผเู้ รียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน ด้วยความไม่ประมาท
ด้านจิต การทางานดว้ ยความ 2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
พิสยั ปลอดภัย เครอ่ื งมืออุปกรณอ์ ยา่ ง ด้วยความไม่ประมาท กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ
(A) 2.ผูเ้ รยี นเลือกใชอ้ ปุ กรณท์ ่ี บุคคลอ่ืน
นามาทดสอบได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผู้เรียนอธิบายการ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ออกแบบฐานข้อมูล ทางานดว้ ยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล ด้วยความไมป่ ระมาท
2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
1. ผู้เรียนเตรยี มเครื่องมอื ปลอดภัย อน่ื กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ
อปุ กรณ์อย่างเหมาะสมกบั บุคคลอ่ืน
การทางานดว้ ยความ 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ปลอดภยั
2.ผู้เรียนเลือกใช้อุปกรณ์ที่ ด้วยความไมป่ ระมาท
นามาทดสอบกับไดอ้ ย่าง
ถูกต้อง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผูเ้ รียนอธบิ ายการ
ออกแบบฐานข้อมูล กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อน่ื

1. ผเู้ รียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

เครือ่ งมอื อปุ กรณอ์ ยา่ ง ดว้ ยความไมป่ ระมาท

เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ

ทางานด้วยความ กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

ปลอดภยั อ่นื

2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

ดว้ ยความไม่ประมาท

3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อื่น

วทิ ยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพทั ลุง

แผนการเรียนรทู้ ี่ 4

หน่วยที่ 4 จานวน 8 ชั่วโมง สปั ดาหท์ ี่ 5-6

ชื่อวชิ า ระบบจัดการฐานข้อมลู รหสั 3204 - 2004

ชื่อหน่วย ฐานขอ้ มลู เชิงสัมพนั ธ์

1. สาระสาคัญ

ฐานข้อมูลมีการเรียกใช้โดยผู้ใช้หลายกลุ่ม ข้อมูลท่ีผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้มีการแบ่งระดับของ
ขอ้ มูลออกเป็นระดบั ต่าง ๆ เพือ่ ใหก้ ารใชข้ ้อมูลของผ้ใู ชเ้ ป็นไปอย่างเหมาะสม โดยข้อมูลในฐานข้อมลู จะถูก
สร้างใหม้ ีโครงสร้างท่ีงา่ ยต่อความเข้าใจและการใช้งานของผ้ใู ช้ ซ่ึงฐานข้อมูลมโี ครงสร้างของฐานข้อมูลแบ่ง
ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ ฐานข้อมูล แบบลาดับขั้น และฐานข้อมลู แบบ
เครอื ข่าย ซึ่งโครงสร้างของฐานข้อมลู แต่ละประเภทจะมีลักษณะการจัดระดบั ของข้อมูลแตกตา่ งกัน

2. สมรรถนะประจาหน่วย

1. แสดงความรู้เกย่ี วกับฐานข้อมูลเชิงสัมพนั ธ์
2. แสดงพฤติกรรม การอดทนอดกลนั้ ความสนใจใฝร่ ู้ ความรบั ผิดชอบ

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

จุดประสงคท์ ่ัวไป
1. เพ่อื ใหร้ ้แู ละเข้าใจความหมายของศพั ท์เทคนิคทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับฐานข้อมลู เชงิ สมั พันธ์
2. เพ่ือใหร้ แู้ ละเขา้ ใจความหมายและข้อดขี องฐานข้อมลู เชงิ สัมพันธ์
3. เพ่ือใหร้ แู้ ละเขา้ ใจประเภทของรเี ลชนั่ คณุ ลกั ษณะในการจดั เก็บข้อมลู ของรีเลชนั่
4. เพ่ือให้รูแ้ ละเข้าใจประเภทของคยี ์
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายของศัพท์เทคนคิ ทีเ่ กยี่ วข้องกบั ฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์ได้
2. บอกความหมายและข้อดีของฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ได้
3. บอกคุณลักษณะในการจดั เก็บขอ้ มูลของรเี ลชั่นได้
4. บอกประเภทของรเี ลชั่นได้
5. จาแนกประเภทของคีย์ได้
6. มีการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และคุณลกั ษณะอัน

พึงประสงค์ที่สามารถสงั เกตเหน็ ไดใ้ นดา้ นการอดทนอดกลั้น ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผดิ ชอบ

วิทยาลัยการอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พทั ลงุ

20

4. สาระการเรยี นรู้
1. ฐานข้อมูลเชิงสมั พันธ์

2. โครงสรา้ งฐานข้อมูลเชิงสมั พนั ธ์
3. ประเภทของคีย์

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

สอนครงั้ ที่ 5-6 ชัว่ โมงที่ 17 – 24
ข้ันนาเข้าสู่บทเรยี น
1. ครูทบทวนเน้ือหา จดุ ประสงค์ในการออกแบบฐานข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูล และขั้นตอนของ
การออกแบบฐานข้อมลู
2. ครูนาเข้าสบู่ ทเรียนโดยใชแ้ ผนภูมิแสดงฐานข้อมลู เชิงสมั พันธ์ พร้อมยกตวั อย่าง
ขน้ั สอน
3. ครูอธบิ ายเรื่องฐานข้อมูลเชงิ สมั พนั ธ์ โครงสร้างฐานขอ้ มูลเชิงสมั พันธ์ และประเภทของคีย์ ครูให้
นกั ศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน อภิปรายเก่ียวกับฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์ พร้อมยกตวั อย่าง ฐานข้อมูลมี
ดังนี้
กลุ่มที่ 1 รา้ นขายเคร่ืองใช้ไฟฟ้า
กลุ่มที่ 2 รา้ นมินิมาร์ท
กลุ่มที่ 3 รา้ นขายโทรศัพทม์ ือถือ
กลุ่มที่ 4 รา้ นขายอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์
กลุ่มท่ี 5 ร้านขายหนังสือ
แลว้ สง่ ตัวแทนนาเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครูยกตัวอย่างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ แล้วใหน้ ศ.บอก จาแนก และอธิบายเกย่ี วกับฐานข้อมลู เชิงสมั พนั ธ์
ข้ันสรุป
5. ครแู ละนกั ศกึ ษาร่วมกันสรปุ ตอบขอ้ สงสัย คน้ ควา้ เพ่มิ เตมิ
6. แจกใบงานและควบคมุ การทางาน
7. ประเมนิ ผลการเรียนของ นักศึกษาในหน่วยท่ี 4 จากแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
8. มอบหมายงานใหน้ กั ศกึ ษาไปศึกษาเรื่อง แบบจาลองความสัมพันธร์ ะหวา่ งข้อมูล ในหน่วยที่ 5
9. ครูดูแลการทาความสะอาดจดั เคร่อื งมือให้เรยี บรอ้ ยและปิดห้องปฏิบัติงานเมอ่ื ไมใ่ ช้
10. ครบู นั ทกึ ข้อมูลเก่ยี วกบั กิจกรรมการเรียนหลงั การสอน เพื่อใชแ้ ก้ไขปัญหาท่ีอาจเกิดขึ้นกับกล่มุ อืน่
ๆ ตอ่ ไปหรือความรู้ใหมท่ เ่ี กดิ ขน้ึ
11. ครผู สู้ อนเนน้ ย้าผ้เู รียนตระหนกั ถึงหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคา่ นิยมหลกั ของคนไทย

12 ประการ ในสว่ นของการอดทนอดกลั้น ความสนใจใฝร่ ู้ ความรับผดิ ชอบ ของการปฏิบัติงาน

วทิ ยาลัยการอาชพี บางแก้ว จงั หวดั พัทลุง

21

6. สือ่ และแหล่งการเรียนรู้

1. PowerPoint เร่ือง ฐานขอ้ มลู เชิงสัมพันธ์
2. หนังสือระบบจัดการฐานขอ้ มลู
3. ใบความรู้เรอื่ งฐานขอ้ มูลเชงิ สมั พนั ธ์
4. แบบฝกึ หดั เรอ่ื งฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์
5. แบบทดสอบเรอื่ งฐานขอ้ มูลเชิงสัมพันธ์

7. หลักฐานการเรยี นรู้

หลักฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝกึ หดั / ใบงาน
3. ผลการตอบคาถามท้ายกจิ กรรม
หลักฐานการปฏิบัตงิ าน
1. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรแู้ ละแบบประเมินพฤติกรรม
2. ใบงานท่ี 4 เรอื่ ง ฐานข้อมลู เชงิ สัมพนั ธ์

8. การวัดผลประเมนิ ผล

วิธีวัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบทา้ ยบท
2. ตรวจใบกจิ กรรม/ใบงาน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เครือ่ งมือวัดผล
1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบทา้ ยบท
2. แบบประเมินกจิ กรรม / แบบประเมินใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
รว่ มกนั ประเมิน

เกณฑ์การประเมินผล

1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบทา้ ยบท เกณฑผ์ ่าน 60% ขน้ึ ไป
2. แบบประเมนิ กจิ กรรม / แบบประเมินใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กบั การ
ประเมินตามสภาพจริง

วทิ ยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวัดพทั ลงุ

22

9. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้

1 ขอ้ สรปุ หลังการจัดการเรียนรู้

2 ปญั หาท่พี บ
3 แนวทางแก้ปญั หา

วิทยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวดั พัทลงุ

23

ผลท่จี ะเกดิ ข้ึนกับนักศึกษาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ บ่ี ูรณาการหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง

1. นักศึกษาจะได้ฝึกคิดและฝึกปฏบิ ัติตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เงอื่ นไขความรู้ เงือ่ นไขคุณธรรม

ความร้ทู ีผ่ ู้เรยี นตอ้ งมีก่อนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ คณุ ธรรมของนกั เรียนในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

- ผู้เรียนมคี วามรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั ผเู้ รียนมีการอดทนอดกลั้น ความสนใจใฝร่ ู้ ความ

ฐานขอ้ มลู เชิงสัมพันธ์ ประเภทของคีย์ รบั ผดิ ชอบ ในการปฏบิ ัติงาน การบูรณาการกับ คา่ นยิ ม

หลักของคนไทย 12 ประการ

ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมภี ูมิคมุ้ กนั ในตวั ท่ีดี
5. ผูเ้ รยี นปฏิบตั งิ านด้วยความไมป่ ระมาท
1. ผ้เู รียนเตรียมเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์อย่าง 3. ผู้เรยี นอธบิ ายฐานข้อมูลเชิง 6. ผู้เรียนใช้วาจาและกิริยาที่สุภาพต่อ
บุคคลอ่ืน
เหมาะสมกบั การทางานดว้ ยความ สัมพนั ธ์ ประเภทของคยี ์

ปลอดภัย

2.ผูเ้ รียนเลือกใชอ้ ุปกรณ์ทีน่ ามาทดสอบ

ได้อย่างถูกตอ้ ง

2. ผเู้ รยี นจะไดเ้ รียนรู้การใชช้ ีวติ ที่สมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง 4 มิติตามหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง

จุดมงุ่ หมาย สมดุลและพร้อมรบั การเปลีย่ นแปลง

การเรยี นรู้ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสงั คม ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม ด้านวฒั นธรรม

ด้านพทุ ธิ 1. ผูเ้ รียนเตรียมเครอื่ งมือ 1. ผู้เรียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พสิ ัย (K) อปุ กรณ์อย่างเหมาะสมกบั เคร่ืองมืออปุ กรณอ์ ย่าง ด้วยความไมป่ ระมาท ดว้ ยความไม่ประมาท

การทางานดว้ ยความ เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผู้เรยี นใช้วาจาและ

ปลอดภัย ทางานดว้ ยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผู้เรียนเลือกใชอ้ ปุ กรณท์ ี่ ปลอดภัย อื่น บุคคลอืน่

นามาทดสอบได้อย่างถูกต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

3. ผเู้ รียนอธิบายฐานข้อมูล ด้วยความไม่ประมาท

เชงิ สมั พนั ธ์ ประเภทของคีย์ 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

อื่น

วิทยาลยั การอาชพี บางแก้ว จงั หวัดพัทลงุ

24

จุดมุ่งหมาย สมดุลและพร้อมรบั การเปลยี่ นแปลง
การเรียนรู้
ดา้ นทักษะ ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นสังคม ดา้ นส่งิ แวดล้อม ด้านวัฒนธรรม
พสิ ยั (P) 1. ผูเ้ รยี นเตรียมเครอ่ื งมือ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
อปุ กรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ 1. ผูเ้ รียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน ด้วยความไม่ประมาท
ดา้ นจติ การทางานดว้ ยความ 2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
พิสยั ปลอดภยั เคร่อื งมอื อุปกรณ์อย่าง ดว้ ยความไม่ประมาท กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ
(A) 2.ผเู้ รยี นเลือกใชอ้ ปุ กรณ์ท่ี บุคคลอ่ืน
นามาทดสอบได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผเู้ รยี นอธิบายฐานข้อมูล 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
เชิงสมั พนั ธ์ ประเภทของคยี ์ ทางานด้วยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล ด้วยความไมป่ ระมาท
2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
1. ผู้เรียนเตรียมเคร่ืองมอื ปลอดภัย อืน่ กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ
อปุ กรณ์อย่างเหมาะสมกบั บุคคลอ่ืน
การทางานดว้ ยความ 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
ปลอดภัย
2.ผู้เรียนเลือกใช้อปุ กรณท์ ่ี ดว้ ยความไม่ประมาท
นามาทดสอบกบั ไดอ้ ย่าง
ถูกต้อง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผ้เู รยี นอธิบายฐานข้อมูล
เชงิ สมั พันธ์ ประเภทของคยี ์ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อ่นื

1. ผูเ้ รยี นเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

เครื่องมอื อปุ กรณ์อยา่ ง ด้วยความไมป่ ระมาท

เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ

ทางานด้วยความ กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

ปลอดภยั อน่ื

2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

ดว้ ยความไม่ประมาท

3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อ่นื

วิทยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพัทลงุ

แผนการเรียนรทู้ ี่ 5

หน่วยที่ 5 จานวน 8 ชวั่ โมง สปั ดาหท์ ่ี 7 - 8

ชื่อวิชา ระบบจดั การฐานขอ้ มลู รหัส 3204 - 2004

ชอ่ื หนว่ ย แบบจาลองความสมั พันธร์ ะหวา่ งขอ้ มลู

1. สาระสาคัญ

แบบจำลอง E-R เป็นแนวคิดที่ใช้เป็นเคร่ืองมือในกำรออกแบบข้อมูลในระดับแนวคิด
(Conceptual Data Modeling) โดยแสดงถึงรำยละเอยี ดและควำมสัมพนั ธ์ของข้อมูลต่ำง ๆ ในระบบใน
ลักษณะที่เป็นภำพรวม ซ่ึงเป็นประโยชน์ในด้ำนกำรรวบรวมและวิเครำะห์ข้อมูลว่ำมีรำยละเอียดและ
ควำมสัมพันธ์อย่ำงไร ซึ่งมีข้ันตอนกำรออกแบบฐำนข้อมูลโดยใช้แบบจำลอง E-R มีขั้นตอนดังนี้ คือ
ศึกษำถึงลักษณะหน้ำท่ีงำนของระบบ แล้วนำมำกำหนดเอนทิตีท่ีควรจะมีอยู่ในฐำนข้อมูล กำหนด
ประเภทของควำมสมั พันธ์ระหว่ำงเอนทติ ีว่ำมีควำมสัมพนั ธ์กันอย่ำงไรบ้ำง กำหนดคุณลักษณะของเอนทิตี
ว่ำควรจะมีรำยละเอียดอะไรบ้ำง กำหนดคีย์ของแต่ละเอนทิตีว่ำ จะใช้รำยละเอียดของข้อมูลใดเป็นคีย์
หลักของเอนทิตีนั้น ๆ ซ่ึงจะต้องเป็นรำยละเอียดของข้อมูลที่มีค่ำเป็นเอกลักษณ์ หรือค่ำเฉพำะไม่ซ้ำซ้อน
ในเอนทิตีนั้น ๆ ข้ันตอนสุดท้ำย คือ เขียนแบบจำลอง E-R โดยใช้สัญลักษณ์เป็นกำรอธิบำย
ควำมสมั พันธร์ ะหวำ่ งขอ้ มลู

2. สมรรถนะประจาหน่วย

1. แสดงควำมรู้เกี่ยวกับแบบจำลองควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งข้อมลู
2. แสดงพฤติกรรม ควำมซื่อสตั ย์ ควำมคิดรเิ ริ่มสร้ำงสรรค์ ควำมรักสำมัคคี

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1. เพอ่ื ใหร้ ู้และเขำ้ ใจ ควำมหมำยและ องค์ประกอบของแบบจำลอง E-R
2. เพ่อื ให้รู้และเข้ำใจขั้นตอนกำรออกแบบฐำนข้อมลู โดยใช้แบบจำลอง E-R
3. เพื่อใหร้ แู้ ละเขำ้ ใจออกแบบฐำนข้อมลู โดยใชแ้ บบจำลอง E-R
4. เพ่ือใหร้ ู้และเขำ้ ใจปญั หำในกำรสร้ำงแบบจำลอง E-R
จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. บอกองคป์ ระกอบของแบบจำลอง E-R ได้
2. อธิบำยควำมหมำยขององค์ประกอบแบบจำลอง E-R ได้
3. บอกขั้นตอนกำรออกแบบฐำนข้อมูลโดยใชแ้ บบจำลอง E-R ได้
4. ออกแบบฐำนข้อมูลโดยใชแ้ บบจำลอง E-R ได้

วทิ ยาลัยการอาชีพบางแก้ว จงั หวัดพทั ลงุ

26

5. บอกปัญหำในกำรสรำ้ งแบบจำลอง E-R ได้
6. มีกำรพัฒนำคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยมหลักของคนไทย 12 ประกำร และคุณลักษณะอัน

พึงประสงคท์ ่สี ำมำรถสงั เกตเหน็ ไดใ้ นด้ำนกำรอดทนอดกลั้น ควำมสนใจใฝร่ ู้ ควำมรบั ผิดชอบ

4. สาระการเรียนรู้
1. องคป์ ระกอบของแบบจำลอง E-R

2. ควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งเอนทิตี
3. ขนั้ ตอนกำรออกแบบฐำนขอ้ มลู โดยใชแ้ บบจำลอง E-R
4. กำรออกแบบและกำรใชฐ้ ำนขอ้ มลู
5. ปัญหำในกำรสรำ้ งแบบจำลอง E-R

5. กิจกรรมการเรียนรู้

สอนคร้ังที่ 7- 8 ชัว่ โมงท่ี 25 – 32
ขั้นนาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครูทบทวนเนื้อหำ ฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ โครงสร้ำงฐำนข้อมลู เชงิ สมั พนั ธ์ และประเภทของคยี ์
2. ครนู ำเข้ำสบู่ ทเรียนโดยใช้แผนภูมแิ สดงแบบจำลองควำมสมั พันธร์ ะหวำ่ งขอ้ มลู พรอ้ มยกตัวอย่ำง
ขัน้ สอน
2. ครูอธิบำยเร่ืององค์ประกอบของแบบจำลอง E-R ควำมสัมพนั ธ์ระหวำ่ งเอนทติ ี ขน้ั ตอนกำร
ออกแบบฐำนข้อมลู โดยใช้แบบจำลอง E-R
3. ครูอธิบำยกำรออกแบบและกำรใชฐ้ ำนข้อมูล พร้อมยกตัวอย่ำงกำรวิเครำะห์และออกแบบแบบจำลอง
E-R แล้วให้นักศึกษำแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 คน อภิปรำยเก่ียวกับกำรออกแบบและกำรใชฐ้ ำนข้อมลู , พร้อม
ยกตัวอย่ำง ส่งตวั แทนนำเสนอหนำ้ ชัน้ เรยี น
4. ครยู กตัวอยำ่ งกำรออกแบบและกำรใช้ฐำนข้อมลู แล้วให้นศ.บอก จำแนก และอธิบำยเก่ียวกบั กำร
ออกแบบแบบจำลอง E-R
ขัน้ สรุป
5. ครูและนกั ศกึ ษำรว่ มกนั สรุป ตอบขอ้ สงสยั คน้ ควำ้ เพ่มิ เตมิ
6. แจกใบงำนและควบคมุ กำรทำงำน
7. ประเมนิ ผลกำรเรียนของ นกั ศกึ ษำในหนว่ ยท่ี 5 จำกแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 5
8. มอบหมำยงำนใหน้ กั ศกึ ษำไปศกึ ษำเร่ือง กำรจดั ระบบขอ้ มลู ในรูปแบบบรรทดั ฐำน ในหนว่ ยท่ี 6
9. ครูดแู ลกำรทำควำมสะอำดจดั เคร่ืองมือใหเ้ รียบรอ้ ยและปิดหอ้ งปฏิบตั งิ ำนเม่ือไมใ่ ช้
10. ครูบนั ทกึ ขอ้ มลู เก่ียวกบั กิจกรรมกำรเรยี นหลงั กำรสอน เพ่ือใชแ้ กไ้ ขปัญหำท่ีอำจเกิดขนึ้ กบั กลมุ่
อ่ืน ๆ ตอ่ ไปหรือควำมรูใ้ หมท่ ่ีเกิดขนึ้

วทิ ยาลัยการอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพัทลุง

27

11. ครผู ูส้ อนเน้นย้ำผูเ้ รยี นตระหนกั ถึงหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียงและคำ่ นยิ มหลักของคนไทย
12 ประกำร ในส่วนของควำมซือ่ สัตย์ ควำมคิดริเริม่ สร้ำงสรรค์ ควำมรักสำมัคคี ของกำร
ปฏิบัตงิ ำน

6. สื่อและแหลง่ การเรียนรู้

1. PowerPoint เร่ือง แบบจำลองควำมสัมพนั ธ์ระหวำ่ งขอ้ มูล
2. หนงั สือระบบจดั กำรฐำนขอ้ มลู
3. ใบควำมรเู้ ร่อื งแบบจำลองควำมสมั พันธร์ ะหวำ่ งขอ้ มลู
4. แบบฝึกหดั เร่ืองแบบจำลองควำมสัมพันธ์ระหว่ำงข้อมลู
5. แบบทดสอบเรื่องแบบจำลองควำมสัมพนั ธ์ระหว่ำงข้อมูล

7. หลกั ฐานการเรียนรู้

หลักฐานความรู้
1. ผลกำรทดสอบ
2. ผลกำรทำแบบฝึกหัด / ใบงำน
3. ผลกำรตอบคำถำมท้ำยกจิ กรรม
หลกั ฐานการปฏิบตั ิงาน
1. แบบประเมินผลกำรเรยี นรแู้ ละแบบประเมนิ พฤติกรรม
2. ใบงำนที่ 5 เร่อื ง แบบจำลองควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ งขอ้ มลู

8. การวดั ผลประเมนิ ผล

วิธวี ัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบท้ำยบท
2. ตรวจใบกิจกรรม/ใบงำน
3. กำรสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เครือ่ งมือวัดผล
1. แบบประเมนิ ผลกำรทำแบบทดสอบท้ำยบท
2. แบบประเมนิ กจิ กรรม / แบบประเมนิ ใบงำน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
รว่ มกนั ประเมนิ

เกณฑ์การประเมินผล

วทิ ยาลยั การอาชพี บางแก้ว จงั หวดั พทั ลุง

28

1. แบบประเมนิ ผลกำรทำแบบทดสอบท้ำยบท เกณฑผ์ ่ำน 60% ขึน้ ไป
2. แบบประเมินกจิ กรรม / แบบประเมนิ ใบงำน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับกำร
ประเมนิ ตำมสภำพจรงิ

9. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้

1 ขอ้ สรปุ หลังการจดั การเรยี นรู้

2 ปัญหาท่ีพบ

3 แนวทางแก้ปญั หา

วทิ ยาลัยการอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพัทลุง

29

ผลทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ กับนกั ศกึ ษาจากการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ทู บ่ี ูรณาการหลักปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

1. นกั ศกึ ษาจะไดฝ้ ึกคดิ และฝกึ ปฏิบัติตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

เงอ่ื นไขความรู้ เง่ือนไขคุณธรรม

ควำมรทู้ ผ่ี ู้เรียนต้องมีก่อนกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้ คณุ ธรรมของนกั เรยี นในกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้

- ผู้เรยี นมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ยี วกบั แบบจำลอง ผู้เรยี นมีควำมซ่ือสัตย์ ควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ ควำม

ควำมสัมพันธร์ ะหว่ำงข้อมลู รักสำมคั คี ในกำรปฏบิ ตั งิ ำน กำรบรู ณำกำรกบั ค่ำนยิ มหลัก

ของคนไทย 12 ประกำร

ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมภี ูมิค้มุ กันในตัวทด่ี ี
5. ผเู้ รียนปฏิบตั งิ ำนด้วยควำมไม่ประมำท
1. ผูเ้ รียนเตรยี มเครอื่ งมอื อปุ กรณ์อย่ำง 3. ผู้เรียนอธบิ ำยแบบจำลอง 6. ผู้เรียนใช้วำจำและกิริยำท่ีสุภำพต่อ
บคุ คลอื่น
เหมำะสมกับกำรทำงำนด้วยควำม ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงข้อมลู

ปลอดภัย

2.ผเู้ รียนเลือกใช้อปุ กรณท์ น่ี ำมำทดสอบ

ไดอ้ ยำ่ งถูกต้อง

2. ผู้เรียนจะไดเ้ รียนรกู้ ารใช้ชวี ิตทส่ี มดุลและพร้อมรับการเปลย่ี นแปลง 4 มิตติ ามหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง

จุดมุ่งหมาย สมดลุ และพร้อมรับการเปล่ียนแปลง

การเรียนรู้ ด้านเศรษฐกจิ ด้านสงั คม ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม ดา้ นวฒั นธรรม

ดา้ นพทุ ธิ 1. ผู้เรียนเตรียมเครอ่ื งมอื 1. ผ้เู รยี นเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงำน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงำน

พสิ ัย (K) อุปกรณ์อย่ำงเหมำะสมกับ เครือ่ งมอื อปุ กรณอ์ ย่ำง ด้วยควำมไมป่ ระมำท ดว้ ยควำมไม่ประมำท

กำรทำงำนด้วยควำม เหมำะสมกับกำร 2. ผู้เรียนใช้วำจำและ 2. ผเู้ รยี นใช้วำจำและ

ปลอดภยั ทำงำนด้วยควำม กิริยำที่สุภำพต่อบุคคล กิ ริ ย ำ ที่ สุ ภ ำ พ ต่ อ

2.ผู้เรียนเลอื กใชอ้ ุปกรณท์ ี่ ปลอดภยั อืน่ บุคคลอ่ืน

นำมำทดสอบได้อย่ำงถกู ต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงำน

3. ผูเ้ รียนอธบิ ำยแบบจำลอง ด้วยควำมไมป่ ระมำท

ควำมสมั พันธร์ ะหว่ำงข้อมลู 3. ผู้เรียนใช้วำจำและ

กิริยำท่ีสุภำพต่อบุคคล

อนื่

วทิ ยาลัยการอาชีพบางแกว้ จงั หวดั พทั ลุง

30

จุดมุ่งหมาย สมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง
การเรยี นรู้
ด้านทกั ษะ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสงั คม ดา้ นส่งิ แวดล้อม ดา้ นวัฒนธรรม
พิสัย (P) 1. ผูเ้ รียนเตรยี มเคร่ืองมือ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงำน
อุปกรณ์อยำ่ งเหมำะสมกบั 1. ผู้เรียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงำน ดว้ ยควำมไม่ประมำท
ด้านจติ กำรทำงำนดว้ ยควำม 2. ผเู้ รียนใช้วำจำและ
พิสัย ปลอดภยั เครื่องมืออุปกรณ์อยำ่ ง ด้วยควำมไม่ประมำท กิ ริ ย ำ ท่ี สุ ภ ำ พ ต่ อ
(A) 2.ผูเ้ รยี นเลือกใชอ้ ุปกรณ์ที่ บคุ คลอ่ืน
นำมำทดสอบได้อยำ่ งถูกต้อง เหมำะสมกบั กำร 2. ผู้เรียนใช้วำจำและ
3. ผเู้ รียนอธิบำยแบบจำลอง 1. ผู้เรียนปฏิบัติงำน
ควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ งข้อมูล ทำงำนดว้ ยควำม กิริยำท่ีสุภำพต่อบุคคล ดว้ ยควำมไมป่ ระมำท
2. ผเู้ รียนใช้วำจำและ
1. ผเู้ รยี นเตรียมเคร่ืองมอื ปลอดภัย อน่ื กิ ริ ย ำ ที่ สุ ภ ำ พ ต่ อ
อปุ กรณ์อยำ่ งเหมำะสมกับ บุคคลอื่น
กำรทำงำนดว้ ยควำม 2. ผู้เรียนปฏิบัติงำน
ปลอดภัย
2.ผเู้ รยี นเลือกใชอ้ ุปกรณท์ ่ี ด้วยควำมไม่ประมำท
นำมำทดสอบกับได้อย่ำง
ถกู ต้อง 3. ผู้เรียนใช้วำจำและ
3. ผูเ้ รยี นอธิบำยแบบจำลอง
ควำมสมั พันธร์ ะหว่ำงขอ้ มูล กิริยำท่ีสุภำพต่อบุคคล

อ่ืน

1. ผเู้ รยี นเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงำน

เครอื่ งมอื อปุ กรณ์อยำ่ ง ดว้ ยควำมไมป่ ระมำท

เหมำะสมกับกำร 2. ผู้เรียนใช้วำจำและ

ทำงำนด้วยควำม กิริยำที่สุภำพต่อบุคคล

ปลอดภัย อน่ื

2. ผู้เรียนปฏิบัติงำน

ดว้ ยควำมไมป่ ระมำท

3. ผู้เรียนใช้วำจำและ

กิริยำท่ีสุภำพต่อบุคคล

อ่ืน

วทิ ยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวดั พัทลงุ

แผนการเรยี นรทู้ ี่ 6

หนว่ ยท่ี 6 จานวน 8 ชั่วโมง สปั ดาห์ที่ 9 - 10

ชอ่ื วิชา ระบบจัดการฐานขอ้ มลู รหสั 3204 - 2004

ชอ่ื หนว่ ย การจัดระบบข้อมลู ในรูปแบบบรรทัดฐาน

1. สาระสาคัญ

การจัดระบบข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐาน เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยในการออกแบบฐานข้อมูล เชิง
สัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพ่ือลดพื้นท่ีในการจัดเก็บข้อมูล ลดปัญหาท่ีเกิดจากการเพิ่ม ปรับปรุง และลบ
ข้อมูล ซ่ึงกระบวนการปรับบรรทัดฐานเป็นกระบวนการท่ีใช้กระจายรีเลชันท่ีมีโครงสร้างซับซ้อนออกเป็น
รเี ลชันยอ่ ย ๆ มีโครงสรา้ งท่ีง่ายไม่กอ่ ให้เกิดปัญหาใด ๆ

รปู แบบบรรทัดฐาน (Normal Form) มีการดาเนินงานเป็นลาดับทกี่ าหนดไว้เป็นขั้นตอนตาม
ปัญหาที่เกิดข้ึน ดังนี้ รูปแบบบรรทัดฐานระดับท่ี 1 (1NF), รูปแบบบรรทัดฐานระดับที่ 2 (2NF),
รูปแบบบรรทัดฐานระดับท่ี 3 (3NF), รูปแบบบรรทัดฐานบอยส์-คอดด์ (BCNF), รูปแบบบรรทัดฐาน
ระดบั ที่ 4 (4NF) และรปู แบบบรรทดั ฐานระดับท่ี 5 (5NF)

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั การจัดระบบข้อมลู ในรูปแบบบรรทัดฐาน
2. แสดงพฤติกรรม การมวี นิ ยั ความมีมนษุ ยสัมพันธ์ ความเช่อื มั่นในตนเอง

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพ่ือให้รู้และเขา้ ใจ ความหมาย วัตถปุ ระสงคข์ องการจดั ระบบข้อมลู ในรูปแบบบรรทัดฐาน
2. เพอื่ ให้ร้แู ละเข้าใจประโยชนข์ องการปรับบรรทดั ฐาน กระบวนการปรับบรรทดั ฐาน
3. เพื่อใหร้ ูแ้ ละเขา้ ใจคุณสมบตั ิของรปู แบบบรรทัดฐานระดบั ต่าง ๆ
4. เพ่ือใหร้ ูแ้ ละเขา้ ใจระบบข้อมูลให้อย่ใู นรูปแบบบรรทดั ฐาน
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. บอกความหมายของการจัดระบบข้อมลู ในรูปแบบบรรทัดฐานได้
2. บอกวตั ถุประสงค์ของการจดั ระบบข้อมลู ในรปู แบบบรรทัดฐานได้
3. บอกประโยชน์ของการปรบั บรรทัดฐานได้
4. อธิบายกระบวนการปรับบรรทดั ฐานได้
5. บอกคุณสมบตั ขิ องรูปแบบบรรทดั ฐานระดบั ตา่ ง ๆ ได้
6. สามารถจดั ระบบข้อมลู ใหอ้ ยู่ในรูปแบบบรรทดั ฐานได้

วิทยาลัยการอาชีพบางแกว้ จงั หวดั พทั ลงุ

32

7. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ท่ีสามารถสังเกตเห็นได้ในด้านการมีวินัย ความมีมนุษยสัมพันธ์ ความเชื่อม่ันใน
ตนเอง

4. สาระการเรยี นรู้

1. การจดั ระบบข้อมลู ในรปู แบบบรรทดั ฐาน
2. วัตถุประสงค์ของการจัดระบบข้อมูลในรปู แบบบรรทดั ฐาน
3. กระบวนการปรับบรรทดั ฐาน
4. รปู แบบบรรทัดฐาน (Normal Form)

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

สอนครงั้ ที่ 9- 10 ชั่วโมงที่ 33 – 40
ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรียน
1. ครูทบทวนเน้ือหา องค์ประกอบของแบบจาลอง E-R ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี ขนั้ ตอนการ

ออกแบบฐานข้อมลู โดยใชแ้ บบจาลอง E-R การออกแบบและการใช้ฐานข้อมลู การวเิ คราะห์และ
ออกแบบแบบจาลอง E-R
2. ครนู าเข้าสบู่ ทเรยี นโดยใช้แผนภูมิแสดงการจัดระบบข้อมลู ในรูปแบบบรรทัดฐาน
ขน้ั สอน
3. ครูอธบิ ายเรื่องการจัดระบบข้อมลู ในรปู แบบบรรทดั ฐาน วัตถปุ ระสงคข์ องการจดั ระบบขอ้ มูลใน
รปู แบบบรรทดั ฐาน กระบวนการปรับบรรทัดฐาน R
4. ครูอธิบายรูปแบบบรรทัดฐาน พร้อมยกตวั อยา่ งการจัดระบบข้อมลู ในรูปแบบบรรทัดฐาน แล้วให้
นักศึกษาแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 คน อภปิ รายเกี่ยวกับการจัดระบบข้อมูลในรปู แบบบรรทดั ฐาน 5 ระดับ
พร้อมยกตวั อยา่ ง ส่งตัวแทนนาเสนอหน้าช้นั เรยี น
5. ครยู กตัวอยา่ งการออกแบบและการใชฐ้ านข้อมูล แล้วให้นศ.บอก จาแนก และอธิบายเกี่ยวกับจัดระบบ
ข้อมูลในรูปแบบบรรทดั ฐาน
ขน้ั สรุป
6. ครูและนักศกึ ษารว่ มกันสรปุ ตอบขอ้ สงสยั ค้นควา้ เพมิ่ เตมิ
7. แจกใบงานและควบคมุ การทางาน
8. ประเมนิ ผลการเรยี นของ นักศกึ ษาในหนว่ ยท่ี 6 จากแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 6
9. มอบหมายงานใหน้ ักศึกษาไปศกึ ษาเร่ือง ภาษาฐานข้อมลู ในหนว่ ยที่ 7
10. ครูดแู ลการทาความสะอาดจดั เครอ่ื งมือใหเ้ รยี บรอ้ ยและปดิ ห้องปฏิบัติงานเมื่อไมใ่ ช้

วทิ ยาลยั การอาชีพบางแก้ว จงั หวัดพัทลุง

33

11. ครูบนั ทกึ ข้อมูลเกีย่ วกับ กิจกรรมการเรยี นหลังการสอน เพ่ือใชแ้ ก้ไขปญั หาท่ีอาจเกดิ ขึ้นกบั กล่มุ อ่ืน
ๆ ตอ่ ไปหรือความรู้ใหมท่ ่ีเกดิ ขนึ้

12. ครูผู้สอนเน้นย้าผู้เรียนตระหนักถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและค่านิยมหลักของคนไทย
12 ประการ ในส่วนของการมีวินัย ความมีมนุษยสัมพันธ์ ความเชื่อม่ันในตนเอง ของการ
ปฏิบัตงิ าน

6. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้

1. PowerPoint เรื่อง การจัดระบบข้อมลู ในรปู แบบบรรทัดฐาน
2. หนังสือระบบจัดการฐานข้อมูล
3. ใบความรู้เรือ่ งการจดั ระบบขอ้ มลู ในรูปแบบบรรทดั ฐาน
4. แบบฝกึ หัดเรอื่ งการจัดระบบข้อมูลในรปู แบบบรรทัดฐาน
5. แบบทดสอบเรื่องการจัดระบบข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐาน

7. หลักฐานการเรยี นรู้

หลกั ฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝึกหัด / ใบงาน
3. ผลการตอบคาถามท้ายกิจกรรม
หลักฐานการปฏบิ ตั งิ าน
1. แบบประเมินผลการเรยี นรแู้ ละแบบประเมนิ พฤติกรรม
2. ใบงานที่ 6 เร่อื ง การจดั ระบบข้อมูลในรูปแบบบรรทดั ฐาน

8. การวัดผลประเมินผล

วิธีวัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบท้ายบท
2. ตรวจใบกจิ กรรม/ใบงาน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เครอ่ื งมือวดั ผล
1. แบบประเมนิ ผลการทาแบบทดสอบท้ายบท
2. แบบประเมนิ กจิ กรรม / แบบประเมนิ ใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
รว่ มกันประเมิน

วิทยาลัยการอาชพี บางแกว้ จงั หวดั พัทลุง

34

เกณฑ์การประเมินผล

1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบทา้ ยบท เกณฑผ์ ่าน 60% ขน้ึ ไป
2. แบบประเมินกิจกรรม / แบบประเมนิ ใบงาน
3. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กบั การ
ประเมนิ ตามสภาพจริง

9. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู้

1 ข้อสรปุ หลังการจดั การเรียนรู้

2 ปญั หาท่ีพบ

3 แนวทางแก้ปัญหา

วิทยาลัยการอาชพี บางแก้ว จงั หวัดพัทลงุ

35

ผลที่จะเกดิ ขนึ้ กับนกั ศึกษาจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ีบูรณาการหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง

1. นักศกึ ษาจะได้ฝกึ คิดและฝึกปฏบิ ตั ิตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เงือ่ นไขความรู้ เงอื่ นไขคณุ ธรรม

ความรทู้ ผ่ี ู้เรยี นตอ้ งมกี ่อนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ คณุ ธรรมของนกั เรียนในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

- ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับการจัดระบบ ผเู้ รยี นมีการมีวนิ ยั ความมมี นุษยสัมพันธ์ ความ

ขอ้ มูลในรูปแบบบรรทดั ฐาน เช่ือมน่ั ในตนเอง ในการปฏิบตั ิงาน การบรู ณาการกบั

ค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ

ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมีภูมิค้มุ กนั ในตวั ทด่ี ี
5. ผู้เรยี นปฏิบัติงานดว้ ยความไม่ประมาท
1. ผูเ้ รยี นเตรยี มเคร่ืองมอื อปุ กรณอ์ ย่าง 3. ผู้เรยี นอธิบายการจดั ระบบ 6. ผู้เรียนใช้วาจาและกิริยาท่ีสุภาพต่อ
บคุ คลอ่ืน
เหมาะสมกบั การทางานด้วยความ ขอ้ มูลในรปู แบบบรรทัดฐาน

ปลอดภยั

2.ผเู้ รยี นเลอื กใชอ้ ุปกรณท์ ่ีนามาทดสอบ

ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

2. ผเู้ รยี นจะไดเ้ รยี นรู้การใชช้ วี ติ ที่สมดุลและพร้อมรับการเปล่ยี นแปลง 4 มิตติ ามหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

จุดมุ่งหมาย สมดลุ และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง

การเรียนรู้ ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ด้านส่งิ แวดลอ้ ม ด้านวัฒนธรรม

ดา้ นพทุ ธิ 1. ผเู้ รยี นเตรยี มเครอ่ื งมอื 1. ผ้เู รียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

พิสยั (K) อุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมกบั เครอื่ งมืออุปกรณอ์ ยา่ ง ดว้ ยความไม่ประมาท ดว้ ยความไม่ประมาท

การทางานดว้ ยความ เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ 2. ผูเ้ รียนใช้วาจาและ

ปลอดภัย ทางานด้วยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ

2.ผเู้ รียนเลือกใช้อปุ กรณ์ที่ ปลอดภยั อ่ืน บคุ คลอนื่

นามาทดสอบได้อยา่ งถกู ต้อง 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

3. ผเู้ รยี นอธบิ ายการ ด้วยความไมป่ ระมาท

จัดระบบข้อมูลในรูปแบบ 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

บรรทดั ฐาน กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อ่ืน

วทิ ยาลัยการอาชพี บางแกว้ จงั หวดั พัทลุง

36

จุดมุ่งหมาย สมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง
การเรียนรู้
ดา้ นทักษะ ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสงั คม ดา้ นส่งิ แวดล้อม ด้านวัฒนธรรม
พิสยั (P) 1. ผเู้ รียนเตรยี มเคร่ืองมือ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
อปุ กรณ์อยา่ งเหมาะสมกับ 1. ผู้เรียนเตรียม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน ด้วยความไม่ประมาท
ด้านจิต การทางานด้วยความ 2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
พิสัย ปลอดภัย เครื่องมืออุปกรณ์อยา่ ง ด้วยความไม่ประมาท กิ ริ ย า ที่ สุ ภ า พ ต่ อ
(A) 2.ผูเ้ รียนเลอื กใชอ้ ุปกรณ์ที่ บุคคลอ่ืน
นามาทดสอบได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกบั การ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ
3. ผ้เู รียนอธิบายการ 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
จัดระบบข้อมลู ในรปู แบบ ทางานดว้ ยความ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล ด้วยความไมป่ ระมาท
บรรทัดฐาน 2. ผเู้ รยี นใช้วาจาและ
ปลอดภัย อน่ื กิ ริ ย า ท่ี สุ ภ า พ ต่ อ
1. ผูเ้ รียนเตรยี มเครอ่ื งมือ บุคคลอ่ืน
อุปกรณ์อย่างเหมาะสมกบั 2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน
การทางานดว้ ยความ
ปลอดภัย ดว้ ยความไม่ประมาท
2.ผูเ้ รยี นเลือกใชอ้ ปุ กรณ์ที่
นามาทดสอบกับได้อย่าง 3. ผู้เรียนใช้วาจาและ
ถกู ต้อง
3. ผเู้ รียนอธบิ ายการ กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล
จัดระบบข้อมลู ในรูปแบบ
บรรทัดฐาน อ่นื

1. ผเู้ รยี นเตรยี ม 1. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

เครือ่ งมอื อปุ กรณ์อยา่ ง ดว้ ยความไมป่ ระมาท

เหมาะสมกับการ 2. ผู้เรียนใช้วาจาและ

ทางานด้วยความ กิริยาที่สุภาพต่อบุคคล

ปลอดภัย อน่ื

2. ผู้เรียนปฏิบัติงาน

ด้วยความไมป่ ระมาท

3. ผู้เรียนใช้วาจาและ

กิริยาท่ีสุภาพต่อบุคคล

อ่นื

วทิ ยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวัดพัทลงุ

แผนการเรยี นรทู้ ี่ 7

หนว่ ยท่ี 7 จานวน 8 ชว่ั โมง สปั ดาหท์ ี่ 11 - 12

ช่ือวชิ า ระบบจัดการฐานข้อมูล รหสั 3204 - 2004

ชื่อหนว่ ย ภาษาฐานขอ้ มลู

1. สาระสาคัญ

ภาษา SQL เป็นภาษาที่เป็นส่วนประกอบสาคัญของระบบจัดการฐานข้อมูล สามารถแบ่ง
หน้าที่ของภาษา SQL ตามองค์ประกอบหลักของภาษาได้ 3 องค์ประกอบ คือ ภาษาสาหรับ การ
นิ ย า ม ข้ อ มู ล (Data Definition Language : DDL) ภ า ษ า ส า ห รั บ ก า ร จั ด ก า ร ข้ อ มู ล (Data
Manipulation Language : DML) และภาษาสาหรับการควบคุมข้อมูล (Data Control Language :
DCL)

ภาษาสาหรับการนิยามข้อมูล เป็นภาษาที่ผู้ออกแบบฐานข้อมูลใช้ในการสร้างโครงสร้างตาราง
ตา่ ง ๆ ภายในฐานข้อมลู ประกอบดว้ ยคาส่ังท่ีใช้ในการสร้างโครงสร้างตาราง การเพิ่ม แอททรบิ วิ ต์
ในตาราง การลบตาราง การสร้างดัชนี การลบดัชนี การสร้างและลบวิว เป็นต้น ภาษาสาหรับการ
จัดการข้อมูล เป็นภาษาที่ใช้ในการบันทึกขอ้ มูลเข้าไปเก็บไว้ในตาราง ประกอบด้วยคาสั่งท่ีใช้ในการเรียก
ค้นข้อมูล คาส่ังเพิ่มแถวข้อมูล คาส่ังปรับปรุง และลบแถวข้อมูล ส่วนภาษาสาหรับการควบคุมข้อมูล
เป็นภาษาท่ีใช้ในการกาหนดสทิ ธ์ิในการใชข้ ้อมลู ในตาราง และกาหนดระดับของการใช้งาน ประกอบด้วย
คาส่ังทใี่ ชใ้ นการกาหนดสทิ ธิ์ใหแ้ กผ่ ู้ใช้ และการยกเลิกสทิ ธ์ิแก่ผใู้ ช้

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั ภาษาฐานขอ้ มูล
2. แสดงพฤติกรรม การตรงต่อเวลา การอดทนอดกล้นั ความสนใจใฝ่รู้

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1. เพือ่ ให้รแู้ ละเข้าใจ ความเปน็ มา องค์ประกอบของภาษา SQL
2. เพอื่ ใหร้ แู้ ละเข้าใจหนา้ ท่ีของคาสงั่ สาหรบั การนิยามข้อมลู คาสงั่ สาหรับการจัดการขอ้ มูล

และคาสง่ั สาหรับการควบคุมข้อมูล
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. อธิบายความเป็นมาของภาษา SQL ได้
2. บอกองค์ประกอบของภาษา SQL ได้

วิทยาลัยการอาชพี บางแก้ว จงั หวัดพัทลงุ

38

3. บอกหน้าท่ีของคาสั่งสาหรับการนิยามข้อมูล คาสั่งสาหรับการจัดการข้อมูล และคาสั่ง
สาหรับการควบคมุ ข้อมูลได้

4. จาแนกคาส่ังสาหรับการนิยามข้อมูล คาส่ังสาหรับการจัดการข้อมูล และคาส่ังสาหรับการ
ควบคมุ ข้อมูลได้

5. สามารถใช้คาสั่งสาหรับการนิยามข้อมูล คาส่ังสาหรับการจัดการข้อมูล และคาสั่งสาหรับ
การควบคุมข้อมูลได้

6. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ท่ีสามารถสังเกตเห็นได้ในด้านการการตรงต่อเวลา การอดทนอดกลั้น ความ
สนใจใฝ่รู้

4. สาระการเรยี นรู้

1. ความเป็นมาของภาษา SQL
2. องค์ประกอบของภาษา SQL
3. ภาษาสาหรบั การนยิ ามข้อมลู
4. ภาษาสาหรบั การจัดการข้อมูล
5. ภาษาสาหรับการควบคุมขอ้ มูล

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

สอนครง้ั ที่ 11- 12 ชัว่ โมงที่ 41 – 48
ข้นั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น
1. ครูทบทวนเนื้อหา การจัดระบบข้อมลู ในรูปแบบบรรทดั ฐาน วัตถปุ ระสงค์ของการจัดระบบขอ้ มูลใน

รปู แบบบรรทดั ฐาน กระบวนการปรับบรรทัดฐาน และรปู แบบบรรทดั ฐาน
2. ครนู าเข้าสูบ่ ทเรียนโดยใชภ้ าพตัวอย่างภาษาฐานข้อมลู ทีใ่ ช้ในปจั จบุ นั พรอ้ มยกตวั อยา่ ง
ข้ันสอน
3. ครูอธิบายเร่ืองความเป็นมาของภาษา SQL องค์ประกอบของภาษา SQL ภาษาสาหรับการนิยาม

ขอ้ มลู ภาษาสาหรับการจัดการขอ้ มูล ภาษาสาหรับการควบคุมขอ้ มูล
4. ครูอธิบายภาษาสาหรบั การนยิ ามขอ้ มลู ภาษาสาหรบั การจัดการข้อมูล ภาษาสาหรบั การควบคุม

ขอ้ มลู พร้อมยกตวั อยา่ ง แล้วให้นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มออกเปน็ 3 กลุ่ม อภิปรายเกย่ี วกับภาษาฐานข้อมูล
พร้อมยกตวั อยา่ ง ส่งตัวแทนนาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
5. ครยู กตัวอย่างการออกแบบและการใชฐ้ านข้อมูล แลว้ ให้นศ.บอก จาแนก และอธิบายเก่ียวกับภาษา
ฐานข้อมูล

วิทยาลยั การอาชีพบางแกว้ จงั หวดั พทั ลงุ

39

ขัน้ สรปุ
6. ครูและนกั ศึกษารว่ มกนั สรปุ ตอบข้อสงสัย คน้ คว้าเพิม่ เตมิ
7. แจกใบงานและควบคมุ การทางาน
8. ประเมนิ ผลการเรยี นของนักศกึ ษาในหน่วยที่ 7 จากแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 7
9. มอบหมายงานใหน้ ักศึกษาไปศึกษาเร่ือง การแปลงแบบจาลอง E-R ในหนว่ ยท่ี 8
10. ครูดูแลการทาความสะอาดจัดเคร่อื งมอื ใหเ้ รียบร้อยและปิดห้องปฏิบัติงานเม่ือไมใ่ ช้
11. ครบู นั ทกึ ข้อมลู เก่ยี วกับกจิ กรรมการเรยี นหลังการสอน เพอื่ ใช้แก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึน้ กับกลมุ่ อน่ื

ต่อไปหรือความรู้ใหม่ทีเ่ กดิ ขึ้น
12. ครูผู้สอนเน้นย้าผู้เรียนตระหนักถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและค่านิยมหลักของคนไทย

12 ประการ ในสว่ นของการตรงต่อเวลา การอดทนอดกล้ัน ความสนใจใฝร่ ู้ของการปฏบิ ัตงิ าน

6. ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้

1. PowerPoint เรือ่ ง ภาษาฐานข้อมลู
2. หนังสือระบบจัดการฐานข้อมลู
3. ใบความรู้เรื่องภาษาฐานข้อมูล
4. แบบฝึกหดั เรือ่ งภาษาฐานขอ้ มลู
5. แบบทดสอบเร่ืองภาษาฐานขอ้ มลู

7. หลกั ฐานการเรยี นรู้

หลกั ฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝึกหัด / ใบงาน
3. ผลการตอบคาถามท้ายกิจกรรม
หลกั ฐานการปฏิบตั ิงาน
1. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรแู้ ละแบบประเมนิ พฤติกรรม
2. ใบงานที่ 7 เรอื่ ง ภาษาฐานข้อมลู

8. การวัดผลประเมนิ ผล

วิธวี ดั ผล
1. ตรวจแบบทดสอบท้ายบท
2. ตรวจใบกจิ กรรม/ใบงาน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์

วทิ ยาลยั การอาชพี บางแกว้ จงั หวดั พทั ลุง

40
เคร่ืองมอื วดั ผล
1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบท้ายบท
2. แบบประเมนิ กจิ กรรม / แบบประเมินใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
รว่ มกนั ประเมนิ

เกณฑ์การประเมนิ ผล

1. แบบประเมินผลการทาแบบทดสอบท้ายบท เกณฑผ์ ่าน 60% ขน้ึ ไป
2. แบบประเมินกิจกรรม / แบบประเมินใบงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กบั การ
ประเมินตามสภาพจรงิ

9. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้

1 ข้อสรุปหลังการจดั การเรยี นรู้

2 ปัญหาทพ่ี บ

3 แนวทางแก้ปัญหา

วิทยาลัยการอาชีพบางแกว้ จงั หวัดพัทลงุ


Click to View FlipBook Version