The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pongsapich, 2021-07-18 00:37:13

อังกะลุง

อังกะลุง

องั กะลงุ

เอกสารประกอบการเรียนรู้

รหสั วิชา ศ31101 รายวิชาศลิ ปกรรม 1 (ดนตรไี ทย)
ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564

อาจารย์พงศพิชญ์ แก้วกลุ ธร
อาจารย์นสิ ติ กนกวรรณ แกว้ จนิ ดา
กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ
โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วนั

องั กะลงุ อังกะลงุ เป็นเคร่ืองดนตรีไทยท่ีทำจำกไม้ไผ่ เล่น
ด้วยกำรเขย่ำให้เกิดเสียง นับเป็นเครื่องดนตรี
ปร ะเภท ตี มีที่มำ จำ กประ เท ศอินโดนีเชีย
ซึ่ ง อั ง ก ะ ลุ ง เ ป็ นเ ค ร่ื อ ง ด นต รี ที่ นิ ย ม น ำ ม ำ ใ ช้ ใ น
กำรเรียนกำรสอนวิชำดนตรีไทย ทั้งระดับ
ช้ันปร ะ ถมศึกษำ และ มัธย มศึกษำ เพื่อ ให้
สอดคลอ้ งกับนโยบำยชำติท่ีตอ้ งกำรใหผ้ ู้เรยี นทกุ
คนสำมำรถเล่นเคร่ืองดนตรีไทยได้อย่ำงน้อย
1 ช้ิน จึงได้กำหนดให้ผู้เรียนเขย่ำอังกะลุง
เพื่อพัฒนำทักษะด้ำนกำรบรรเลงดนตรีไทย
เข้ำใจลักษณะกำรบรรเลงเครื่องดนตรีไทย
อีกท้ังยังส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดควำมสำมัคคี
เพรำะกำรบรรเลงอังกะลุงให้เปน็ เพลงนั้น ต้องใช้
ผู้บรรเลงเป็นจำนวนมำก จึงต้องอำศัยควำม
สำมัคคีและควำมพร้อมเพรยี งเปน็ อยำ่ งมำก

ใบควำมรู้รำยวชิ ำศลิ ปกรรม 1 (ดนตรไี ทย) ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี 4 อำจำรยพ์ งศพชิ ญ์ แก้วกุลธร และอำจำรย์นสิ ิตกนกวรรณ แกว้ จนิ ดำ

องั กะลงุ

จำกชวำ สู่ สยำมองั กะลงุ เป็นเครอ่ื งดนตรีไทยชนิดหน่ึง ทำด้วยไม้ไผ่จัด

อยูใ่ นประเภทเครือ่ งตี ลกั ษณะนำมเของอังกะลุงเรียกว่ำ

“ตับ” เพรำะมีกร ะบอ กแขวนเรี ยง กันเป็นแถว

มี 3 กระบอก เดิมเปน็ เครือ่ งดนตรีพ้ืนเมืองของประเทศ

อนิ โดนีเซยี ในหมู่เกำะชวำ อังกะลุงเข้ำมำสู่ในประเทศไทย

ครั้งแรกเม่ือรำว พ.ศ.2451 เมื่อครั้งที่สมเด็จเจ้ำฟ้ำ

พระยำภำนุพันธ์วงศ์วรเดชขณะเสด็จพระรำชดำเนิน

ประพำสประเทศชวำพร้อ มด้วยหลวงประดิษฐ

ไพเรำะ (ศร ศิลปบรรเลง) ท่ีได้ตำมเสด็จไปด้วย

เมอื่ พระองคถ์ ึงสถำนทใ่ี ด ประชำชนจะนำดนตรีมำถวำย

กำรต้อนรับ จนได้เสด็จไปถงึ ตำบลบำเดเออ มีวงดนตรี

ตำ่ ง ๆ มำบรรเลงถวำย แตม่ ีดนตรีวงหนงึ่ แตกต่ำงไป องั กะลุงอนิ โดนีเซีย
จำกวงอื่น เพรำะทำด้วยไม้ไผ่ ถือคนละเสียง วิธีกำร

บรรเลงใช้มือหน่ึงถือมือหนึ่งไกว ไพเรำะน่ำฟังมำก

วงดนตรนี ท้ี ำงชวำเรียกวำ่ “องุ คลุง”

ลักษณะนำมอังกะลงุ 1 ตบั

ประเทศชวำได้ถวำยอังกะลุงให้สมเด็จเจ้ำฟ้ำ
พระยำภำนพุ ันธว์ งศ์วรเดช 2 ชดุ พระองค์
ได้มอบให้หลวงประดิษฐไพเรำะเป็นผู้รักษำ
หลวงประดิษฐไพเรำะนำมำฝึกให้กับนักดนตรี
ในวังบูรพำภิรมย์ก่อน อังกะลุงในสมัยน้ันมี 5
เสียง คือ โด เร มี ซอล ลำ ทำให้กำร
บรรเลงเพลงไทยได้ไม่ครบทุกเพลง หลวง
ประดิษฐไพเรำะจึงเพิ่มเสียงจนครบ 7 เสียง
และในสมัยรัชกำลท่ี 6 ได้พัฒนำกำรบรรเลง
จำกกำรไกวเป็นกำรเขย่ำแทน นับว่ำเป็น
ต้นแบบของกำรบรรเลงอังกะลุงในปัจจบุ นั

ใบควำมร้รู ำยวชิ ำศิลปกรรม 1 (ดนตรีไทย) ชั้นมัธยมศึกษำปที ่ี 4 อำจำรยพ์ งศพิชญ์ แกว้ กุลธร และอำจำรยน์ สิ ติ กนกวรรณ แก้วจนิ ดำ

ลกั ษณะการบรรเลง สว่ นประกอบของ
โดยทว่ั ไปองั กะลงุ หนง่ึ ตับจะมีเสยี งเดียว อังกะลุง

กำรเลน่ องั กะลงุ ให้เป็นเพลงจึงตอ้ งใชอ้ งั กะลงุ
หลำยตบั โดยมกั จะให้นกั ดนตรถี ือองั กะลงุ คนละ
1 - 2 ตบั เมื่อตอ้ งกำรโนต้ เสียงใด นกั ดนตรี
ประจำเสียงนน้ั ก็จะเขย่ำองั กะลงุ กำรเลน่ อังกะลงุ
จึงต้องอำศัยควำมพร้อมเพรยี งเปน็ อย่ำงมำก

ส่วนประกอบของอังกะลุง

1 ตัวอังกะลงุ

ทำมำจำกไมไ้ ผ่ลำย เนื่องจำกเป็นไม้ทมี่ ีเน้ือ

แข็ง เมอื่ แกเ่ ตม็ ท่ที ำให้มีเสียงทไี่ พเรำะ

มลี ำยที่สวยงำม อีกท้งั ยังมีนำ้ หนักเบำอกี ดว้ ย

2 รางไม้
ใชไ้ มข้ ุดเป็นรำง เพื่อใช้วำงขำที่ฐำนกระบอกลงในร่อง

ท่ีขุดร่องท่ีเจำะจะมี 3 ร่อง และรูกลมอีก 5 รู สำหรับ

3 เสาองั กะลงุ ต้งั เสำยึดตัวกระบอกองั กะลุง

มักทำดว้ ยไมไ้ ผเ่ หลำ เกลำ หรือกลึงจนกลม

เรยี บ มีควำมยำวตำมควำมสูงของกระบอก

อังกะลุง ขนำดใหญ่กว่ำรูทีร่ ำงเลก็ นอ้ ย

4 ไมข้ วาง

ทำมำจำกไม้ไผ่เหลำแบน ส่วนกลำงปำดเน้ือไม้
เป็นร่องลึกพอประมำณใช้สำหรับ สอดผ่ำน
ช่องกระบอกอังกะลุง เพ่ือยึดตัวกระบอกกับ
เสำ ส่วนประกอบทั้ง 4 จะถูกประกอบเข้ำ
ดว้ ยกนั โดยใชเ้ ชือกและ กำว ยดึ ติดกนั ใหแ้ ข็ง

ใบควำมร้รู ำยวชิ ำศลิ ปกรรม 1 (ดนตรไี ทย) ชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ี 4 อำจำรยพ์ งศพชิ ญ์ แก้วกลุ ธร และอำจำรย์นิสิตกนกวรรณ แก้วจนิ ดำ

กำรเขย่ำองั กะลงุ

1 ใหจ้ ับอังกะลงุ ทำงดำ้ นท่ีมีสองหลกั หรอื ทำงกระบอกใหญ่

2 แบง่ ดำ้ นเสำทง้ั สองจำกทีแ่ ขวนลงมำถึงรำงเป็น 3 ส่วน ให้จับส่วนท่ี 1 นับจำกข้ำงล่ำงข้ึน

ไปใช้หัวแม่มือและปลำยนว้ิ ช้ีอยคู่ ลนะดำ้ น ส่วนนว้ิ อีก 3 น้วิ ท่ีเหลือใช้จับประคองท่ีหลักด้ำนใน

ใหแ้ น่น แต่อย่ำใหแ้ นน่ เกนิ ไปและเสำอยู่ตรงรอ่ งมือ

3 ให้ย่ืนข้อศอกออกมำจำกลำตัวไปข้ำงหน้ำ หำ่ งประมำณ 1 คบื ข้อศอกงอประมำณ 45
องศำให้มือทถ่ี ืออยูร่ ะหวำ่ งคำง (เวลำยกขนึ้ เขยำ่ ) แต่อยำ่ ให้สงู กว่ำนนั้ เพรำะจะไม่สวยงำม

4 เวลำเขย่ำให้ผลกั องั กะลุงไปข้ำงหน้ำประมำณ 3 - 5 นว้ิ และดงึ กลับระยะเดยี วกนั

ดึงเขำ้ - ออกเรว็ ๆ ให้กระบอกทง้ั สำมกระทบรำงทุกกระบอก

5 เสยี งใดไม่เขยำ่ หรือเขย่ำแล้วอยรู่ ะหวำ่ งรอ ใหว้ ำงอังกะลงุ ไวท้ ี่เขำ่

6 กำรยกองั กะลุงข้ึนเขยำ่ แต่ละครั้ง อย่ำใหเ้ ลยไปขำ้ งหน้ำมำกเกินไป

7 กำรเขยำ่ แต่ละคร้ังต้องกรอทุกครั้ง
8 ระวังอย่ำให้อังกะลุงแต่ละเสียงขำดช่วงกัน ต้องให้เสียงเคล่ือนที่ติดต่อกันตลอดเวลำ

ยกเว้นเพลงบำงเพลงท่เี จตนำใหเ้ สยี งขำดหำย

เอกสารอ้างองิ
สวติ ทับทมิ ศรี. (2548). อังกะลุง. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ประชุมทอง พร้นิ ต้งิ กรปุ๊ จำกัด.

ใบควำมรูร้ ำยวชิ ำศลิ ปกรรม 1 (ดนตรีไทย) ชัน้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 4 อำจำรยพ์ งศพิชญ์ แกว้ กลุ ธร และอำจำรยน์ ิสติ กนกวรรณ แกว้ จนิ ดำ


Click to View FlipBook Version