ถอด !
เทคนิคการสอน
เสนอ
รองศาสตราจารย์ ดร.ศิวนิต อรรถวุฒิกุล
จั ด ทำ โ ด ย
น า ง ส า ว จิ น จุ ฑ า เ จ ริ ญ รั ก ษ า
ร หั ส นั ก ศึ ก ษ า 6 4 0 6 2 0 0 2 2
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 468567 การจัดการความรู้ทางเทคโนโลยีการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
3 ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ ส า ร บั ญ
6 เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น ค รู พี่ น ก
8 เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น ค รู พี่ แ จ น CONTENTS
1 0 เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น ค รู พี่ ญ า
1 2 เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น ค รู พี่ ม า
1 4 เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น ค รู พี่ โ ห น่ ง
1 6 เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น ค รู พี่ มุ ก
1 8 เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น ค รู พี่ เ บี ย ร์
2 0 เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น ค รู พี่ ห มิ ว
2 2 เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น ค รู พี่ โ บ ว์
2 4 แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ
การเรียนการสอนรูปแบบต่างๆ
วิธีไหนเวิร์คสุด !
1 เน้นสืบเสาะ
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะจะสอดคล้อง
กับการทำงานของนักวิทยาศาสตร์มากที่สุด โดยผู้เรียนจะ
ตั้งคำถามทางวิทยาศาสตร์และใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์เพื่อสืบเสาะในการหาคำตอบและคำอธิบาย
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะได้แก่
การสอนวิทยาศาสตร์แบบ 5E หรือ 7E และการสอนโดย
การใช้กลุ่มสำรวจตรวจสอบ
2 เน้นลงมือปฏิบัติ
การสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นการปฏิบัติเป็นการสอนที่
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ผ่านประสบการณ์ตรงในการ
ปฏิบัติงานและการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ ในการลงมือ
ปฏิบัตินั้นผู้เรียนจะได้พัฒนาทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การใชเ้หตุผลและการแก้ปัญหาในการทำ
งาน ตัวอย่าง การเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติ คือ
การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยการทดลองและการ
เรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยการปฏิบัติการภาคสนาม
การเรียนการสอนรูปแบบต่างๆ
วิธีไหนเวิร์คสุด !
3 เน้นบรรยาย อภิปราย และสาธิต
การเรียนการสอนในบางครั้งต้องใช้การนำเสนอข้อมูล
แนวคิดหรือการปฏิบัติโดยตรงผ่านการปฏิสัมพันธ์โดยการ
ฟังและโต้ตอบ การบรรยายอภิปรายและสาธิตเป็นวิธีการ
สอนหนึ่งที่เป็นที่นิยม เนื่องจากเป็นการกระตุ้นการใช้ความ
คิดได้ดี แต่ในการนำการบรรยายการอภิปรายและสาธิตไป
สอนต้องมีข้อควรคำนึงหลายประการ โดยเฉพาะเทคนิค
การใช้คำถามซึ่งจะช่วยให้การเรียนการสอนโดยการ
บรรยาย อภิปรายและสาธิตมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
4 เน้นบริบท
การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นบริบทจะเป็นการ
เชื่อมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียนกับวิทยาศาสตร์ ในชีวิต
ประจำวันหรือโลกนอกห้องเรียน การเรียนการสอนนี้จะ
ทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาแนวคิด ทักษะ กระบวนการและ
จิตวทิยาศาสตร์ไปพร้อมกัน นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่ม
การนำวิทยาศาสตร์ไปแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมถึง
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
ATIVE LEARNING
คืออะไร ?? แล้วมันดียังไงทำไมครูถึงชอบใช้กัน ?
ความเป็นมา:
เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา
(Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้
เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือ
ปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรือ
อำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กล่าว
คือ ผู้เรียนมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจาก
กิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมายและนำไปใช้ในสถาน
การณ์อื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ (สถาพร พฤฑฒิกุล, 2558)
1. สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการ 1. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง
เจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ 2. เป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้
ดีกับผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน 3. ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต 4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้าง
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมรวม ปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน
ทั้งกระตุ้นให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการ 5. ผู้เรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทํางาน และการแบ่ง
เรียนรู้ หน้าที่ความรับผิดชอบ
3. จัดสภาพการเรียนรู้แบบร่วมมือ ส่งเสริมให้ 6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียน
เกิดการร่วมมือในกลุ่มผู้เรียน จะเป็นผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และ 7. เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง
ให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนที่หลากหลาย 8. เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ
5. วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรียนการ และหลักการความคิดรวบยอด
สอนอย่างชัดเจน ทั้งในส่วนของเนื้อหา และ 9. ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้
กิจกรรม ปฏิบัติด้วยตนเอง
6. ครูผู้สอนต้องใจกว้าง ยอมรับในความ 10. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้
สามารถในการแสดงออก และความคิดเของที่ผู้ เรียน
เรียน
ครูพี่นก
นางสาวธันย์นิชา เมธีพัชรวัฒน์
ครูโรงเรียนธรรมศาสตร์-จุฬา 2
ประสบการสอนวิทยาศาสตร์ระดับชั้น ม.ต้น
วิธีการสอนที่ได้ผลดี
กระบวนการ Active Learning
กิจกรรมโครงงาน
วิธีการนี้นอกจากนักเรียนจะเข้าใจบท
เรียนมากขึ้นแล้วยังพัฒนาการคิดของ
นักเรียนให้เป็นระบบมากขึ้น
ครูพี่แจน
นางสาวรสา สำเภาเงิน
ครูโรงเรียนธรรมศาสตร์-จุฬา 2
ประสบการสอนวิทยาการคำนวนระดับชั้นประถมปลาย
วิธีการสอนที่ได้ผลดี
กระบวนการ Active Learning
การเรียนวิทยาการคำนวน นักเรียนต้องคิดเป็น วิเคราะห์เป็น
การเรียนที่เน้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมก็จะทำให้นักเรียน
เรียนรู้ได้ดีกว่าการท่องจำ
ครูพี่ญา
นางกนกวรรณ ล้ำเลิศ
ครูโรงเรียนธรรมศาสตร์-จุฬา 2
ประสบการสอนวิทยาศาสตร์ระดับชั้น ป.2
วิธีการสอนที่ได้ผลดี
กระบวนการกลุ่ม แบบฝึกทักษะ
วิธีการนี้จะช่วยให้นักเรียนมีความสุขในการเรียน
แล้วก็กล้าที่จะคิด กล้าที่จะแสดงความคิดเห็นมาก
ขึ้น
ครูพี่มา
นางสาวชุตินันท์ คงสุคนธ์
ครูโรงเรียนธรรมศาสตร์-จุฬา 2
ประสบการสอนวิทยาศาสตร์ระดับชั้น ป.1
วิธีการสอนที่ได้ผลดี
การแสวงหาความรู็จากประสบการณ์จริง
เมื่อนักเรียนเห็นของจริง ก็จะเกิดความรู้ ความเข้าใจ
ครูพี่โหน่ง
นางสาวธัญญ์พิชชา ธนาชัยบุญญาวัฒน์
ครูโรงเรียนธรรมศาสตร์-จุฬา 2
ประสบการสอนวิทยาศาสตร์ระดับชั้น ป.3
วิธีการสอนที่ได้ผลดี
กระบวนการ Active Learning
วิธีการนี้จะทำให้นักเรียน เรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนแค่ในห้องเรียน
หรือการให้ดูจากรูปภาพ วิดีโอ การที่นักเรียนได้สัมผัสของจริง
จะทำนักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ได้ดีกว่า
ครูพี่มุก
นางสาววิไลลักษณ์ โพธิ์เงิน
ครูโรงเรียนบ้านตะโกล่าง
ประสบการสอนวิทยาการคำนวนระดับชั้นประถมปลาย
วิธีการสอนที่ได้ผลดี
การสอนแบบโครงงาน
การสอนโดยใช้เพลง ให้สอดคล้องกับเนื้อหา
พี่เน้นสอนให้นักเรียนเกิดทักษะ พัฒนาการ มากกว่ามุ่งผลสัมฤทธิ์
ของนักเรียน เพราะนักเรียนของพี่มีความแตกต่างกัน ทั้งภาษา
และอายุ
ครูพี่เบียร์
นายสุทธิพงษ์ มะลินิล
ครูโรงเรียนวัดกลางบางแก้ว (พุทธวิถีประสิทธิ์)
ประสบการสอนวิทยาศาสตร์ระดับชั้นประถมต้น
วิธีการสอนที่ได้ผลดี
การสอนแบบ Active Learning
การแสวงหาความรู็จากประสบการณ์จริง
เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ หรือเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
นักเรียนจะมีความรู้ ความเข้าใจมากขึ้น
ครูพี่หมิว
นางสาวจุฑารัตน์ จันทร์ผาย
ครูโรงเรียนวิสุทธรังสี
ประสบการสอนวิทยาศาสตร์ - ชีววิทยา ระดับชั้น ม.ปลาย
วิธีการสอนที่ได้ผลดี
กระบวนการ Active Learning
วิธีการนี้จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนมากขึ้น ถึงแม้บางอย่างจะ
ไม่ได้เห็นจากของจริง แต่นักเรียนยังสามารถได้เห็นจากแบบจำลอง
ครูพี่โบว์
นางสาวปุณยานุช พุ่มฉายา
ครูโรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ
ประสบการสอนวิทยาศาสตร์ระดับชั้น ม.2 ม.3
วิธีการสอนที่ได้ผลดี
กระบวนการ Active Learning
ใช้เกม ในการทบทวน/เก็บคะแนน
วิธีการนี้จะทำให้นักเรียน เรียนรู้ได้ดีกว่าการท่องจำ เพราะนักเรียนได้
ลงมือจริงๆ ส่วนการทบทวนโดยใช้เกมก็เพื่อลดความเครียด
ให้กับนักเรียนในการเก็บคะแนน
ถอด! เทคนิคการสอน โครงการการจัดการความรู้
ถอด! เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
จัดทำโดย
นางสาวจินจุฑา เจริญรักษา
รหัสนักศึกษา 640620022 เทคโนโลยีการศึกษา
แบบประเมินความพึงพอใจ