The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทรายแก้ว วจ.3 ผัก test kit

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พนิตพร สพข.8, 2024-02-22 23:01:16

ทรายแก้ว วจ.3 ผัก test kit

ทรายแก้ว วจ.3 ผัก test kit

1 รายงานผลการวิจัย เรื่อง การใชคาวิเคราะหดิน ผลผลิตที่คาดหวัง และธาตุอาหารหลักในผลผลิตเพื่อกําหนดอัตราการใสปุ%ยสําหรับผัก ตําบลวงฆอง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก โดย นางทรายแกว อนากาศ นางชุติมา จันทรเจริญ นายพัฒนพงษ เกิดหลํา นายสาธิต กาละพวก ทะเบียนวิจัยเลขที่ 57 57 01 99 021605 020 102 07 11 กลุมวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 กรมพัฒนาที่ดิน มิถุนายน 2558


2 สารบัญ หนา สารบัญตาราง ก สารบัญตารางภาคผนวก ค สารบัญภาพภาคผนวก จ แบบรายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณffi 1 บทคัดยfiอ 2 หลักการและเหตุผล 4 วัตถุประสงคffi 4 ขอบเขตการศึกษา 4 การตรวจเอกสาร 5 ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินการ 5 อุปกรณffiและวิธีการ 6 ผลการทดลองและวิจารณffi 11 สรุปผลการทดลอง 50 ข3อเสนอแนะ 51 เอกสารอ3างอิง 52 ภาคผนวก 53


ก สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 สมบัติของดินกfiอนการทดลองแปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) 11 2 สมบัติของดินหลังเก็บเกี่ยวแปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) 12 3 ข3อมูลผักกวางตุ3งเบื้องต3นของเกษตรกรกfiอนดําเนินการทดลอง 13 4 น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงและน้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) 14 5 ความเข3มข3นของธาตุอาหารในผลผลิตผักกวางตุ3ง แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) 15 6 น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินและการสะสมธาตุอาหารพืชในสfiวนเหนือดิน แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) 17 7 มูลคfiาผลผลิต ต3นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปร แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) 18 8 สมบัติของดินกfiอนการทดลองแปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 19 9 คfiาความเปDนกรดเปDนดfiางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังเก็บเกี่ยว แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 20 10 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3ในดิน หลังเก็บเกี่ยว แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 20 11 ข3อมูลผักกวางตุ3งเบื้องต3นของเกษตรกรกfiอนดําเนินการทดลอง 21 12 น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงและน้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 22 13 ความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 22 14 ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 23 15 ความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 24 16 น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดิน แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 24 17 การสะสมธาตุอาหารพืชในสfiวนเหนือดิน แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 25 18 มูลคfiาผลผลิต ต3นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปร แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 26 19 สมบัติของดินกfiอนการทดลองแปลงนางหวาน อินทรffiหอม 27 20 คfiาความเปDนกรดเปDนดfiางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังเก็บเกี่ยว แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 28 21 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3ในดิน หลังเก็บเกี่ยว แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 28 22 ข3อมูลผักกวางตุ3งเบื้องต3นของเกษตรกรกfiอนดําเนินการทดลอง 29 23 น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงและน้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 30 24 ความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 31 25 ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 31 26 ความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 32 27 น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดิน แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 32 28 การสะสมธาตุอาหารพืชในสfiวนเหนือดิน แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 33


ข สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ หนา 29 มูลคfiาผลผลิต ต3นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปร แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 34 30 สมบัติของดินกfiอนการทดลองแปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 35 31 คfiาความเปDนกรดเปDนดfiางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังเก็บเกี่ยว แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 36 32 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3ในดินหลังเก็บ เกี่ยว แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 37 33 ข3อมูลผักกวางตุ3งเบื้องต3นของเกษตรกรกfiอนดําเนินการทดลอง 37 34 น้ําหนักผักหลังตัดแตfiง น้ําหนักเศษผัก และน้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดิน (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 38 35 ความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 39 36 ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 40 37 ความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 40 38 การสะสมธาตุอาหารพืชในสfiวนเหนือดิน แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 41 39 มูลคfiาผลผลิต ต3นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปร แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 42 40 สมบัติของดินกfiอนการทดลองแปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 43 41 คfiาความเปDนกรดเปDนดfiางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังเก็บเกี่ยว แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 44 42 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3ในดินหลังเก็บ เกี่ยว แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 44 43 ข3อมูลผักกวางตุ3งเบื้องต3นของเกษตรกรกfiอนดําเนินการทดลอง 45 44 น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงและน้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 45 45 ความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 46 46 ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 47 47 ความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 48 48 น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดิน แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 48 49 การสะสมธาตุอาหารพืชในสfiวนเหนือดิน แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 49 50 มูลคfiาผลผลิต ต3นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปร แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 50


ค สารบัญตารางภาคผนวก ตาราง ภาคผนวกที่ หน3า 1 การประเมินคfiา pH ของดิน (ดิน:น้ํา = 1:1) 54 2 การประเมินระดับอินทรียวัตถุในดิน (Walkly and Black method) 54 3 การประเมินระดับธาตุฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffi (Bray II) 54 4 การประเมินระดับธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3 (ammonium acetate 1 N pH 7 อัตราสfiวน 1 ตfiอ 20) 55 5 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางของดิน (pH) หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต แปลงนายสนม ฉายรังสี 55 6 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนปริมาณอินทรียวัตถุ (OM: เปอรffiเซ็นตffi) หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต แปลงนายสนม ฉายรังสี 55 7 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffi (Available P: mgkg-1) หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต แปลงนายสนม ฉายรังสี 55 8 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3 (Exchangeable K: mgkg-1) หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต แปลงนายสนม ฉายรังสี 56 9 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนน้ําหนักผักหลังตัดแตfiง (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 56 10 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนน้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 56 11 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiง (เปอรffiเซ็นตffi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 56 12 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiง (เปอรffiเซ็นตffi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 57 13 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiง (เปอรffiเซ็นตffi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 57 14 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนความเข3มข3นของไนโตรเจนในเศษผัก (เปอรffiเซ็นตffi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 57 15 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในเศษผัก (เปอรffiเซ็นตffi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 57 16 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนความเข3มข3นของโพแทสเซียมในเศษผัก (เปอรffiเซ็นตffi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 58 17 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนน้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดิน (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 58 18 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดิน (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 58


ง สารบัญตารางภาคผนวก (ตอ) ตาราง ภาคผนวกที่ หน3า 19 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดิน (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 58 20 ตารางวิเคราะหffiความแปรปรวนปริมาณโพแทสเซียมในสfiวนเหนือดิน (กิโลกรัมตfiอไรfi) แปลงนายสนม ฉายรังสี 59 21 คfiาใช3จfiายและผลตอบแทนในการปลูกผักกวางตุ3ง แปลงนายสนม ฉายรังษี 60 22 คfiาใช3จfiายและผลตอบแทนในการปลูกผักกวางตุ3ง แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 61 23 คfiาใช3จfiายและผลตอบแทนในการปลูกผักกวางตุ3ง แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 62 24 คfiาใช3จfiายและผลตอบแทนในการปลูกผักกวางตุ3ง แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 63 25 คfiาใช3จfiายและผลตอบแทนในการปลูกผักกวางตุ3ง แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 64 26 สรุปข3อมูลดินกfiอนทําการทดลอง 64 27 ปริมาณธาตุอาหารที่ใสfiในแตfiละตํารับการทดลอง (กิโลกรัมตfiอไรfi) 65 28 คfiา INS จาก OM และ Total N uptake (T1) 66


จ สารบัญภาพภาคผนวก ภาพ ภาคผนวกที่ หน3า 1 แผนที่แสดงกลุfiมชุดดินในพื้นที่ศึกษา (พิกัด 623034E 1893905N) แปลงนายสนม ฉายรังสี 66 2 แผนที่แสดงกลุfiมชุดดินในพื้นที่ศึกษา (พิกัด 623041E 1893982N) แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี 67 3 แผนที่แสดงกลุfiมชุดดินในพื้นที่ศึกษา (พิกัด 622562E 1894112N) แปลงนางหวาน อินทรffiหอม 67 4 แผนที่แสดงกลุfiมชุดดินในพื้นที่ศึกษา (พิกัด 622750E 1893800N) แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี 68 5 แผนที่แสดงกลุfiมชุดดินในพื้นที่ศึกษา (พิกัด 622876E 1893501N) แปลงนางสาววราพร ฉายรังษี 68


1 แบบรายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ ทะเบียนวิจัย 57 57 01 99 021605 020 102 07 11 ชื่อโครงการวิจัย การใช3คfiาวิเคราะหffiดิน ผลผลิตที่คาดหวัง และธาตุอาหารหลักในผลผลิตเพื่อกําหนด อัตราการใสfiปุjยสําหรับผัก ตําบลวงฆ3อง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ผู3รับผิดชอบ นางทรายแก3ว อนากาศ หนfiวยงาน กลุfiมวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ที่ปรึกษาโครงการ นางอําพรรณ พรมศิริ ที่ปรึกษากรมพัฒนาที่ดิน นายประศาสนffi สุทธารักษffi ผู3อํานวยการสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 นายเมธิน ศิริวงศffi กลุfiมวิชาการฯ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ผู3รfiวมดําเนินการ นางชุติมา จันทรffiเจริญ กลุfiมวิชาการฯ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 นายพัฒนffiพงษffi เกิดหลํา กลุfiมวิชาการฯ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 นายสาธิต กาละพวก กลุfiมวิชาการฯ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เริ่มต3นเดือนตุลาคม พ.ศ.2556 สิ้นสุดเดือนกันยายน พ.ศ.2557 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 1 ปo สถานที่ดําเนินการ หมูfiที่ 7 ตําบลวงฆ3อง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก คfiาใช3จfiายในการดําเนินงานทั้งสิ้น ปoงบประมาณ งบบุคลากร งบดําเนินงาน รวม 2557 - 100,000 100,000 แหลfiงงบประมาณที่ใช3 เงินงบประมาณปกติ งบประมาณงานวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ดิน (ตามขั้นตอนการจัดสรรงบประมาณประจําปo) พร3อมนี้ได3แนบรายละเอียดประกอบตามแบบฟอรffiมที่กําหนดมาด3วยแล3ว ลงชื่อ...................................................... (นางทรายแก3ว อนากาศ) ผู3รับผิดชอบโครงการ ลงชื่อ...................................................... (.....................................................) ประธานคณะกรรมการกลั่นกรองผลงานวิชาการของหนfiวยงานต3นสังกัด วันที่….........เดือน..........................พ.ศ..................


2 ทะเบียนวิจัยเลขที่ 57 57 01 99 021605 020 102 07 11 ชื่อโครงการวัจัย การใช3คfiาวิเคราะหffiดิน ผลผลิตที่คาดหวัง และธาตุอาหารหลักในผลผลิตเพื่อกําหนด อัตราการใสfiปุjยสําหรับผัก ตําบลวงฆ3อง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก The Use of Soil Aalysis Data, Expected Yield and Primary Nutrient Requirement of Cultivation Crop for Recommendation of Fertilizer Application Rates for vegetable at Wong Kong Sub-District, Phom Phiram District, Phitsanulok Province กลุมชุดดินที่ กลุfiมชุดดินที่ 15 และ 33 ผูรวมดําเนินการ นางทรายแก3ว อนากาศ Mrs. Saikaew Anakad นางชุติมา จันทรffiเจริญ Mrs. Chutima Janjaroen นายพัฒนffiพงษffi เกิดหลํา Mr. Patpong Kirdlum นายสาธิต กาละพวก Mr. Sathit Kalapuak บทคัดยอ งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคffiเพื่อศึกษาแนวทางการใช3คfiาวิเคราะหffiดิน ผลผลิตที่คาดหวัง และธาตุอาหาร หลักในผลผลิตเพื่อกําหนดอัตราการใสfiปุjยสําหรับผัก ในพื้นที่ของเกษตรกรตําบลวงฆ3อง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเนื้อดินเปDนดินรfiวนปนทรายแป}ง มีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiาง (pH) เทfiากับ 5.8-6.7 ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiในดิน (Avai.P) มีคfiาเทfiากับ 13-304 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่ แลกเปลี่ยนได3ในดิน (Exch. K) มีคfiาเทfiากับ 40-150 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม และปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) มีคfiาเทfiากับ 1.47-3.20 เปอรffiเซ็นตffi ดําเนินการตั้งแตfiเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 การทดลองแบfiงเปDน 2 การทดลองยfiอย การทดลองที่ 1 วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block (RCB) จํานวน 4 ซ้ํา การทดลองที่ 2 เปDนการทดลองแบบสังเกตการณffi (Observation Trial) ในพื้นที่ เกษตรกร จํานวน 4 ราย ซึ่งจะคัดเลือกพื้นที่ของเกษตรกรที่มีลักษณะเนื้อดินเหมือนกัน ตํารับการทดลอง ประกอบด3วย ตํารับที่ 1 แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคย ปฏิบัติ ตํารับที่ 3 ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร ตํารับที่ 4 ประเมิน อัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจาก อินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและ โพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi ตํารับที่ 5 ประเมินอัตราปุjยจากคfiา วิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจาก กระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi และตํารับที่ 6 ประเมิน อัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ผลการศึกษาการทดลองที่ 1 แปลงทดลองแบบ RCB นายสนม ฉายรังสี พบวfiา ตํารับที่ 2 ทําให3 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffi การสะสมธาตุอาหารสfiวนเหนือดิน ได3แกfi ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม มูลคfiาผลผลิต ต3นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรสูงที่สุด แตfiมีคfiาใช3จfiาย ต3นทุนปุjยสูงที่สุด เทfiากับ 5,324.60 บาทตfiอไรfi ในขณะที่ตํารับที่ 5 ให3ผลผลิตและผลตอบแทนเหนือต3นทุนผัน แปรรองลงมา ซึ่งผลผลิตต่ํากวfiาตํารับที่ 2 เทfiากับ 24.1 % แตfiมีคfiาใช3จfiายต3นทุนปุjยต่ําที่สุด เทfiากับ 286.26 บาทตfiอไรfi ซึ่งต่ํากวfiาวิธีเกษตรกรถึง 94.62 % สําหรับน้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดิน ตํารับที่ 2 สูงที่สุด แตfiไมfi แตกตfiางทางสถิติกับตํารับที่ 5


3 การทดลองที่ 2 การทดลองแบบสังเกตุการณffiในพื้นที่เกษตรกร จํานวน 4 ราย พบวfiา ตํารับที่ 2 ทําให3 น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินและการสะสมธาตุอาหารสfiวนเหนือดิน ได3แกfi ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม สูงที่สุด สfiวนผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวfiามีความแตกตfiางกันระหวfiางเกษตรกรแตfiละราย เนื่องจากปริมาณผลผลิตและต3นทุนผันแปรที่ตfiางกัน โดยแปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี พบวfiา ตํารับที่ 2 ทําให3 มูลคfiาผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรสูงที่สุด แปลงนางหวาน อินทรffiหอม พบวfiา ตํารับที่ 5 ให3 ผลผลิตและผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรสูงที่สุด โดยผลผลิตสูงกวfiา ตํารับที่ 2 เทfiากับ 41.79 % และมี คfiาใช3จfiายต3นทุนปุjยต่ํากวfiา ตํารับที่ 2 ถึง 89.13 % แปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี ไมfiสามารถสรุปผลได3 เนื่องจากผลผลิตบางสfiวนถูกเพลี้ยอfiอนเข3าทําลาย สfiวนแปลงนางสาววราพร ฉายรังสี พบวfiา ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอย ไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi ทําให3ผลผลิต มูลคfiาผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรสูงที่สุด แตfiใช3ต3นทุนปุjยเคมีต่ําที่สุดเพียง 11.19 % เมื่อเทียบกับตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ ที่มีคfiาใช3จfiายต3นทุนปุjยสูงที่สุด เทfiากับ 1,529.45 บาทตfiอไรfi แตfiได3ผลผลิตต่ํากวfiาตํารับที่ 4 เทfiากับ 5.80 %


4 หลักการและเหตุผล กรมพัฒนาที่ดินได3พัฒนาชุดตรวจสอบดินภาคสนาม (LDD soil testing kit) ขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อใช3 แทนชุดตรวจดินภาคสนามที่ผลิตโดยองคffiกรอื่น และกรมพัฒนาที่ดินได3นํามาใช3ในการปฏิบัติงานของหมอดิน ทั่วประเทศมาเปDนเวลานาน ซึ่งการพัฒนา LDD soil testing kit ขึ้นมาใช3เอง นอกจากจะเปDนการแสดงถึง ศักยภาพของกรมพัฒนาที่ดินในฐานะที่เปDนหนfiวยงานที่รับผิดชอบงานด3านตfiางๆ ที่เกี่ยวข3องกับการพัฒนาดิน ของรัฐโดยตรงแล3ว ยังเปDนการประหยัดงบประมาณได3อีกด3วย ดังนั้นหากวfiาการวิเคราะหffiดินในแปลงเกษตรกร ด3วย LDD soil testing kit ให3ผลการวิเคราะหffiที่สามารถนําไปใช3ได3 ยfiอมกfiอให3เกิดประโยชนffiแกfiเกษตรกรอยfiาง กว3างขวาง เพราะหากเกษตรกรสามรถใสfiปุjยในการเพาะปลูกได3อยfiางเหมาะสม และอัตราการใสfiปุjยเปDนไปตาม คุณภาพของดินแทนที่จะใช3ตามวิธีการที่เคยปฏิบัติ ซึ่งไมfiคfiอยได3คํานึงถึงเรื่องคุณภาพของดิน โดยเฉพาะอยfiาง ยิ่ง ปริมาณธาตุอาหารหลักที่มีอยูfiในดิน ตลอดจนปริมาณความต3องการธาตุอาหารหลักของพืชที่จะปลูก เกษตรกรไมfiเพียงแตfiจะสามารถลดต3นทุนการผลิตด3านปุjย แตfiยังเกิดผลดีในแงfiของการชfiวยลดปÖญหาเรื่องการ เสื่อมโทรมของดินที่เกิดจากการใช3ปุjยไมfiถูกต3อง ซึ่งปÖญหาที่พบบfiอย ได3แกfi การที่ดินขาดสมดุลของธาตุอาหาร พืช เพราะมีการสะสมของ P และ K ในดินในระดับสูง และเปDนกรดเพิ่มขึ้น เพราะใช3ปุjยไนโตรเจนมากเกินไป อยfiางไรก็ดี การเผยแพรfi LDD soil testing kit ไปสูfiผู3ใช3ในวงกว3าง จําเปDนต3องมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติม โดยเฉพาะการทดลองในภาคสนาม เพื่อให3ได3ข3อมูลที่สามารถยืนยันได3วfiา LDD soil testing kit สามารถใช3 ตรวจสอบสภาพความอุดมสมบูรณffiของดินขั้นพื้นฐานได3 โดยคfiาวิเคราะหffiที่ได3มีความเหมาะสม และนfiาเชื่อถือ ในระดับที่เพียงพอสําหรับการใช3ประเมินความต3องการปุjยของพืชที่เกษตรกรจะปลูกได3 ดังนั้นการศึกษาวิจัย เพิ่มเติมโดยการทดลองภาคสนาม จึงเปDนเรื่องที่จําเปDนต3องมีการดําเนินการ โดยการทดลองนี้ดําเนินการ ทดลองในผักกวางตุ3ง จังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค เพื่อศึกษาแนวทางการใช3คfiาวิเคราะหffiดิน ผลผลิตที่คาดหวัง และธาตุอาหารหลักในผลผลิตเพื่อกําหนด อัตราการใสfiปุjยสําหรับผัก ขอบเขตการศึกษา การทดลองนี้ พืชชนิดที่ปลูกคือผักกวางตุ3ง สําหรับการคัดเลือกพื้นที่ นักวิจัยอาวุโสที่เปDนที่ปรึกษา ของกรมฯ จะออกพื้นที่รfiวมกับนักวิชาการเกษตรกfiอนที่จะวางแผนการดําเนินการอยfiางละเอียด เนื่องจากการ กําหนดตํารับการทดลองจําเปDนต3องอาศัยข3อมูลด3านคุณภาพของดินที่จะใช3ทําแปลงทดลองในการทดลอง ภาคสนามของแตfiละโครงการยfiอย จะแยกออกเปDน 2 สfiวน สfiวนแรกเปDนการทดลองสมบูรณffiแบบในตัว ซึ่ง นักวิจัยสามารถเข3าไปจัดการในการเพาะปลูกพืชได3ด3วยตนเอง (มีตํารับการทดลองที่ทําหลายซ้ําในพื้นที่ เดียวกัน จํานวน 4 ซ้ํา) สfiวนที่สองเปDนการทดลองในพื้นที่เกษตรกร จํานวน 4 ราย ซึ่งจะคัดเลือกพื้นที่ของ เกษตรกรที่มีลักษณะดินเหมือนกัน


5 การตรวจเอกสาร โดยทั่วไปเกษตรกรมีการใช3สารเคมีในระดับสูง โดยเฉพาะปุjยและยาฆfiาแมลงสําหรับการปลูกผัก และการใช3ปุjยในปริมาณมากมีผลทําให3เกิดการสูญเสียไนโตรเจนจากดินและการสะสมฟอสฟอรัสในดิน ซึ่ง ทําให3เกิดผลเสียตfiอสภาพแวดล3อม (Mursheldul and Ladha, 2004) ในการเพาะปลูกพืชหลายชนิดที่มี การใสfiปุjยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมอยfiางตfiอเนื่องในปริมาณสูง จะทําให3มีการสะสม ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในระดับสูง (Prasad and Sinha, 1981) จากการศึกษาของ เนตรดาว (2547) ซึ่งได3ประเมินงบดุลบางสfiวนของธาตุอาหารหลักของพืชที่ ปลูกในระบบปลอดสารป}องกันศัตรูพืช โดยใช3ผักอายุยาว (45 วัน) 3 ชนิด ได3แกfi คะน3า ผักกาดกวางตุ3ง และผักกาดฮfiองเต3 และผักอายุสั้น (35 วัน) 3 ชนิด ได3แกfi ผักบุ3ง ผักโขมจีน และผักสลัดใบ พบวfiา มีการใช3 ปุjยเคมีและปุjยอินทรียffi ในปริมาณที่ให3ธาตุอาหารหลัก 7.1 g N/m2 5.8 g P/m2 และ 5.0 g K/m2 สําหรับ ผักอายุยาว และ 5.7 g N/m2 4.7 g P/m2 และ 4.0 g K/m2 สําหรับผักอายุสั้น และจากการวิเคราะหffiดิน กfiอนปลูก พบวfiา มีไนโตรเจนในระดับที่ไมfiเพียงพอสําหรับการปลูกผักแตfiมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDน ประโยชนffiในดินและโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได3ในระดับสูงมาก ดังนั้นงบดุลธาตุอาหารบางสfiวน จะผันแปรไปตามชนิดของผักที่ปลูก แตfiเปDนที่สังเกตวfiาสําหรับพืชผักทั้ง 6 ชนิดที่ศึกษาจะมีงบดุลของ ฟอสฟอรัสเปDนบวก สfiวนงบดุลของไนโตรเจนและโพแทสเซียม สําหรับผักคะน3า ผักกาดกวางตุ3ง และผัก โขมจีนมีคfiาติดลบ แตfiสําหรับผักสลัดใบและผักบุ3งกลับมีคfiางบดุลไนโตรเจนและโพแทสเซียมเปDนบวก สfiวน ผักกาดฮfiองเต3มีคfiางบดุลของไนโตรเจนเปDนบวก แตfiงบดุลโพแทสเซียมติดลบ Ontario Ministry of Agriculture Food and Rural Affairs (2006) รายงานวfiา ในดินที่มี ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiในดิน 61mg/kg หรือมากกวfiา ผักสลัดจะไมfiตอบสนองตfiอการใสfiปุjย ฟอสฟอรัสที่เพิ่มเติมลงไป สําหรับดินที่มีปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได3 181 mg/kg หรือสูง กวfiา ผักสลัดก็จะไมfiตอบสนองตfiอการใสfiปุjยโพแทสเซียมเชfiนเดียวกัน Deenik et al. 2006 ได3ศึกษาการจัดการปุjยฟอสฟอรัสสําหรับการปลูกกะหล่ําปลี โดยดินที่ปลูกมี ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiและโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได3ในระดับสูง พบวfiา การใสfiปุjยที่ มีปริมาณ N P K แตกตfiางกัน ไมfiทําให3ปริมาณผลผลิตน้ําหนักสดของกะหล่ําปลีแตกตfiางกันอยfiางมีนัยสําคัญ ปวีณา (2551) ได3ศึกษาสภาพความอุดมสมบูรณffiของดินและการจัดการปุjยเคมีอยfiางเหมาะสมใน การปลูกผักบนพื้นที่สูง พบวfiา ดินที่ใช3ปลูกผักสfiวนใหญfiมีความเปDนกรดจัด (pH อยูfiในชfiวง 3.8-5.4) ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffi และปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได3อยูfiในระดับสูงมาก (>100 mg P/kg และ >300 mg K/kg) และใช3พื้นที่ดังกลfiาวทําการทดลองการใสfiปุjยเคมีตามคfiาวิเคราะหffiดิน เปรียบเทียบกับการใสfiปุjยเคมีแบบตfiางๆ ผลการทดลองพบวfiา วิธีการใสfiปุjยในอัตราที่ได3จากการประเมิน ปริมาณธาตุอาหารที่มีอยูfiในดินรfiวมกับปริมาณธาตุอาหารที่สะสมอยูfiในผลผลิตผัก ให3ผลผลิตไมfiแตกตfiาง จากวิธีการใสfiปุjย NPK ตามอัตราของศูนยffi/สถานีและเกษตรกร แตfiวิธีการใสfiปุjยดังกลfiาวสามารถลดต3นทุน การใช3ปุjยเคมีได3ถึง 63-95% ของต3นทุนการผลิตของวิธีการใสfiปุjย NPK ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินการ ระยะเวลาดําเนินงาน เริ่มต3น เดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 สิ้นสุด เดือนกันยายน พ.ศ. 2557


6 สถานที่ดําเนินงาน 1. สถานที่ตั้ง แปลงเกษตรกร หมูfiที่ 7 ตําบลวงฆ3อง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก พิกัดแปลง 1. แปลงทดลองแบบ RCB นายสนม ฉายรังสี 623034 E 1893905 N 2. แปลงทดลองแบบ Observation Trial 1) นางสาววาสนา เถื่อนวิถี 623041 E 1893982 N 2) นางหวาน อินทรffiหอม 622562 E 1894112 N 3) นางลําจวน ประสงคffiมณี 622750 E 1893800 N 4) นางสาววราพร ฉายรังษี 622876 E 1893501 N 2. สภาพพื้นที่ แปลงทดลองอยูfiในกลุfiมชุดดินที่ 15 และ 33 จากการเก็บตัวอยfiางดินกfiอนการทดลองเพื่อวิเคราะหffiเนื้อดินในแปลงทดลองแบบ RCB และแปลง ทดลองแบบ Observation Trail พบวfiา มีเนื้อดินเหมือนกันคือ ดินรfiวนปนทรายแป}ง ซึ่งนํามาใช3ในการ ประเมินอัตราปุjยในตํารับการทดลองที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณ การดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดิน และประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและ โพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi และตํารับการทดลองที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3 ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3าง ของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi อุปกรณและวิธีการ 1. อุปกรณ 1. เมล็ดพันธุffiผักกวางตุ3ง 2. ปุjยเคมีสูตร 15-15-15 25-5-5 46-0-0 0-46-0 และ 0-0-60 3. อุปกรณffiเก็บตัวอยfiางดิน 4. ถุงเก็บตัวอยfiางพืช 5. เครื่องชั่ง 2. วิธีดําเนินการ การทดลองที่ 1 วางแผนการทดลองแบบบล็อกสุfiมสมบูรณffi (Randomized Complete Block : RCB) จํานวน 4 ซ้ําประกอบด3วยตํารับการทดลอง 6 ตํารับ ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร


7 ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi ตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน การทดลองที่ 2 การทดลองแบบสังเกตุการณffi (Observation Trial) ในพื้นที่เกษตรกร จํานวน 4 ราย ซึ่งจะคัดเลือกพื้นที่ของเกษตรกรที่มีลักษณะดินเหมือนกัน ประกอบด3วยตํารับการทดลอง 6 ตํารับ เชfiนเดียวกับ การทดลองที่ 1 ขั้นตอนการทดลอง 1. สํารวจ และคัดเลือกแปลงทดลองในพื้นที่เกษตรกรผู3ปลูกผัก ตําบลวงฆ3อง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ชี้แจงหลักการและเหตุผลให3เกษตรกรที่รfiวมโครงการวิจัยได3ทราบ 2. เตรียมแปลงทดลองโดย 2.1 แปลง RCBD แบfiงแปลงยfiอยขนาด 1.2 x 3 เมตร (จํานวน 24 แปลงยfiอย) 2.2 แปลงเกษตรกร แปลงยfiอยขนาด 2 x 4 เมตร (จํานวน 6 แปลง) 3. เก็บตัวอยfiางดินที่ระดับความลึก 0–15 ซม. ในแตfiละแปลงยfiอย กfiอนทําการทดลอง และหลังเก็บ เกี่ยว 4. ปลูกผักกวางตุ3ง โดยวิธีหวfiาน 5. การจัดการปุjยตามตํารับทดลอง ดังนี้ 5.1 แปลงทดลองแบบบล็อกสุมสมบูรณ (Randomized Complete Block : RCB) ดําเนินการรfiวมกับนายสนม ฉายรังสี มีการจัดการปุjย ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=5.06 P2O5=0 และ K2O=11.23 กิโลกรัมตfiอไรfi)


8 ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 6(T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) 5.2 แปลงทดลองแบบสังเกตุการณ ดําเนินการรfiวมกับเกษตรกร 4 ราย ดังนี้ 1) นางสาววาสนา เถื่อนวิถี มีการจัดการปุjย ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=11.46 P2O5=2.67 และ K2O=2.67 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=15 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=5.78 P2O5=0 และ K2O=22.46 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 6(T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) 2) นางหวาน อินทรffiหอม มีการจัดการปุjย ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=47.97 P2O5=7.54 และ K2O=7.54 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=5 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=4.36 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi)


9 ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 6(T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) 3) นางลําจวน ประสงคffiมณี มีการจัดการปุjย ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.32 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=10 P2O5=5 และ K2O=5 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=1.24 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 6(T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) 4) นางสาววราพร ฉายรังษี มีการจัดการปุjย ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=54.12 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=20 P2O5=5 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=6.06 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi)


10 ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 6(T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) 6. การใสfiปุjยเคมีแบfiงใสfiจํานวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ผักอายุ 15 วัน ครั้งที่ 2 ผักอายุ 25 วัน และครั้งที่ 3 ผักอายุ 35 วัน 7. ดูแลรักษา สํารวจแปลงอยfiางสมํ่าเสมอ กําจัดวัชพืช และแมลงศัตรูพืชตามความจําเปDน 8. การบันทึกข3อมูล 8.1 ข3อมูลดิน ได3แกfi เก็บตัวอยfiางดินที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร กfiอนการทดลองและหลัง เก็บเกี่ยวผลผลิต นําไปวิเคราะหffiสมบัติทางเคมีบางประการ เชfiน ความเปDนกรดเปDนดfiางของดิน (pH) วิธีการ ดิน : น้ํา 1 : 1 วัดด3วย pH meter (สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%OM) วิธีการ Walkley and Black method (สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547) ปริมาณธาตุ ฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffi (Available P) ใช3 2 วิธี คือ Bray 2 และ Double acid (สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อ การพัฒนาที่ดิน, 2547) และปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3 (Exchangeable K) วิธีการ ammonium acetate 1 N pH 7 อัตราสfiวน 1 ตfiอ 20 (สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547) 8.2 ข3อมูลพืช ได3แกfi น้ําหนักผลผลิตรวม น้ําหนักผักหลังตัดแตfiง น้ําหนักเศษผัก ปริมาณธาตุ อาหาร N P K ในผักหลังตัดแตfiงและเศษผัก 8.3 ข3อมูลด3านผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ โดยบันทึกข3อมูลคfiาใช3จfiายของแตfiละตํารับการทดลอง 9. วิเคราะหffiข3อมูลแปลงทดลองแบบบล็อกสุfiมสมบูรณffi โดยการหาความแปรปรวนทางสถิติ และหาคfiา ความแตกตfiางของคfiาเฉลี่ยโดยวิธี Duncan's Multiple Range Test (DMRT) และเปรียบเทียบความแตกตfiาง โดยวิธี T-test สําหรับการทดลองแบบสังเกตุการณffi


11 ผลการทดลองและวิจารณ การทดลองที่ 1 แปลงทดลองแบบ RCB นายสนม ฉายรังษี ทําการทดลองแบบบล็อกสุfiมสมบูรณffi (RCB) จํานวน 4 ซ้ํา มีตํารับการทดลอง ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=5.06 P2O5=0 และ K2O=11.23 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 6(T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) 1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน 1.1 สมบัติของดินกอนการทดลอง จากการเก็บตัวอยfiางดินกfiอนการทดลองที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อทําการวิเคราะหffiสมบัติ ของดิน พบวfiา ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางเทfiากับ 6.0 ซึ่งอยูfiในระดับกรดปานกลาง ปริมาณอินทรียวัตถุอยูfi ในระดับปานกลาง คือ 1.88 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiอยูfiในระดับสูง คือ 34 มิลลิกรัมตfiอ กิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3อยูfiในระดับปานกลาง คือ 70 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม และมี ลักษณะเนื้อดินเปDนดินรfiวนปนทรายแป}ง (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 สมบัติของดินกอนการทดลองแปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) สมบัติของดิน ระดับ ผลการวิเคราะห คfiาความเปDนกรดเปDนดfiาง กรดปานกลาง 6.0 ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรffiเซ็นตffi) ปานกลาง 1.88 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffi (มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม) สูง 34 ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3 (มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม) ปานกลาง 70 ลักษณะเนื้อดิน ดินรfiวนปนทรายแป}ง ที่มา: กลุfiมวิเคราะหffiดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 (2557) และสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน (2557)


12 1.2 สมบัติของดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต จากการเก็บตัวอยfiางดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตผักกวางตุ3ง ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อทํา การวิเคราะหffiสมบัติทางเคมีบางประการของดิน พบวfiา ความเปDนกรดเปDนดfiางของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุ และ ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3 ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ สําหรับปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiมี ความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญ โดยตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiสูงที่สุด เทfiากับ 183.25 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม สfiวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมิน อัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอ ไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดิน และประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมิน อัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=5.06 P2O5=0 และ K2O=11.23 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณ การดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) และ ตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนา ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDน ประโยชนffiต่ําที่สุด เทfiากับ 86.50 89.50 99.00 86.00 และ 101.00 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ตามลําดับ การที่ดิน หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตมีปริมาณอินทรียวัตถุมีคfiาสูงขึ้นมากกวfiากfiอนการทดลองในทุกตํารับการทดลอง ทั้งนี้อาจ เนื่องมาจากชิ้นสfiวนตfiางๆ ของรากยังปะปนอยูfiในดิน สfiวนการเพิ่มขึ้นของปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiใน ดินนั้น ซึ่งพบได3แม3ในดินที่ไมfiได3รับการใสfiปุjยเคมี คาดวfiาเปDนการเปลี่ยนแปลงของความเปDนประโยชนffiของ ฟอสฟอรัสตามธรรมชาติตลอดชfiวงฤดูกาลปลูกมากกวfiาเปDนผลของการใสfiปุjยเคมี สfiวนตํารับที่ 2 วิธีเกษตรกร มี ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiสูงขึ้นมากที่สุดอาจเนื่องมาจากปุjยตกค3าง (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 สมบัติของดินหลังเก็บเกี่ยวแปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) ตํารับการทดลอง คาความเปEนกรด เปEนดาง ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) ปริมาณฟอสฟอรัส ที่เปEนประโยชน (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียม ที่แลกเปลี่ยนได (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ตํารับที่ 1 (T1) 6.80 2.12 86.50 b 37.50 ตํารับที่ 2 (T2) 6.52 2.20 183.25 a 35.00 ตํารับที่ 3 (T3) 6.68 2.20 89.50 b 37.50 ตํารับที่ 4 (T4) 6.50 2.45 99.00 b 40.00 ตํารับที่ 5 (T5) 6.68 2.38 86.00 b 37.50 ตํารับที่ 6 (T6) 6.32 2.32 101.00 b 35.00 F-test ns ns ** ns cv (%) 3.10 11.39 17.39 15.76 ที่มา: กลุfiมวิเคราะหffiดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 (2557) หมายเหตุ ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภffiเดียวกันไมfiมีความแตกตfiางกันอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ด3วยวิธี DMRT ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ


13 2. ผลผลิตผักกวางตุง 2.1 ผลผลิตผักกวางตุงที่เกษตรกรคาดหวัง ผลผลิตผักกวางตุ3งสดที่เกษตรกรคาดวfiาจะได3รับเฉลี่ยในพื้นที่เทfiากับ 3,300 กิโลกรัมตfiอไรfi (รวมกับ สfiวนที่เหลือทิ้งหรือเศษผัก) โดยน้ําหนักแห3งประมาณ 4.87% ของน้ําหนักสด เทfiากับ 161 กิโลกรัมตfiอไรfi จาก รายงานของ เนตรดาว (2547) ในทุกสfiวนของผักกวางตุ3งมีปริมาณไนโตรเจนเทfiากับ 4.84 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณ ฟอสฟอรัสเทfiากับ 0.64 เปอรffiเซ็นตffi และปริมาณโพแทสเซียมเทfiากับ 5.68 เปอรffiเซ็นตffi (เปอรffiเซ็นตffiโดยน้ําหนัก แห3ง) ดังนั้นผักกวางตุ3งสด 3,300 กิโลกรัมตfiอไรfi (น้ําหนักแห3ง 161 กิโลกรัมตfiอไรfi) จะมีการสะสมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในผลผลิตเทfiากับ 7.79 1.03 และ 9.14 กิโลกรัมตfiอไรfiลําดับ (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 ขอมูลผักกวางตุงเบื้องตนของเกษตรกรกอนดําเนินการทดลอง รายการ น้ําหนักสด (กก./ไรfi) น้ําหนักแห3ง (กก./ไรfi) การสะสมธาตุอาหารพืช (กก./ไรfi)* ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ผลผลิตกวางตุ3ง 3,300 161 7.79 1.03 9.14 * ทุกสfiวนของกวางตุ3งมีปริมาณไนโตรเจนเทfiากับ 4.84 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณฟอสฟอรัสเทfiากับ 0.64 เปอรffiเซ็นตffi และปริมาณโพแทสเซียมเทfiากับ 5.68 เปอรffiเซ็นตffi (เปอรffiเซ็นตffiโดยน้ําหนักแห3ง) 2.2 ผลผลิตผักกวางตุงจากการทดลอง 1) น้ําหนักผักหลังตัดแตง จากการทดลอง พบวfiา น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงมีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญ โดยตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทํา ให3น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุด เทfiากับ 2,387.00 กิโลกรัมตfiอไรfi แตfiไมfiแตกตfiางทางสถิติกับตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณ ธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดย ใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ที่มีน้ําหนักผักหลังตัดแตfiง เทfiากับ 1,811.75 และ 1,730.00 กิโลกรัมตfiอไรfi ตามลําดับ สfiวน ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3 เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) และตํารับที่ 4 (T4) ประเมิน อัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจาก อินทรียวัตถุในดิน และประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและ โพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=5.06 P2O5=0 และ K2O=11.23 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุด เทfiากับ 1,230.00 1,490.50 และ 1,301.50 กิโลกรัมตfiอไรfi ตามลําดับ แตfiไมfiแตกตfiางทางสถิติกับตํารับที่ 5 และ 6 (ตารางที่ 4) 2) น้ําหนักเศษผัก จากการทดลอง พบวfiา น้ําหนักเศษผักมีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญ โดยตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjย ตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3 น้ําหนักเศษผักสูงที่สุด เทfiากับ 2,465.75 กิโลกรัมตfiอไรfi สfiวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด)


14 ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูด ใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดิน และประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดิน เปDนเกณฑffi (N=5.06 P2O5=0 และ K2O=11.23 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiา วิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจาก กระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานัก วิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3 น้ําหนักเศษผักต่ําที่สุด เทfiากับ 1,012.50 1,626.50 1,427.75 1,626.00 และ 1,753.75 กิโลกรัมตfiอไรfi ตามลําดับ โดยตํารับที่ 1 3 4 5 และ 6 ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 น้ําหนักผักหลังตัดแตงและน้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตอไร) แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) ตํารับการทดลอง น้ําหนักผักหลังตัดแตง (กิโลกรัมตอไร) Relative Yield น้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตอไร) Relative Yield ตํารับที่ 1 (T1) 1,230.00 b 51.53 1,012.50 b 41.06 ตํารับที่ 2 (T2) 2,387.00 a 100.00 2,465.75 a 100.00 ตํารับที่ 3 (T3) 1,490.50 b 62.44 1,626.50 b 65.96 ตํารับที่ 4 (T4) 1,301.50 b 54.52 1,427.75 b 57.90 ตํารับที่ 5 (T5) 1,811.75 ab 75.90 1,626.00 b 65.94 ตํารับที่ 6 (T6) 1,730.00 ab 72.48 1,753.75 b 71.12 F-test ** * cv (%) 22.83 28.30 หมายเหตุ ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภffiเดียวกันไมfiมีความแตกตfiางกันอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ด3วยวิธี DMRT * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 3. ความเขมขนของธาตุอาหารในผลผลิตผักกวางตุง 3.1 ความเขมขนของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3นของ ไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผักมีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญ โดยตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตาม วิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความ เข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผักสูงที่สุด เทfiากับ 4.69 และ 3.45 เปอรffiเซ็นตffi ตามลําดับ สfiวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและใน เศษผักต่ําที่สุด เทfiากับ 2.85 และ 1.80 เปอรffiเซ็นตffi ตามลําดับ (ตารางที่ 5) 3.2 ความเขมขนของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3นของ ฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผักไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ (ตารางที่ 5)


15 3.3 ความเขมขนของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3น ของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงมีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญ โดยตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการ และอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของ โพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุด เทfiากับ 4.14 เปอรffiเซ็นตffi สfiวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุก ชนิด) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3 ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดิน และประสิทธิภาพการดูด ใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและ โพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=5.06 P2O5=0 และ K2O=11.23 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 5 (T5) ประเมิน อัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุ อาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดย ใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุด เทfiากับ 2.64 3.20 2.96 2.89 และ 3.44 เปอรffiเซ็นตffi ตามลําดับ โดยตํารับที่ 1 3 4 5 และ 6 ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ สําหรับความเข3มข3น ของโพแทสเซียมในเศษผัก พบวfiา ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ (ตารางที่ 5) ตารางที่ 5 ความเขมขนของธาตุอาหารในผลผลิตผักกวางตุง แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) ตํารับการทดลอง ผักหลังตัดแตง (เปอรเซ็นต) เศษผัก (เปอรเซ็นต) ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ตํารับที่ 1 (T1) 2.85 c 0.57 2.64 b 1.80 c 0.58 2.92 ตํารับที่ 2 (T2) 4.69 a 0.70 4.14 a 3.45 a 0.58 3.34 ตํารับที่ 3 (T3) 4.10 b 0.72 3.20 b 2.38 bc 0.61 3.98 ตํารับที่ 4 (T4) 3.22 c 0.66 2.96 b 2.16 bc 0.65 3.88 ตํารับที่ 5 (T5) 3.69 b 0.64 2.89 b 2.40 bc 0.58 2.97 ตํารับที่ 6 (T6) 4.02 b 0.73 3.34 b 2.78 b 0.59 2.41 F-test ** ns ** ** ns ns cv (%) 5.47 11.65 11.40 12.15 11.16 26.36 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภffiเดียวกันไมfiมีความแตกตfiางกันอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ด3วยวิธี DMRT ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ


16 น้ําหนักแหงสวนเหนือดินและการสะสมธาตุอาหารพืชในสวนเหนือดิน แปลงนายสนม ฉายรังษี จากการทดลอง พบวfiา น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินมีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญ โดยตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทํา ให3น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินสูงที่สุด เทfiากับ 250.64 กิโลกรัมตfiอไรfi แตfiไมfiแตกตfiางทางสถิติกับตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณ ธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ที่มีน้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดิน เทfiากับ 214.26 กิโลกรัมตfiอไรfi ตามลําดับ สfiวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiา วิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอย ไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดิน และประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjย ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=5.06 P2O5=0 และ K2O=11.23 กิโลกรัมตfiอไรfi) และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนํา ของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินต่ําที่สุด เทfiากับ 171.05 187.39 173.81 และ 202.86 กิโลกรัมตfiอไรfi ตามลําดับ แตfiไมfiแตกตfiางทางสถิติกับตํารับที่ 5 (ตารางที่ 6) สfiวนการสะสมธาตุอาหารพืชในสfiวนเหนือดิน พบวfiา ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ของสfiวนเหนือดินทั้งหมด มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญ ดังนี้ - ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดิน พบวfiา ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่ เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณไนโตรเจนในสfiวน เหนือดินสูงที่สุด เทfiากับ 10.12 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) และตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอย ไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดิน และประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjย ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=5.06 P2O5=0 และ K2O=11.23 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดินต่ําที่สุด เทfiากับ 4.08 และ 4.63 เปอรffiเซ็นตffi ตามลําดับ (ตารางที่ 6) - ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดิน พบวfiา ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่ เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวน เหนือดินสูงที่สุด เทfiากับ 1.57 เปอรffiเซ็นตffi แตfiไมfiแตกตfiางทางสถิติกับ ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiา วิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจาก กระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานัก วิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ที่มีปริมาณ ฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดิน เทfiากับ 1.32 และ 1.31 เปอรffiเซ็นตffi ตามลําดับ สfiวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดินต่ําที่สุด เทfiากับ 0.98 เปอรffiเซ็นตffi แตfiไมfiแตกตfiางทาง สถิติกับตํารับที่ 3 และ 4 (ตารางที่ 6) - ปริมาณโพแทสเซียมในสfiวนเหนือดิน พบวfiา ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่ เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณโพแทสเซียมในสfiวน


17 เหนือดินสูงที่สุด เทfiากับ 9.26 เปอรffiเซ็นตffi สfiวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ปริมาณ โพแทสเซียมในสfiวนเหนือดินต่ําที่สุด เทfiากับ 4.57 เปอรffiเซ็นตffi แตfiไมfiแตกตfiางทางสถิติกับตํารับที่ 4 และ 6 (ตารางที่ 6) ตารางที่ 6 น้ําหนักแหงสวนเหนือดินและการสะสมธาตุอาหารพืชในสวนเหนือดิน แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) ตํารับการทดลอง น้ําหนักแหงสวนเหนือดิน (กิโลกรัมตอไร) การสะสมธาตุอาหารพืชในสวนเหนือดิน (กิโลกรัมตอไร) ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ตํารับที่ 1 (T1) 171.05 b 4.08 c 0.98 c 4.57 c ตํารับที่ 2 (T2) 250.64 a 10.12 a 1.57 a 9.26 a ตํารับที่ 3 (T3) 187.39 b 6.02 b 1.23 bc 6.68 b ตํารับที่ 4 (T4) 173.81 b 4.63 c 1.14 bc 5.94 bc ตํารับที่ 5 (T5) 214.26 ab 6.64 b 1.32 ab 6.26 b ตํารับที่ 6 (T6) 202.86 b 6.75 b 1.31 ab 5.85 bc F-test * ** ** ** cv (%) 14.18 10.96 15.50 16.20 หมายเหตุ ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภffiเดียวกันไมfiมีความแตกตfiางกันอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ด3วยวิธี DMRT * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 4. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ มูลคาผลผลิต ตนทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร จากผลการวิเคราะหffiผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของผักกวางตุ3งแปลงนายสนม ฉายรังสี (RCB) พบวfiา ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.2 P2O5=19.2 และ K2O=19.2 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3มูลคfiาผลผลิต ต3นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรสูงที่สุดเทfiากับ 35,805 10,265 และ 25,540 บาทตfiอไรfi ตามลําดับ รองลงมาคือตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดิน โดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการ ชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3มูลคfiาผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรเทfiากับ 27,176 และ 22,250 บาทตfiอ ไรfi ตามลําดับ สําหรับต3นทุนผันแปรของตํารับที่ 5 เทfiากับ 4,926 บาทตfiอไรfi ซึ่งน3อยกวfiาต3นทุนผันแปรของ ตํารับที่ 2 เทfiากับ 5,339 บาทตfiอไรfi สfiวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3มูลคfiาผลผลิต ต3นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรต่ําที่สุด เทfiากับ 18,450 4,340 และ 14,110 บาทตfiอไรfi ตามลําดับ (ตารางที่ 7) จากผลการวิเคราะหffi พบวfiา ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ ถึงแม3จะให3ผลผลิตและผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรสูงที่สุด แตfiมีคfiาใช3จfiายต3นทุนปุjยสูงที่สุด เทfiากับ 5,324.60 บาทตfiอไรfi ในขณะที่ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3 ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDน ปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi ให3ผลผลิตและผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรรองลงมา ซึ่ง


18 ตํารับที่ 5 ผลผลิตต่ํากวfiาตํารับที่ 2 เทfiากับ 24.1 % แตfiมีคfiาใช3จfiายต3นทุนปุjยต่ําที่สุด เทfiากับ 286.26 บาทตfiอไรfi ซึ่งต่ํากวfiาวิธีเกษตรกรถึง 94.62 % ตารางที่ 7 มูลคาผลผลิต ตนทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร แปลงนายสนม ฉายรังษี (RCB) ตํารับ การทดลอง ผลผลิต (กิโลกรัมตอไร) Relative (%) มูลคาผลผลิต (บาทตอไร) ตนทุนผันแปร (บาทตอไร) ตนทุนปุ%ย (บาทตอไร) Relative (%) ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร (บาทตอไร) ตํารับที่ 1 (T1) 1,230.00 51.53 18,450 4,340 0 0 14,110 ตํารับที่ 2 (T2) 2,387.00 100.00 35,805 10,265 5,324.60 100.00 25,540 ตํารับที่ 3 (T3) 1,490.50 62.44 22,357 5,599 959.18 18.01 16,758 ตํารับที่ 4 (T4) 1,301.50 54.52 19,522 5,060 420.06 7.89 14,462 ตํารับที่ 5 (T5) 1,811.75 75.90 27,176 4,926 286.26 5.38 22,250 ตํารับที่ 6 (T6) 1,730.00 72.48 25,950 6,029 1,389.34 26.09 19,921 การทดลองที่ 2 การทดลองแบบสังเกตุการณ (Observation Trial) ในพื้นที่เกษตรกร จํานวน 4 ราย เกษตรกรรายที่ 1 นางสาววาสนา เถื่อนวิถี ทําการทดลองแบบสังเกตุการณffi (Observation Trial) มีตํารับการทดลอง ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=11.46 P2O5=2.67 และ K2O=2.67 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=15 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=5.78 P2O5=0 และ K2O=22.46 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 6(T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi)


19 1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน 1.1 สมบัติของดินกอนการทดลอง จากการเก็บตัวอยfiางดินกfiอนการทดลองที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อทําการวิเคราะหffiสมบัติ ของดิน พบวfiา ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางเทfiากับ 5.8 ซึ่งอยูfiในระดับกรดปานกลาง ปริมาณอินทรียวัตถุอยูfi ในระดับปานกลาง คือ 1.59 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiอยูfiในระดับปานกลาง คือ 13 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3อยูfiในระดับต่ํา คือ 40 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม และมี ลักษณะเนื้อดินเปDนดินรfiวนปนทรายแป}ง (ตารางที่ 8) ตารางที่ 8 สมบัติของดินกอนการทดลองแปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี สมบัติของดิน ระดับ ผลการวิเคราะห คfiาความเปDนกรดเปDนดfiาง กรดปานกลาง 5.8 ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรffiเซ็นตffi) ปานกลาง 1.59 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffi (มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม) ปานกลาง 13 ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3 (มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม) ต่ํา 40 ลักษณะเนื้อดิน ดินรfiวนปนทรายแป}ง ที่มา: กลุfiมวิเคราะหffiดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 (2557) และสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน (2557) 1.2 สมบัติของดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต จากการเก็บตัวอยfiางดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อทําการวิเคราะหffi สมบัติของดิน พบวfiา คfiาความเปDนกรดเปDนดfiางของดินอยูfiระหวfiาง 6.17-6.67 ซึ่งอยูfiในระดับกรดเล็กน3อยถึง เปDนกลาง ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=15 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางสูงที่สุดเทfiากับ 6.67 โดยสูงกวfiา ตํารับที่ 1 2 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ ตํารับที่ 2 4 5 และ 6 ทําให3ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางต่ํากวfiา ตํารับที่ 1 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3 ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางต่ําที่สุดเทfiากับ 6.17 โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 1 2 และ 3 อยfiางมีนัยสําคัญ ปริมาณ อินทรียวัตถุหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตอยูfiระหวfiาง 1.20-1.56 เปอรffiเซ็นตffi ซึ่งอยูfiในระดับคfiอนข3างต่ําถึงปานกลาง โดยตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนา ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงที่สุด เทfiากับ 1.56 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 3 และ 5 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjย จากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=15 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3 ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุต่ําที่สุดเทfiากับ 1.20 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตอยูfiระหวfiาง 27.67-62.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ซึ่งอยูfi ในระดับสูงถึงสูงมาก โดยตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานัก วิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมี ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiสูงที่สุดเทfiากับ 62.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 2 3 4 และ 5 อยfiางมีนัยสําคัญยิ่ง และตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการ เกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=15 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiต่ําที่สุด เทfiากับ 27.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 1 2 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญยิ่ง สfiวนปริมาณ


20 โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตอยูfiระหวfiาง 26.67-50.00 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ซึ่งอยูfiใน ระดับต่ํามากถึงต่ํา โดยตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานัก วิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมี ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3สูงที่สุดเทfiากับ 50.00 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 2 3 และ 5 อยfiางมีนัยสําคัญยิ่ง และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ดินมีปริมาณโพแทสเซียมที่ แลกเปลี่ยนได3ต่ําที่สุดเทfiากับ 26.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 4 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 9 และตารางที่ 10) ตารางที่ 9 คาความเปEนกรดเปEนดางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังเก็บเกี่ยว แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี ตํารับ การทดลอง คาความเปEนกรดเปEนดาง คาเฉลี่ย ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ** * * * ** 6.47 ns ns ns ns ns 1.43 ตํารับที่ 2 (T2) ** ns ns * 6.30 ns ns ns ns 1.40 ตํารับที่ 3 (T3) ** ** ** 6.67 ns * ** 1.20 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 6.27 ns ns 1.40 ตํารับที่ 5 (T5) ns 6.27 ** 1.40 ตํารับที่ 6 (T6) 6.17 1.56 ที่มา: กลุfiมวิเคราะหffiดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 (2557) หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ตารางที่ 10 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปEนประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดในดินหลัง เก็บเกี่ยว แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี ตํารับ การทดลอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปEนประโยชน (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ** ns ns ** 42.67 ns ns * ns ** 26.67 ตํารับที่ 2 (T2) ** ns ns ** 46.00 ns ns ns ** 33.33 ตํารับที่ 3 (T3) ** ** ** 27.67 ns ns ** 33.33 ตํารับที่ 4 (T4) * ** 46.33 ns ns 43.33 ตํารับที่ 5 (T5) ** 42.00 ** 33.33 ตํารับที่ 6 (T6) 62.67 50.00 ที่มา: กลุfiมวิเคราะหffiดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 (2557) หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ


21 2. ผลผลิตผักกวางตุง 2.1 ผลผลิตผักกวางตุงที่เกษตรกรคาดหวัง ผลผลิตผักกวางตุ3งสดที่เกษตรกรคาดวfiาจะได3รับเฉลี่ยในพื้นที่เทfiากับ 3,300 กิโลกรัมตfiอไรfi (รวมกับ สfiวนที่เหลือทิ้งหรือเศษผัก) โดยน้ําหนักแห3งประมาณ 4.87% ของน้ําหนักสด เทfiากับ 161 กิโลกรัมตfiอไรfi จาก รายงานของ เนตรดาว (2547) ในทุกสfiวนของผักกวางตุ3งมีปริมาณไนโตรเจนเทfiากับ 4.84 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณ ฟอสฟอรัสเทfiากับ 0.64 เปอรffiเซ็นตffi และปริมาณโพแทสเซียมเทfiากับ 5.68 เปอรffiเซ็นตffi (เปอรffiเซ็นตffiโดยน้ําหนัก แห3ง) ดังนั้นผักกวางตุ3งสด 3,300 กิโลกรัมตfiอไรfi (น้ําหนักแห3ง 161 กิโลกรัมตfiอไรfi) จะมีการสะสมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในผลผลิตเทfiากับ 7.79 1.03 และ 9.14 กิโลกรัมตfiอไรfiลําดับ (ตารางที่ 11) ตารางที่ 11 ขอมูลผักกวางตุงเบื้องตนของเกษตรกรกอนดําเนินการทดลอง รายการ น้ําหนักสด (กก./ไรfi) น้ําหนักแห3ง (กก./ไรfi) การสะสมธาตุอาหารพืช (กก./ไรfi)* ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ผลผลิตกวางตุ3ง 3,300 161 7.79 1.03 9.14 * ทุกสfiวนของกวางตุ3งมีปริมาณไนโตรเจนเทfiากับ 4.84 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณฟอสฟอรัสเทfiากับ 0.64 เปอรffiเซ็นตffi และปริมาณโพแทสเซียมเทfiากับ 5.68 เปอรffiเซ็นตffi (เปอรffiเซ็นตffiโดยน้ําหนักแห3ง) 2.2 ผลผลิตผักกวางตุงจากการทดลอง 1) น้ําหนักผักหลังตัดแตง จากการทดลอง พบวfiา น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 490.67-3,663.00 กิโลกรัมตfiอไรfi ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=11.46 P2O5=2.67 และ K2O=2.67 กิโลกรัมตfiอ ไรfi) ทําให3น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 3,663.00 กิโลกรัมตfiอไรfi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 3 และ 4 อยfiางมี นัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุดเทfiากับ 490.67 กิโลกรัมตfiอไรfi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 4 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 12) 2) น้ําหนักเศษผัก จากการทดลอง พบวfiา น้ําหนักเศษผักอยูfiระหวfiาง 706.67-2,074.67 กิโลกรัมตfiอไรfi ตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนา ที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3น้ําหนักเศษผักสูงที่สุดเทfiากับ 2,074.67 กิโลกรัม ตfiอไรfi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 2 และ 4 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3 น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุดเทfiากับ 706.67 กิโลกรัมตfiอไรfi (ตารางที่ 12)


22 ตารางที่ 12 น้ําหนักผักหลังตัดแตงและน้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตอไร) แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี ตํารับ การทดลอง น้ําหนักผักหลังตัดแตง (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative Yield น้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative Yield T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ** * * ns * 490.67 13.40 ns ns ns ns ns 706.67 68.88 ตํารับที่ 2 (T2) * * ns ns 3,663.00 100.00 ns ns ns * 1,026.00 100.00 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 2,070.00 56.51 ns ns ns 1,656.00 161.40 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 2,061.00 56.26 ns ** 802.67 78.23 ตํารับที่ 5 (T5) ns 2,425.67 66.22 ns 1,354.67 132.03 ตํารับที่ 6 (T6) 3,064.67 83.66 2,074.67 202.21 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 3. ความเขมขนของธาตุอาหารในผลผลิตผักกวางตุง 3.1 ความเขมขนของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3นของ ไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 1.85-4.29 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่ เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=11.46 P2O5=2.67 และ K2O=2.67 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของไนโตรเจน ในผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 4.29 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับ ที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุดเทfiากับ 1.85 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ สําหรับความเข3มข3นของไนโตรเจนในเศษ ผัก พบวfiา อยูfiระหวfiาง 1.23-2.72 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3 คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของไนโตรเจนในเศษผักสูงที่สุดเทfiากับ 2.72 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 3 และ 4 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ความเข3มข3นของ ไนโตรเจนในเศษผักต่ําที่สุดเทfiากับ 1.23 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 13) ตารางที่ 13 ความเขมขนของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี ตํารับ การทดลอง ผักหลังตัดแตง (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย เศษผัก (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ** * ns * ** 1.85 ** * * * ** 1.23 ตํารับที่ 2 (T2) ns ** ** * 4.29 ** * ns ns 2.61 ตํารับที่ 3 (T3) * ns ns 3.85 ns ns * 2.18 ตํารับที่ 4 (T4) ** ** 2.56 ns * 2.01 ตํารับที่ 5 (T5) ns 3.49 ns 2.35 ตํารับที่ 6 (T6) 3.70 2.72 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ


23 3.2 ความเขมขนของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3นของ ฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 0.31-0.60 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiา วิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 0.60 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 4 และ 5 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุก ชนิด) ทําให3ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุดเทfiากับ 0.31 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ สําหรับความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในเศษผัก พบวfiา อยูfiระหวfiาง 0.17-0.45 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อ การพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของ ฟอสฟอรัสในเศษผักสูงที่สุดเทfiากับ 0.45 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในเศษผักต่ําที่สุดเทfiากับ 0.17 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 14) ตารางที่ 14 ความเขมขนของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี ตํารับ การทดลอง ผักหลังตัดแตง (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย เศษผัก (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ** * ns * ** 0.31 * * * * * 0.17 ตํารับที่ 2 (T2) ns ** * ns 0.55 ns ns ns ns 0.40 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 0.53 ns ns ns 0.34 ตํารับที่ 4 (T4) ns ** 0.41 ns ns 0.37 ตํารับที่ 5 (T5) * 0.47 ns 0.39 ตํารับที่ 6 (T6) 0.60 0.45 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 3.3 ความเขมขนของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3น ของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 2.17-3.32 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและ อัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=11.46 P2O5=2.67 และ K2O=2.67 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของ โพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 3.32 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 อยfiางมีนัยสําคัญ และ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุด เทfiากับ 2.17 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ สําหรับความเข3มข3นของ โพแทสเซียมในเศษผัก พบวfiา อยูfiระหวfiาง 1.75-2.95 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiา วิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=15 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความ เข3มข3นของโพแทสเซียมในเศษผักสูงที่สุดเทfiากับ 2.95 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 และ 4 อยfiางมี นัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ความเข3มข3นของโพแทสเซียมในเศษผัก ต่ําที่สุดเทfiากับ 1.75 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 3 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 15)


24 ตารางที่ 15 ความเขมขนของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี ตํารับ การทดลอง ผักหลังตัดแตง (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย เศษผัก (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) * * ns * * 2.17 ns * ns ns ns 1.75 ตํารับที่ 2 (T2) ns ns ns ns 3.32 ns ns ns ns 2.60 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 3.25 * ns ns 2.95 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 2.77 ns ns 2.25 ตํารับที่ 5 (T5) ns 3.05 ns 2.72 ตํารับที่ 6 (T6) 3.22 2.75 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ น้ําหนักแหงสวนเหนือดินและการสะสมธาตุอาหารพืชในสวนเหนือดิน แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี จากการทดลอง พบวfiา น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินอยูfiระหวfiาง 120.85-270.78 กิโลกรัมตfiอไรfi ตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรม พัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 270.78 กิโลกรัมตfiอไรfi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 4 อยfiางมีนัยสําคัญ ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่ เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=11.46 P2O5=2.67 และ K2O=2.67 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินสูง กวfiาตํารับที่ 4 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3น้ําหนักแห3งสfiวน เหนือดินต่ําที่สุดเทfiากับ 120.85 กิโลกรัมตfiอไรfi (ตารางที่ 16) ตารางที่ 16 น้ําหนักแหงสวนเหนือดิน แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี ตํารับการทดลอง น้ําหนักแหงสวนเหนือดิน (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ns ns ns ns 120.85 ตํารับที่ 2 (T2) ns * ns ns 269.90 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 265.90 ตํารับที่ 4 (T4) ns * 190.28 ตํารับที่ 5 (T5) ns 228.62 ตํารับที่ 6 (T6) 270.78 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ สfiวนการสะสมธาตุอาหารพืชในสfiวนเหนือดิน พบวfiา ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ของสfiวนเหนือดินทั้งหมด มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญ ดังนี้


25 - ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดิน พบวfiา อยูfiระหวfiาง 2.23-10.68 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 2 (T2) การ ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=11.46 P2O5=2.67 และ K2O=2.67 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3 ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 10.68 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 4 และ 5 อยfiางมี นัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดินต่ําที่สุด เทfiากับ 2.23 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 17) - ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดิน พบวfiา อยูfiระหวfiาง 0.23-1.45 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนา ที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 1.45 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 และ 4 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุก ชนิด) ทําให3ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดินต่ําที่สุดเทfiากับ 0.23 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 17) - ปริมาณโพแทสเซียมในสfiวนเหนือดิน พบวfiา อยูfiระหวfiาง 2.89-8.61 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=11.46 P2O5=2.67 และ K2O=2.67 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณโพแทสเซียมในสfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 8.61 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 4 อยfiางมี นัยสําคัญยิ่ง และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ปริมาณโพแทสเซียมในสfiวนเหนือดินต่ํา ที่สุดเทfiากับ 2.89 เปอรffiเซ็นตffi (ตารางที่ 17) ตารางที่ 17 การสะสมธาตุอาหารพืชในสวนเหนือดิน แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี ตํารับ การทดลอง ไนโตรเจน (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย ฟอสฟอรัส (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย โพแทสเซียม (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ** * ns ns * 2.23 ** ** * * ** 0.23 ns ns ns ns ns 2.89 ตํารับที่ 2 (T2) ns ** * ns 10.68 ns ** ns ns 1.41 ns ** ns ns 8.61 ตํารับที่ 3 (T3) * ns ns 8.38 ns ns ns 1.20 ** ns ns 8.22 ตํารับที่ 4 (T4) ns ** 4.56 ns * 0.77 ns * 5.00 ตํารับที่ 5 (T5) ns 6.91 ns 1.00 ns 6.80 ตํารับที่ 6 (T6) 8.80 1.45 8.11 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 4. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ มูลคาผลผลิต ตนทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร จากผลการวิเคราะหffiผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของผักกวางตุ3งแปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี พบวfiา ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=11.46 P2O5=2.67 และ K2O=2.67 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3มูลคfiาผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรสูงที่สุดเทfiากับ 54,945 และ 49,244 บาทตfiอไรfi ตามลําดับ รองลงมาคือตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3 มูลคfiาผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรเทfiากับ 45,970 และ 39,866 บาทตfiอไรfi ตามลําดับ สําหรับ ต3นทุนผันแปร พบวfiา ตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานัก วิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=10 และ K2O=20 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ต3นทุน ผันแปรสูงที่สุด เทfiากับ 6,104 บาทตfiอไรfi สfiวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3มูลคfiา


26 ผลผลิต ต3นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรต่ําที่สุด เทfiากับ 7,360 4,340 และ 3,020 บาทตfiอ ไรfi ตามลําดับ (ตารางที่ 18) ตารางที่ 18 มูลคาผลผลิต ตนทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร แปลงนางสาววาสนา เถื่อนวิถี ตํารับ การทดลอง ผลผลิต (กิโลกรัมตอไร) Relative (%) มูลคาผลผลิต (บาทตอไร) ตนทุนผันแปร (บาทตอไร) ตนทุนปุ%ย (บาทตอไร) Relative (%) ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร (บาทตอไร) ตํารับที่ 1 (T1) 490.67 13.40 7,360 4,340 0 0 3,020 ตํารับที่ 2 (T2) 3,663.00 100.00 54,945 5,701 1,061.07 100.00 49,244 ตํารับที่ 3 (T3) 2,070.00 56.51 31,050 5,723 1,082.62 102.03 25,327 ตํารับที่ 4 (T4) 2,061.00 56.26 30,915 5,357 717.37 67.61 25,558 ตํารับที่ 5 (T5) 2,425.67 66.22 36,385 4,926 286.26 26.98 31,459 ตํารับที่ 6 (T6) 3,064.67 83.66 45,970 6,104 1,464.53 138.02 39,866 เกษตรกรรายที่ 2 นางหวาน อินทรหอม ทําการทดลองแบบสังเกตุการณffi (Observation Trial) มีตํารับการทดลอง ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=47.97 P2O5=7.54 และ K2O=7.54 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=15 P2O5=5 และ K2O=5 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=4.36 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 6(T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) 1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน 1.1 สมบัติของดินกอนการทดลอง จากการเก็บตัวอยfiางดินกfiอนการทดลองที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อทําการวิเคราะหffiสมบัติ ของดิน พบวfiา ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางเทfiากับ 6.1 ซึ่งอยูfiในระดับกรดเล็กน3อย ปริมาณอินทรียวัตถุอยูfiใน


27 ระดับปานกลาง คือ 2.08 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiอยูfiในระดับสูงมาก คือ 188 มิลลิกรัม ตfiอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3อยูfiในระดับสูงมาก คือ 150 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม และมี ลักษณะเนื้อดินเปDนดินรfiวนปนทรายแป}ง (ตารางที่ 19) ตารางที่ 19 สมบัติของดินกอนการทดลองแปลงนางหวาน อินทรหอม สมบัติของดิน ระดับ ผลการวิเคราะห คfiาความเปDนกรดเปDนดfiาง กรดเล็กน3อย 6.1 ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรffiเซ็นตffi) ปานกลาง 2.08 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffi (มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม) สูงมาก 188 ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3 (มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม) สูงมาก 150 ลักษณะเนื้อดิน ดินรfiวนปนทรายแป}ง ที่มา: ผลวิเคราะหffiดินจาก กลุfiมวิเคราะหffiดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 (2557) และสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน (2557) 1.2 สมบัติของดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต จากการเก็บตัวอยfiางดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อทําการวิเคราะหffi สมบัติของดิน พบวfiา คfiาความเปDนกรดเปDนดfiางของดินอยูfiระหวfiาง 6.23-6.63 ซึ่งอยูfiในระดับกรดเล็กน3อยถึง เปDนกลาง ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และ ประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=4.36 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางสูงที่สุดเทfiากับ 6.63 โดยสูง กวfiาตํารับที่ 2 3 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรม พัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางต่ําที่สุดเทfiากับ 6.23 โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 4 อยfiางมีนัยสําคัญ ปริมาณอินทรียวัตถุหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตอยูfiระหวfiาง 2.10-2.96 เปอรffiเซ็นตffi ซึ่งอยูfiในระดับปานกลางถึงคfiอนข3างสูง โดยตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกร เคยปฏิบัติ (N=47.97 P2O5=7.54 และ K2O=7.54 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงที่สุด เทfiากับ 2.96 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 3 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตรา ปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจาก อินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและ โพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=4.36 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุต่ําที่สุดเทfiากับ 2.10 เปอรffiเซ็นตffiโดยต่ํากวfiาตํารับที่ 1 และ 2 อยfiางมีนัยสําคัญ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตอยูfiระหวfiาง 411.33-621.00 มิลลิกรัม ตfiอกิโลกรัม ซึ่งอยูfiในระดับสูงมาก โดยตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=47.97 P2O5=7.54 และ K2O=7.54 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiสูงที่สุด เทfiากับ 621.00 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3 คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัม ตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiต่ําที่สุดเทfiากับ 411.33 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยต่ํากวfiา ตํารับที่ 4 อยfiางมีนัยสําคัญยิ่ง สfiวนปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตอยูfiระหวfiาง


28 76.67-120.00 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ซึ่งอยูfiในระดับปานกลางถึงสูงมาก โดยตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjย ไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจาก อินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและ โพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=4.36 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3สูงที่สุดเทfiากับ 120.00 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 2 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3 ดินมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3ต่ําที่สุดเทfiากับ 76.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 และ 4 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 20 และตารางที่ 21) ตารางที่ 20 คาความเปEนกรดเปEนดางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังเก็บเกี่ยว แปลงนางหวาน อินทรหอม ตํารับ การทดลอง คาความเปEนกรดเปEนดาง คาเฉลี่ย ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ns ns ns ns 6.23 ns ns * * * 2.83 ตํารับที่ 2 (T2) ns ** ns ns 6.27 * ** ** ** 2.96 ตํารับที่ 3 (T3) * ns ns 6.43 ns ns ns 2.27 ตํารับที่ 4 (T4) ** ** 6.63 ns ns 2.10 ตํารับที่ 5 (T5) ns 6.40 ns 2.20 ตํารับที่ 6 (T6) 6.23 2.30 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ตารางที่ 21 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปEนประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดในดินหลัง เก็บเกี่ยว แปลงนางหวาน อินทรหอม ตํารับ การทดลอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปEนประโยชน (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ns ** ns ns 451.67 * ns ** ns ns 76.67 ตํารับที่ 2 (T2) ns ns ns ns 621.00 ns * ns ns 93.33 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 485.33 ns ns ns 103.33 ตํารับที่ 4 (T4) ** ** 615.67 ** ** 120.00 ตํารับที่ 5 (T5) ns 454.33 ns 83.33 ตํารับที่ 6 (T6) 411.33 86.67 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ


29 2. ผลผลิตผักกวางตุง 2.1 ผลผลิตผักกวางตุงที่เกษตรกรคาดหวัง ผลผลิตผักกวางตุ3งสดที่เกษตรกรคาดวfiาจะได3รับเฉลี่ยในพื้นที่เทfiากับ 3,300 กิโลกรัมตfiอไรfi (รวมกับ สfiวนที่เหลือทิ้งหรือเศษผัก) โดยน้ําหนักแห3งประมาณ 4.87% ของน้ําหนักสด เทfiากับ 161 กิโลกรัมตfiอไรfi จาก รายงานของ เนตรดาว (2547) ในทุกสfiวนของผักกวางตุ3งมีปริมาณไนโตรเจนเทfiากับ 4.84 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณ ฟอสฟอรัสเทfiากับ 0.64 เปอรffiเซ็นตffi และปริมาณโพแทสเซียมเทfiากับ 5.68 เปอรffiเซ็นตffi (เปอรffiเซ็นตffiโดยน้ําหนัก แห3ง) ดังนั้นผักกวางตุ3งสด 3,300 กิโลกรัมตfiอไรfi (น้ําหนักแห3ง 161 กิโลกรัมตfiอไรfi) จะมีการสะสมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในผลผลิตเทfiากับ 7.79 1.03 และ 9.14 กิโลกรัมตfiอไรfiลําดับ (ตารางที่ 22) ตารางที่ 22 ขอมูลผักกวางตุงเบื้องตนของเกษตรกรกอนดําเนินการทดลอง รายการ น้ําหนักสด (กก./ไรfi) น้ําหนักแห3ง (กก./ไรfi) การสะสมธาตุอาหารพืช (กก./ไรfi)* ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ผลผลิตกวางตุ3ง 3,300 161 7.79 1.03 9.14 * ทุกสfiวนของกวางตุ3งมีปริมาณไนโตรเจนเทfiากับ 4.84 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณฟอสฟอรัสเทfiากับ 0.64 เปอรffiเซ็นตffi และปริมาณโพแทสเซียมเทfiากับ 5.68 เปอรffiเซ็นตffi (เปอรffiเซ็นตffiโดยน้ําหนักแห3ง) 2.2 ผลผลิตผักกวางตุงจากการทดลอง 1) น้ําหนักผักหลังตัดแตง จากการทดลอง พบวfiา น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 1,147.67-2,137.67 กิโลกรัมตfiอไรfi ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชย ปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDน เกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 2,137.67 กิโลกรัมตfiอไรfi และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุดเทfiากับ 1,147.67 กิโลกรัมตfiอไรfi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 3 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 23) 2) น้ําหนักเศษผัก จากการทดลอง พบวfiา น้ําหนักเศษผักอยูfiระหวfiาง 877.67-1,777.67 กิโลกรัมตfiอไรfi ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณ ธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3น้ําหนักเศษผักสูงที่สุดเทfiากับ 1,777.67 กิโลกรัมตfiอไรfi และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุดเทfiากับ 877.67 กิโลกรัมตfiอไรfi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 23)


30 ตารางที่ 23 น้ําหนักผักหลังตัดแตงและน้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตอไร) แปลงนางหวาน อินทรหอม ตํารับ การทดลอง น้ําหนักผักหลังตัดแตง (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative Yield น้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative Yield T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns * ns ns ** 1,147.67 76.12 ns ns * * * 877.67 62.50 ตํารับที่ 2 (T2) ns ns ns * 1,507.67 100.00 ns ns ns ns 1,404.33 100.00 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 1,611.33 106.88 ns ns ns 1,373.00 97.77 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 1,624.67 107.76 ns ns 1,350.00 96.13 ตํารับที่ 5 (T5) ns 2,137.67 141.79 ns 1,777.67 126.58 ตํารับที่ 6 (T6) 1,967.00 130.47 1,274.00 88.80 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 3. ความเขมขนของธาตุอาหารในผลผลิตผักกวางตุง 3.1 ความเขมขนของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางหวาน อินทรหอม จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3นของ ไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 3.66-4.33 เปอรffiเซ็นตffiตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiา วิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 4.33 เปอรffiเซ็นตffiและ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุด เทfiากับ 3.66 เปอรffiเซ็นตffiโดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 อยfiางมีนัยสําคัญ สําหรับความเข3มข3นของไนโตรเจนในเศษผัก พบวfiา อยูfiระหวfiาง 2.02-2.62 เปอรffiเซ็นตffi ซึ่งไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ (ตารางที่ 24) 3.2 ความเขมขนของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางหวาน อินทรหอม จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3นของ ฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 0.64-0.75 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 4(T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจาก คfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและ ประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของ ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=4.36 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความ เข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 0.75 เปอรffiเซ็นตffiโดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 2 และ 3 อยfiางมี นัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) และตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตรา ที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=47.97 P2O5=7.54 และ K2O=7.54 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของ ฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุดเทfiากับ 0.64 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 4 อยfiางมีนัยสําคัญ สําหรับ ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในเศษผัก พบวfiา อยูfiระหวfiาง 0.45-0.58 เปอรffiเซ็นตffiตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตรา ปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่ สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในเศษผักสูงที่สุดเทfiากับ 0.58 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 2 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกร เคยปฏิบัติ (N=47.97 P2O5=7.54 และ K2O=7.54 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในเศษผัก ต่ําที่สุดเทfiากับ 0.45 เปอรffiเซ็นตffiโดยต่ํากวfiาตํารับที่ 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 25)


31 3.3 ความเขมขนของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางหวาน อินทรหอม จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3น ของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 3.75-4.98 เปอรffiเซ็นตffiตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและ อัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=47.97 P2O5=7.54 และ K2O=7.54 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของ โพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 4.98 เปอรffiเซ็นตffi และตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจน จากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดิน และประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=4.36 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความ เข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุดเทfiากับ 3.75 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 3 อยfiางมี นัยสําคัญ สําหรับความเข3มข3นของโพแทสเซียมในเศษผัก พบวfiา อยูfiระหวfiาง 2.98-3.88 เปอรffiเซ็นตffi ซึ่งไมfiมี ความแตกตfiางทางสถิติ (ตารางที่ 26) ตารางที่ 24 ความเขมขนของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางหวาน อินทรหอม ตํารับ การทดลอง ผักหลังตัดแตง (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย เศษผัก (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) * ns ns ns ns 3.66 ns ns ns ns ns 2.02 ตํารับที่ 2 (T2) ns ns ns ns 4.24 ns ns ns ns 2.62 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 4.05 ns ns ns 2.43 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 4.12 ns ns 2.57 ตํารับที่ 5 (T5) ns 4.00 ns 2.44 ตํารับที่ 6 (T6) 4.33 2.58 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ตารางที่ 25 ความเขมขนของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางหวาน อินทรหอม ตํารับ การทดลอง ผักหลังตัดแตง (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย เศษผัก (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ns * ns ns 0.64 * ns ns ns ns 0.55 ตํารับที่ 2 (T2) ns * ns ns 0.64 ns * * * 0.45 ตํารับที่ 3 (T3) * ns ns 0.66 * ns ns 0.49 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 0.75 ns ns 0.56 ตํารับที่ 5 (T5) ns 0.72 ns 0.58 ตํารับที่ 6 (T6) 0.71 0.55 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ


32 ตารางที่ 26 ความเขมขนของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางหวาน อินทรหอม ตํารับ การทดลอง ผักหลังตัดแตง (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย เศษผัก (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ns ns ns ns 4.91 ns ns ns ns ns 2.98 ตํารับที่ 2 (T2) ns ns ns ns 4.98 ns ns ns ns 3.62 ตํารับที่ 3 (T3) * ns ns 4.65 ns ns ns 3.81 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 3.75 ns ns 3.79 ตํารับที่ 5 (T5) ns 4.33 ns 3.27 ตํารับที่ 6 (T6) 4.05 3.88 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ น้ําหนักแหงสวนเหนือดินและการสะสมธาตุอาหารพืชในสวนเหนือดิน แปลงนางหวาน อินทรหอม จากการทดลอง พบวfiา น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินอยูfiระหวfiาง 128.27-217.36 กิโลกรัมตfiอไรfi ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชย ปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDน เกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 217.36 กิโลกรัมตfiอไรfi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทํา ให3น้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินต่ําที่สุดเทfiากับ 128.27 กิโลกรัมตfiอไรfi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 5 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 27) ตารางที่ 27 น้ําหนักแหงสวนเหนือดิน แปลงนางหวาน อินทรหอม ตํารับการทดลอง น้ําหนักแหงสวนเหนือดิน (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ns ns * ns 128.27 ตํารับที่ 2 (T2) ns ns ns ns 181.16 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 190.76 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 171.04 ตํารับที่ 5 (T5) ns 217.36 ตํารับที่ 6 (T6) 175.50 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ สfiวนการสะสมธาตุอาหารพืชในสfiวนเหนือดิน พบวfiา ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ของสfiวนเหนือดินทั้งหมด มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญ ดังนี้


33 - ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดิน พบวfiา อยูfiระหวfiาง 3.74-7.04 เปอรffiเซ็นตffiตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณ ธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 7.04 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3 ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดินต่ําที่สุดเทfiากับ 3.74 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 3 4 5 และ 6 อยfiางมี นัยสําคัญ (ตารางที่ 28) - ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดิน พบวfiา อยูfiระหวfiาง 0.77-1.43 เปอรffiเซ็นตffiตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณ ธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 1.43 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3 ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดินต่ําที่สุดเทfiากับ 0.77 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 4 5 และ 6 อยfiางมี นัยสําคัญ (ตารางที่ 28) - ปริมาณโพแทสเซียมในสfiวนเหนือดิน พบวfiา อยูfiระหวfiาง 5.27-8.34 เปอรffiเซ็นตffi ซึ่งไมfiมีความ แตกตfiางทางสถิติ ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลัก ของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณโพแทสเซียมใน สfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 8.34 เปอรffiเซ็นตffi และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3 ปริมาณโพแทสเซียมในสfiวนเหนือดินต่ําที่สุดเทfiากับ 5.27 เปอรffiเซ็นตffi (ตารางที่ 28) ตารางที่ 28 การสะสมธาตุอาหารพืชในสวนเหนือดิน แปลงนางหวาน อินทรหอม ตํารับ การดลอง ไนโตรเจน (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย ฟอสฟอรัส (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย โพแทสเซียม (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns * * * * 3.74 ns ns * * * 0.77 ns ns ns ns ns 5.27 ตํารับที่ 2 (T2) ns ns ns ns 6.22 ns ns ns ns 0.98 ns ns ns ns 7.75 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 6.21 ns ns ns 1.10 ns ns ns 8.09 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 5.77 ns ns 1.13 ns ns 6.42 ตํารับที่ 5 (T5) ns 7.04 ns 1.43 ns 8.34 ตํารับที่ 6 (T6) 6.38 1.12 6.90 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 4. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ มูลคาผลผลิต ตนทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร จากผลการวิเคราะหffiผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของผักกวางตุ3งแปลงนางหวาน อินทรffiหอม พบวfiา ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับ การชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3 ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3มูลคfiาผลผลิต และผลตอบแทนเหนือ ต3นทุนผันแปรสูงที่สุดเทfiากับ 32,065 และ 27,139 บาทตfiอไรfi ตามลําดับ รองลงมาคือตํารับที่ 6 (T6) ประเมิน อัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน


34 (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3มูลคfiาผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรเทfiากับ 29,505 และ 24,306 บาทตfiอไรfi ตามลําดับ สําหรับต3นทุนผันแปร พบวfiา ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและ อัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=47.97 P2O5=7.54 และ K2O=7.54 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ต3นทุนผันแปรสูง ที่สุด เทfiากับ 7,295 บาทตfiอไรfi สfiวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3มูลคfiาผลผลิต ต3นทุน ผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรต่ําที่สุด เทfiากับ 17,215 4,340 และ 12,875 บาทตfiอไรfi ตามลําดับ (ตารางที่ 29) จากผลการวิเคราะหffi พบวfiา ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูด ใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDน ปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi ให3ผลผลิตและผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรสูงที่สุด โดยผลผลิตสูงกวfiา ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ เทfiากับ 41.79 % และ มีคfiาใช3จfiายต3นทุนปุjยต่ํากวfiา ตํารับที่ 2 ถึง 89.13 % ตารางที่ 29 มูลคาผลผลิต ตนทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร แปลงนางหวาน อินทรหอม ตํารับ การทดลอง ผลผลิต (กิโลกรัมตอไร) Relative (%) มูลคาผลผลิต (บาทตอไร) ตนทุนผันแปร (บาทตอไร) ตนทุนปุ%ย (บาทตอไร) Relative (%) ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร (บาทตอไร) ตํารับที่ 1 (T1) 1,147.67 76.12 17,215 4,340 0 0 12,875 ตํารับที่ 2 (T2) 1,507.67 100.00 22,615 7,295 2,654.74 100 15,320 ตํารับที่ 3 (T3) 1,611.33 106.88 24,170 5,476 853.90 31.49 18,694 ตํารับที่ 4 (T4) 1,624.67 107.76 24,370 4,763 123.24 4.64 19,607 ตํารับที่ 5 (T5) 2,137.67 141.79 32,065 4,926 286.26 10.87 27,139 ตํารับที่ 6 (T6) 1,967.00 130.47 29,505 5,199 559.00 21.06 24,306 เกษตรกรรายที่ 3 นางลําจวน ประสงคมณี ทําการทดลองแบบสังเกตุการณffi (Observation Trial) มีตํารับการทดลอง ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.32 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=10 P2O5=5 และ K2O=5 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=1.24 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi)


35 ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 6(T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) 1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน 1.1 สมบัติของดินกอนการทดลอง จากการเก็บตัวอยfiางดินกfiอนการทดลองที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อทําการวิเคราะหffiสมบัติ ของดิน พบวfiา ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางเทfiากับ 6.5 ซึ่งอยูfiในระดับกรดเล็กน3อย ปริมาณอินทรียวัตถุอยูfiใน ระดับคfiอนข3างสูง คือ 3.20 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiอยูfiในระดับสูงมาก คือ 304 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3อยูfiในระดับสูงมาก คือ 130 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม และมีลักษณะเนื้อดินเปDนดินรfiวนปนทรายแป}ง (ตารางที่ 30) ตารางที่ 30 สมบัติของดินกอนการทดลองแปลงนางลําจวน ประสงคมณี สมบัติของดิน ระดับ ผลการวิเคราะห คfiาความเปDนกรดเปDนดfiาง กรดเล็กน3อย 6.5 ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรffiเซ็นตffi) สูง 3.20 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffi (มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม) สูงมาก 304 ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3 (มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม) สูงมาก 130 ลักษณะเนื้อดิน ดินรfiวนปนทรายแป}ง ที่มา: ผลวิเคราะหffiดินจาก กลุfiมวิเคราะหffiดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 (2557) และสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน (2557) 1.2 สมบัติของดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต จากการเก็บตัวอยfiางดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อทําการวิเคราะหffi สมบัติของดิน พบวfiา คfiาความเปDนกรดเปDนดfiางของดินอยูfiระหวfiาง 6.37-6.97 ซึ่งอยูfiในระดับกรดเล็กน3อยถึง เปDนกลาง ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=10 P2O5=5 และ K2O=5 กิโลกรัมตfiอไรfi) และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3 คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัม ตfiอไรfi) ทําให3ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางสูงที่สุดเทfiากับ 6.97 โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 2 4 และ 5 อยfiางมี นัยสําคัญ และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางต่ําที่สุด เทfiากับ 6.37 โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ ปริมาณอินทรียวัตถุหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตอยูfi ระหวfiาง 2.73-5.10 เปอรffiเซ็นตffi ซึ่งอยูfiในระดับคfiอนข3างสูงถึงสูงมาก โดยตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจาก คfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงที่สุดเทfiากับ 5.10 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 2 3 4 และ 5 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ


36 (N=19.32 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุต่ําที่สุดเทfiากับ 2.73 เปอรffiเซ็นตffiโดยต่ํากวfiาตํารับที่ 3 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiหลังเก็บเกี่ยว ผลผลิตอยูfiระหวfiาง 1,036.00-3,916.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ซึ่งอยูfiในระดับสูงมาก โดยตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนา ที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiสูงที่สุดเทfiากับ 3,916.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 2 3 4 และ 5 อยfiางมีนัยสําคัญยิ่ง และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiต่ําที่สุดเทfiากับ 1,036.00 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 3 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญยิ่ง สfiวนปริมาณโพแทสเซียมที่ แลกเปลี่ยนได3หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตอยูfiระหวfiาง 90.00-220.00 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ซึ่งอยูfiในระดับปานกลางถึง สูงมาก โดยตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อ การพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณโพแทสเซียม ที่แลกเปลี่ยนได3สูงที่สุดเทfiากับ 220.00 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 2 3 4 และ 5 อยfiางมี นัยสําคัญ และตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.32 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3ต่ําที่สุดเทfiากับ 90.00 มิลลิกรัมตfiอ กิโลกรัม โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 3 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 31 และตารางที่ 32) ตารางที่ 31 คาความเปEนกรดเปEนดางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังเก็บเกี่ยว แปลงนางลําจวน ประสงคมณี ตํารับ การทดลอง คาความเปEนกรดเปEนดาง คาเฉลี่ย ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) * ** ** ** ** 6.37 ns ** ** * ** 2.97 ตํารับที่ 2 (T2) ** ** ** ** 6.50 ** ** ** ** 2.73 ตํารับที่ 3 (T3) ** ** ns 6.97 ns ns ** 4.03 ตํารับที่ 4 (T4) ns ** 6.70 ns ** 3.90 ตํารับที่ 5 (T5) ** 6.70 ** 3.67 ตํารับที่ 6 (T6) 6.97 5.10 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ


37 ตารางที่ 32 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปEนประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดในดินหลัง เก็บเกี่ยว แปลงนางลําจวน ประสงคมณี ตํารับ การทดลอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปEนประโยชน (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ** ** ** ** 1,036.00 ns ** ns ** ** 93.33 ตํารับที่ 2 (T2) ** ** ** ** 1,048.33 ** ns ** ** 90.00 ตํารับที่ 3 (T3) ** ns ** 1,647.00 ** ns ** 133.33 ตํารับที่ 4 (T4) ** ** 1,485.67 ** ** 96.67 ตํารับที่ 5 (T5) ** 1,717.00 ** 123.33 ตํารับที่ 6 (T6) 3,916.67 220.00 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 2. ผลผลิตผักกวางตุง 2.1 ผลผลิตผักกวางตุงที่เกษตรกรคาดหวัง ผลผลิตผักกวางตุ3งสดที่เกษตรกรคาดวfiาจะได3รับเฉลี่ยในพื้นที่เทfiากับ 3,300 กิโลกรัมตfiอไรfi (รวมกับ สfiวนที่เหลือทิ้งหรือเศษผัก) โดยน้ําหนักแห3งประมาณ 4.87% ของน้ําหนักสด เทfiากับ 161 กิโลกรัมตfiอไรfi จาก รายงานของ เนตรดาว (2547) ในทุกสfiวนของผักกวางตุ3งมีปริมาณไนโตรเจนเทfiากับ 4.84 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณ ฟอสฟอรัสเทfiากับ 0.64 เปอรffiเซ็นตffi และปริมาณโพแทสเซียมเทfiากับ 5.68 เปอรffiเซ็นตffi (เปอรffiเซ็นตffiโดยน้ําหนัก แห3ง) ดังนั้นผักกวางตุ3งสด 3,300 กิโลกรัมตfiอไรfi (น้ําหนักแห3ง 161 กิโลกรัมตfiอไรfi) จะมีการสะสมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในผลผลิตเทfiากับ 7.79 1.03 และ 9.14 กิโลกรัมตfiอไรfiลําดับ (ตารางที่ 33) ตารางที่ 33 ขอมูลผักกวางตุงเบื้องตนของเกษตรกรกอนดําเนินการทดลอง รายการ น้ําหนักสด (กก./ไรfi) น้ําหนักแห3ง (กก./ไรfi) การสะสมธาตุอาหารพืช (กก./ไรfi)* ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ผลผลิตกวางตุ3ง 3,300 161 7.79 1.03 9.14 * ทุกสfiวนของกวางตุ3งมีปริมาณไนโตรเจนเทfiากับ 4.84 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณฟอสฟอรัสเทfiากับ 0.64 เปอรffiเซ็นตffi และปริมาณโพแทสเซียมเทfiากับ 5.68 เปอรffiเซ็นตffi (เปอรffiเซ็นตffiโดยน้ําหนักแห3ง) 2.2 ผลผลิตผักกวางตุงจากการทดลอง เนื่องจากผลผลิตผักกวางตุ3งของแปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี ถูกเพลี้ยอfiอนเข3าทําลายในตํารับการ ทดลองที่ 3 4 5 และ 6 จึงไมfiสามารถเปรียบเทียบผลการทดลองทางสถิติได3 แตfiสามารถบันทึกข3อมูลคfiาเฉลี่ย ได3ดังนี้ น้ําหนักผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 1,062.00-3,406.67 กิโลกรัมตfiอไรfi น้ําหนักเศษผักอยูfiระหวfiาง 923.00-1,723.67 กิโลกรัมตfiอไรfi และน้ําหนักแห3งสfiวนเหนือดินอยูfiระหวfiาง 120.69-240.18 กิโลกรัมตfiอไรfi (ตารางที่ 34)


38 ตารางที่ 34 น้ําหนักผักหลังตัดแตง น้ําหนักเศษผัก และน้ําหนักแหงสวนเหนือดิน (กิโลกรัมตอไร) แปลงนางลําจวน ประสงคมณี ตํารับการทดลอง น้ําหนักผักหลังตัดแตง (กิโลกรัมตอไร) น้ําหนักเศษผัก (กิโลกรัมตอไร) น้ําหนักแหงสวนเหนือดิน (กิโลกรัมตอไร) ตํารับที่ 1 (T1) 2,178.33 1,571.00 203.84 ตํารับที่ 2 (T2) 3,406.67 1,723.67 240.18 ตํารับที่ 3 (T3) 1,948.67 * 1,399.67 * 203.39 * ตํารับที่ 4 (T4) 1,354.67 * 927.33 * 173.60 * ตํารับที่ 5 (T5) 1,062.00 * 1,660.67 * 171.61 * ตํารับที่ 6 (T6) 1,080.00 * 923.00 * 120.69 * * หมายถึง ผลผลิตถูกเพลี้ยอfiอนเข3าทําลายบางสfiวน 3. ความเขมขนของธาตุอาหารในผลผลิตผักกวางตุง 3.1 ความเขมขนของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางลําจวน ประสงคมณี จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3นของ ไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 3.30-6.04 เปอรffiเซ็นตffiตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiา วิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณไนโตรเจนในผักหลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 6.04 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiา ตํารับที่ 1 2 และ 4 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดย ใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูด ใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและ โพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=1.24 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของไนโตรเจน ในผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุดเทfiากับ 3.30 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 1 2 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ สําหรับ ความเข3มข3นของไนโตรเจนในเศษผัก พบวfiา อยูfiระหวfiาง 2.13-4.02 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตรา ปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของไนโตรเจนในเศษผักสูงที่สุดเทfiากับ 4.02 เปอรffiเซ็นตffiโดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 2 3 4 และ 5 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjย ไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจาก อินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและ โพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=1.24 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของไนโตรเจนในเศษผักต่ําที่สุดเทfiากับ 2.13 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 35) 3.2 ความเขมขนของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางลําจวน ประสงคมณี จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3นของ ฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 0.65-0.86 เปอรffiเซ็นตffiตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่ เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.32 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผัก หลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 0.86 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 4 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนา


39 ที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุด เทfiากับ 0.65 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 1 และ 2 อยfiางมีนัยสําคัญ สําหรับความเข3มข3นของฟอสฟอรัสใน เศษผัก พบวfiา อยูfiระหวfiาง 0.51-0.65 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) และตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.32 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทํา ให3ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสในเศษผักสูงที่สุดเทfiากับ 0.65 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการ พัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของฟอสฟอรัสใน เศษผักต่ําที่สุดเทfiากับ 0.51 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 1 2 3 และ 4 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 36) 3.3 ความเขมขนของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางลําจวน ประสงคมณี จากการวิเคราะหffiความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงและในเศษผัก พบวfiา ความเข3มข3น ของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงอยูfiระหวfiาง 3.25-4.23 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและ อัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.32 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณโพแทสเซียมในผัก หลังตัดแตfiงสูงที่สุดเทfiากับ 4.23 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 5 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณ ธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ความเข3มข3นของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตfiงต่ําที่สุด เทfiากับ 3.25 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 1 และ 2 อยfiางมีนัยสําคัญ สําหรับความเข3มข3นของโพแทสเซียม ในเศษผัก พบวfiา อยูfiระหวfiาง 3.42-3.88 เปอรffiเซ็นตffi ซึ่งไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ (ตารางที่ 37) ตารางที่ 35 ความเขมขนของไนโตรเจนในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางลําจวน ประสงคมณี ตํารับ การทดลอง ผักหลังตัดแตง (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย เศษผัก (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ns * ** ** 4.00 ** ns ns * ** 2.34 ตํารับที่ 2 (T2) ns * ns * 4.48 ns ** ns ** 3.23 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 4.63 * ns * 3.02 ตํารับที่ 4 (T4) ** ** 3.30 ** ** 2.13 ตํารับที่ 5 (T5) ns 5.18 ** 3.05 ตํารับที่ 6 (T6) 6.04 4.02 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ


40 ตารางที่ 36 ความเขมขนของฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางลําจวน ประสงคมณี ตํารับ การทดลอง ผักหลังตัดแตง (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย เศษผัก (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ns ns ns * 0.80 ns ns ns ns ** 0.65 ตํารับที่ 2 (T2) ns * ns ** 0.86 ns ns ns * 0.65 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 0.77 ns ns * 0.64 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 0.74 ns ** 0.64 ตํารับที่ 5 (T5) ns 0.74 ns 0.54 ตํารับที่ 6 (T6) 0.65 0.51 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ตารางที่ 37 ความเขมขนของโพแทสเซียมในผักหลังตัดแตงและในเศษผัก แปลงนางลําจวน ประสงคมณี ตํารับ การทดลอง ผักหลังตัดแตง (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย เศษผัก (เปอรเซ็นต) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ns ns * ns 3.83 ns ns ns ns ns 3.78 ตํารับที่ 2 (T2) ns ns * ns 4.23 ns ns ns ns 3.42 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 3.70 ns ns ns 3.62 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 3.88 ns ns 3.72 ตํารับที่ 5 (T5) ns 3.25 ns 3.80 ตํารับที่ 6 (T6) 3.33 3.88 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ การสะสมธาตุอาหารพืชในสวนเหนือดิน แปลงนางลําจวน ประสงคมณี การสะสมธาตุอาหารพืชในสfiวนเหนือดิน พบวfiา ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ของ สfiวนเหนือดินทั้งหมด มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญ ดังนี้ - ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดิน พบวfiา อยูfiระหวfiาง 4.83-9.66 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 2 (T2) การ ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.32 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3 ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 9.66 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 4 และ 6 อยfiางมี นัยสําคัญ และตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=1.24 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณไนโตรเจนในสfiวนเหนือดินต่ําที่สุดเทfiากับ 4.83 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 38)


41 - ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดิน พบวfiา อยูfiระหวfiาง 0.71-1.87 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 2 (T2) การ ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.32 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3 ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 1.87 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 4 5 และ 6 อยfiางมี นัยสําคัญ และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อ การพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณฟอสฟอรัสในสfiวน เหนือดินต่ําที่สุดเทfiากับ 0.71 เปอรffiเซ็นตffi โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 1 อยfiางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 38) - ปริมาณโพแทสเซียมในสfiวนเหนือดิน พบวfiา อยูfiระหวfiาง 4.36-9.61 เปอรffiเซ็นตffi ตํารับที่ 2 (T2) การใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=19.32 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3 ปริมาณโพแทสเซียมในสfiวนเหนือดินสูงที่สุดเทfiากับ 9.61 เปอรffiเซ็นตffi โดยสูงกวfiาตํารับที่ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการ พัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ปริมาณโพแทสเซียมในสfiวน เหนือดินต่ําที่สุดเทfiากับ 4.36 เปอรffiเซ็นตffi (ตารางที่ 38) ตารางที่ 38 การสะสมธาตุอาหารพืชในสวนเหนือดิน แปลงนางลําจวน ประสงคมณี ตํารับ การทดลอง ไนโตรเจน (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย ฟอสฟอรัส (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย โพแทสเซียม (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 ตํารับที่ 1 (T1) ns ns ns ns ns 6.64 ns ns ns ns * 1.48 ns ns ns ns ns 7.81 ตํารับที่ 2 (T2) ns * ns * 9.66 ns * * ** 1.87 ns ns ns * 9.61 ตํารับที่ 3 (T3) ns ns ns 7.59 ns ns ns 1.42 ns ns ns 7.33 ตํารับที่ 4 (T4) ns ns 4.83 ns ns 1.21 ns ns 6.90 ตํารับที่ 5 (T5) ns 6.77 ns 1.07 ns 6.14 ตํารับที่ 6 (T6) 6.27 0.71 4.36 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมfiมีความแตกตfiางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตfiางอยfiางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 4. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ มูลคาผลผลิต ตนทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร เนื่องจากผลผลิตผักกวางตุ3งของแปลงนางลําจวน ประสงคffiมณี ถูกเพลี้ยอfiอนเข3าทําลายในตํารับการ ทดลองที่ 3 4 5 และ 6 จึงไมfiสามารถเปรียบเทียบผลการทดลองทางสถิติได3 แตfiสามารถบันทึกข3อมูล มูลคfiา ผลผลิต ต3นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรได3ดังนี้ มูลคfiาผลผลิตอยูfiระหวfiาง 15,930-51,100 บาทตfiอไรfi ต3นทุนผันแปร อยูfiระหวfiาง 4,340-5,335 บาท ตfiอไรfi และผลตอบแทนเหนือต3นทุนผันแปรอยูfiระหวfiาง 11,001-45,914 บาทตfiอไรfi (ตารางที่ 39)


42 ตารางที่ 39 มูลคาผลผลิต ตนทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร แปลงนางลําจวน ประสงคมณี ตํารับ การทดลอง ผลผลิต (กิโลกรัมตอไร) มูลคาผลผลิต (บาทตอไร) ตนทุนผันแปร (บาทตอไร) ตนทุนปุ%ย (บาทตอไร) ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร (บาทตอไร) ตํารับที่ 1 (T1) 2,178.33 32,675 4,340 0 28,335 ตํารับที่ 2 (T2) 3,406.67 51,100 5,186 546.00 45,914 ตํารับที่ 3 (T3) 1,948.67 * 29,230 * 5,335 694.59 23,895 * ตํารับที่ 4 (T4) 1,354.67 * 20,320 * 4,675 35.10 15,645 * ตํารับที่ 5 (T5) 1,062.00 * 15,930 * 4,926 286.26 11,004 * ตํารับที่ 6 (T6) 1,080.00 * 16,200 * 5,199 559.00 11,001 * * คfiาเฉลี่ย หมายถึง ผลผลิตถูกเพลี้ยอfiอนเข3าทําลาย เกษตรกรรายที่ 4 นางสาววราพร ฉายรังษี ทําการทดลองแบบสังเกตุการณffi (Observation Trial) มีตํารับการทดลอง ดังนี้ ตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=54.12 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=20 P2O5=5 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุjยไนโตรเจนจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลfiอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช3 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุjยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคfiาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเปDนเกณฑffi (N=6.06 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืช รfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิด เปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ตํารับที่ 6(T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) 1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน 1.1 สมบัติของดินกอนการทดลอง จากการเก็บตัวอยfiางดินกfiอนการทดลองที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อทําการวิเคราะหffiสมบัติ ของดิน พบวfiา ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางเทfiากับ 6.7 ซึ่งอยูfiในระดับเปDนกลาง ปริมาณอินทรียวัตถุอยูfiใน ระดับคfiอนข3างต่ํา คือ 1.47 เปอรffiเซ็นตffi ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiอยูfiในระดับสูงมาก คือ 205 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3อยูfiในระดับสูง คือ 100 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม และมี ลักษณะเนื้อดินเปDนดินรfiวนปนทรายแป}ง (ตารางที่ 40)


43 ตารางที่ 40 สมบัติของดินกอนการทดลองแปลงนางสาววราพร ฉายรังษี สมบัติของดิน ระดับ ผลการวิเคราะห คfiาความเปDนกรดเปDนดfiาง เปDนกลาง 6.7 ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรffiเซ็นตffi) คfiอนข3างต่ํา 1.47 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffi (มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม) สูงมาก 205 ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3 (มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม) สูง 100 ลักษณะเนื้อดิน ดินรfiวนปนทรายแป}ง ที่มา: กลุfiมวิเคราะหffiดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 (2557) และสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อการพัฒนาที่ดิน (2557) 1.2 สมบัติของดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต จากการเก็บตัวอยfiางดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อทําการวิเคราะหffi สมบัติของดิน พบวfiา คfiาความเปDนกรดเปDนดfiางของดินอยูfiระหวfiาง 6.20-6.57 ซึ่งอยูfiในระดับกรดเล็กน3อยถึง เปDนกลาง ตํารับที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3เกณฑffiของกรมวิชาการเกษตร (N=20 P2O5=5 และ K2O=10 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางสูงที่สุดเทfiากับ 6.57 โดยสูงกวfiา ตํารับที่ 2 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ และตํารับที่ 2 (T2) ใสfiปุjยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=54.12 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีคfiาความเปDนกรดเปDนดfiางต่ําที่สุดเทfiากับ 6.20 โดย ต่ํากวfiาตํารับที่ 1 3 4 และ 5 อยfiางมีนัยสําคัญ ปริมาณอินทรียวัตถุหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตอยูfiระหวfiาง 1.50-2.23 เปอรffiเซ็นตffi ซึ่งอยูfiในระดับปานกลาง โดยตํารับที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณ การดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3 ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงที่สุดเทfiากับ 2.23 เปอรffiเซ็นตffi และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุต่ําที่สุดเทfiากับ 1.50 เปอรffiเซ็นตffiโดยต่ํากวfiาตํารับที่ 4 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ การที่ดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตมีปริมาณอินทรียวัตถุมีคfiาสูงขึ้นมากกวfiากfiอนการทดลองในทุกตํารับการทดลอง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากชิ้นสfiวนตfiางๆ ของรากยังปะปนอยูfiในดิน ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiหลังเก็บเกี่ยว ผลผลิตอยูfiระหวfiาง 345.00-697.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ซึ่งอยูfiในระดับสูงมาก โดยตํารับที่ 5 (T5) ประเมิน อัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3ปริมาณการดูดใช3ธาตุอาหารหลักของพืชรfiวมกับการชดเชยปริมาณธาตุ อาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล3างของดิน คิดเปDนปริมาณ 30 % ของการดูดใช3ของพืชเปDนเกณฑffi (N=10.13 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiสูงที่สุดเทfiากับ 697.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยสูงกวfiาตํารับที่ 1 2 3 4 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญยิ่ง และตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDนประโยชนffiต่ําที่สุดเทfiากับ 345.00 มิลลิกรัม ตfiอกิโลกรัม โดยต่ํากวfiาตํารับที่ 2 3 4 5 และ 6 อยfiางมีนัยสําคัญ การเพิ่มขึ้นของปริมาณฟอสฟอรัสที่เปDน ประโยชนffiในดินนั้น ซึ่งพบได3แม3ในดินที่ไมfiได3รับการใสfiปุjยเคมี คาดวfiาเปDนการเปลี่ยนแปลงของความเปDน ประโยชนffiของฟอสฟอรัสตามธรรมชาติตลอดชfiวงฤดูกาลปลูกมากกวfiาเปDนผลของการใสfiปุjยเคมี สfiวนปริมาณ โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได3หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตอยูfiระหวfiาง 50.33-136.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม ซึ่งอยูfiใน ระดับต่ําถึงสูงมาก โดยตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมfiใสfiปุjยทุกชนิด) ทําให3ดินมีปริมาณโพแทสเซียมที่ แลกเปลี่ยนได3สูงที่สุดเทfiากับ 136.67 มิลลิกรัมตfiอกิโลกรัม โดยสูงกวfiาตํารับที่ 2 3 4 5 และ 6 อยfiางมี นัยสําคัญ และตํารับที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุjยจากคfiาวิเคราะหffiดินโดยใช3คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรffiเพื่อ การพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=20 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตfiอไรfi) ทําให3ดินมีปริมาณโพแทสเซียม


Click to View FlipBook Version