The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุติมา_วจ.3 ข้าว ldd test kit

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พนิตพร สพข.8, 2024-02-22 22:52:13

ชุติมา_วจ.3 ข้าว ldd test kit

ชุติมา_วจ.3 ข้าว ldd test kit

รายงานผลการวิจัย เรื่อง การใชคาวิเคราะหดิน ผลผลิตที่คาดหวัง และธาตุอาหารหลักในผลผลิตเพื่อ กําหนดอัตราการใสปุ%ยสําหรับขาว ตําบลบานกราง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โดย นางชุติมา จันทรเจริญ นายพัฒนพงษ เกิดหลํา นางทรายแกว อนากาศ นายสาธิต กาละพวก รหัสโครงการวิจัย 57 57 01 08 020000 020 102 08 11 กลุมวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรกฎาคม 2558


สารบัญ หนา สารบัญตาราง ก สารบัญตารางภาคผนวก ข แบบรายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ 1 บทคัดยffอ 2 หลักการและเหตุผล 4 วัตถุประสงค 4 ขอบเขตการศึกษา 4 การตรวจเอกสาร 5 ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินงาน 6 อุปกรณและวิธีการ 7 ผลการทดลอง 11 สรุปผลการทดลอง 49 ประโยชนที่ได6รับ ข6อเสนอแนะ 50 50 เอกสารอ6างอิง 51 ภาคผนวก 52


ก สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 สมบัติทางเคมีของดินกffอนดําเนินการทดลอง แปลงนายจรูญ เอมหยวก 11 2 สมบัติของดินหลังการทดลอง แปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก 12 3 ผลผลิตและองคประกอบผลผลิตข6าวของ แปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก 13 4 การสะสมธาตุอาหารพืชในผลผลิต และตอซังข6าว แปลงทดลอง นายจรูญ เอมหยวก 14 5 การสะสมธาตุอาหารพืชในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก 15 6 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก 15 7 สมบัติทางเคมีของดินกffอนดําเนินการทดลอง แปลงทดลอง นางลูกอินทร ยอดเพชร 16 8 คffาความเป@นกรดเป@นดffางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังการทดลอง แปลง ทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร 16 9 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในดิน หลังการทดลอง แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร 17 10 ผลผลิตข6าวและจํานวนเมล็ดตffอรวง แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร 18 11 การเจริญเติบโตด6านความสูงและน้ําหนัก 100 เมล็ด แปลงทดลอง นางลูกอินทร ยอดเพชร 18 12 เปอรเซ็นตเมล็ดดีและเปอรเซ็นตเมล็ดเสีย แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร 19 13 น้ําหนักตอซังแห6ง แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร 19 14 ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลอง นางลูกอินทร ยอดเพชร 20 15 ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลอง นางลูกอินทร ยอดเพชร 20 16 ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าวแปลงทดลอง นางลูกอินทร ยอดเพชร 21 17 การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว (N uptake) แปลงทดลอง นางลูกอินทร ยอดเพชร 22 18 การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว (P uptake) แปลงทดลอง นางลูกอินทร ยอดเพชร 23 19 การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าว(K uptake)แปลงทดลองลูก อินทร ยอดเพชรแสง 24 20 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจแปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร 24 21 สมบัติทางเคมีของดินกffอนดําเนินการทดลองแปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง 25 22 คffาความเป@นกรดเป@นดffางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังการทดลอง แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง 25


ข ตารางที่ หนา 23 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในดิน หลังการทดลอง แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง 26 24 ผลผลิตข6าวและจํานวนเมล็ดตffอรวง แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง 27 25 การเจริญเติบโตด6านความสูงและน้ําหนัก 100 เมล็ด แปลงทดลอง นางเกสร จันทรสffองแสง 27 26 เปอรเซ็นตเมล็ดดีและเปอรเซ็นตเมล็ดเสีย แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง 28 27 น้ําหนักตอซังแห6ง และน้ําหนักแห6งสffวนเหนือดินของข6าว แปลงทดลอง นางเกสร จันทรสffองแสง 28 28 ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลอง นางเกสร จันทรสffองแสง 29 29 ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลอง นางเกสร จันทรสffองแสง 29 30 ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลอง นางเกสร จันทรสffองแสง 30 31 การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว (N uptake) แปลงทดลอง นางเกสร จันทรสffองแสง 30 32 การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว (P uptake) แปลงทดลอง นางเกสร จันทรสffองแสง 31 33 การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าว (K uptake) แปลงทดลอง นางเกสร จันทรสffองแสง 31 34 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง 32 35 สมบัติทางเคมีของดินกffอนดําเนินการทดลอง แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี 33 36 คffาความเป@นกรดเป@นดffางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังการทดลอง แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี 33 37 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในดิน หลังการทดลอง แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี 34 38 ผลผลิตข6าวและจํานวนเมล็ดตffอรวง แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี 35 39 การเจริญเติบโตด6านความสูงและน้ําหนัก 100 เมล็ด แปลงทดลอง นางอรุโณทัย เขียวมี 35 40 เปอรเซ็นตเมล็ดดีและเปอรเซ็นตเมล็ดเสีย แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี 36 41 น้ําหนักตอซังแห6ง และน้ําหนักแห6งสffวนเหนือดินของข6าว แปลงทดลอง นางอรุโณทัย เขียวมี 36 42 ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว นางเกสร จันทรสffองแสง 37 43 ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี 37


ค ตารางที่ 44 ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลอง นางอรุโณทัย เขียวมี 38 45 การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว (N uptake) แปลงทดลอง นางอรุโณทัย เขียวมี 38 46 การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว (P uptake) แปลงทดลอง นางอรุโณทัย เขียวมี 39 47 การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าว (K uptake) แปลงทดลอง นางอรุโณทัย เขียวมี 39 48 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี 40 49 สมบัติทางเคมีของดินกffอนดําเนินการทดลอง แปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง 41 50 คffาความเป@นกรดเป@นดffางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังการทดลอง แปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง 41 51 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในดิน หลังการทดลอง แปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง 42 52 ผลผลิตข6าวและจํานวนเมล็ดตffอรวง แปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง 43 53 การเจริญเติบโตด6านความสูงและน้ําหนัก 100 เมล็ด แปลงทดลอง นายทินกร บุญด6วง 43 54 เปอรเซ็นตเมล็ดดีและเปอรเซ็นตเมล็ดเสีย แปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง 44 55 น้ําหนักตอซังแห6ง และน้ําหนักแห6งสffวนเหนือดินของข6าว แปลงทดลอง นายทินกร บุญด6วง 44 56 ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลอง นายทินกร บุญด6วง 45 57 ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลอง นายทินกร บุญด6วง 45 58 ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลอง นายทินกร บุญด6วง 46 59 การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว (N uptake) แปลงทดลอง นายทินกร บุญด6วง 46 60 การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว (P uptake) แปลงทดลอง นายทินกร บุญด6วง 47 61 การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าว (K uptake) แปลงทดลอง นายทินกร บุญด6วง 47 62 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง 48


ง สารบัญตารางภาคผนวก ตาราง ภาคผนวกที่ หนา 1 การประเมินคffา pH ของดิน (ดิน:น้ํา = 1:1) 53 2 การประเมินระดับอินทรียวัตถุในดิน (Walkly and Black method) 53 3 การประเมินระดับธาตุฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน (Bray II) 53 4 การประเมินระดับธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 (ammonium acetate 1N : pH 7) 54 5 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของคffาความเป@นกรดเป@นดffางในดิน (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 54 6 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 54 7 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนในดิน (แปลงนายจรูญ เอมหยวก 54 8 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 ในดิน (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 55 9 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของผลผลิตข6าว (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 55 10 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของจํานวนเมล็ดตffอรวง (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 55 11 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของความสูง (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 55 12 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของเปอรเซ็นตเมล็ดดี (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 56 13 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของเปอรเซ็นตเมล็ดเสีย (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 56 14 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของน้ําหนัก 100 เมล็ด (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 56 15 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของน้ําหนักตอซังแห6ง (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 56 16 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของน้ําหนักแห6งสffวนเหนือดิน (แปลงนายจรูญ เอมหยวก 57 17 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของความเข6มข6นของไนโตรเจนในผลผลิต (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 57 18 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของความเข6มข6นของฟอสฟอรัสผลผลิต (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 57 19 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของความเข6มข6นของโพแทสเซียมผลผลิต (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 57


จ สารบัญตารางภาคผนวก (ตอ) ตาราง ภาคผนวกที่ หนา 20 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของความเข6มข6นของไนโตรเจนในตอซัง (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 58 21 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของความเข6มข6นของฟอสฟอรัสในตอซัง (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 58 22 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของความเข6มข6นของโพแทสเซียมในตอซัง (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 58 23 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของการสะสมธาตุไนโตรเจนในผลผลิต (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 58 24 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของการสะสมธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิต (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 59 25 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของการสะสมธาตุโพแทสเซียมในผลผลิต (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 59 26 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของการสะสมธาตุไนโตรเจนในตอซัง (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 59 27 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของการสะสมธาตุฟอสฟอรัสในตอซัง (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 59 28 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของการสะสมธาตุโพแทสเซียมในตอซัง (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 60 29 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของการสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนเหนือดิน (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 60 30 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของการสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดิน (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 60 31 วิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติของการสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนเหนือ ดิน (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 60 32 วิเคราะหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสําหรับการปลูกข6าว (แปลงนายจรูญ เอมหยวก) 61 33 วิเคราะหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสําหรับการปลูกข6าว (แปลงนางลูกอินทร ยอดเพชร) 62 34 วิเคราะหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสําหรับการปลูกข6าว (แปลงนางเกสร จันทรสffองแสง) 63 35 วิเคราะหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสําหรับการปลูกข6าว (แปลงนางอรุโณทัย เขียวมี) 64 36 วิเคราะหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสําหรับการปลูกข6าว (แปลงนายทินกร บุญด6วง) 65 37 ภาพกิจกรรมการดําเนินงาน 66


1 แบบรายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ ทะเบียนวิจัย 57 57 01 08 020000 020 102 08 11 ชื่อโครงการ การใช6คffาวิเคราะหดิน ผลผลิตที่คาดหวัง และธาตุอาหารหลักในผลผลิตเพื่อ กําหนดอัตราการใสffปุ_ยสําหรับ ตําบลบ6านกรffาง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ผูรับผิดชอบ นางชุติมา จันทรเจริญ หนวยงาน กลุffมวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ที่ปรึกษาโครงการ นางอําพรรณ พรมศิริ ที่ปรึกษากรมพัฒนาที่ดิน นายประศาสน สุทธารักษ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 นายเมธิน ศิริวงศ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ผูรวมดําเนินการ นายพัฒนพงษ เกิดหลํา กลุffมวิชาการฯ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 นางทรายแก6ว อนากาศ กลุffมวิชาการฯ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 นายสาธิต กาละพวก กลุffมวิชาการฯ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เริ่มตน ตุลาคม พ.ศ. 2556 สิ้นสุด กันยายน พ.ศ. 2557 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 1 ปc สถานที่ดําเนินการ ตําบลบ6านกรffาง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก คาใชจายในการดําเนินงานทั้งสิ้น ป>งบประมาณ งบบุคลากร งบดําเนินงาน รวม 2557 - 100,000 100,000 แหลffงงบประมาณที่ใช6 เงินงบประมาณปกติ งบประมาณงานวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ดิน (ตามขั้นตอนการจัดสรรงบประมาณประจําปc) พร6อมนี้ได6แนบรายละเอียดประกอบตามฟอรมที่กําหนดมาแล6วด6วย ลงชื่อ………………………………… (นางชุติมา จันทรเจริญ) ผู6รับผิดชอบโครงการ ลงชื่อ………………………………….… (นายประศาสน สุทธารักษ) ผู6อํานวยการสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ประธานคณะกรรมการกลั่นกรองผลงานวิชาการของหนffวยงานต6นสังกัด วัน เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2558


2 ทะเบียนวิจัยเลขที่ 57 57 01 08 020000 020 102 08 11 ชื่อโครงการวิจัย การใช6คffาวิเคราะหดิน ผลผลิตที่คาดหวัง และธาตุอาหารหลักในผลผลิตเพื่อกําหนดอัตรา การใสffปุ_ยสําหรับข6าว ตําบลบ6านกรffาง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก The Use of Soil Aalysis Data, Expected Yield and Primary Nutrient Requirement of Cultivation Crop for Recommendation of Fertilizer Application Rates for Rice Cultivation at Bankrang Sub-District, Muang District, Phitsanulok Province กลุมชุดดินที่ กลุffมชุดดินที่ 7 (Soil group no. 7) ชุดดินนffาน ผูดําเนินการ นางชุติมา จันทรเจริญ Mrs. Chutima Chancharoen นายพัฒนพงษ เกิดหลํา Mr. Patpong Kirdlum นางทรายแก6ว อนากาศ Mrs. Saikaew Anakad นายสาธิต กาละพวก Mr. Sathit Kalapuak บทคัดยอ การวิจัยการใช6คffาวิเคราะหดิน ผลผลิตที่คาดหวัง และธาตุอาหารหลักในผลผลิตเพื่อกําหนดอัตรา การใสffปุ_ยสําหรับข6าว ดําเนินการในพื้นที่เกษตรกร ต.บ6านกรffาง อ.เมือง จ.พิษณุโลก ตั้งแตffเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 การทดลองแบffงเป@น 5 การทดลองยffอย การทดลองที่ 1 วางแผนการ ทดลองแบบ Randomized Complete Block (RCB) จํานวน 4 ซ้ํา ในพื้นที่เกษตรกรจํานวน 1 ราย การ ทดลองที่ 2 ถึง 5 เป@นการทดลองแบบสังเกตการณ (Observation Trial) ในพื้นที่เกษตรกร จํานวน 4 ราย ซึ่ง ดําเนินการคัดเลือกพื้นที่ของเกษตรกรที่มีอยูffในชุดดินเดียวกันคือ ชุดดินนffาน อยูffในกลุffมชุดดินที่ 7 ตํารับการ ทดลองประกอบด6วย ตํารับการทดลองที่ 1 แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) ตํารับการทดลองที่ 2 ใสffปุ_ยตาม วิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ ตํารับการทดลองที่ 3 ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6 เกณฑของกรมวิชาการเกษตร ตํารับการทดลองที่ 4 ประเมินอัตราปุ_ยไนโตรเจนจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6 ปริมาณการดูดใช6ไนโตรเจนของพืช การปลดปลffอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช6 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุ_ยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคffาวิกฤตของฟอสฟอรัสและ โพแทสเซียมในดินเป@นเกณฑ ตํารับการทดลองที่ 5 ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูด ใช6ธาตุอาหารหลักของพืชรffวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล6างของดิน คิดเป@น ปริมาณ 30 % ของการดูดใช6ของพืชเป@นเกณฑ และตํารับการทดลองที่ 6 ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดิน โดยใช6คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ผลการทดลองที่ 1 แปลงทดลองแบบ RCB ในพื้นที่เกษตรกรแปลงทดลองที่ 1 พบวffา สมบัติของดิน กffอนการทดลองและหลังการทดลองได6แกff คffาความเป@นกรดเป@นดffาง ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัสที่ เป@นประโยชน และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 อยูffในระดับเดียวกันทุกตํารับการทดลอง ผลผลิต ข6าวพบวffาตํารับการทดลองที่ 5 ให6ผลผลิตสูงกวffาตํารับการทดลองอื่นๆ แตffไมffแตกตffางกับตํารับการทดลองที่ 2 การสะสมธาตุอาหารสffวนเหนือดิน พบวffาตํารับการทดลองที่ 5 มีการสะสมธาตุไนโตรเจนสffวนเหนือดินสูงที่สุด ตํารับการทดลองที่ 5 และ 2 มีการสะสมธาตุฟอสฟอรัสสffวนเหนือดินมากกวffาตํารับการทดลองอื่นๆ และ


3 ตํารับการทดลองที่ 1 มีการสะสมธาตุโพแทสเซียมในดินต่ํากวffาตํารับการทดลองอื่นๆ ผลตอบแทนทาง เศรษฐกิจ พบวffาตํารับการทดลองที่ 5 ให6ผลตอบแทนสูงสุด ผลการทดลองที่ 2 การทดลองแบบสังเกตการณในพื้นที่เกษตรกรแปลงทดลองที่ 2 พบวffา สมบัติ ของดินกffอนการทดลองและหลังการทดลอง ได6แกff คffาความเป@นกรดเป@นดffาง ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 อยูffในระดับเดียวกันทุกตํารับการทดลอง ผลผลิตข6าวตํารับการทดลองที่ 5 และ 2 ให6ผลผลิตสูงกวffาตํารับการทดลองอื่นๆ การสะสมธาตุอาหารสffวน เหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 และ 2 มีการสะสมธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมสffวน เหนือดินมากกวffาตํารับการทดลองอื่นๆ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 ให6 ผลตอบแทนสูงสุด ผลการทดลองที่ 3 การทดลองแบบสังเกตการณในพื้นที่เกษตรกรแปลงทดลองที่ 3 พบวffา สมบัติ ของดินกffอนการทดลองและหลังการทดลอง ได6แกff คffาความเป@นกรดเป@นดffาง ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 อยูffในระดับเดียวกันทุกตํารับการทดลอง ผลผลิตข6าวตํารับการทดลองที่ 2 3 4 และ 5 ให6ผลผลิตใกล6เคียงกันและมากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 การ สะสมธาตุอาหารสffวนเหนือดิน พบวffา มีการสะสมธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียมสffวนเหนือดินใน ตํารับการทดลองที่ 4 3 และ 5 มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวffา ตํารับการ ทดลองที่ 2 ให6ผลตอบแทนสูงสุด ผลการทดลองที่ 4 การทดลองแบบสังเกตการณในพื้นที่เกษตรกรแปลงทดลองที่ 4 พบวffา สมบัติ ของดินกffอนการทดลองและหลังการทดลอง ได6แกff คffาความเป@นกรดเป@นดffาง ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 อยูffในระดับเดียวกันทุกตํารับการทดลอง ผลผลิตข6าวตํารับการทดลองที่ 6 และ 4 ให6ผลผลิตมากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 แตffตํารับการทดลองอื่นๆ ไมff แตกตffางกัน การสะสมธาตุอาหารสffวนเหนือดิน พบวffา การสะสมธาตุไนโตรเจนสffวนเหนือดินในแตffละตํารับ การทดลองไมffแตกตffางกัน ตํารับการทดลองที่ 2 และ 3 มีการสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดิน มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 และตํารับการทดลองที่ 4 และ 6 มีการสะสมธาตุโพแทสเซียมสffวนเหนือดิน มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวffาตํารับการทดลองที่ 5 ให6ผลตอบแทนสูงสุด ผลการทดลองที่ 5 การทดลองแบบสังเกตการณในพื้นที่เกษตรกรแปลงทดลองที่ 5 พบวffา สมบัติ ของดินกffอนการทดลองและหลังการทดลอง ได6แกff คffาความเป@นกรดเป@นดffาง ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 อยูffในระดับเดียวกันทุกตํารับการทดลอง ผลผลิตข6าวตํารับการทดลองทั้ง 5 ตํารับไมffแตกตffางกัน การสะสมธาตุอาหารสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับ การทดลองที่ 5 มีการสะสมธาตุไนโตรเจนสffวนเหนือดินมากกวffาตํารับการทดลองที่ 4 และ 1 ตํารับการ ทดลองที่ 3 2 5 6 และ 4 การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดินมากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 และตํารับ การทดลองที่ 5 มีการสะสมธาตุโพแทสเซียมสffวนเหนือดินมากกวffาตํารับการทดลองที่ 3 2 และ 1 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวffา ตํารับการทดลองที่ 3 ให6ผลตอบแทนสูงสุด


4 หลักการและเหตุผล กรมพัฒนาที่ดินได6พัฒนาชุดตรวจสอบดินภาคสนาม (LDD Soil Testing Kit) ขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อใช6 แทนชุดตรวจดินภาคสนามที่ผลิตโดยองคกรอื่น และกรมฯได6นํามาใช6ในการปฏิบัติงานของหมอดินทั่วประเทศ มาเป@นเวลานาน ซึ่งการพัฒนา LDD Soil Testing Kit ขึ้นมาใช6เอง นอกจากจะเป@นการแสดงถึงศักยภาพของ กรมฯ ในฐานะที่เป@นหนffวยงานที่รับผิดชอบงานด6านตffางๆ ที่เกี่ยวข6องกับการพัฒนาดินของรัฐโดยตรงแล6ว ยัง เป@นการประหยัดงบประมาณได6อีกด6วย ดังนั้นหากวffาการวิเคราะหดินในแปลงเกษตรกรด6วย LDD Soil Testing Kit ให6ผลการวิเคราะหที่สามารถนําไปใช6ได6 ยffอมกffอให6เกิดประโยชนแกffเกษตรกรอยffางกว6างขวาง เพราะหากเกษตรกรสามรถใสffปุ_ยในการเพาะปลูกได6อยffางเหมาะสม และอัตราการใสffปุ_ยเป@นไปตามคุณภาพ ของดินแทนที่จะใช6ตามวิธีการที่เคยปฏิบัติ ซึ่งไมffคffอยได6คํานึงถึงเรื่องคุณภาพของดิน โดยเฉพาะอยffางยิ่ง ปริมาณธาตุอาหารหลักที่มีอยูffในดิน ตลอดจนปริมาณความต6องการธาตุอาหารหลักของพืชที่จะปลูก เกษตรกร ไมffเพียงแตffจะสามารถลดต6นทุนการผลิตด6านปุ_ย แตffยังเกิดผลดีในแงffของการชffวยลดปÇญหาเรื่องการเสื่อมโทรม ของดินที่เกิดจากการใช6ปุ_ยไมffถูกต6อง ซึ่งปÇญหาที่พบบffอย ได6แกff การที่ดินขาดสมดุลของธาตุอาหารพืช เพราะมี การสะสมของ P และ K ในดินในระดับสูง และเป@นกรดเพิ่มขึ้นเพราะใช6ปุ_ยไนโตรเจนมากเกินไป อยffางไรก็ดี การเผยแพรff LDD Soil Testing Kit ไปสูffผู6ใช6ในวงกว6าง จําเป@นต6องมีการศึกษาวิจัย เพิ่มเติม โดยเฉพาะการทดลองในภาคสนาม เพื่อให6ได6ข6อมูลที่สามารถยืนยันได6วffา LDD Soil Testing Kit สามารถใช6ตรวจสอบสภาพความอุดมสมบูรณของดินขั้นพื้นฐานได6 โดยคffาวิเคราะหที่ได6มีความเหมาะสม และ นffาเชื่อถือในระดับที่เพียงพอสําหรับการใช6ประเมินความต6องการปุ_ยของพืชที่เกษตรกรจะปลูกได6 ดังนั้น การศึกษาวิจัยเพิ่มเติมโดยการทดลองภาคสนาม จึงเป@นเรื่องที่จําเป@นต6องมีการดําเนินการ โดยการทดลองนี้ ดําเนินการทดลองในข6าว จังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค เพื่อศึกษาแนวทางการใช6 LDD Soil Testing Kit ที่เหมาะสมสําหรับใช6ประเมินอัตราการใสffปุ_ยสําหรับ การปลูกข6าว ขอบเขตการศึกษา การทดลองนี้ พืชชนิดที่ปลูก คือข6าว สําหรับการคัดเลือกพื้นที่ นักวิจัยอาวุโสที่เป@นที่ปรึกษาของกรม ฯ จะออกพื้นที่รffวมกับนักวิชาการเกษตร กffอนที่จะวางแผนการดําเนินการอยffางละเอียดตffอไป เนื่องจากการ กําหนดตํารับการทดลองจําเป@นต6องอาศัยข6อมูลด6านคุณภาพของดินที่จะใช6ทําแปลงทดลองในการทดลอง ภาคสนามของแตffละโครงการยffอย จะแยกออกเป@น 2 สffวน สffวนแรกเป@นการทดลองสมบูรณแบบ ซึ่งนักวิจัย สามารถเข6าไปจัดการในการเพาะปลูกข6าวได6ด6วยตนเอง (มีตํารับการทดลองที่ทําหลายซ้ําในพื้นที่เดียวกัน จํานวน 4 ซ้ํา สffวนที่สองเป@นการทดลองในพื้นที่เกษตรกร จํานวน 4 ราย ซึ่งจะคัดเลือกพื้นที่ของเกษตรกรที่มี ลักษณะดินเหมือนกัน


5 การตรวจเอกสาร โดยทั่วไปเกษตรกรมีการใช6สารเคมีในระดับสูง โดยเฉพาะปุ_ยและยาฆffาแมลงสําหรับการปลูกผัก และการใช6ปุ_ยในปริมาณมากมีผลทําให6เกิดการสูญเสียไนโตรเจนจากดินและการสะสมฟอสฟอรัสในดิน ซึ่ง ทําให6เกิดผลเสียตffอสภาพแวดล6อม (Mursheldul and Ladha, 2004) ในการเพาะปลูกพืชหลายชนิดที่มี การใสffปุ_ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมอยffางตffอเนื่องในปริมาณสูง จะทําให6มีการสะสม ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในระดับสูง (Prasad and Sinha, 1981) ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใสffในนาข6าวตามคffาวิเคราะหดินของ ซึ่งประเมินจากการทดสอบใน โครงการจัดเขตศักยภาพการผลิตข6าว ตามคําแนะนําของสถาบันวิจัยข6าว (2547) มีดังนี้ อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะหได6 ปริมาณไนโตรเจน ปริมาณฟอสฟอรัส ปริมาณโพแทสเซียม ไวแสง (กก.N/ไรff) ไมffไวแสง (กก.N/ไรff) ที่วิเคราะหได6 (สffวนในล6านสffวน) ที่ต6องใสff (กก.P2O5/ไรff) ที่วิเคราะหได6 (สffวนในล6านสffวน) ที่ต6องใสff (กก.K2O/ไรff) น6อยกวffา 1 9 18 น6อยกวffา 5 6 น6อยกวffา 60 6 1-2 6 12 5-10 3 60-80 3 มากกวffา 2 3 6 มากกวffา 10 0 มากกวffา 80 0 จากการศึกษาของ เนตรดาว (2547) ซึ่งได6ประเมินงบดุลบางสffวนของธาตุอาหารหลักของพืชที่ ปลูกในระบบปลอดสารปÖองกันศัตรูพืช โดยใช6ผักอายุยาว(45 วัน) 3 ชนิด ได6แกff คะน6า ผักกาดกวางตุ6ง และ ผักกาดฮffองเต6 และผักอายุสั้น (35 วัน) 3 ชนิด ได6แกff ผักบุ6ง ผักโขมจีน และผักสลัดใบ พบวffา มีการใช6 ปุ_ยเคมีและปุ_ยอินทรีย ในปริมาณที่ให6ธาตุอาหารหลัก 7.1 g N/m2 5.8 gP/m2 และ 5.0 g K/m2 สําหรับ ผักอายุยาว และ 5.7gN/m2 4.7 gP/m2 และ 4.0 gK/m2 สําหรับผักอายุสั้น และจากการวิเคราะหดินกffอน ปลูก พบวffา มีไนโตรเจนในระดับที่ไมffเพียงพอสําหรับการปลูกผักแตffมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนใน ดินและโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได6ในระดับสูงมาก ดังนั้นงบดุลธาตุอาหารบางสffวนจะผันแปรไป ตามชนิดของผักที่ปลูก แตffเป@นที่สังเกตวffาสําหรับพืชผักทั้ง 6 ชนิดที่ศึกษาจะมีงบดุลของฟอสฟอรัสเป@นบวก สffวนงบดุลของไนโตรเจนและโพแทสเซียม สําหรับผักคะน6า ผักกาดกวางตุ6ง และผักโขมจีนมีคffาติดลบ แตff สําหรับผักสลัดใบและผักบุ6งกลับมีคffางบดุลไนโตรเจนและโพแทสเซียมเป@นบวก สffวนผักกาดฮffองเต6มีคffางบ ดุลของไนโตรเจนเป@นบวก แตffงบดุลโพแทสเซียมติดลบ Ontario Ministry of Agriculture Food and Rural Affairs (2006) รายงานวffา ในดินที่มี ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนในดิน 61mg/kg หรือมากกวffา ผักสลัดจะไมffตอบสนองตffอการใสffปุ_ย ฟอสฟอรัสที่เพิ่มเติมลงไป สําหรับดินที่มีปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได6 181 mg/kg หรือสูง กวffา ผักสลัดก็จะไมffตอบสนองตffอการใสffปุ_ยโพแทสเซียมเชffนเดียวกัน Deenik et al. 2006 ได6ศึกษาการจัดการปุ_ยฟอสฟอรัสสําหรับการปลูกกะหล่ําปลี โดยดินที่ปลูก มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนและโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได6ในระดับสูง พบวffา การใสffปุ_ยที่ มีปริมาณ N P K แตกตffางกัน ไมffทําให6ปริมาณผลผลิตน้ําหนักสดของกะหล่ําปลีแตกตffางกันอยffางมีนัยสําคัญ ปวีณา (2551) ได6ศึกษาสภาพความอุดมสมบูรณของดินและการจัดการปุ_ยเคมีอยffางเหมาะสมใน การปลูกผักบนพื้นที่สูง พบวffา ดินที่ใช6ปลูกผักสffวนใหญffมีความเป@นกรดจัด (pH อยูffในชffวง 3.8 – 5.4) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน และปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได6อยูffในระดับสูงมาก (>100 mg P/kg และ >300 mg K/kg) และใช6พื้นที่ดังกลffาวทําการทดลองการใสffปุ_ยเคมีตามคffาวิเคราะห


6 ดินเปรียบเทียบกับการใสffปุ_ยเคมีแบบตffาง ๆ ผลการทดลองพบวffา วิธีการใสffปุ_ยในอัตราที่ได6จากการประเมิน ปริมาณธาตุอาหารที่มีอยูffในดินรffวมกับปริมาณธาตุอาหารที่สะสมอยูffในผลผลิตผัก ให6ผลผลิตไมffแตกตffางจาก วิธีการใสffปุ_ย NPK ตามอัตราของศูนย/สถานีและเกษตรกร แตffวิธีการใสffปุ_ยดังกลffาวสามารถลดต6นทุนการใช6 ปุ_ยเคมีได6ถึง 63-95% ของต6นทุนการผลิตของวิธีการใสffปุ_ย NPK ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินการ ระยะเวลาการดําเนินการ เริ่มต6น เดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 สิ้นสุด เดือนกันยายน พ.ศ. 2557 สถานที่ดําเนินการ 1. สถานที่ตั้ง พื้นที่แปลงทดลองข6าว ตําบลบ6านกรffาง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก พิกัดแปลง 1.1 แปลงทดลองแบบ RCB นายจรูญ เอมหยวก 623872E 1893719N 1.2 แปลงทดลองแบบ Observation Trial 1) นางลูกอินทร ยอดเพชร 623552E 1863888N 2) นางเกสร จันทรสffองแสง 622956E 1864107N 3) นางอรุโณทัย เขียวมี 622958E 1864112N 4) นายทินกร บุญด6วง 624994E 1866430N 2. ผู6ดําเนินการ 2.1 นางชุติมา จันทรเจริญ ตําแหนffง นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ มีหน6าที่ ดําเนินงานแปลงวิจัย รวบรวมข6อมูล วิเคราะหข6อมูล สรุปและเขียนรายงาน ปฏิบัติงาน 70% 2.2 นายพัฒนพงษ เกิดหลํา ตําแหนffง นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ มีหน6าที่ เก็บข6อมูล จัดเตรียมวัสดุทดลอง ปฏิบัติงาน 10% 2.3 นางทรายแก6ว อนากาศ ตําแหนffง นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ มีหน6าที่ เก็บข6อมูล จัดเตรียมวัสดุทดลอง ปฏิบัติงาน 10% 2.4 นายสาธิต กาละพวก ตําแหนffง นักวิชาการเกษตรชํานาญการ มีหน6าที่ เก็บข6อมูล จัดเตรียมวัสดุทดลอง ปฏิบัติงาน 10% 3. สภาพพื้นที่แปลงทดลอง แปลงทดลองทั้ง 5 แปลง อยูffในกลุffมชุดดินที่ 7 ชุดดินนffาน เนื้อดินเป@นดินรffวนเหนียวละเอียด ดินลึก 180 เซนติเมตร เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ําในพื้นที่ราบลุffมหรือพื้นที่ตะพักลําน้ําระดับต่ํา สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคffอนข6างราบเรียบ มีความลาดชันน6อยกวffา 2 เปอรเซ็นต มีการพัฒนาการของดินมานาน การระบายน้ําของดินคffอนข6างเลว มีน้ําทffวมขังในฤดูฝน ปฏิกิริยาดินเป@นกรดเล็กน6อยถึงเป@นดffางปานกลาง มีคffา ความเป@นกรดเป@นดffางของดินประมาณ 6.54 ความอุดมสมบูรณของดินตามธรรมชาติปานกลาง


7 อุปกรณและวิธีดําเนินการ 1. อุปกรณ 1.1 ปุ_ยเคมีสูตร 46-0-0 15-15-15 16-20-0 และ 0-0-60 1.2 อุปกรณเก็บตัวอยffางดิน 1.3 เครื่องชั่ง 1.4 ถุงปุ_ย และถุงตาขffายสําหรับตากตัวอยffางพืช 1.5 สารเคมีปÖองกันกําจัดโรคและแมลงศัตรูพืช 2. วิธีดําเนินงาน 2.1 การวางแผนการทดลอง วางแผนการทดลอง 2 แบบ คือ 1) แบบบล็อกสุffมสมบูรณ (Randomized Complete Block - RCB) จํานวน 6 ตํารับการทดลอง 4 ซ้ํา ทั้งหมด 24 แปลง แปลงทดลองมีขนาด 10.5 x 4 ตารางเมตร และ 2) แบบสังเกตการณ (Observation Trial) จํานวน 4 แปลง เกษตรกร 4 ราย ดําเนินการที่ตําบลบ6านกรffาง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ตามตํารับการทดลองดังนี้ ตํารับการทดลองที่ 1 (T1) แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) ตํารับการทดลองที่ 2 (T2) ใสffปุ_ยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ ตํารับการทดลองที่ 3 (T3) ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6เกณฑของกรมการข6าว ตํารับการทดลองที่ 4 (T4) ประเมินอัตราปุ_ยไนโตรเจนจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6 ไนโตรเจนของพืช การปลดปลffอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและ ประสิทธิภาพการดูดใช6ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุ_ย ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคffาวิกฤตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม ในดินเป@นเกณฑ ตํารับการทดลองที่ 5 (T5) ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ธาตุอาหาร หลักของพืชรffวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจาก กระบวนการชะล6างของดิน คิดเป@นปริมาณ 30 % ของการดูดใช6ของ พืชเป@นเกณฑ ตํารับการทดลองที่ 6 (T6) ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6คําแนะนําของ สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน 2.2 ขั้นตอนการดําเนินงาน 1. สํารวจ และคัดเลือกแปลงทดลองในพื้นที่เกษตรกรตําบลบ6านกรffาง อําเภอเมือง จังหวัด พิษณุโลก ชี้แจงหลักการและเหตุผลให6เกษตรกรที่รffวมโครงการวิจัยได6ทราบ 2. เตรียมแปลงทดลอง ดังนี้ แบบบล็อกสุffมสมบูรณ โดยแบffงแปลงยffอยขนาด 10.5x4 เมตร จํานวน 24 แปลงยffอย และแบบสังเกตการณ จํานวน 4 แปลงๆ ละประมาณ 1 ไรff โดยเป@นแบffง 6 แปลงยffอย ขนาดแปลงตามลักษณะพื้นที่ของเกษตรกร 3. เก็บตัวอยffางดินที่ระดับความลึก 0–15 ซม. ในแตffละแปลงยffอย กffอนและหลังทําการทดลอง 4. จัดเตรียมเมล็ดพันธุ กข 41 และปุ_ยเคมี


8 5. ปลูกข6าวพันธุ กข 41 ให6น้ํา ใสffปุ_ย ดูแลรักษา ทํารุffนกําจัดวัชพืช และแมลงศัตรูพืชตาม ความจําเป@น ซึ่งแตffละแปลงมีวิธีการใสffปุ_ยเคมีแตกตffางกัน ดังนี้ 6. การจัดการปุ_ยตามตํารับทดลอง 6.1 แปลงแบบบล็อกสุffมสมบูรณ (RCBD) ดําเนินการรffวมกับนายจรูญ เอมหยวก มีวิธีการ จัดการปุ_ยเคมี ดังนี้ T1 = แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) T2 = ใสffปุ_ยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=15.5 P2O5= 5 และ K2O=0 กิโลกรัมตffอไรff) T3 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6เกณฑของกรมการข6าว (N=6 P2O5= 0 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff) T4 = ประเมินอัตราปุ_ยไนโตรเจนจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลffอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช6 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุ_ยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคffาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเป@นเกณฑ (N=8.75 P2O5= 0 และ K2O=14.60 กิโลกรัมตffอไรff) T5 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ธาตุอาหารหลักของพืช รffวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล6างของดิน คิด เป@นปริมาณ 30 % ของการดูดใช6ของพืชเป@นเกณฑ (N=20.25 P2O5=0 และ K2O=8.25 กิโลกรัมตffอไรff) T6 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรเพื่อการ พัฒนาที่ดิน (N=12 P2O5=6 และ K2O=8 กิโลกรัมตffอไรff) 6.2 แปลงแบบสังเกตการณ ดําเนินการรffวมกับเกษตรกร 4 ราย ได6แกff 1) นางลูกอินทร ยอดเพชร มีวิธีการจัดการปุ_ย ดังนี้ T1 = แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) T2 = ใสffปุ_ยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=31 และ P2O5=10 K2O=0 กิโลกรัมตffอไรff) T3 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6เกณฑของกรมการข6าว (N=6 P2O5=0 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff) T4 = ประเมินอัตราปุ_ยไนโตรเจนจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลffอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช6 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุ_ยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคffาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเป@นเกณฑ (N=0 P2O5=0 K2O=8.99 กิโลกรัมตffอไรff) T5 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ธาตุอาหารหลักของพืช รffวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล6างของดิน คิด เป@นปริมาณ 30 % ของการดูดใช6ของพืชเป@นเกณฑ (N=20.5 P2O5=0.81 และ K2O=2.64 กิโลกรัมตffอไรff) T6 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรเพื่อการ


9 พัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=12 P2O5=6 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff) 2) มีวิธีการจัดการปุ_ย นางเกสร จันทรสffองแสง ดังนี้ T1 = แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) T2 = ใสffปุ_ยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=23 P2O5=0 และ K2O=0 กิโลกรัมตffอไรff) T3 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6เกณฑของกรมการข6าว (N=6 P2O5=3 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff) T4 = ประเมินอัตราปุ_ยไนโตรเจนจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลffอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช6 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุ_ยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคffาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเป@นเกณฑ (N=6.84 P2O5=1.44 และ K2O=21.72 กิโลกรัมตffอไรff) T5 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ธาตุอาหารหลักของพืช รffวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล6างของดิน คิด เป@นปริมาณ 30 % ของการดูดใช6ของพืชเป@นเกณฑ (N=20.25 P2O5=2.24 และ K2O=15.37 กิโลกรัมตffอไรff) T6 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรเพื่อการ พัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=12 P2O5=8 และ K2O=8 กิโลกรัมตffอไรff 3) นางอรุโณทัย เขียวมี มีวิธีการจัดการปุ_ย ดังนี้ T1 = แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) T2 = ใสffปุ_ยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=27 P2O5= 5 และ K2O=0 กิโลกรัมตffอไรff) T3 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6เกณฑของกรมการข6าว (N=6 P2O5=3 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff) T4 = ประเมินอัตราปุ_ยไนโตรเจนจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลffอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช6 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุ_ยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคffาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเป@นเกณฑ (N=5.87 P2O5=5.02 และ K2O=14.60 กิโลกรัมตffอไรff) T5 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ธาตุอาหารหลักของพืช รffวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล6างของดิน คิด เป@นปริมาณ 30 % ของการดูดใช6ของพืชเป@นเกณฑ (N=20.25 P2O5=5.83 และ K2O=8.25 กิโลกรัมตffอไรff) T6 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรเพื่อการ พัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N=12 P2O5=8 และ K2O=8 กิโลกรัมตffอไรff) 4) นายทินกร บุญด6วง มีวิธีการจัดการปุ_ย ดังนี้ T1 = แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด)


10 T2 = ใสffปุ_ยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ (N=31 P2O5=10 และ K2O=0 กิโลกรัมตffอไรff) T3 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6เกณฑของกรมการข6าว (N=6 P2O5=3 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff) T4 = ประเมินอัตราปุ_ยไนโตรเจนจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ไนโตรเจน ของพืช การปลดปลffอยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดินและประสิทธิภาพการดูดใช6 ไนโตรเจนของพืช และประเมินอัตราปุ_ยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมจากคffาวิกฤต ของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินเป@นเกณฑ (N=0 P2O5= 2.15 และ K2O=20.22 กิโลกรัมตffอไรff) T5 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ธาตุอาหารหลักของพืช รffวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจากกระบวนการชะล6างของดิน คิด เป@นปริมาณ 30 % ของการดูดใช6ของพืชเป@นเกณฑ (N = 20.25 P2O5 = 2.96 และ K2O = 13.87 กิโลกรัมตffอไรff) T6 = ประเมินอัตราปุ_ยจากคffาวิเคราะหดินโดยใช6คําแนะนําของสํานักวิทยาศาสตรเพื่อการ พัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (N = 12 P2O5 = 8 และ K2O = 8 กิโลกรัมตffอไรff) 7. การบันทึกข6อมูล 7.1 ข6อมูลดิน ได6แกff - สมบัติทางเคมีของดิน เก็บตัวอยffางดินที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร กffอนการ ทดลองและหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต นําไปวิเคราะหสมบัติทางเคมีบางประการ เชffน ความเป@นกรดเป@นดffางของดิน (pH) วิธีการ ดิน : น้ํา 1 : 1 วัดด6วย pH meter ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%OM) วิธีการ Walkley and Black method ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน (Available P) ใช6 2 วิธี คือ Bray II และ Double acid ปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 (Exchangeable K) วิธีการ ammonium acetate 1 N pH 7 อัตราสffวน 1 ตffอ 20 และความต6องการปูน (lime requirement) และวิเคราะหสมบัติทางกายภายของ ดิน คือเนื้อดิน (Texture) (สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547) 7.2 ข6อมูลพืช ได6แกff - เก็บตัวอยffางพืชเพื่อวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารหลักในผลผลิตข6าว และสffวนเหนือดิน ทั้งหมด โดยสffงตัวอยffางไปที่สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน - บันทึกข6อมูลผลผลิตและองคประกอบผลผลิตข6าวทั้งหมด 7.3 ข6อมูลด6านผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ โดยบันทึกข6อมูลคffาใช6จffายของแตffละตํารับการ ทดลอง 8.วิเคราะหข6อมูลแปลงทดลองข6าว ได6แกff ความเป@นกรดเป@นดffางของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุใน ดิน ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนในดิน ปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในดิน ปริมาณธาตุ อาหารหลักผลผลิตข6าวและสffวนตffางๆ ของข6าว โดยการหาความแปรปรวนทางสถิติในแบบบล็อกสุffมสมบูรณ และหาคffาความแตกตffางของคffาเฉลี่ยโดยวิธี Duncan's Multiple Range Test (DMRT) และเปรียบเทียบ ความแตกตffางโดยวิธี T-test สําหรับการทดลองแบบสังเกตการณ 9. เขียนรายงานผลการวิจัย - รายงานความก6าวหน6ารายเดือน และรายงานความก6าวหน6าแบบ ต-1ชด - รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ (วจ.3) เมื่อสิ้นสุดโครงการ (เดือนกันยายน 2557)


11 ผลการทดลอง จากการศึกษาการใช6คffาวิเคราะหดิน ผลผลิตที่คาดหวัง และธาตุอาหารหลักในผลผลิตเพื่อกําหนด อัตราการใสffปุ_ยสําหรับข6าวในตําบลบ6านกรffาง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งประกอบด6วยแปลงทดลอง 5 แปลง ปรากฏผลดังนี้ การทดลองที่ 1 แบบบล็อกสุมสมบูรณ (RCBD) 1. แปลงทดลองของนายจรูญ เอมหยวก 1.1 การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน สมบัติของดินกอนการทดลอง จากการวิเคราะหดินกffอนเริ่มดําเนินการทดลอง พบวffา ดินมีความเป@นกรดปานกลาง คffาความเป@น กรดเป@นดffางของดินเทffากับ 5.8 ปริมาณอินทรียวัตถุอยูffในระดับปานกลาง คือ 2.0 เปอรเซ็นต ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนอยูffในระดับปานกลาง คือ 25 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่ แลกเปลี่ยนได6อยูffในระดับสูง คือ 41 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม และมีลักษณะเนื้อดินเป@นดินรffวนเหนียว (Clay loam) (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 สมบัติทางเคมีของดินกffอนดําเนินการทดลองแปลงนายจรูญ เอมหยวก สมบัติของดิน ระดับ ผลการวิเคราะห คffาความเป@นกรดเป@นดffาง กรดปานกลาง 5.8 ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) ปานกลาง 2.0 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน (มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม) คffอนข6างสูง 25 ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 (มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม) สูง 41 เนื้อดิน Clay Loam ที่มา: กลุffมวิเคราะหดิน สพข. 8, 2557 และคณะเกษตรศาสตรฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2557 สมบัติของดินภายหลังทําการทดลอง หลังการทดลองพบวffา คffาความเป@นกรดเป@นดffางของดินมีคffาเพิ่มขึ้นจากกffอนการทดลองทุกตํารับ การทดลอง และหลังการทดลองคffาความเป@นกรดเป@นดffางของดินมีความแตกตffางกันทางสถิติ โดยพบวffา ตํารับ การทดลองที่ 4 เป@นตํารับที่มีคffาความเป@นกรดเป@นดffางมากที่สุด คือ 6.75 แตffไมffแตกตffางจากตํารับการทดลอง ที่ 3 คือ 6.73 และทั้งสองตํารับแตกตffางจากตํารับที่ 2 และ 1 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ คือมีคffาความเป@น กรดเป@นดffาง 6.55 และ 6.35 ตามลําดับ อยffางไรก็ตาม หลังการทดลองคffาความเป@นกรดเป@นกลางในตํารับที่ 2- 6 ยังอยูffในชffวงระดับเดียวกันคือมีความเป@นกลาง ยกเว6นตํารับการทดลองที่ 1 พบวffามีคffาความเป@นกรดเป@น ดffาง 6.35 เป@นกรดเล็กน6อย (ตารางที่ 2) ปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนได6 และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 หลังการ ทดลองไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 2)


12 ตารางที่ 2 สมบัติของดินหลังการทดลองแปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก ตํารับการทดลอง คาความเปEนกรด เปEนดาง ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) ปริมาณฟอสฟอรัสที่ เปEนประโยชน (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียม ที่แลกเปลี่ยนได (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) T1 6.35d 2.45 28.50 46.75 T2 6.55c 2.28 32.25 44.00 T3 6.73ab 2.40 30.00 43.50 T4 6.75a 2.50 31.00 47.25 T5 6.58bc 2.80 31.00 50.50 T6 6.65bc 2.50 32.50 48.50 F-test * ns ns ns cv (%) 1.52 1.12 14.52 15.71 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภเดียวกันไมffมีความแตกตffางกันอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความ เชื่อมั่น 95 % ด6วยวิธี DMRT ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ T1 = แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) T2 =ใสffปุ_ย N=15.5 P2O5= 5 และ K2O=0 กิโลกรัมตffอไรff T3 = ใสffปุ_ย N=6 P2O5= 0 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff T4 = ใสffปุ_ย N=8.75 P2O5= 0 และ K2O=14.60 กิโลกรัมตffอไรff T5 = ใสffปุ_ย N=20.25 P2O5= 0 และ K2O=8.25 กิโลกรัมตffอไรff T6 = ใสffปุ_ย N=12 P2O5=6 และ K2O=12 กิโลกรัมตffอไรff 1.2 ผลผลิตขาวและองคประกอบผลผลิตขาว แปลงทดลองนายจรูญเอมหยวก ผลผลิตขาวที่เกษตรกรคาดหวัง ผลผลิตข6าวที่เกษตรกรคาดหวัง คือ 890 กก./ไรff ซึ่งเป@นผลผลิตเฉลี่ยของข6าวพันธุ กข 41 (ข6อมูลจาก website http://psl.brrd.in.th/web/index.php/2009-09-23-10-37-38/20--41) จากข6อมูล Totlal N P K uptake ของข6าว ที่ให6ผลผลิต 1 ตันของ Dobermaun&Fairhurst (2000) ผลผลิตข6าว 1000 กก. มีปริมาณ uptake ของข6าวทุกสffวน 17.5 กก.N 3 กก.P 17 กก.K แตffจาก คาดการณผลผลิตวffาจะได6รับคือ 890 กิโลกรัมตffอไรff จะมีปริมาณ N P K uptake คือ N =15.575 P = 2.67 K =15.13 กิโลกรัมตffอไรff ผลผลิตและองคประกอบผลผลิตขาว ผลผลิตข6าว จากการทดลอง พบวffา ผลผลิตข6าวตํารับการทดลองที่ 5 การประเมินอัตราปุ_ยจากคffา วิเคราะหดินโดยใช6ปริมาณการดูดใช6ธาตุอาหารหลักของพืชรffวมกับการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียจาก กระบวนการชะล6างของดิน คิดเป@นปริมาณ 30 % ของการดูดใช6ของพืชเป@นเกณฑ ให6ผลผลิตข6าวสูงที่สุด คือ 758.0 กิโลกรัมตffอไรff และมากกวffาตํารับการทดลองที่ 4 3 6 และ 1 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมีผลผลิต ข6าวเทffากับ 577.25 567.75 549.50 และ 429.00 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ (ตารางที่ 3)


13 การหาองคประกอบผลผลิตของข6าว ได6แกff จํานวนเมล็ดตffอรวง ความสูง เปอรเซ็นตเมล็ดดี เปอรเซ็นตเมล็ดเสีย น้ําหนัก 100 เมล็ด และน้ําหนักตอซัง พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 มีจํานวนเมล็ดตffอ รวงมากที่สุดคือ 67.55 เมล็ดตffอรวง และมากกวffาตํารับการทดลองที่ 4 3 และ 1 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ มีจํานวนเมล็ดตffอรวง 52.53 51.28 และ 44.78 ตามลําดับ ความสูงถึงคอรวง พบวffาตํารับการทดลองที่ 5 และที่ 2 มีความสูงมากที่สุด คือ มีความสูงเทffากับ 49.25 และ 49.13 เซนติเมตร ตามลําดับ และทั้งสอง ตํารับการทดลองมีความสูงมากกวffาตํารับการทดลองที่ 3 และตํารับการทดลองที่ 1 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ คือ 45.28 และ 41.33 เซนติเมตร น้ําหนักตอซังพบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 คือ 678.00 กิโลกรัมตffอไรff และ มากวffาตํารับการทดลองที่ 4 6 และ 1 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมีน้ําหนักตอซัง 521.50 472.00 และ 407.25 กิโลกรัมตffอไรff สffวนเปอรเซ็นตเมล็ดดี เปอรเซ็นตเมล็ดเสีย และน้ําหนัก 100 เมล็ด ไมffพบความ แตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 ผลผลิตและองคประกอบผลผลิตข6าวของแปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก ตํารับการทดลอง ผลผลิตขาว (กก./ไร) จํานวน เมล็ดตอรวง ความสูงถึง คอรวง (ซม.) % เมล็ดดี % เมล็ด เสีย น้ําหนัก 100 เมล็ด (กรัม) น.น.ตอซัง แหง (กก./ไร) T1 429.00 c 44.78 c 41.33 c 80.25 19.75 2.08 407.25 c T2 676.75 ab 60.95 ab 49.13 a 81.80 18.20 2.18 602.25 ab T3 567.75 bc 51.28 bc 45.28 b 80.34 19.66 2.23 570.75 ab T4 577.25 bc 52.53 bc 47.55 ab 78.32 21.69 2.08 521.50 bc T5 758.00 a 67.55 a 49.25 a 79.42 20.57 2.25 678.00 a T6 549.50 bc 53.40 abc 46.53 ab 82.68 17.32 2.23 472.00 bc F-test * * * ns ns ns * cv (%) 18.19 16.78 4.62 6.29 25.98 7.26 17.00 หมายเหตุ ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภเดียวกันไมffมีความแตกตffางกันอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความ เชื่อมั่น 95 % ด6วยวิธี DMRT ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ 1.3 ความเขมขนของธาตุอาหารพืชในขาว แปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก ความเข6มข6นของธาตุอาหารในผลผลิตข6าว พบวffา ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ไมffมีความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการทดลอง ปริมาณไนโตรเจนอยูffในชffวง 1.62- 1.70 เปอรเซ็นต ปริมาณฟอสฟอรัสอยูffในชffวง 0.315-0.340 เปอรเซ็นต และปริมาณโพแทสเซียมอยูffในชffวง 0.26-0.30 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 4) ความเข6มข6นของธาตุอาหารในตอซังข6าว พบวffา พบวffา ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัส ไมffมีความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการทดลอง ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียม ตํารับการทดลองที่ 1 คือ 1.65 เปอรเซ็นต ต่ํากวffาตํารับการทดลองที่ 4 และ 2 คือ 1.60 และ 1.56 อยffางมี นัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 4)


14 ตารางที่ 4 สะสมธาตุอาหารพืชในผลผลิต และตอซังข6าว ตํารับการทดลอง ผลผลิตขาว (เปอรเซ็นต) ตอซัง (เปอรเซ็นต) ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม T1 1.68 0.327 0.26 1.01 0.130 1.23c T2 1.69 0.322 0.26 1.00 0.103 1.56ab T3 1.70 0.335 0.27 1.10 0.115 1.51abc T4 1.68 0.325 0.28 1.08 0.118 1.60ab T5 1.70 0.315 0.26 1.00 0.110 1.34bc T6 1.62 0.340 0.30 1.04 0.113 1.65a F-test ns ns ns ns ns * cv (%) 5.00 4.34 9.59 12.47 16.88 12.74 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภเดียวกันไมffมีความแตกตffางกันอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความ เชื่อมั่น 95 % ด6วยวิธี DMRT ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ 1.4 การสะสมธาตุอาหารพืชในสวนตางๆ ของขาว แปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก การสะสมธาตุไนโตรเจนในผลผลิตข6าว พบวffาตํารับการทดลองที่ 5 มีการสะสมปริมาณ ไนโตรเจน 11.03 กิโลกรัมตffอไรff มากวffาตํารับการทดลองที่ 2 3 4 6 และ 1 คือ 9.88 8.29 8.28 7.67 และ 6.21 ตามลําดับ อยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (ตารางที่ 5) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิตข6าวไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 5) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในผลผลิตข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 คือ 1.51 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 คือ 0.96 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 5) การสะสมธาตุไนโตรเจนในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 มีการสะสมไนโตรเจนคือ 6.85 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 คือ 4.11 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 5) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในตอซังข6าวไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 5) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 1 มีการสะสมโพแทสเซียมคือ 5.02 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 2 5 3 4 และ 6 คือ 9.38 8.97 8.56 8.40 และ 7.77 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 5) การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 1 มีการสะสมไนโตรเจนคือ 10.33 กิโลกรัมตffอไรff ต่ํากวffาตํารับการทดลองที่ 5 2 3 และ 4 คือ 17.88 15.82 14.52 และ 13.86 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 5) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดิน ตํารับการทดลองที่ 1 มีการสะสมไนโตรเจนคือ 1.74 กิโลกรัมตffอไรff ต่ํากวffาตํารับการทดลองที่ 5 และ 2 คือ 2.79 และ 2.50 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ อยffางมี นัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 5) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 1 มีการสะสม โพแทสเซียมคือ 5.98 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 2 5 3 4 และ 6 คือ 10.89 10.62 9.91 9.78 และ 9.09 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 5)


15 ตารางที่ 5 การสะสมธาตุอาหารพืชในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก ตํารับการทดลอง ผลผลิต (กิโลกรัมตอไร) ตอซัง (กิโลกรัมตอไร) สวนเหนือดิน (กิโลกรัมตอไร) N uptake P uptake K uptake N uptake P uptake K uptake N uptake P uptake K uptake T1 6.21c 1.21 0.96b 4.12c 0.53 5.02b 10.33c 1.74c 5.98b T2 9.88ab 1.88 1.51a 6.02ab 0.62 9.38a 15.82ab 2.50ab 10.89a T3 8.29bc 1.64 1.36ab 6.22ab 0.65 8.56a 14.52b 2.29abc 9.91a T4 8.28bc 1.61 1.39ab 5.58bc 0.60 8.40a 13.86b 2.21abc 9.78a T5 11.03a 2.04 1.665a 6.85a 0.75 8.96a 17.88a 2.79a 10.62a T6 7.67bc 1.60 1.42ab 4.91bc 0.55 7.67a 12.58bc 2.15bc 9.09a F-test ** ns * * ns ** ** * * cv (%) 17.12 17.13 20.76 17.29 25.12 16.32 14.23 16.84 14.74 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภเดียวกันไมffมีความแตกตffางกันอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความ เชื่อมั่น 95 % ด6วยวิธี DMRT ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 1.5 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 ให6ผลตอบแทนสูงที่สุดคือ 1,054 บาทตffอ ไรff และสูงกวffาตํารับการทดลองอื่นๆ เนื่องจากมูลคffาผลผลิตสูงสุดและต6นทุนตffอกิโลกรัมต่ําสุด และตํารับการ ทดลองที่ 6 ให6ผลตอบแทนต่ําสุดคือขาดทุน 209 บาทตffอไรff (ตารางที่ 6) ตารางที่ 6 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงทดลองนายจรูญ เอมหยวก ตํารับการทดลอง ผลผลิต (กิโลกรัมตอไร) มูลคาผลผลิต (บาทตอไร) ผลตอบแทน (บาทตอไร) ตนทุนตอกก. (บาท) T1 429.00 2,360 280 4.85 T2 676.75 3,722 727 4.43 T3 567.75 3,123 465 4.68 T4 577.25 3,175 178 5.19 T5 758.00 4,169 1054 4.11 T6 549.50 3,022 -209 5.88


16 การทดลองที่ 2 แบบสังเกตการณ 2. แปลงนางลูกอินทร ยอดเพชร 2.1 การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร สมบัติของดินกอนการทดลอง จากการวิเคราะหดินกffอนเริ่มดําเนินการทดลอง พบวffา ดินมีความเป@นกรดปานกลาง คffาความเป@น กรดเป@นดffางของดินเทffากับ 5.6 ปริมาณอินทรียวัตถุอยูffในระดับสูง คือ 3.9 เปอรเซ็นต ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@น ประโยชนอยูffในระดับปานกลาง คือ 10 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6อยูffในระดับ ต่ํา คือ 56 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม และมีลักษณะเนื้อดินเป@นดินรffวนเหนียว (Clay Loam) (ตารางที่ 7) ตารางที่ 7 สมบัติทางเคมีของดินกffอนดําเนินการทดลองแปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร สมบัติของดิน ระดับ ผลการวิเคราะห คffาความเป@นกรดเป@นดffาง กรดปานกลาง 5.6 ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) สูง 3.9 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน (มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม) ปานกลาง 10 ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 (มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม) ต่ํา 56 ลักษณะเนื้อดิน CL ที่มา: กลุffมวิเคราะหดิน สพข. 8, 2557 และคณะเกษตรศาสตรฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2557 สมบัติของดินภายหลังทําการทดลอง หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข6าว พบวffา คffาความเป@นกรดเป@นดffางของเพิ่มขึ้นจากกffอนการทดลองทุก ตํารับการทดลอง แตffไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการทดลอง ปริมาณอินทรียวัตถุหลัง การทดลองในแตffละตํารับการทดลองไมffพบความแตกตffางกันทางสถิต ซึ่งมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงทุกตํารับ ทดลองอยูffในชffวง 3.87-4.40 เปอรเซ็นต ตามลําดับ (ตารางที่ 8) ตารางที่ 8 คffาความเป@นกรดเป@นดffางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังเก็บเกี่ยวข6าวแปลงทดลอง นางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับการ ทดลอง คาความเปEนกรดเปEนดาง คาเฉลี่ย ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 - ns ns ns ns ns 6.40 - ns ns ns ns ns 4.17 T2 ns ns ns ns 6.30 ns ns ns ns 3.93 T3 ns ns ns 6.50 ns ns ns 4.07 T4 ns ns 6.30 ns ns 3.87 T5 ns 6.37 ns 4.40 T6 6.43 3.93 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ T1 = แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) T2 = ใสffปุ_ย N=31 P2O5=10 และ K2O=0 กิโลกรัมตffอไรff


17 T3 = ใสffปุ_ย N=6 P2O5=0 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff T4 = ใสffปุ_ย N=0 P2O5=0 K2O=8.99 กิโลกรัมตffอไรff T5 = ใสffปุ_ย N=20.25 P2O5=0.81 และ K2O=2.64 กิโลกรัมตffอไรff T6 = ใสffปุ_ย N=12 P2O5=6 และ K2O=12 กิโลกรัมตffอไรff ความเข6มข6นของปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนในดินและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยน ได6ในดินหลังเก็บเกี่ยวข6าวไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการทดลอง และไมffพบการ เปลี่ยนแปลงจากกffอนการทดลอง โดยประมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนอยูffในชffวง 9.00-11.33 มิลลิกรัมตffอ กิโลกรัม และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยน 53.67-57.33 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม (ตารางที่ 9) ตารางที่ 9 ความเข6มข6นของปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในดิน หลังเก็บเกี่ยวข6าวแปลงนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับการ ทดลอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปEนประโยชน (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 11.00 ns ns ns ns ns 55.00 T2 ns ns ns ns 11.33 ns ns ns ns 54.00 T3 ns ns ns 9.00 ns ns ns 54.00 T4 ns ns 9.60 ns ns 55.00 T5 ns 9.67 ns 53.67 T6 11.00 57.33 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ 2.2 ผลผลิตและองคประกอบผลผลิตขาวแปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ผลผลิตขาวที่เกษตรกรคาดหวัง ผลผลิตข6าวที่เกษตรกรคาดหวัง คือ 890 กก./ไรff ซึ่งเป@นผลผลิตเฉลี่ยของข6าวพันธุ กข 41 (ข6อมูลจาก website http://psl.brrd.in.th/web/index.php/2009-09-23-10-37-38/20--41) จาก ข6อมูล Totlal N P K uptake ของข6าว ที่ให6ผลผลิต 1 ตันของ Dobermaun&Fairhurst (2000) ผลผลิต ข6าว 1000 กก. มีปริมาณ uptake ของข6าวทุกสffวน 17.5 กก.N 3 กก.P 17 กก.K แตffจากคาดการณ ผลผลิตวffาจะได6รับคือ 890 กิโลกรัมตffอไรff จะมีปริมาณ N P K uptake คือ N =15.575 P = 2.67 K =15.13 กิโลกรัมตffอไรff ผลผลิตขาวและองคประกอบผลผลิตขาว ผลผลิตข6าวแปลงนางเกสร จันทรสffองแสง พบวffาตํารับการทดลองที่ 5 ให6ผลผลิต 888 กิโลกรัม ตffอไรff และตํารับการทดลองที่ 2 ให6ผลผลิต 848 กิโลกรัมตffอไรff ทั้งสองตํารับการทดลองให6ผลผลิตมากกวffา ตํารับการทดลองที่ 6 4 3 และ 1 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ คือ 624 600 505 และ 487 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ (ตารางที่ 10)


18 จํานวนเมล็ดตffอรวงพบวffา ตํารับที่ 5 มีจํานวนเมล็ดตffอรวงมากที่สุด คือ 74.23 และมากกวffา ตํารับการทดลองที่ 6 1 3 และ 4 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ คือ 53.77 51.60 51.37 และ 47.70 ตามลําดับ (ตารางที่ 10) ตารางที่ 10 ผลผลิตข6าวและจํานวนเมล็ดตffอรวง แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับการ ทดลอง ผลผลิตขาว (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative Yield จํานวนเมล็ดตอรวง คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ** ns ns ** ns 487 54.81 * ns ns * ns 51.60 69.51 T2 * ** ns * 848 95.50 * ** ns ns 70.60 95.11 T3 ns * * 600 67.57 ns * ns 51.37 69.20 T4 ** ns 505 56.91 ** ns 47.70 64.26 T5 * 888 100 * 74.23 100 T6 624 70.27 53.77 72.44 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ การเจริญเติบโตด6านความสูง พบวffา ตํารับการทดลองที่ 1 มีความสูงต่ําที่สุด คือ 46.23 โดยต่ํา กวffาตํารับการทดลองที่ 2 4 และ 5 คือ 62.30 62.40 และ 62.07 เซนติเมตร ตามลําดับอยffางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (ตารางที่ 11) น้ําหนัก 100 เมล็ด พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 น้ําหนัก 2.33 กรัม มากกวffาตํารับการทดลองที่ 2 น้ําหนัก 1.93 กรัม อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 11) ตารางที่ 11 การเจริญเติบโตด6านความสูงและน้ําหนัก 100 เมล็ด แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับการ ทดลอง ความสูงถึงคอรวง (ซม.) คาเฉลี่ย Relative น้ําหนัก 100 เมล็ด (กรัม) คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ** ns ** ** * 46.23 74.09 ns ns ns ns ns 2.03 88.26 T2 * ns ns ns 62.30 99.84 ns ns * ns 1.93 82.83 T3 ns * * 51.77 82.96 ns ns ns 2.07 88.84 T4 ns ns 62.40 100 ns ns 2.13 91.42 T5 ns 62.07 99.47 ns 2.33 100 T6 59.07 94.66 2.17 93.13 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ เปอรเซ็นตเมล็ดดีและเปอรเซ็นตเมล็ดเสีย พบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 มีเปอรเซ็นตเมล็ดดี คือ 66.92 ต่ํากวffาตํารับการทดลองที่ 4 5 1 6 และ 3 คือ 73.39 78.17 77.94 77.92 และ 75.56 ตามลําดับ อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 12)


19 ตารางที่ 12 เปอรเซ็นตเมล็ดดีและเปอรเซ็นตเมล็ดเสีย แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับการ ทดลอง เปอรเซ็นตเมล็ดดี คาเฉลี่ย Relative เปอรเซ็นตเมล็ดเสีย คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 * ns ns ns ns 77.94 98.17 * ns ns ns ns 22.06 66.69 T2 * ** ** * 66.92 84.29 * ** ** * 33.08 100 T3 ns ns ns 75.56 95.18 ns ns ns 24.44 73.88 T4 ns ns 79.39 100 ns ns 20.61 62.30 T5 ns 78.77 99.22 ns 21.23 64.18 T6 77.92 98.81 22.08 66.67 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ น้ําหนักตอซังแห6ง พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 และตํารับการทดลองที่ 2 มีน้ําหนักตอซังแห6งมากที่สุด คือ 797 และ 759 กิโลกรัมตffอไรff ทั้งสองตํารับการทดลองมีน้ําหนักตอซังแห6งมากกวffาตํารับอื่นๆ อยffางมี นัยสําคัญทางสถิติ คือมากกวffาตํารับที่ 6 3 1 และ 4 คือ 620 545 475 และ 446 กิโลกรัมตffอไรff แตffตํารับ การทดลองที่ 5 และตํารับการทดลองที่ 2 ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 13) น้ําหนักแห6งสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 มีน้ําหนักแห6งสffวนเหนือดินมากที่สุด คือ 1,560 กิโลกรัมตffอไรff และมากกวffาตํารับที่ 6 3 1 และ 4 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ คือ 1,157 1,070 894 และ 880 กิโลกรัมตffอไรff แตffตํารับการทดลองที่ 5 และตํารับการทดลองที่ 2 ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติ โดย ตํารับการทดลองที่ 2 มีน้ําหนักแห6งสffวนเหนือดิน 1,488 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 13) ตารางที่ 13 น้ําหนักตอซังแห6ง แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับการ ทดลอง น้ําหนักตอซังแหง (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative น้ําหนักแหงสวนเหนือดิน (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ** ns ns ** * 475 59.60 ** ns ns ** ns 894 57.31 T2 ** ** ns * 759 95.23 * ** ns ns 1,488 95.38 T3 ns ** ns 545 68.38 * ** ns 1,070 68.59 T4 ** * 446 55.96 ** ns 880 56.41 T5 * 797 100.00 * 1,560 100.00 T6 620 77.79 1,157 74.17 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 2.3 ความเขมขนของธาตุอาหารพืชในขาวแปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ความเขมขนของธาตุไนโตรเจนในสวนตางๆ ของขาวแปลงทดลอง ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในผลผลิตข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 มีความเข6มข6นของ ธาตุไนโตรเจนเทffากับ 1.62 เปอรเซ็นต มากกวffาตํารับการทดลอง ที่ 5 4 1 6 และ 3 คือมีความเข6มข6นของ ธาตุไนโตรเจน เทffากับ 1.41 1.27 1.25 1.20 และ 1.20 เปอรเซ็นต ตามลําดับ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 14)


20 ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในตอซังข6าว พบวffา ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในแตffละ ตํารับการทดลองไมffมีความแตกตffางกันทางสถิติ โดยมีความเข6มข6นอยูffระหวffาง 0.76-0.97 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 14) ตารางที่ 14 ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับการ ทดลอง %N ในผลผลิตขาว คาเฉลี่ย %N ในตอซังขาว T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 ** * ns * * 1.25 ns ns ns ns ns 0.85 T2 ** ** ** ** 1.62 ns ns ns ns 0.97 T3 ns ** ns 1.20 ns ns ns 0.76 T4 * ns 1.27 ns ns 0.81 T5 * 1.41 ns 0.85 T6 1.20 0.80 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ความเขมขนของธาตุฟอสฟอรัสในสวนตางๆ ของขาว ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิตข6าวและตอซังข6าว พบวffา ทั้งสองสffวนความเข6มข6นของ ธาตุฟอสฟอรัสในแตffละตํารับการทดลองไมffมีความแตกตffางกันทางสถิติ โดยในผลผลิตข6าวมีความเข6มข6นของ ธาตุฟอสฟอรัสอยูffระหวffาง 0.29-0.33 เปอรเซ็นต และตอซังข6าว มีความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสอยูffระหวffาง 0.09-0.12 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 15) ตารางที่ 15 ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับการ ทดลอง %P ในผลผลิตขาว คาเฉลี่ย %P ในตอซังขาว T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 ns ns ns ns ns 0.30 ns ns ns ns ns 0.10 T2 ns ns ns ns 0.33 ns ns ns ns 0.12 T3 ns ns ns 0.29 ns ns ns 0.09 T4 ns ns 0.30 ns ns 0.09 T5 ns 0.29 ns 0.11 T6 0.29 0.09 ที่มา : สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ


21 ความเขมขนของธาตุโพแทสเซียมในสวนตางๆ ของขาว ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในผลผลิตข6าวและตอซังข6าว พบวffา ทั้งสองสffวนความเข6มข6นของ ธาตุโพแทสเซียมในแตffละตํารับการทดลองไมffมีความแตกตffางกันทางสถิติ โดยในผลผลิตข6าวมีความเข6มข6นของ ธาตุโพแทสเซียมอยูffระหวffาง 0.24-0.29 เปอรเซ็นต และตอซังข6าว มีความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมอยูff ระหวffาง 1.25-1.42 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 16) ตารางที่ 16 ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าวแปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับการ ทดลอง %K ในผลผลิตขาว คาเฉลี่ย %K ในตอซังขาว T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 ns ns ns ns ns 0.26 ns ns ns ns ns 1.31 T2 ns ns ns ns 0.27 ns ns ns ns 1.42 T3 ns ns ns 0.24 ns ns ns 1.25 T4 ns ns 0.29 ns ns 1.34 T5 ns 0.24 ns 1.38 T6 0.26 1.27 ที่มา : สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ 2.4 การสะสมธาตุอาหารพืชในสวนตางๆ ของขาว แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร การสะสมธาตุไนโตรเจนในสวนตางๆ ของขาว (N uptake) การสะสมธาตุไนโตรเจนในผลผลิตข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 และ 5 มีการสะสมธาตุ ไนโตรเจนในผลผลิตข6าวมากที่สุดคือ 11.79 และ 10.73 กิโลกรัมตffอไรff ทั้งสองตํารับการทดลองมีการสะสม ไนโตรเจนมากกวffาตํารับการทดลองที่ 6 3 4 และ 1 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งมีการสะสมธาตุ ไนโตรเจน เทffากับ 6.43 6.19 5.54 และ 5.25 ตามลําดับ และตํารับการทดลองที่ 2 และ 5 ไมffพบความ แตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 17) การสะสมธาตุไนโตรเจนในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 มีการสะสมธาตุไนโตรเจนใน ตอซังข6าวมากที่สุดคือ 8.46 กิโลกรัมตffอไรff และมากกวffาตํารับการทดลองที่ 6 3 1 และ 4 อยffางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ ซึ่งมีการสะสมธาตุไนโตรเจน เทffากับ 4.95 4.18 4.02 และ 3.56 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ และพบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 และตํารับการทดลองที่ 5 ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 17) การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับ การทดลองที่ 2 และ 5 มีการสะสมธาตุ ไนโตรเจนในสffวนเหนือดินมากที่สุดคือ 20.26 และ 17.51 กิโลกรัมตffอไรff ทั้งสองตํารับการทดลองมีการ สะสมไนโตรเจนมากกวffาตํารับการทดลองที่ 6 3 1 และ 4 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งมีการสะสมธาตุ ไนโตรเจน เทffากับ 11.38 10.38 9.27 และ 9.12 ตามลําดับ และตํารับการทดลองที่ 2 และ 5 ไมffพบความ แตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 17)


22 ตารางที่ 17 การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว (N uptake) แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับ การ ทดลอง N uptake ในผลผลิตขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย N uptake ในตอซังขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย N uptake ในสวนเหนือดิน (กก./ไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ** ns ns ** ns 5.25 ** ns ns * ns 4.02 ** ns ns ** ns 9.27 T2 ** ** ns ** 11.79 * * ns * 8.46 ** ** ns ** 20.26 T3 ns * ns 6.19 ns ns ns 4.18 ns ** ns 10.38 T4 ** ns 5.54 * ** 3.56 ** ns 9.12 T5 * 10.73 ns 6.78 ** 17.51 T6 6.43 4.95 11.38 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสวนตางๆ ของขาว (P uptake) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิตข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 มีการสะสมธาตุฟอสฟอรัส ในผลผลิตข6าวมากที่สุดคือ 2.38 กิโลกรัมตffอไรff ตํารับการทดลองที่ 2 มีการสะสมธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิต ข6าวมากกวffาตํารับการทดลองที่ 6 3 4 และ 1 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งมีการสะสมธาตุฟอสฟอรัส เทffากับ 1.51 1.51 1.30 และ 1.27 ตามลําดับ แตffตํารับการทดลองที่ 2 และ 5 ไมffพบความแตกตffางกันทาง สถิติ โดยตํารับการทดลองที่ 5 มีการสะสมธาตุฟอสฟอรัสเทffากับ 2.14 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 18) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 มีการสะสมธาตุฟอสฟอรัส ในตอซังข6าวมากที่สุดคือ 0.91 กิโลกรัมตffอไรff ตํารับการทดลองที่ 2 มีการสะสมธาตุฟอสฟอรัสในตอซังข6าว มากกวffาตํารับการทดลองที่ 6 3 1 และ 4 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งมีการสะสมธาตุฟอสฟอรัสเทffากับ 0.56 0.51 0.49 และ 0.38 ตามลําดับ แตffตํารับการทดลองที่ 2 และ 5 ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติ โดยตํารับการทดลองที่ 5 มีการสะสมธาตุฟอสฟอรัสเทffากับ 0.84 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 18) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 และ 5 มีการสะสมธาตุ ไนโตรเจนในสffวนเหนือดินมากที่สุดคือ 3.29 และ 2.98 กิโลกรัมตffอไรff ทั้งสองตํารับการทดลองมีการสะสม ไนโตรเจนมากกวffาตํารับการทดลองที่ 6 3 1 และ 4 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งมีการสะสมธาตุ ไนโตรเจน เทffากับ 2.07 2.02 1.76 และ 1.68 ตามลําดับ และตํารับการทดลองที่ 2 และ 5 ไมffพบความ แตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 18)


23 ตารางที่ 18 การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว(P uptake) แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับ การ ทดลอง P uptake ในผลผลิตขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย P uptake ในตอซังขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย P uptake ในสวนเหนือดิน (กก./ไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 * ns ns ** ns 1.27 ** ns ns ns ns 0.49 ** ns ns ** ns 1.76 T2 * * ns * 2.38 * * ns * 0.91 * ** ns * 3.29 T3 ns ns ns 1.51 * ns ns 0.51 ns * ns 2.02 T4 ** ns 1.30 * * 0.38 ** ns 1.68 T5 * 2.14 ns 0.84 * 2.98 T6 1.51 0.56 2.07 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสวนตางๆ ของขาว (K uptake) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในผลผลิตข6าวพบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 มีการสะสมธาตุโพแทสเซียม ในผลผลิตข6าวมากที่สุดคือ 2.03 กิโลกรัมตffอไรff ตํารับการทดลองที่ 2 มีการสะสมธาตุโพแทสเซียมในผลผลิต ข6าวมากกวffาตํารับการทดลองที่ 6 4 3 และ 1 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งมีการสะสมธาตุโพแทสเซียม เทffากับ 1.39 1.28 1.25 และ 1.09 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ แตffตํารับการทดลองที่ 2 และ 5 ไมffพบความ แตกตffางกันทางสถิติ โดยตํารับการทดลองที่ 5 มีการสะสมธาตุโพแทสเซียมเทffากับ 1.87 กิโลกรัมตffอไรff (ตาราง ที่ 19) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 และ 2 มีการสะสมธาตุ โพแทสเซียมในตอซังข6าวมากที่สุดคือ และ 11.02 และ 10.78 กิโลกรัมตffอไรff ตํารับการทดลองที่ 2 และ 5 มีการสะสมธาตุโพแทสเซียมในตอซังข6าวมากกวffาตํารับการทดลองที่ 6 3 1 และ 4 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งมีการสะสมธาตุโพแทสเซียมเทffากับ 7.90 6.91 6.23 และ 5.99 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ ตํารับการ ทดลองที่ 5 และ 2 ไมffพบความแตกตffางกันทาง (ตารางที่ 19) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 และ 2 มีการสะสมธาตุ โพแทสเซียมในสffวนเหนือดินมากที่สุดคือ 12.88 และ 12.81 กิโลกรัมตffอไรff ทั้งสองตํารับการทดลองมีการ สะสมโพแทสเซียมมากกวffาตํารับการทดลองที่ 6 3 1 และ 4 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งมีการสะสมธาตุ โพแทสเซียม เทffากับ 9.29 8.16 7.32 และ 7.16 ตามลําดับ และตํารับการทดลองที่ 5 และ 2 ไมffพบความ แตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 19)


24 ตารางที่ 19 การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆของข6าว(K uptake)แปลงทดลองลูกอินทร ยอดเพชรแสง ตํารับ การ ทดลอง K uptake ในผลผลิตขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย K uptake ในตอซังขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย K uptake ในสวนเหนือดิน (กก./ไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 * ns ns * ns 1.09 ** ns ns ** ns 6.23 ** ns ns ** ns 7.32 T2 * * ns * 2.03 ** ** ns * 10.78 ** * ns * 12.81 T3 ns ns ns 1.25 ns * ns 6.91 ns * ns 8.16 T4 ns ns 1.28 ns ns 5.99 ** ns 7.26 T5 ns 1.87 * 11.02 * 12.88 T6 1.39 7.90 9.29 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 2.5 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 ให6ผลตอบแทนสูงสุดคือ 1,874 บาทตffอ ไรff และรองลงมาคือตํารับการทดลองที่ 2 ให6ผลตอบแทน คือ 1,339 บาทตffอไรff และตํารับการทดลองที่ 4 ให6 ผลตอบแทนต่ําสุด คือขาดทุน 55 บาทตffอไรff (ตารางที่ 20) ตารางที่ 20 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจแปลงทดลองนางลูกอินทร ยอดเพชร ตํารับการทดลอง ผลผลิต (กิโลกรัมตอไร) มูลคาผลผลิต (บาทตอไร) ผลตอบแทน (บาทตอไร) ตนทุนตอกก. (บาท) T1 487 2,679 599 4.27 T2 848 4,664 1339 3.92 T3 600 3,300 642 4.43 T4 505 2,778 -55 5.61 T5 888 4,884 1874 3.39 T6 624 3,432 340 4.96


25 การทดลองที่ 3 แบบสังเกตการณ 3. แปลงทดลองนางเกสร จันทรสองแสง 1) การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินแปลงทดลองนางเกสร จันทรสองแสง สมบัติของดินกอนการทดลอง จากการวิเคราะหดินกffอนเริ่มดําเนินการทดลอง พบวffา ดินมีความเป@นกรดปานกลาง คffาความเป@น กรดเป@นดffางของดินเทffากับ 5.9 ปริมาณอินทรียวัตถุอยูffในระดับปานกลาง คือ 2.2 เปอรเซ็นต ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนอยูffในระดับคffอนข6างต่ํา คือ 8 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่ แลกเปลี่ยนได6อยูffในระดับต่ํามาก คือ 22 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม และมีลักษณะเนื้อดินเป@นดินรffวนเหนียวปนทราย แปÖง (ตารางที่ 21) ตารางที่ 21 สมบัติทางเคมีของดินกffอนดําเนินการทดลองแปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง สมบัติของดิน ระดับ ผลการวิเคราะห คffาความเป@นกรดเป@นดffาง กรดปานกลาง 5.9 ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) ปานกลาง 2.2 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน (มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม) คffอนข6างต่ํา 8 ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 (มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม) ต่ํามาก 22 ลักษณะเนื้อดิน SiCL ที่มา: กลุffมวิเคราะหดิน สพข. 8, 2557 และคณะเกษตรศาสตรฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2557 สมบัติของดินภายหลังทําการทดลอง หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข6าว พบวffา คffาความเป@นกรดเป@นดffางไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตff ละตํารับการทดลอง โดยอยูffในชffวง 5.53-6.13 เป@นกรดปานกลาง ปริมาณอินทรียวัตถุหลังการทดลองในแตff ละตํารับการทดลองไมffพบความแตกตffางกันทางสถิต ซึ่งมีปริมาณอินทรียวัตถุอยูffในระดับปานกลางทุกตํารับ ทดลองอยูffในชffวง 1.97-2.10 เปอรเซ็นต และอยูffในระดับเดียวกับกffอนการทดลอง (ตารางที่ 22) ตารางที่ 22 คffาความเป@นกรดเป@นดffางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังการทดลอง แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการ ทดลอง คาความเปEนกรดเปEนดาง คาเฉลี่ย ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 - ns ns ns ns ns 5.93 - ns ns ns ns ns 1.97 T2 ns ns ns ns 6.13 ns ns ns ns 1.87 T3 ns ns ns 5.97 ns ns ns 1.97 T4 ns ns 5.83 ns ns 2.07 T5 ns 5.63 ns 1.97 T6 5.50 2.10 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ


26 T1 = แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) T2 = ใสffปุ_ย N=23 T3 = ใสffปุ_ย N=6 P2O5=3 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff T4 = ใสffปุ_ย N=6.84 P2O5=1.44 และ K2O=21.72 กิโลกรัมตffอไรff T5 = ใสffปุ_ย N=20.25 P2O5=2.24 และ K2O=15.37 กิโลกรัมตffอไรff T6 = ใสffปุ_ย N=12 P2O5=8 และ K2O=8 กิโลกรัมตffอไรff ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนในดินหลังเก็บเกี่ยวข6าวพบความแตกตffางกันทางสถิติในบาง ตํารับการทดลอง แตffอยffางไรก็ตามปริมาณฟอสฟอรัสในทุกตํารับการทดลองอยูffในระดับเดียวกัน คือ อยูffในชffวง 4.33-6.67 มิลิกรัมตffอกิโลกรัม ซึ่งมีคffาคffอนข6างต่ํา เชffนเดียวกันกffอนการทดลอง ปริมาณโพแทสเซียมที่ แลกเปลี่ยนได6ในดินหลังเก็บเกี่ยวข6าว พบวffาตํารับการทดลองที่ 4 มากกวffาตํารับการทดลองที่ 3 อยffางมี นัยสําคัญ แตffอยffางไรก็ตาม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 อยูffในระดับเดียวกันคือ อยูffในชffวง 14-23.33 มิลิกรัมตffอกิโลกรัม อยูffในระดับต่ํามาก เชffนเดียวกับกffอนการทดลอง (ตารางที่ 23) ตารางที่ 23 ความเข6มข6นของปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในดิน หลังเก็บเกี่ยวข6าวแปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการ ทดลอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปEนประโยชน (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 * ns * ns ns 5.67 ns ns ns ns ns 19.00 T2 ns ns ns * 4.33 ns ns ns ns 17.33 T3 ns ns * 4.67 * ns ns 14.00 T4 ns * 4.33 ns ns 23.33 T5 * 3.67 ns 16.67 T6 6.67 22.33 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ 3.2 ผลผลิตขาวและองคประกอบผลผลิต แปลงทดลองนางเกสร จันทรสองแสง ผลผลิตขาวที่เกษตรกรคาดหวัง ผลผลิตข6าวที่เกษตรกรคาดหวัง คือ 890 กก./ไรff ซึ่งเป@นผลผลิตเฉลี่ยสูงสุดของข6าวพันธุ กข 41 (ข6อมูลจาก website http://psl.brrd.in.th/web/index.php/2009-09-23-10-37-38/20--41) จาก ข6อมูล Totlal N P K uptake ของข6าว ที่ให6ผลผลิต 1 ตันของ Dobermaun&Fairhurst (2000) ผลผลิต ข6าว 1000 กก. มีปริมาณ uptake ของข6าวทุกสffวน 17.5 กก.N 3 กก.P 17 กก.K แตffจากคาดการณ ผลผลิตวffาจะได6รับคือ 890 กิโลกรัมตffอไรff จะมีปริมาณ N P K uptake คือ N =15.575 P = 2.67 K =15.13 กิโลกรัมตffอไรff ผลผลิตขาวและองคประกอบผลผลิต ผลผลิตข6าวแปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง พบวffา ตํารับการทดลองที่ 1 ให6ผลผลิตต่ําสุด คือ 890.67 กิโลกรัมตffอไรff และต่ํากวffาวิธีการที่ 2 3 4 และ 5 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ คือ มีผลผลิต


27 1194.67 1122.67 1101.03 และ 1058.72 กิโลกรัมตffอไรff แตffไมffแตกตffางกับตํารับที่ 6 ซึ่งมีผลผลิตข6าวเฉลี่ย 1058.67 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 24) จํานวนเมล็ดตffอรวงพบวffา ในแตffละตํารับการทดลองไมffมีความแตกตffางกันทางสถิติ (ตารางที่ 24) ตารางที่ 24 ผลผลิตข6าวและจํานวนเมล็ดตffอรวง แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการ ทดลอง ผลผลิตขาว (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative Yield จํานวนเมล็ดตอรวง คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ** ** ** * ns 890.67 74.55 ns ns ns ns ns 66.50 95.37 T2 ns * ns ns 1194.67 100.00 ns ns ns ns 69.73 100.00 T3 ns ns ns 1122.67 93.97 ns ns ns 66.10 94.79 T4 ns ns 1101.33 92.19 ns ns 58.83 84.37 T5 ns 1072.00 89.73 ns 65.53 93.98 T6 1058.67 88.62 65.90 94.51 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ การเจริญเติบโตด6านความสูงและน้ําหนัก 100 เมล็ด พบวffา ไมffมีความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละ ตํารับการทดลอง (ตารางที่ 25) ตารางที่ 25 การเจริญเติบโตด6านความสูงและน้ําหนัก 100 เมล็ด แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการ ทดลอง ความสูงถึงคอรวง (ซม.) คาเฉลี่ย Relative น้ําหนัก 100 เมล็ด (กรัม) คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 53.47 73.93 ns ns ns ns ns 3.23 92.29 T2 ns ns ns ns 58.83 81.34 ns ns ns ns 3.37 96.29 T3 ns ns ns 62.30 86.13 ns ns ns 3.17 90.57 T4 ns ns 63.73 88.11 ns ns 3.50 100.00 T5 ns 72.10 99.68 ns 3.50 100.00 T6 72.33 100.00 3.43 98.00 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ เปอรเซ็นตเมล็ดดี พบวffา ตํารับการทดลองที่ 6 มีเปอรเซ็นตเมล็ดดีต่ํากวffาทุกตํารับการทดลอง อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ และเปอรเซ็นตเมล็ดเสียพบวffา ตํารับการทดลองที่ 6 มีเปอรเซ็นตเมล็ดเสียมากกวffา ตํารับการทดลองอื่นๆ ทุกตํารับการทดลอง อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 26)


28 ตารางที่ 26 เปอรเซ็นตเมล็ดดีและเปอรเซ็นตเมล็ดเสีย แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการ ทดลอง เปอรเซ็นตเมล็ดดี คาเฉลี่ย Relative เปอรเซ็นตเมล็ดเสีย คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns * 86.91 96.55 ns ns ns ns * 13.09 59.88 T2 * ns * ** 88.11 97.88 * ns * ** 11.89 54.39 T3 ns ** ** 90.02 100.00 ns ** ** 9.98 45.65 T4 ns * 87.94 97.69 ns * 12.06 55.17 T5 ns 83.75 93.03 ns 16.25 74.34 T6 78.14 86.80 21.86 100.00 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ น้ําหนักตอซังแห6ง พบวffา ตํารับการทดลองที่ 4 3 และ 5 มีน้ําหนักตอซังแห6ง คือ 1,332 1,170 และ 1,161 กิโลกรัมตffอไรff และทั้งสามตํารับการทดลองมีน้ําหนักตอซังแห6งมากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ตํารับการทดลองที่ 1 มีน้ําหนักตอซังแห6ง เทffากับ 860 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 27) น้ําหนักแห6งสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 4 มีน้ําหนักแห6งสffวนเหนือดินคือ 1,626 กิโลกรัมตffอไรff ต่ํากวffาตํารับการทดลองที่ 4 คือ 2,236 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 27) ตารางที่ 27 น้ําหนักตอซังแห6ง และน้ําหนักแห6งสffวนเหนือดินของข6าว แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการ ทดลอง น้ําหนักตอซังแหง (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative น้ําหนักแหงสวนเหนือดิน (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns * * * ns 860 64.56 ns ns * ns ns 1,626 76.12 T2 ns ns ns ns 1,048 78.68 ns ns ns ns 2,075 97.14 T3 ns ns ns 1,170 87.84 ns ns ns 2,136 100.00 T4 ns ns 1,332 100.00 ns ns 2,236 104.68 T5 ns 1,161 87.16 ns 2,083 97.52 T6 1,007 75.60 1,917 89.75 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ 3.3 ความเขมขนของธาตุอาหารพืชในขาวแปลงทดลองนางเกสร จันทรสองแสง ความเขมขนของธาตุไนโตรเจนในสวนตางๆ ของขาว ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในผลผลิตข6าว ในแตffละตํารับการทดลองไมffพบความแตกตffางกัน ทางสถิติ โดยมีความเข6มข6นอยูffระหวffาง 0.90-1.09 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 28) ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในตอซังข6าว พบวffา ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในตํารับการ ทดลองที่ 6 คือ 0.75 เปอรเซ็นต และมากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 มีความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจน คือ 0.55 เปอรเซ็นต อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 28)


29 ตารางที่ 28 ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการ ทดลอง %N ในผลผลิตขาว คาเฉลี่ย %N ในตอซังขาว T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 ns ns ns ns ns 0.90 ns ns ns ns * 0.55 T2 ns ns ns ns 0.90 ns ns ns ns 0.62 T3 ns ns ns 0.97 ns ns ns 0.53 T4 ns ns 1.04 ns ns 0.54 T5 ns 1.02 ns 0.69 T6 1.09 0.75 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ความเขมขนของธาตุฟอสฟอรัสในสวนตางๆ ของขาว ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิตข6าว ไมffพบความแตกตffางทางสถิตในแตffละตํารับการ ทดลอง โดยมีความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสอยูffในชffวง 0.18-0.21 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 29) ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 3 มีความเข6มข6นของธาตุ ฟอสฟอรัส คือ 0.1 เปอรเซ็นต มากกวffา ตํารับการทดลองที่ 2 มีความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัส คือ 0.077 เปอรเซ็นต อยffางมีนัยสําคัญทางสถิต (ตารางที่ 15) ตารางที่ 29 ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการ ทดลอง %P ในผลผลิตขาว คาเฉลี่ย %P ในตอซังขาว T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 ns ns ns ns ns 0.20 ns ns ns ns ns 0.083 T2 ns ns ns ns 0.18 * ns ns ns 0.077 T3 ns ns ns 0.20 ns ns ns 0.100 T4 ns ns 0.21 ns ns 0.083 T5 ns 0.20 ns 0.090 T6 0.20 0.093 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ความเขมขนของธาตุโพแทสเซียมในสวนตางๆ ของขาว ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในผลผลิตข6าว พบวffา ไมffมีความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละ ตํารับการทดลอง โดยความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมอยูffในชffวง 0.23-0.32 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 30) ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 มีความเข6มข6นของ ธาตุโพแทสเซียม คือ 2.28 เปอรเซ็นต มีคffามากกวffา ตํารับการทดลองที่ 1 3 และ 2 คือ 1.75 1.62 และ 1.35 เปอรเซ็นต ตามลําดับ อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 30)


30 ตารางที่ 30 ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าวแปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการ ทดลอง %K ในผลผลิตขาว คาเฉลี่ย %K ในตอซังขาว T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 ns ns ns ns ns 0.27 ns ns ns * ns 1.75 T2 ns ns ns ns 0.25 ns ns * ns 1.35 T3 ns ns ns 0.32 ns * * 1.62 T4 ns ns 0.30 ns ns 1.88 T5 ns 0.30 ns 2.28 T6 0.23 1.47 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ 3.4 การสะสมธาตุอาหารในสวนตางๆ ของขาว แปลงทดลองนางเกสร จันทรสองแสง การสะสมธาตุไนโตรเจนในสวนตางๆ ของขาว (N uptake) การสะสมธาตุไนโตรเจนในผลผลิตข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 6 และ 4 มีการสะสมธาตุ ไนโตรเจนในผลผลิตข6าว คือ 9.86 และ 9.82 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 คือ 6.92 กิโลกรัม ตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 31) การสะสมธาตุไนโตรเจนในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 และ 6 มีการสะสมธาตุ ไนโตรเจนในตอซังข6าว คือ 7.91 และ 7.51 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 คือ 4.68 กิโลกรัม ตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 31) การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 6 5 4 3 2 มีการสะสมธาตุ อาหารสffวนเหนือดิน คือ 17.39 17.29 17.09 15.60 และ 15.52 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ มากกวffาตํารับ การทดลองที่ 1 คือ 11.60 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 31) ตารางที่ 31 การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว (N uptake) แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับ การ ทดลอง N uptake ในผลผลิตขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย N uptake ในตอซังขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย N uptake ในสวนเหนือดิน (กก./ไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns * ns * 6.92 ns ns ns ** * 4.68 ns * * * * 11.60 T2 ns ns ns ns 9.26 ns ns ns ns 6.26 ns ns ns ns 15.52 T3 ns ns ns 9.42 ns ns ns 6.18 ns ns ns 15.60 T4 ns ns 9.82 ns ns 7.26 ns ns 17.09 T5 ns 9.39 ns 7.91 ns 17.29 T6 9.86 7.53 17.39 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสวนตางๆ ของขาว (P uptake) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิตข6าว ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการทดลอง มี การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิตข6าว อยูffในชffวง 1.53-1.96 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 32)


31 การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในตอซังข6าว ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการทดลอง มีการสะสมธาตุฟอสฟอรัสในตอซังข6าว อยูffในชffวง 0.72-1.16 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 32) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 4 3 และ 5 มีการสะสมธาตุ ฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดินคือ 3.08 3.07 และ 2.92 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ มากกวffา ตํารับการทดลองที่ 1 มีการสะสมฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดิน คือ 2.24 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 32) ตารางที่ 32 การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว (P uptake) แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับ การ ทดลอง P uptake ในผลผลิตขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย P uptake ในตอซังขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย P uptake ในสวนเหนือดิน (กก./ไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 1.53 ns ns ns ns ns 0.72 ns * * * ns 2.24 T2 ns ns ns ns 1.85 ns ns ns ns 0.79 ns ns ns ns 2.64 T3 ns ns ns 1.90 ns ns ns 1.16 ns ns ns 3.07 T4 ns ns 1.96 ns ns 1.12 ns ns 3.08 T5 ns 1.87 ns 1.05 ns 2.92 T6 1.85 0.94 2.78 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสวนตางๆ ของขาว (K uptake) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในผลผลิตข6าว ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการ ทดลอง โดยมีการสะสมธาตุโพแทสเซียมอยูffในชffวง 2.04-3.05 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 33) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในตอซังข6าว พบวffา ตํารับทดลองที่ 5 และ 4 มีการสะสมธาตุ โพแทสเซียมในตอซังข6าว คือ 26.77 และ 24.99 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 2 และ 1 คือ 12.96 และ 15.08 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 33) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 และ 4 คือ 29.48 และ 27.83 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ มากกวffา ตํารับการทดลองที่ 1 และ 2 คือ 17.10 และ 15.53 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 33) ตารางที่ 33 การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าว (K uptake) แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับ การ ทดลอง K uptake ในผลผลิตขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย K uptake ในตอซังขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย K uptake ในสวนเหนือดิน (กก./ไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 2.04 ns ns * * ns 15.08 ns ns * * ns 17.10 T2 ns ns ns ns 2.56 ns * * ns 12.96 ns * * ns 15.53 T3 ns ns ns 3.05 ns ns ns 19.04 ns ns ns 22.09 T4 ns ns 2.85 ns ns 24.99 ns * 27.83 T5 ns 2.72 ns 26.77 * 29.48 T6 2.11 14.86 16.97 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ


32 3.5 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงทดลองนางเกสร จันทรสองแสง ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวffา ผลตอบแทนของตํารับการทดลองที่ 2 ให6ผลตอบแทนสูงที่สุด คือ 3,906 บาทตffอไรff เนื่องจากมีมีต6นทุนต่ําสุดคือ 2.23 บาทตffอกิโลกรัม และตํารับการทดลองที่ 5 ให6 ผลตอบแทนต่ําสุด คือ 2,514 บาทตffอไรff เนื่องจากมีต6นทุนสูงสุดคือ 3.15 บาทตffอกิโลกรัม (ตารางที่ 34) ตารางที่ 34 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงทดลองนางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการทดลอง ผลผลิต (กิโลกรัมตอไร) มูลคาผลผลิต (บาทตอไร) ผลตอบแทน (บาทตอไร) ตนทุนตอกก. (บาท) T1 890.67 891 2,819 2.34 T2 1,194.70 2,389 3,906 2.23 T3 1,122.70 3,368 3,396 2.48 T4 1,101.30 4,405 2,930 2.84 T5 1,072.00 5,360 2,514 3.15 T6 1,058.70 6,352 2,545 3.10


33 การทดลองที่ 4 แบบสังเกตการณ 4. แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี 4.1การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี สมบัติของดินกอนการทดลอง จากการวิเคราะหดินกffอนเริ่มดําเนินการทดลอง พบวffา ดินมีความเป@นกรดปานกลาง คffาความ เป@นกรดเป@นดffางของดินเทffากับ 5.8 ปริมาณอินทรียวัตถุอยูffในระดับปานกลาง คือ 2.3 เปอรเซ็นต ปริมาณ ฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนอยูffในระดับต่ํา คือ 3 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6อยูffใน ระดับต่ํา คือ 23 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม และมีลักษณะเนื้อดินเป@นดินเหนียว (C) (ตารางที่ 35) ตารางที่ 35 สมบัติทางเคมีของดินกffอนดําเนินการทดลอง แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี สมบัติของดิน ระดับ ผลการวิเคราะห คffาความเป@นกรดเป@นดffาง กรดปานกลาง 5.8 ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) ปานกลาง 2.3 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน (มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม) ต่ํา 3 ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 (มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม) ต่ํา 41 เนื้อดิน C ที่มา: กลุffมวิเคราะหดิน สพข. 8, 2557 และคณะเกษตรศาสตรฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2557 สมบัติของดินภายหลังทําการทดลอง หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข6าว พบวffา คffาความเป@นกรดเป@นดffางไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตff ละตํารับการทดลอง โดยอยูffในชffวง 5.57-6.00 เป@นกรดปานกลาง มีคffาอยูffในระดับเดียวกับกffอนการทดลอง ปริมาณอินทรียวัตถุหลังการทดลองในแตffละตํารับการทดลองไมffพบความแตกตffางกันทางสถิต ซึ่งมีปริมาณ อินทรียวัตถุอยูffในระดับปานกลางทุกตํารับทดลองอยูffในชffวง 2.03-2.67 เปอรเซ็นต และอยูffในระดับเดียวกับ กffอนการทดลอง (ตารางที่ 36) ตารางที่ 36 คffาความเป@นกรดเป@นดffางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังการทดลอง แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับการ ทดลอง คาความเปEนกรดเปEนดาง คาเฉลี่ย ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 - ns ns ns ns ns 5.60 - ns ns ns ns ns 2.67 T2 ns ns ns ns 5.57 ns ns ns ns 2.40 T3 ns ns ns 6.00 ns ns ns 2.13 T4 ns ns 5.83 ns ns 2.47 T5 ns 5.83 ns 2.27 T6 6.00 2.03 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ


34 T1 = แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) T2 = ใสffปุ_ย N=27 P2O5= 5 และ K2O=0 กิโลกรัมตffอไรff T3 = ใสffปุ_ย N=6 P2O5=3 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff T4 = ใสffปุ_ย N=5.87 P2O5=5.02 และ K2O=14.60 กิโลกรัมตffอไรff T5 = ใสffปุ_ย N=20.25 P2O5=5.83 และ K2O=8.25 กิโลกรัมตffอไรff T6 = ใสffปุ_ย N=12 P2O5=8 และ K2O=8 กิโลกรัมตffอไรff ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนในดินหลังเก็บเกี่ยวข6าวพบความแตกตffางกันทางสถิติในบาง ตํารับการทดลอง แตffอยffางไรก็ตามปริมาณฟอสฟอรัสในทุกตํารับการทดลองอยูffในระดับเดียวกัน คือ อยูffในชffวง 3.03-8.33 มิลิกรัมตffอกิโลกรัม ซึ่งมีคffาอยูffในระดับต่ํา เชffนเดียวกันกffอนการทดลอง ปริมาณโพแทสเซียมที่ แลกเปลี่ยนได6ในดินหลังเก็บเกี่ยวข6าว พบวffามีบางตํารับการทดลองที่พบความแตกตffางกันทางสถิติ แตffอยffางไร ก็ตาม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในแตffละตํารับการทดลองอยูffในระดับเดียวกันคือ อยูffในชffวง 10.33- 17.33 มิลิกรัมตffอกิโลกรัม มีคffาอยูffในระดับต่ํามาก (ตารางที่ 37) ตารางที่ 37 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในดิน หลังการทดลอง แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับการ ทดลอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปEนประโยชน (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 3.33 ns ns ns * ns 16.33 T2 ns * ns ns 3.33 ns * ns * 10.33 T3 ns * ns 4.67 * * ns 16.33 T4 * ns 5.33 * ns 17.33 T5 ns 3.00 ns 11.33 T6 8.33 20.33 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ 4.2 ผลผลิตขาวและองคประกอบผลผลิตขาว แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ผลผลิตขาวที่เกษตรกรคาดหวัง ผลผลิตข6าวที่เกษตรกรคาดหวัง คือ 890 กก./ไรff ซึ่งเป@นผลผลิตเฉลี่ยสูงสุดของข6าวพันธุ กข 41 (ข6อมูลจาก website http://psl.brrd.in.th/web/index.php/2009-09-23-10-37-38/20--41) จาก ข6อมูล Totlal N P K uptake ของข6าว ที่ให6ผลผลิต 1 ตันของ Dobermaun&Fairhurst (2000) ผลผลิต ข6าว 1000 กก. มีปริมาณ uptake ของข6าวทุกสffวน 17.5 กก.N 3 กก.P 17 กก.K แตffจากคาดการณ ผลผลิตวffาจะได6รับคือ 890 กิโลกรัมตffอไรff จะมีปริมาณ N P K uptake คือ N = 15.575 P = 2.67 K = 15.13 กิโลกรัมตffอไรff


35 ผลผลิตขาวและองคประกอบผลผลิต ผลผลิตข6าวทดลองนางอรุโณทัย เขียวมีพบวffา ตํารับการทดลองที่ 6 และ 4 คือให6ผลผลิต 1,146.33 และ 1ม143.67 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 คือให6ผลผลิต 909 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 24) จํานวนเมล็ดตffอรวงพบวffา ตํารับการทดลองที่ 1 ให6จํานวนเมล็ดตffอรวง 73.27 ต่ํากวffาตํารับการ ทดลองที่ 2 คือ 109.47 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 38) ตารางที่ 38 ผลผลิตข6าวและจํานวนเมล็ดตffอรวง แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับการ ทดลอง ผลผลิตขาว (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative Yield จํานวนเมล็ดตอรวง คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns * ns * 909.00 79.30 ** ns ns ns ns 73.27 66.93 T2 ns ns ns ns 1,079.67 94.18 ns ns ns ns 109.47 100.00 T3 ns ns ns 1,106.33 96.51 ns ns ns 70.13 64.06 T4 ns ns 1,143.67 99.77 ns ns 81.57 74.51 T5 ns 1,063.67 92.79 ns 106.07 96.89 T6 1,146.33 100.00 81.63 74.57 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ การเจริญเติบโตด6านความสูง พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 มีความสูง คือ 72.43 เซนติเมตร สูง กวffา ตํารับการทดลองที่ 6 4 และ 3 คือ 67.30 63.37 และ 58.77 ตามลําดับ น้ําหนัก 100 เมล็ด ไมffพบ ความแตกตffางกันทางสถิติในแตffตํารับการทดลอง โดยน้ําหนัก 100 เมล็ด จะอยูffในชffวง 2.57-2.90 กรัมตffอ 100 เมล็ด (ตารางที่ 39) ตารางที่ 39 การเจริญเติบโตด6านความสูงและน้ําหนัก 100 เมล็ด แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับการ ทดลอง ความสูงถึงคอรวง (ซม.) คาเฉลี่ย Relative น้ําหนัก 100 เมล็ด (กรัม) คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 64.47 ns ns ns ns ns 2.80 89.01 T2 * ** ns ns 71.63 ns ns ns ns 2.57 98.90 T3 ns * ns 58.77 ns ns ns 2.57 81.14 T4 ** ns 63.37 ns ns 2.70 87.49 T5 * 72.43 ns 2.77 100.00 T6 67.30 2.90 92.92 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ


36 เปอรเซ็นตเมล็ดดี และเปอรเซ็นตเมล็ดเสียไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการ ทดลอง โดยเปอรเซ็นตเมล็ดดีอยูffในชffวง 80.43-85.21% และเปอรเซ็นตเมล็ดเสียอยูffในชffวง 14.79-19.57% (ตารางที่ 40) ตารางที่ 40 เปอรเซ็นตเมล็ดดีและเปอรเซ็นตเมล็ดเสีย แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับการ ทดลอง เปอรเซ็นตเมล็ดดี คาเฉลี่ย Relative เปอรเซ็นตเมล็ดเสีย คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 85.21 97.52 ns ns ns ns ns 14.79 75.57 T2 ns ns ns ns 83.45 97.93 ns ns ns ns 16.55 84.57 T3 ns ns ns 83.82 98.37 ns ns ns 16.18 82.68 T4 ns ns 80.43 94.39 ns ns 19.57 100.00 T5 ns 83.10 100.00 ns 16.90 86.36 T6 84.02 98.60 15.98 81.66 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ น้ําหนักตอซังแห6ง พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 และ 6 มีน้ําหนักตอซังแห6ง คือ 1,065 1,055 กิโลกรัมตffอไรff และทั้งสองตํารับการทดลองมีน้ําหนักตอซังแห6งมากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 อยffางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ ตํารับการทดลองที่ 1 มีน้ําหนักตอซังแห6ง เทffากับ 733 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 41) น้ําหนักแห6งสffวนเหนือดิน ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการทดลอง โดยมี น้ําหนักแห6งสffวนเหนือดิน อยูffในชffวง 1,658-1,983 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 41) ตารางที่ 41 น้ําหนักตอซังแห6ง และน้ําหนักแห6งสffวนเหนือดินของข6าว แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับการ ทดลอง น้ําหนักตอซังแหง (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative น้ําหนักแหงสวนเหนือดิน (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns * * 733 62.92 ns ns ns ns ns 1,658 83.61 T2 ns ns ns ns 1,055 90.56 ns ns ns ns 1,983 100.00 T3 ns ns ns 987 84.72 ns ns ns 1,939 97.78 T4 * ns 987 84.72 ns ns 1,970 99.34 T5 * 1,065 100.00 ns 1,947 98.18 T6 982 84.29 1,967 99.19 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ 4.3 ความเขมขนของธาตุอาหารพืชในขาวแปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ความเขมขนของธาตุไนโตรเจนในสวนตางๆ ของขาว ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในผลผลิตข6าว ในแตffละตํารับการทดลองไมffพบความแตกตffางกัน ทางสถิติ โดยมีความเข6มข6นอยูffระหวffาง 1.01-1.08 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 42) ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในตอซังข6าว พบวffา ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในตํารับการ ทดลองที่ 2 คือ 0.64 เปอรเซ็นต มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 และ 6 ซึ่งมีความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจน คือ 0.49 และ 0.50 เปอรเซ็นต ตามลําดับ อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 42)


37 ตารางที่ 42 ความเข6มข6นของธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว นางเกสร จันทรสffองแสง ตํารับการ ทดลอง %N ในผลผลิตขาว คาเฉลี่ย %N ในตอซังขาว T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 ns ns ns ns ns 1.08 * ns ns ns ns 0.49 T2 ns ns ns ns 1.11 ns ns ns * 0.64 T3 ns ns ns 1.01 ns ns ns 0.51 T4 ns ns 1.00 ns ns 0.58 T5 ns 1.03 ns 0.61 T6 1.05 0.50 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ความเขมขนของธาตุฟอสฟอรัสในสวนตางๆ ของขาว ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิตข6าว ไมffพบความแตกตffางทางสถิตในแตffละตํารับการ ทดลอง โดยมีความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสอยูffในชffวง 0.20-0.21 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 43) ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 มีความเข6มข6นของ ธาตุฟอสฟอรัส คือ 0.097 เปอรเซ็นต มากกวffา ตํารับการทดลองที่ 6 มีความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัส คือ 0.073 เปอรเซ็นต อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 43) ตารางที่ 43 ความเข6มข6นของธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับการ ทดลอง %P ในผลผลิตขาว คาเฉลี่ย %P ในตอซังขาว T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 ns ns ns ns ns 0.21 ns ns ns ns ns 0.080 T2 ns ns ns ns 0.22 ns ns ns ns 0.097 T3 ns ns ns 0.22 ns ns ns 0.103 T4 ns ns 0.20 ns ns 0.083 T5 ns 0.20 * 0.097 T6 0.21 0.073 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ความเขมขนของธาตุโพแทสเซียมในสวนตางๆ ของขาว ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในผลผลิตข6าว พบวffา ไมffมีความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละ ตํารับการทดลอง โดยความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมอยูffในชffวง 0.23-0.27 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 44) ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 4 3 และ 6 มีความ เข6มข6นของธาตุโพแทสเซียม คือ 1.85 1.47 และ 1.41 เปอรเซ็นต มีคffามากกวffา ตํารับการทดลองที่ 2 คือ 0.70 เปอรเซ็นต อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 44)


38 ตารางที่ 44 ความเข6มข6นของธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าวแปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับการ ทดลอง %K ในผลผลิตขาว คาเฉลี่ย %K ในตอซังขาว T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 ns ns ns ns ns 0.23 ns ns * ns ns 1.17 T2 ns ns ns ns 0.25 * * ns * 0.70 T3 ns ns ns 0.27 ns ns ns 1.47 T4 ns ns 0.25 * ns 1.85 T5 ns 0.25 ns 0.80 T6 0.23 1.41 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ 4.3 การสะสมธาตุอาหารในสวนตางๆ ของขาว แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี การสะสมธาตุไนโตรเจนในสวนตางๆ ของขาว (N uptake) การสะสมธาตุไนโตรเจนในผลผลิตข6าว ตํารับการทดลองที่ 6 มีการสะสมอาหารเทffากับ 10.35 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 5 ซึ่งมีการสะสมอาหารเทffากับ 8.05 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (ตารางที่ 45) การสะสมธาตุไนโตรเจนในตอซังข6าว พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 มีการสะสมธาตุไนโตรเจนใน ตอซังข6าว คือ 7.19 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 คือ 3.60 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (ตารางที่ 45) การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนเหนือดินของข6าว พบวffา ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละ ตํารับการทดลอง การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนเหนือดิน อยูffในชffวง 13.50-17.16 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 45) ตารางที่ 45 การสะสมธาตุไนโตรเจนในสffวนตffางๆ ของข6าว (N uptake) แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับ การ ทดลอง N uptake ในผลผลิตขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย N uptake ในตอซังขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย N uptake ในสวนเหนือดิน (กก./ไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 9.89 ns ns ns * ns 3.60 ns ns ns ns ns 13.50 T2 ns ns ns ns 10.30 ns ns ns ns 6.86 ns ns ns ns 17.16 T3 ns ns ns 9.59 ns ns ns 5.05 ns ns ns 14.64 T4 ns ns 9.83 ns ns 5.80 ns ns 15.62 T5 * 8.03 ns 7.19 ns 15.21 T6 10.35 4.88 15.22 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสวนตางๆ ของขาว (P uptake) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิตข6าว ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการทดลอง การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในผลผลิตข6าว อยูffในชffวง 1.55-2.05 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 46) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในตอซังข6าว ตํารับการทดลองที่ 5 และ 2 มีการสะสมฟอสฟอรัสในตอซัง


39 ข6าว คือ 1.13 และ 1.01 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 คือ 0.58 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 46) การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 และ 3 มีการสะสมธาตุ ฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดินคือ 3.07 และ 3.04 กิโลกรัมตffอไรff ตามลําดับ มากกวffา ตํารับการทดลองที่ 1 ซึ่งมี การสะสมฟอสฟอรัสในสffวนเหนือดิน คือ 2.47 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 46) ตารางที่ 46 การสะสมธาตุฟอสฟอรัสในสffวนตffางๆ ของข6าว (P uptake) แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับ การ ทดลอง P uptake ในผลผลิตขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย P uptake ในตอซังขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย P uptake ในสวนเหนือดิน (กก./ไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 1.88 * ns ns * ns 0.58 * * ns ns ns 2.47 T2 ns ns ns ns 2.01 ns ns ns ns 1.03 ns ns ns ns 3.04 T3 ns ns ns 2.05 ns ns ns 1.01 ns ns ns 3.07 T4 ns ns 2.00 ns ns 0.82 ns ns 2.82 T5 ns 1.55 ns 1.13 ns 2.68 T6 2.04 0.73 2.76 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสวนตางๆ ของขาว (K uptake) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในผลผลิตข6าว ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffละตํารับการ ทดลอง โดยมีการสะสมธาตุโพแทสเซียมในผลผลิตข6าวอยูffในชffวง 1.95-2.55 กิโลกรัมตffอไรff (ตารางที่ 47) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในตอซังข6าว พบวffา ตํารับทดลองที่ 4 และ 6 มีการสะสมธาตุ โพแทสเซียมในตอซังข6าว คือ 18.24 และ 14.48 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 และ 2 คือ 8.55 และ 7.38 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 47) การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนเหนือดิน พบวffา ตํารับทดลองที่ 4 และ 6 มีการสะสมธาตุ โพแทสเซียมในสffวนเหนือดิน คือ 20.70 และ 17.03 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 และ 2 คือ 10.68 และ 9.70 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 47) ตารางที่ 47 การสะสมธาตุโพแทสเซียมในสffวนตffางๆ ของข6าว (K uptake) แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับ การ ทดลอง K uptake ในผลผลิตขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย K uptake ในตอซังขาว (กก./ไร) คาเฉลี่ย K uptake ในสวนเหนือดิน (กก./ไร) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 2.13 ns ns * ns * 8.55 ns ns * ns * 10.68 T2 ns ns ns ns 2.32 * * ns * 7.38 * * ns * 9.70 T3 ns ns ns 2.55 ns ns ns 14.48 ns ns ns 17.03 T4 ns ns 2.46 * ns 18.24 * * 20.70 T5 ns 1.95 ns 9.40 ns 11.35 T6 2.29 13.86 16.16 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ


40 4.4 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงนางอรุโณทัย เขียวมี ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวffา ผลตอบแทนของตํารับการทดลองที่ 5 ให6ผลตอบแทนสูงที่สุด คือ 3,056 บาทตffอไรff เนื่องจากมีมูลคffาผลผลิตสูงที่สุดคือ 6,408 บาทตffอไรff และตํารับการทดลองที่ 6 ให6 ผลตอบแทนต่ําสุด คือ 2,123 บาทตffอไรffเนื่องจากมีต6นทุนสูงสุดคือ 3.34 บาทตffอกิโลกรัม (ตารางที่ 48) ตารางที่ 48 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แปลงทดลองนางอรุโณทัย เขียวมี ตํารับการทดลอง ผลผลิต (ตันตอไร) มูลคาผลผลิต (บาทตอไร) ผลตอบแทน (บาทตอไร) ตนทุนตอกก. (บาท) T1 733 4,032 2,261 2.84 T2 1,055 5,803 2,808 2.84 T3 987 5,429 2,650 2.82 T4 987 5,429 2,359 3.11 T5 1,165 6,408 3,056 2.88 T6 982 5,401 2,123 3.34


41 การทดลองที่ 5 แบบสังเกตการณ 5. แปลงทดลองนางทินกร บุญดวง 5.1 การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินแปลงทดลองนายทินกร บุญดวง สมบัติของดินกอนการทดลอง จากการวิเคราะหดินกffอนเริ่มดําเนินการทดลอง พบวffา ดินมีความเป@นกรดเล็กน6อย คffาความเป@น กรดเป@นดffางของดินเทffากับ 6.6 ปริมาณอินทรียวัตถุอยูffในระดับสูง คือ 3.5 เปอรเซ็นต ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@น ประโยชนอยูffในระดับคffอนข6างต่ํา คือ 7 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6อยูffในระดับ ต่ํามาก คือ 26 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม และมีลักษณะเนื้อดินเป@นดินรffวนปนเหนียว (ตารางที่ 49) ตารางที่ 49 สมบัติทางเคมีของดินกffอนดําเนินการทดลองแปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง สมบัติของดิน ระดับ ผลการวิเคราะห คffาความเป@นกรดเป@นดffาง กรดเล็กน6อย 6.6 ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) สูง 3.5 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชน (มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม) คffอนข6างต่ํา 7 ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6 (มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม) ต่ํามาก 26 เนื้อดิน CL ที่มา: กลุffมวิเคราะหดิน สพข. 8, 2557 และคณะเกษตรศาสตรฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2557 สมบัติของดินภายหลังทําการทดลอง หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข6าว พบวffา คffาความเป@นกรดเป@นดffางไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตff ละตํารับการทดลอง โดยอยูffในชffวง 5.37-5.53 เป@นกรดปานกลาง ปริมาณอินทรียวัตถุหลังการทดลองในแตff ละตํารับการทดลองไมffพบความแตกตffางกันทางสถิต ซึ่งมีปริมาณอินทรียวัตถุอยูffในระดับสูงทุกตํารับทดลองอยูff ในชffวง 3.67-4.00 เปอรเซ็นต และอยูffในระดับเดียวกับกffอนการทดลอง (ตารางที่ 50) ตารางที่ 50 คffาความเป@นกรดเป@นดffางและปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังการทดลอง แปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง ตํารับการ ทดลอง คาความเปEนกรดเปEนดาง คาเฉลี่ย ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอรเซ็นต) T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 คาเฉลี่ย T1 ns ns ns ns ns 5.43 ns ns ns ns ns 3.97 T2 ns ns ns ns 5.40 ns ns ns ns 3.67 T3 ns ns ns 5.53 ns ns ns 3.93 T4 ns ns 5.46 ns ns 4.00 T5 ns 5.43 ns 3.93 T6 5.37 3.97 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ


42 T1 = แปลงควบคุม (ไมffใสffปุ_ยทุกชนิด) T2 = ใสffปุ_ย N=31 P2O5= 10 และ K2O=0 กิโลกรัมตffอไรff T3 = ใสffปุ_ย N=6 P2O5=3 และ K2O=6 กิโลกรัมตffอไรff T4 = ใสffปุ_ย N=0 P2O5=2.15 และ K2O=20.22 กิโลกรัมตffอไรff T5 = ใสffปุ_ย N=20.25 P2O5=2.96 และ K2O=13.87 กิโลกรัมตffอไรff T6 = ใสffปุ_ย N=12 P2O5=8 และ K2O=8 กิโลกรัมตffอไรff ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนในดินหลังเก็บเกี่ยวข6าว ไมffพบความแตกตffางในแตffละตํารับ การทดลอง โดยปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนในดินอยูffระหวffาง 3.67-6.00 มิลลิกรัมตffอกิโลกรัม มีคffาอยูff ในระดับต่ําทุกตํารับทดลอง (ตารางที่ 51) ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในดินหลังเก็บเกี่ยวข6าว พบวffามีบางตํารับการทดลองที่พบ ความแตกตffางกันทางสถิติ แตffอยffางไรก็ตาม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในแตffละตํารับการทดลองอยูff ในระดับเดียวกันคือ อยูffในชffวง 25.00-35.67 มิลิกรัมตffอกิโลกรัม อยูffในระดับต่ํามาก (ตารางที่ 51) ตารางที่ 51 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป@นประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได6ในดิน หลังการทดลอง แปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง ตํารับการ ทดลอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปEนประโยชน (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได (มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) คาเฉลี่ย T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns ns ns ns 6.00 ns ns ns * * 29.33 T2 ns ns ns ns 4.66 ns ns ns ns 25.00 T3 ns ns ns 4.33 ns * * 29.33 T4 ns ns 3.67 * * 32.67 T5 ns 4.33 ** 35.67 T6 4.33 22.67 ที่มา: สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2557 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ 5.2 ผลผลิตขาวและองคประกอบผลผลิตแปลงทดลองนายทินกร บุญดวง ผลผลิตขาวที่เกษตรกรคาดหวัง ผลผลิตข6าวที่เกษตรกรคาดหวัง คือ 890 กก./ไรff ซึ่งเป@นผลผลิตเฉลี่ยสูงสุดของข6าวพันธุ กข 41 (ข6อมูลจาก website http://psl.brrd.in.th/web/index.php/2009-09-23-10-37-38/20--41) จาก ข6อมูล Totlal N P K uptake ของข6าว ที่ให6ผลผลิต 1 ตันของ Dobermaun&Fairhurst (2000) ผลผลิต ข6าว 1000 กก. มีปริมาณ uptake ของข6าวทุกสffวน 17.5 กก.N 3 กก.P 17 กก.K แตffจากคาดการณ ผลผลิตวffาจะได6รับคือ 890 กิโลกรัมตffอไรff จะมีปริมาณ N P K uptake คือ N = 15.575 P = 2.67 K = 15.13 กิโลกรัมตffอไรff


43 ผลผลิตขาวและองคประกอบผลผลิต ผลผลิตข6าวแปลงทดลองนางทินกร บุญด6วงพบวffา ตํารับการทดลองที่ 2 คือให6ผลผลิต 1,098.67 กิโลกรัมตffอไรff มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 คือให6ผลผลิต 848 กิโลกรัมตffอไรff อยffางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ แตffตํารับการทดลองอื่นๆ ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติ จํานวนเมล็ดตffอรวง ไมffพบความ แตกตffางกันทางสถิตในแตffละตํารับการทดลอง โดยจํานวนเมล็ดตffอรวงอยูffในชffวง 65.90-68.90 (ตารางที่ 52) ตารางที่ 52 ผลผลิตข6าวและจํานวนเมล็ดตffอรวง แปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง ตํารับการ ทดลอง ผลผลิตขาว (กิโลกรัมตอไร) คาเฉลี่ย Relative Yield จํานวนเมล็ดตอรวง คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 * ns ns ns ns 848.00 77.23 ns ns ns ns ns 66.57 96.62 T2 ns ns ns ns 1,098.67 100.06 ns ns ns ns 66.23 96.12 T3 ns ns ns 1,026.67 93.50 ns ns ns 66.13 95.98 T4 ns ns 1,005.33 91.56 ns ns 68.77 99.81 T5 ns 976.00 88.89 ns 68.90 100.00 T6 962.67 87.67 65.90 95.65 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ การเจริญเติบโตด6านความสูงและ พบวffา ตํารับการทดลองที่ 5 มีความสูง คือ 78.43 เซนติเมตร สูง กวffา ตํารับการทดลองที่ 6 2 4 3 และ 1 คือ 71.20 70.93 70.40 66.47 และ 35.87 ตามลําดับ น้ําหนัก 100 เมล็ด ไมffพบความแตกตffางกันทางสถิติในแตffตํารับการทดลอง โดยน้ําหนัก 100 เมล็ด จะอยูff ในชffวง 3.23-3.50 กรัม (ตารางที่ 53) ตารางที่ 53 การเจริญเติบโตด6านความสูงและน้ําหนัก 100 เมล็ด แปลงทดลองนายทินกร บุญด6วง ตํารับการ ทดลอง ความสูงถึงคอรวง (ซม.) คาเฉลี่ย Relative น้ําหนัก 100 เมล็ด (กรัม) คาเฉลี่ย Relative T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T1 ns ns * ** ** 65.87 83.99 ns ns ns ns ns 3.23 92.29 T2 ns ns * ns 70.93 90.44 ns ns ns ns 3.37 96.29 T3 ns ** ns 66.47 84.75 ns ns ns 3.50 100.00 T4 * ns 70.40 89.76 ns ns 3.50 100.00 T5 * 78.43 100.00 ns 3.50 100.00 T6 71.20 90.78 3.43 98.00 หมายเหตุ ns หมายถึง ไมffมีความแตกตffางทางสถิติ * หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ ** หมายถึง มีความแตกตffางอยffางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ เปอรเซ็นตเมล็ดดี พบวffา ตํารับการทดลองที่ 6 มีเปอรเซ็นตเมล็ดดี คือ 77.19 ต่ํากวffาตํารับการ ทดลองที่ 3 4 2 และ 1 คือ 89.79 87.94 87.69 และ 87.22 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ และเปอรเซ็นต เมล็ดเสียพบวffา ตํารับที่ 6 มีเปอรเซ็นตเมล็ดเสีย 20.92 มากกวffาตํารับการทดลองที่ 1 2 4 และ 3 คือ 12.78 12.31 12.06 และ 10.03 อยffางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 54)


Click to View FlipBook Version