1 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)
2 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) คำสั่งโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน ที่ 282 /2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการนิเทศภายในเพื่อการขับเคลื่อนกระบวนการ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 .................................................................. ด้วยโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน ได้กำหนดให้จัดทำโครงการนิเทศภายใน เพื่อการขับเคลื่อนกระบวนการ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ที่จะส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการ พัฒนาศักยภาพอย่างเต็มที่ และครูได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้การดำเนินการนิเทศภายในเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุเป้าหมายของการ นิเทศภายใน ได้กำหนดกิจกรรมการนิเทศ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 39 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และตามความในมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ นิเทศภายใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ดั้งนี้ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ กำกับ ติดตาม สั่งการ อำนวยการทั่วไป และประสานงาน การดำเนินการให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย กรรมการ ประกอบด้วย 1. นายเสกสันต์ สัมฤทธิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ 2. นายศราวุฒิ สนใจ รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ 3. นายอัฐพงศ์ จารุทรัพย์สดใส รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ 4. นายครองสุข หารไชย รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ 5. นางสาวยุพเรศ พระวัย รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ 6. นายไพบูลย์ หัดรัดชัย หัวหน้ากลุ่มบริหารงานทั่วไป กรรมการ 7. นางธัญญารัตน์ เจริญศิริ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานบุคคล กรรมการ 8. นางจันทา สังโสมา หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ กรรมการ 9. นายนเรนทร สุรินทราบูรณ์ หัวหน้ากลุ่มบริหารงบประมาณ กรรมการ 10. นางอิงอร ผลจันทร์งาม หัวหน้างานแผนงาน กรรมการ 11. นางนารีรัตน์ สุระสังข์ หัวหน้างานนิเทศภายใน กรรมการและเลขานุการ 12. นางสาวนิอร สิงห์นอก ครูชำนาญการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 13. นางสาวจารุดา สุขสงวน ครูผู้ช่วย กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 2. คณะกรรมการนิเทศภายใน มีหน้าที่ กำกับ นิเทศ ให้คำปรึกษา กำกับติดตามการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ครู มีและใช้ความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพของตน และ
3 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) เป็นไปตามเป้าหมายของการศึกษา ด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สรุปผลการนิเทศและ รายงานผลการนิเทศเสนอผู้บังคับบัญชาตามลำดับ ประกอบด้วย 2.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ประกอบด้วย 1. นางทิตยาภา บุญปก หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ประธานกรรมการ 2. นางกองแก้ว แพงสุดโท ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 3. นางรัศมี มีพร้อม ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 4. นางกาญจนา ยุพการณ์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 5. นางสาวอำไพ มุลาลินน์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 6. นางสาวหอมหวล บุญโต ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 7. นายบุญจันทร์ พิมพ์ประเสริฐ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 8. นางสาวพรพิมล สุทธิธรรม ครูชำนาญการ กรรมการ 9. นายศตวรรษ โยวาศรี ครูชำนาญการ กรรมการ 10. นายธีรวีร์ พรหมพัชรพล ครูคศ.1 กรรมการ 11. นายกวินพัทธ์ ธศรีพิพัฒน์ ครูคศ.1 กรรมการ 12. นางสาวรัชนก ทรงพระ ครูคศ.1 กรรมการ 13. นางสาวจารุดา สุขสงวน ครูผู้ช่วย กรรมการ 14. นายบัณฑิตย์ นันท์มา พนักงานราชการ กรรมการ 15. นางสาวจตุรพร นรสาร ครูคศ.1 กรรมการและเลขานุการ 2.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ประกอบด้วย 1. นางยุวดี ชมชื่นดี หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ประธานกรรมการ 2. นางนารีรัตน์ อุปการกุล ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 3. นางนารีรัตน์ สุระสังข์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 4. นายเกษม โปร่งจิต ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 5. นางอุษา มาลีหวล ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 6. นางธัญญารัตน์ เจริญศิริ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 7. นางสุณิชา อาภาอมร ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 8. นางนภัสกรณ์ นามโสม ครูชำนาญการ กรรมการ 9. นางสาววิรัลพัชร วิวัฒน์สิริชาญ ครูชำนาญการ กรรมการ 10. นางเกศินี เกลียวทอง ครูชำนาญการ กรรมการ 11. นางสุนิษา เหลืองจรัสสุริยา ครูชำนาญการ กรรมการ 12. นายปัญญวัฒน์ สุรินทราบูรณ์ ครู คศ.1 กรรมการ 13. นายนเรนทร สุรินทราบูรณ์ ครู คศ.1 กรรมการ 14. ว่าที่ร้อยตรีพชรพงศ์ นวลศิริ ครู คศ.1 กรรมการ
4 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 15. นางปิยนุช เงางาม ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ 2.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประกอบ 1. นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ประธานกรรมการ 2. นางดวงดาว คงนุรัตน์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 3. นางนิภาวรรณ ลัดดาหอม ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 4. นางอัญชลิน ผมงาม ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 5. นายวรเชษฐ์ บุญยง ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 6. นางสุภาภรณ์ สุขจิต ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 7. นายเอนก นรสาร ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 8. นางปภังกร นาเมืองรักษ์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 9. นางอิงอร ผลจันทร์งาม ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 10. นางอาณัชยา จินดาศรี ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 11. นางดวงดาว คงนุรัตน์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 12. นายอดุลย์ บุราคร ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 13. นางชัญญานุช เนริกูล ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 14. นางสุรีรัตน์ จุ้ยกระยาง ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 15. นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 16. นางสาวเพ็ญศรี ยอดอินทร์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 17. นางสาวกัญญาภัค แสงสาย ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 18. นางรัติยวรรณ ครองศิลป์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมกา 19. นางณัฏฐินี ชอบมี ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 20. นางสาวจิตติพร สุวรรณาลัย ครูชำนาญการ กรรมการ 21. นางสาวสุวภัทร สวัสดี ครู คศ.1 กรรมการ 22. นายวิทวัส หอมขจร ครู คศ.1 กรรมการ 23. นายศุภชัย ผูกเกสร ครู คศ.1 กรรมการ 21. นางสาวธนชนก พฤฒิพันธ์พิศุทธ์ ครูผู้ช่วย กรรมการ 22. นายชิงชัย พัฒนสระคู ครูผู้ช่วย กรรมการ 23. นางสาววนิดา ด้วยงา ครูผู้ช่วย กรรมการ 23. นางประใพวรรณ สมจันทร์ พนักงานราชการ กรรมการ 24. นายสุวรรณ ก้านเหลือง ครูอัตราจ้าง กรรมการ 25. นางสาวสุนิสา พรมโคตร ครู คศ.1 กรรมการและเลขานุการ 2.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประกอบด้วย 1. นางสารภี ทองเลิศ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ประธานกรรมการ -/5. นายวรเชษฐ์…
5 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 2. นางศศลักษณ์ สมชื่อ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 3. นายไพบูลย์ หัดรัดชัย ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 4. นางจันจิรา ผจญกล้า ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 5. นางปวีณรัตน์ มีงาม ครูชำนาญการ กรรมการ 6. นางปวีรา สวัสดิ์สิงห์ ครูชำนาญการ กรรมการ 7. นางสาวนิอร สิงห์นอก ครูชำนาญการ กรรมการ 8. นายวีระ สระศิริ ครู คศ.1 กรรมการ 9. นางสาวบุษดี ภูมิสุข ครู คศ.1 กรรมการ 10. นางสาวพรพิมล รอบรู้ ครูผู้ช่วย กรรมการ 11. นายกฤษฎา บุญยงค์ ครูผู้ช่วย กรรมการ 12. นางสาวปริญญาพร จันทคัด พนักงานราชการ กรรมการ 13. นางสาวณัฐชุตา ศรีแก้ว พนักงานราชการ กรรมการ 14. นายธนภณ โลหะจินดา ครูอัตราจ้าง กรรมการ 15. นางสาวสิร์ภารัสมิ์ สืบสังข์ ครู คศ.1 กรรมการและเลขานุการ 2.5 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ประกอบด้วย 1. นายอัศวิน นพเก้า หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ประธานกรรมการ 2. นายกัมปนาท คงนุรัตน์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 3. นายขวัญชัย ถึงดี ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 4. นายวัชรวิชย์ พระทองสุขสกุล ครูชำนาญการ กรรมการ 5. นางสาวธินัญชนก เพ่งเล็งดี ครู คศ.1 กรรมการ 6. นายพนธกร ลำดวนหอม ครู คศ.1 กรรมการ 7. นายกีรพัฒน์ อุทจันทร์ ครูอัตราจ้าง กรรมการ 8. นายเลอศักดิ์ ไชยเทพ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ 2.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ประกอบด้วย 1. นายศิรวิทย์ อินทร์งาม หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ประธานกรรมการ 2. นางสาวรุจีสวัสดิ์ ส่งเสริม ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 3. นางสุดารัตน์ คงอินทร์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 4. นางดวงมณี นิ่มปรางค์ ครูชำนาญการ กรรมการ 5. นายไพจิตร ทองพันธ์ ครูชำนาญการ กรรมการ 6. นางกัญญาภัทร ทองประเสริฐ ครูชำนาญการ กรรมการ 7. นายประเสริฐ บุญมาก ครูชำนาญการ กรรมการ 8. นายศราวุฒิ ลำอ่อน ครูผู้ช่วย กรรมการ 9. นางวิลาวรรณ ตั้งอิทธิพลากร ครูผู้ช่วย กรรมการและเลขานุการ
6 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 2.7 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ประกอบด้วย 1. นายทองเด่น จันทร์เสน หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ประธานกรรมการ 2 นางตรีเกศ รุจิยาปนนท์ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 3. นายชูชัย มูลดับ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 4. นางสุภัทรกุล มั่นหมาย ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 5. นางอาภรณ์ สิงห์คำ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 6. นางสาวอรทัย มิฆเนตร ครูผู้ช่วย กรรมการ 7. นางสาวจุฑามณี หงษ์ไชยคำ ครูผู้ช่วย กรรมการ 8. นางสาวชมพูนุช สุจินพรัหม ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ 2.8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประกอบด้วย 1. นางพจนีย์ มีมาก หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ประธานกรรมการ 2. นางวรรณีย์ สมสุข ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 3. นางสาวกรรณิการ์ บุญทัพไทย ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 4. นางกิ่งกาญจน์ เรืองเกษม ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 5. นางสาววนิดา ฮาตระวัง ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 6. นางเบญจพร ด้วงมั่ง ครูชำนาญการ กรรมการ 7. นางกฤติกา โซคุท ครูชำนาญการ กรรมการ 8. นายวุฒิชัย ดอกประทุม ครูชำนาญการ กรรมการ 9. นางสาวสุมิตรา สดทรงศิลป์ ครูชำนาญการ กรรมการ 10. นางกรองแก้ว โภคาสุข ครูชำนาญการ กรรมการ 11. นายตรีวัฒน์ ศรีนพวิทย์ ครู คศ.1 กรรมการ 12. นางสาวเกวลี มูลชาลี ครู คศ.1 กรรมการ 13. นางสาวชณันภัสร์ ศิระปัญญาสิทธิ์ ครู คศ.1 กรรมการ 14. นายสกลพัฒน์ สีสด ครู คศ.1 กรรมการ 15. นางสาวจิราพร กล้าเกิด ครู คศ.1 กรรมการ 16. นางสาวศุภมาศ ชูชี ครู คศ.1 กรรมการ 17. นางสาวพิชญาณัฏฐ์ สุขแซก ครูผู้ช่วย กรรมการ 18. นางสาวศรัณยรัตน์ วัฒนะรัตน์ ครูอัตราจ้าง กรรมการ 19. Miss Ayesha Gieed ครูพิเศษ กรรมการ 19. Mr.Junaid Lshtiag ครูพิเศษ กรรมการ 20. Miss Natalia Kieza ครูพิเศษ กรรมการ 21. Miss Elin Jenkins ครูพิเศษ กรรมการ 22. Mr.Akshay Bist ครูพิเศษ กรรมการ
7 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 23. Mr.Matthew Haffner ครูพิเศษ กรรมการ 24. นางสาวอภิสรา พงษ์ชาติ ครูผู้ช่วย กรรมการและเลขานุการ 2.9 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน(งานแนะแนว) ประกอบด้วย 1. นางสาวศิริขวัญ เสริมทับ หัวหน้ากิจกรรม ประธานกรรมการ 2. นางสุธันวา ชะอำรัมย์ ครู คศ.1 กรรมการ 3. นางสาวสุภาวดี เครือสีดา ครู คศ.1 กรรมการและเลขานุการ 3. คณะกรรมการสรุปประเมินผลและรายงาน มีหน้าที่ สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและรายงานผล ประกอบด้วย 1. นายศราวุฒิ สนใจ รองผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ 2. นางจันทา สังโสมา หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ รองประธานกรรมการ 3. นางทิตยาภา บุญปก หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กรรมการ 4. นางยุวดี ชมชื่นดี หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กรรมการ 5. นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กรรมการ 6. นางสารภี ทองเลิศ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กรรมการ 7. นายอัศวิน นพเก้า หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาฯ กรรมการ 8. นายศิรวิทย์ อินทร์งาม หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กรรมการ 9. นายทองเด่น จันทร์เสน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ กรรมการ 10. นางพจนีย์ มีมาก หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศกรรมการ 11. นางศิริขวัญ เสริมทับ หัวหน้ากิจกรรมแนะแนว กรรมการ 12. นางนารีรัตน์ สุระสังข์ หัวหน้างานนิเทศภายใน กรรมการและเลขานุการ 13. นางสาวนิอร สิงห์นอก ครูชำนาญการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 14. นางสาวจารุดา สุขสงวน ครูผู้ช่วย กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ให้คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายให้เกิดประโยชน์และประสบผลสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ เพื่อให้บังเกิดผลดีแก่ทางราชการสืบไป ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สั่ง ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 (นายเสกสันต์ สัมฤทธิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน
8 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ชื่อกลุ่มกิจกรรม : ประชุมเสนอปัญหาและแนวทางแก้ปัญหา ครั้งที่ 1 ว/ด/ป ที่ทำกิจกรรม 27 มิถุนายน 2566 เวลา 15.30 - 16.30 น. จำนวนชั่วโมง 2 ชั่วโมง จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ 5 คน บทบาท MODEL TEACHER BUDDY TEACHER EXPERT MENTOR ADMINISTRATOR ที่ ชื่อ – นามสกุล บทบาทสมาชิก 1. นางปภังกร นาเมืองรักษ์ 2. นางอาณัชยา จินดาศรี 3. นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ 4. นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ 5. ดร.ศราวุฒิ สนใจ ชื่อกิจกรรม/ประเด็นที่จะพัฒนา 1. การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เรื่องการหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง ที่เน้นทักษะ Reading (การอ่าน), การเขียน (Writing) และการคิดเลขเป็น (ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21) สาเหตุของปัญหา 1. จากการทดสอบผลเรียนรู้ในปีการศึกษาที่ผ่านมาของนักเรียนมีคะแนนต่ำในเรื่องการหาความเร็วเฉลี่ย และความเร็วขณะหนึ่ง 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมายังไม่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เท่าที่ควร 3. ระบบอินเทอร์เนตในการสืบค้นข้อมูล ยังไม่เสถียรเท่าที่ควร ความรู้/หลักการที่นำมาใช้ 1. แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์ การระดม สมอง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการทำกรณีศึกษา เป็นต้น โดยกิจกรรมที่ นำมาใช้ควรช่วยพัฒนาทักษะการ คิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสื่อสาร/นำเสนอ และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม 2. ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Reading (การอ่าน), การเขียน (Writing) และการคิดเลขเป็น (Arithmetic) และ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา, ทักษะด้านการ สร้างสรรค์ และนวัตกรรม, ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์, ทักษะด้านความ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์
9 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ, ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ, ทักษะด้าน คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้และความมี เมตตากรุณา มีวินัย คุณธรรม และจริยธรรม กิจกรรมที่ทำ 1. สมาชิกร่วมกันให้ข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะ Reading (การ อ่าน), การเขียน (Writing) และการคิดเลขเป็น (ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21) 2. บันทึกข้อเสนอแนะเพื่อนำไปจัดทำบทเรียนหรือหรือแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่เน้น ทักษะ Reading (การอ่าน), การเขียน (Writing) และการคิดเลขเป็น (ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21) ผลที่ได้จากกิจกรรม 1. ได้แนวทางในการจัดทำบทเรียนหรือแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่เน้นทักษะ Reading (การอ่าน), การเขียน (Writing) และการคิดเลขเป็น (ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21) การนำผลที่ได้ไปใช้ 1. นำแนวทางและข้อเสนอแนะที่ได้จากประชุมเพื่อจัดทำบทเรียนหรือแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่เน้นทักษะ Reading (การอ่าน), การเขียน (Writing) และการคิดเลขเป็น (ทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21) ต่อไป ลงชื่อ ผู้บันทึก (นางปภังกร นาเมืองรักษ์) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
10 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ที่ ชื่อ-สกุล บทบาท ลายมือชื่อ 1 นางปภังกร นาเมืองรักษ์ MODEL TEACHER 2 นางอาณัชยา จินดาศรี BUDDY TEACHER 3 นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ EXPERT 4 นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ MENTOR 5 ดร.ศราวุฒิ สนใจ ADMINISTRATOR เสนอรองผู้อำนวยการตรวจสอบก่อนรับรอง [ ✓] ถูกต้อง ครบถ้วน ควรรับรองผลการดำเนินงาน จำนวน 2 ชั่วโมง [ ] ไม่รับรอง ลงชื่อ ผู้รับรอง (ดร.ศราวุฒิ สนใจ) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ เสนอผู้อำนวยการตรวจสอบรับรอง [✓] ถูกต้อง ครบถ้วน ควรรับรองผลการดำเนินงาน จำนวน 2 ชั่วโมง [ ] ไม่รับรอง ลงชื่อ ผู้รับรอง (นายเสกสันต์ สัมฤทธิ์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน
11 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ภาพกิจกรรม PLC
12 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของนางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ บทบาท EXPERT 1. ควรเพิ่มคำถามหรือกิจกรรมเพิ่มเติมทักษะด้านอื่นด้วย เช่น ความร่วมมือ 2. เพิ่มในส่วนของคำตอบของคำถาม ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของนางอาณัชยา จินดาศรี บทบาท Buddy Teacher 1. ขั้นตอนการคำนวณ ควรอธิบายช้าๆ 2. เพิ่มตัวอย่างที่หลากหลาย ยกตัวอย่างให้ครอบคลุมเนื้อหา ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของนางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ บทบาท MENTOR 1. เกณฑ์การประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ยังไม่ชัดเจน ครอบคลุม 2. เพิ่มบรรยากาศการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียน ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของนางกัญญาภัค แสงสาย บทบาท Buddy Teacher 1. เพิ่มเทคนิควิธีการที่สนุกสนาน 2. นำเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียนรู้เพิ่มเติม ข้อมูลประกอบกิจกรรม / ผลที่ได้จากกิจกรรม PLC
13 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ชื่อกลุ่มกิจกรรม : ร่องรอยการทำงานร่วมกับทีมและผลการออกแบบบทเรียน ครั้งที่ 2 ว/ด/ป ที่กิจกรรม 4 กรกฎาคม 2566 เวลา 15.30 - 16.30 น. จำนวนชั่วโมง 2 ชั่วโมง จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ 5 คน บทบาท MODEL TEACHER BUDDY TEACHER EXPERT MENTOR ADMINISTRATOR ที่ ชื่อ – นามสกุล บทบาทสมาชิก 1. นางปภังกร นาเมืองรักษ์ 2. นางอาณัชยา จินดาศรี 3. นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ 4. นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ 5. ดร.ศราวุฒิ สนใจ ชื่อกิจกรรม/ประเด็นที่จะพัฒนา 1. นำบทเรียนหรือแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่อง การหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่งมาร่วมกันวิพากษ์ ปรับปรุงและให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สาเหตุของปัญหา 1. จากการทดสอบผลเรียนรู้ในปีการศึกษาที่ผ่านมาของนักเรียนมีคะแนนต่ำในเรื่องการหาความเร็วเฉลี่ย และความเร็วขณะหนึ่ง 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมายังไม่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เท่าที่ควร 3. สัญญาณอินเทอร์เนตไม่ดีพอ ความรู้/หลักการที่นำมาใช้ 1. แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์ การระดม สมอง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการทำกรณีศึกษา เป็นต้น โดยกิจกรรมที่ นำมาใช้ควรช่วยพัฒนาทักษะการ คิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสื่อสาร/นำเสนอ และการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม 2. ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Reading (การอ่าน), การเขียน (Writing) และการคิดเลขเป็น (Arithmetic) และ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา, ทักษะด้านการ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์
14 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) สร้างสรรค์ และนวัตกรรม, ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์, ทักษะด้านความ ร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ, ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ, ทักษะด้าน คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้และ ความมี เมตตากรุณา มีวินัย คุณธรรม และจริยธรรม กิจกรรมที่ทำ 1. ร่วมกันวิพากษ์ให้ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่องการหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง 2. ดำเนินการปรับปรุง แก้ไข เพื่อให้ได้แผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่องการหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง ผลที่ได้จากกิจกรรม 1. ได้แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่องการหา ความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง การนำผลที่ได้ไปใช้ 1. นำแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่องการหา ความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่งไปใช้ ลงชื่อ ผู้บันทึก (นางปภังกร นาเมืองรักษ์) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
15 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ที่ ชื่อ-สกุล บทบาท ลายมือชื่อ 1 นางปภังกร นาเมืองรักษ์ MODEL TEACHER 2 นางอาณัชยา จินดาศรี BUDDY TEACHER 3 นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ EXPERT 4 นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ MENTOR 5 ดร.ศราวุฒิ สนใจ ADMINISTRATOR เสนอรองผู้อำนวยการตรวจสอบก่อนรับรอง [ ✓] ถูกต้อง ครบถ้วน ควรรับรองผลการดำเนินงาน จำนวน 2 ชั่วโมง [ ] ไม่รับรอง ลงชื่อ ผู้รับรอง (ดร.ศราวุฒิ สนใจ) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ เสนอผู้อำนวยการตรวจสอบรับรอง [✓] ถูกต้อง ครบถ้วน ควรรับรองผลการดำเนินงาน จำนวน 2 ชั่วโมง [ ] ไม่รับรอง ลงชื่อ ผู้รับรอง (นายเสกสันต์ สัมฤทธิ์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน
16 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ภาพกิจกรรม PLC
17 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) รายวิชาฟิสิกส์ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 การหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง ผลการเรียนรู้ 3 รหัส ว31201 ชั้น ม.4 คาบที่ 19 - 20 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง 1. ตัวชี้วัด 1. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการ เคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของ โลกและคำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายและคำนวณอัตราเร็วเฉลี่ย อัตราเร็วขณะหนึ่ง ความเร็วเฉลี่ย และความเร็วขณะหนึ่งของ วัตถุ (K,P) 2. ทดลองหาขนาดความเร็วเฉลี่ยและขนาดความเร็วขณะหนึ่งของวัตถุ (P) 3. สาระการเรียนรู้ 1. อัตราเร็วเฉลี่ย และอัตราเร็วขณะหนึ่งของวัตถุ 2. ความเร็วเฉลี่ย และความเร็วขณะหนึ่งของวัตถุ 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ความเร็วกับอัตราเร็วเป็นปริมาณที่ต่างกัน โดยความเร็วคือการเปลี่ยนแปลงการกระจัดของวัตถุกับ ช่วงเวลานั้น เป็นปริมาณเวกเตอร์ ส่วนอัตราเร็วเป็นการเปลี่ยนแปลงของระยะทางของวัตถุกับช่วงเวลานั้น เช่นกันและเป็นปริมาณสเกลาร์ การเคลื่อนที่ของวัตถุใด ๆ มีการเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง และบางครั้งมีการเปลี่ยนแปลงทิศทางการ เคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ที่มีขนาดหรือทิศทางของความเร็วเปลี่ยนแปลงไป เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบมีความเร่ง 5. ด้านทักษะ/กระบวนการ 1. อธิบาย/อภิปราย 2. การสืบค้น 3. การบันทึกผล 4. การสรุปความ ข้อมูลประกอบกิจกรรม / ผลที่ได้จากกิจกรรม PLC
18 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 5. การนำเสนอ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. อยู่อย่างพอเพียง 5. มุ่งมั่นในการทำงาน 6. มีจิตสาธารณะ 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การสื่อสาร 2. การทำงานร่วมกัน 3. การคิดและการแก้ปัญหา 4. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 9. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls) R1- Reading (อ่านออก) R2- (W)Riting (เขียนได้) R3- (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น) C1 – ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา C2 – ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม C4 – ทักษะด้านความร่วมมือ ทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ C6 – ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร L1 – Learning (ทักษะการเรียนรู้)
19 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 10. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ บูรณาการหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (WRYT Model) บูรณาการกับหลักจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 11. กิจกรรมการเรียนรู้: สืบเสาะหาความรู้ 5E ขั้นนำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนความหมายเกี่ยวกับความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง 2. ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับการหาความเร็วในกิจกรรมต่าง ๆ ในวิชาฟิสิกส์ ขั้นสอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. แบงนักเรียนออกเปนกลุม ๆ ละ 5-6 คน 2. นักเรียนทำกิจกรรมทดลองที่ 2.1 การหาขนาดความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง 3. นักเรียนรวมกันทดลองและบันทึกผลการทดลองลงในใบกิจกรรมที่ 2.1 การหาขนาดความเร็วเฉลี่ย และความเร็วขณะหนึ่ง 4. ครูสุ่มให้นักเรียนมานำเสนอผลการทดลองกิจกรรมที่ 2.1 การหาขนาดความเร็วเฉลี่ยและความเร็ว ขณะหนึ่ง อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทดลองดังนี้ จากลักษณะของจุดตาง ๆ ที่ปรากฏบนแถบกระดาษบงบอกถึงการเคลื่อนที่ของรถทดลอง ถาชวง จุดกว้าง รถทดลองจะเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วสูงกวาในชวงที่มีชวงจุดแคบกวา เนื่องจากแตละชวง จุดใชเวลาเทากัน ถาระยะระหวางจุดมากแสดงวาระยะทางมาก ความเร็วเฉลี่ยก็จะมีคามาก ดวยเชนกัน จากการสังเกตจุดบนแถบกระดาษที่ไดจากการทดลอง จะพบวารถทดลองเคลื่อนที่ดวย ความเร็วไมคงตัว ในการหาคาความเร็วเฉลี่ยของรถทดลองตลอดการเคลื่อนที่หาไดจากการนํา ระยะทาง ทั้งหมดหารดวยเวลาที่ใชทั้งหมด โดยในแตละชวงจุดบนแถบกระดาษใชเวลาเทากันคือ 1/50 วินาที ไมวาชวง จุดจะกวางหรือแคบก็ตาม 2. ครูใหความรูเรื่องความเร็วขณะหนึ่งวา สามารถหาได โดยการหาอัตราเร็วเฉลี่ยในชวงเวลาสั้นๆ ซึ่ง จาก ขอมูลการเคลื่อนที่ที่บันทึกขอมูลผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลาลงบนแถบกระดาษ ถาวัดระยะ 2 ชวงจุดที่ติดกัน(จุด 3 จุด) ซึ่งบันทึกเวลาหางกัน 2/50 วินาทีอัตราเร็วเฉลี่ยที่ไดถือวาเปนอัตรา เร็ว ณ จุดกึ่งกลางเวลานั้น ซึ่งเรียกวา ความเร็วขณะหนึ่ง (instantaneous speed)
20 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ขั้นสรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อลงขอสรุปที่วา ความเร็วเฉลี่ยกับความเร็วขณะหนึ่งของวัตถุมี ค่าเท่ากัน เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวตลอดการเคลื่อนที่ ส่วนในกรณีความเร็วขณะหนึ่งไม่ คงตัว ส่วนใหญ่จะมีค่าไม่เท่ากัน แต่บางขณะอาจมีค่าเท่ากันได้ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครูวัดและประเมินการปฏิบัติการ จากการทำใบกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การหาความเร็วเฉลี่ยและ ความเร็วขณะหนึ่ง 12. การวัดและประเมินผล เครื่องมือ รายการประเมิน เกณฑ์การผ่าน ใบกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การหาความเร็ว เฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง ผลการเรียนรู้ที่ 3 คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป แบบประเมินทักษะ/ กระบวนการ 1. อธิบาย / อภิปราย 2. การสืบค้น 3. การบันทึกผล 4. การสรุปความ 5. นำเสนอ ระดับคุณภาพตั้งแต่ 2 ขึ้นไป แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์/ จิตวิทยาศาสตร์ 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. อยู่อย่างพอเพียง 5. มุ่งมั่นในการทำงาน 6. มีจิตสาธารณะ ระดับคุณภาพตั้งแต่ 2 ขึ้นไป แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ระดับคุณภาพตั้งแต่ 2 ขึ้นไป แบบประเมินทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การสื่อสาร 2. การทำงานร่วมกัน 3. การคิดและการแก้ปัญหา 4. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับคุณภาพตั้งแต่ 2 ขึ้นไป
21 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 13.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 1 2) ใบกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง 13.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) ห้องสืบค้น บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 2 รหัส ว30103 แผนการจัดการเรียนรู้ที่9 1. ผลการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรมที่ 2.1 นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75 คิดเป็นร้อยละ แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์/จิตวิทยาศาสตร์ ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ แบบประเมินทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 2. ปัญหาและอุปสรรค 3. แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ ครูผู้สอน (นางปภังกร นาเมืองรักษ์)
22 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ความเห็นของผู้บริหาร / ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้แล้วมีความคิดเห็น ดังนี้ 1.เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2.การจัดกิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่าง เหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3.เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ ………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………. (ลงชื่อ)................................................... (นางอัญชลิน ผมงาม) ผู้ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ (ลงชื่อ)................................................... (นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้แล้วมีความคิดเห็น ดังนี้ 1.เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2.การจัดกิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่าง เหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3.เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ ………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………. (ลงชื่อ)................................................... (..................................................) ผู้อำนวยการ / ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
23 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) สรุปผลการประเมินทักษะ/กระบวนการ ที่ ชื่อ-สกุล อธิบาย / อภิปราย การสืบค้น การบันทึกผล การสรุปความ การนำเสนอ รวม 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 15 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 1 - 5 ปรับปรุง 6 - 10 พอใช้ 11 - 15 ดี
24 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์/จิตวิทยาศาสตร์ ที่ ชื่อ-สกุล ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ มุ่งมั่นในการ ทำงาน สรุป 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ จำนวนข้อที่ปฏิบัติได้ ระดับคุณภาพ 1 - 2 ปรับปรุง 3 - 4 พอใช้ 5 - 6 ดี
25 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ที่ ชื่อ-สกุล ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการ คิดความสามารถในการ แก้ปัญหา ความสามารถในการ ใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยี สรุป 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ จำนวนข้อที่ปฏิบัติได้ ระดับคุณภาพ 1 - 2 ปรับปรุง 3 พอใช้ 4 - 5 ดี
26 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) แบบประเมินทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่ ชื่อ-สกุล การสื่อสาร การทำงานร่วมกัน การคิดและการ แก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ สรุป 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ จำนวนข้อที่ปฏิบัติได้ ระดับคุณภาพ 1 ปรับปรุง 2 - 3 พอใช้ 4 ดี
27 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ทดลอง 1 เรื่อง การหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง สมาชิกกลุ่ม ห้อง ม.4/............. 1.........................................................เลขที่ ......... 4..........................................................เลขที่ ......... 2.........................................................เลขที่ ......... 5..........................................................เลขที่ ......... 3.........................................................เลขที่ ......... 6..........................................................เลขที่ ......... จุดประสงค์การทดลอง 1. เพื่อหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่งของการเคลื่อนที่แนวตรง ตารางบันทึกผลกิจกรรม สรุปผลการทำกิจกรรม คำถามท้ายกิจกรรม 1. ระยะห่างระหว่างจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายมีค่าเท่าใด และมีกี่ช่วงจุด
28 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 2. ขนาดของความเร็วเฉลี่ยในข้อ 1. มีค่าเท่าใด 3. ระยะห่างระหว่างจุดที่ 4 และจุดที่ 6 มีค่าเท่าใด และมีกี่ช่วงจุด 4. ขนาดของความเร็วขณะหนึ่ง ณ เวลา 5 50 มีค่าเท่าใด
29 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ชื่อกลุ่มกิจกรรม : เปิดชั้นเรียน ครั้งที่ 3 ว/ด/ป ที่กิจกรรม 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 10.20 - 12.00 น. จำนวนชั่วโมง 2 ชั่วโมง จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ 5 คน บทบาท MODEL TEACHER BUDDY TEACHER EXPERT MENTOR ADMINISTRATOR ที่ ชื่อ – นามสกุล บทบาทสมาชิก 1. นางปภังกร นาเมืองรักษ์ 2. นางอาณัชยา จินดาศรี 3. นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ 4. นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ 5. ดร.ศราวุฒิ สนใจ ชื่อกิจกรรม/ประเด็นที่จะพัฒนา 1. การเปิดชั้นเรียนเพื่อสังเกตการจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่องการหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง ของ MODEL TEACHER สาเหตุของปัญหา 1. จากการทดสอบผลเรียนรู้ในปีการศึกษาที่ผ่านมาของนักเรียนมีคะแนนต่ำในเรื่องการหาความเร็วเฉลี่ย และความเร็วขณะหนึ่ง 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมายังไม่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เท่าที่ควร 3. อุปกรณ์การทดลองในห้องปฏิบัติการมีไม่เพียงพอ ความรู้/หลักการที่นำมาใช้ 1. การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 2. ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3. จิตวิทยาการเรียนรู้ 4. การวัดผลและประเมินผล 5. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่ทำ 1. สมาชิกร่วมสังเกตการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2. สมาชิกประเมินการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์
30 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ผลที่ได้จากกิจกรรม 1. ได้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อไปปรับปรุงกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่องการหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่งในครั้งต่อไป 2. ได้ทราบจุดเด่น-จุดด้อยจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 เรื่องการหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง การนำผลที่ได้ไปใช้ 1. นำผลที่ได้จากการประเมินไปปรับปรุง แก้ไข พัฒนาต่อไป ลงชื่อ ผู้บันทึก (นางปภังกร นาเมืองรักษ์) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
31 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ที่ ชื่อ-สกุล บทบาท ลายมือชื่อ 1 นางปภังกร นาเมืองรักษ์ MODEL TEACHER 2 นางอาณัชยา จินดาศรี BUDDY TEACHER 3 นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ EXPERT 4 นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ MENTOR 5 ดร.ศราวุฒิ สนใจ ADMINISTRATOR เสนอรองผู้อำนวยการตรวจสอบก่อนรับรอง [ ✓] ถูกต้อง ครบถ้วน ควรรับรองผลการดำเนินงาน จำนวน 2 ชั่วโมง [ ] ไม่รับรอง ลงชื่อ ผู้รับรอง (ดร.ศราวุฒิ สนใจ) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ เสนอผู้อำนวยการตรวจสอบรับรอง [✓] ถูกต้อง ครบถ้วน ควรรับรองผลการดำเนินงาน จำนวน 2 ชั่วโมง [ ] ไม่รับรอง ลงชื่อ ผู้รับรอง (นายเสกสันต์ สัมฤทธิ์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน
32 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ภาพกิจกรรม PLC
33 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครูผู้ร่วมสังเกตการสอน นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ บทบาท EXPERT วิชาที่สอน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 รหัสวิชา ว30103 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ผู้สอน นางปภังกร นาเมืองรักษ์ ระดับการปฏิบัติ 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง ที่ รายการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ระดับการประเมิน 5 4 3 2 1 ด้านผู้สอน 1 แนะนำแนวการสอนตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ /ชิ้นงาน/ภาระงานการวัดและ ประเมินผลแก่ผู้เรียน ✓ 2 ความรู้ ความสามารถของครูผู้สอน ✓ 3 ความมีคุณธรรม จริยธรรมของผู้สอน ✓ 4 บุคลิกภาพโดยรวมของครูผู้สอน ✓ 5 การเตรียมความพร้อม เตรียมการสอน ✓ 6 ความตรงต่อเวลา ✓ 7 ความสามารถในการจัดการชั้นเรียน และแก้ปัญหาในชั้นเรียน ✓ ด้านเนื้อหา 8 เนื้อหาที่สอนมีความน่าสนใจ ทันสมัย ✓ 9 เนื้อหาครอบคลุมและสอดคล้องกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ✓ 10 เนื้อหามีความเหมาะสมกับระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน ✓ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน 11 ดำเนินการสอนอย่างเป็นลำดับตามขั้นตอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ✓ 12 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ✓ 13 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกค้นคว้า รวบรวมข้อมูล คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ✓ 14 พัฒนางานโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ✓ 15 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการคิด (Active Learning) ✓ 16 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ✓ 17 จัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่ดึงดูดความสนใจก่อให้เกิดความสุขแก่ผู้เรียน ✓ ข้อมูลประกอบกิจกรรม / ผลที่ได้จากกิจกรรม PLC
34 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ที่ รายการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ระดับการประเมิน 5 4 3 2 1 ด้านสื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน 18 มีเอกสารและสื่อประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ✓ 19 สื่อที่ใช้สามารถเชื่อมโยงกับเนื้อหาที่สอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น ✓ 20 มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน ✓ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียน 21 มีวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง ✓ 22 มีวิธีการประเมินผลที่หลากหลาย ✓ 23 มีการประเมินผลที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/ กิจกรรมการเรียนรู้ ✓ 24 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผล ✓ 25 มีเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงานที่เหมาะสม ✓ รวมคะแนนรายข้อ 95 24 รวมทั้งคะแนนหมด 119 เกณฑ์การแปลความหมาย คะแนน 25 – 44 หมายถึง ปรับปรุง คะแนน 45 – 64 หมายถึง พอใช้ คะแนน 65 – 84 หมายถึง ปานกลาง คะแนน 85 – 104 หมายถึง ดี คะแนน 105 – 125 หมายถึง ดีมาก ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ผู้สังเกตการสอน (นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
35 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครูผู้ร่วมสังเกตการสอน นางอาณัชยา จินดาศรี บทบาท BUDDY TEACHER วิชาที่สอน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 รหัสวิชา ว30103 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ผู้สอน นางปภังกร นาเมืองรักษ์ ระดับการปฏิบัติ 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง ที่ รายการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ระดับการประเมิน 5 4 3 2 1 ด้านผู้สอน 1 แนะนำแนวการสอนตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ /ชิ้นงาน/ภาระงานการวัดและ ประเมินผลแก่ผู้เรียน ✓ 2 ความรู้ ความสามารถของครูผู้สอน ✓ 3 ความมีคุณธรรม จริยธรรมของผู้สอน ✓ 4 บุคลิกภาพโดยรวมของครูผู้สอน ✓ 5 การเตรียมความพร้อม เตรียมการสอน ✓ 6 ความตรงต่อเวลา ✓ 7 ความสามารถในการจัดการชั้นเรียน และแก้ปัญหาในชั้นเรียน ✓ ด้านเนื้อหา 8 เนื้อหาที่สอนมีความน่าสนใจ ทันสมัย ✓ 9 เนื้อหาครอบคลุมและสอดคล้องกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ✓ 10 เนื้อหามีความเหมาะสมกับระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน ✓ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน 11 ดำเนินการสอนอย่างเป็นลำดับตามขั้นตอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ✓ 12 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ✓ 13 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกค้นคว้า รวบรวมข้อมูล คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ✓ 14 พัฒนางานโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ✓ 15 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการคิด (Active Learning) ✓ 16 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ✓ 17 จัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่ดึงดูดความสนใจก่อให้เกิดความสุขแก่ผู้เรียน ✓ ข้อมูลประกอบกิจกรรม / ผลที่ได้จากกิจกรรม PLC
36 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ที่ รายการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ระดับการประเมิน 5 4 3 2 1 ด้านสื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน 18 มีเอกสารและสื่อประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ✓ 19 สื่อที่ใช้สามารถเชื่อมโยงกับเนื้อหาที่สอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น ✓ 20 มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน ✓ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียน 21 มีวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง ✓ 22 มีวิธีการประเมินผลที่หลากหลาย ✓ 23 มีการประเมินผลที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/ กิจกรรมการเรียนรู้ ✓ 24 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผล ✓ 25 มีเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงานที่เหมาะสม ✓ รวมคะแนนรายข้อ 110 12 รวมทั้งคะแนนหมด 122 เกณฑ์การแปลความหมาย คะแนน 25 – 44 หมายถึง ปรับปรุง คะแนน 45 – 64 หมายถึง พอใช้ คะแนน 65 – 84 หมายถึง ปานกลาง คะแนน 85 – 104 หมายถึง ดี คะแนน 105 – 125 หมายถึง ดีมาก ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ผู้สังเกตการสอน (นางอาณัชยา จินดาศรี) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
37 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครูผู้ร่วมสังเกตการสอน นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ บทบาท MENTOR วิชาที่สอน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 รหัสวิชา ว30103 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ผู้สอน นางปภังกร นาเมืองรักษ์ ระดับการปฏิบัติ 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง ที่ รายการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ระดับการประเมิน 5 4 3 2 1 ด้านผู้สอน 1 แนะนำแนวการสอนตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ /ชิ้นงาน/ภาระงานการวัดและ ประเมินผลแก่ผู้เรียน ✓ 2 ความรู้ ความสามารถของครูผู้สอน ✓ 3 ความมีคุณธรรม จริยธรรมของผู้สอน ✓ 4 บุคลิกภาพโดยรวมของครูผู้สอน ✓ 5 การเตรียมความพร้อม เตรียมการสอน ✓ 6 ความตรงต่อเวลา ✓ 7 ความสามารถในการจัดการชั้นเรียน และแก้ปัญหาในชั้นเรียน ✓ ด้านเนื้อหา 8 เนื้อหาที่สอนมีความน่าสนใจ ทันสมัย ✓ 9 เนื้อหาครอบคลุมและสอดคล้องกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ✓ 10 เนื้อหามีความเหมาะสมกับระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน ✓ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน 11 ดำเนินการสอนอย่างเป็นลำดับตามขั้นตอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ✓ 12 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ✓ 13 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกค้นคว้า รวบรวมข้อมูล คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ✓ 14 พัฒนางานโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ✓ 15 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการคิด (Active Learning) ✓ 16 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ✓ 17 จัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่ดึงดูดความสนใจก่อให้เกิดความสุขแก่ผู้เรียน ✓ ข้อมูลประกอบกิจกรรม / ผลที่ได้จากกิจกรรม PLC
38 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ที่ รายการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ระดับการประเมิน 5 4 3 2 1 ด้านสื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน 18 มีเอกสารและสื่อประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ✓ 19 สื่อที่ใช้สามารถเชื่อมโยงกับเนื้อหาที่สอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น ✓ 20 มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน ✓ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียน 21 มีวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง ✓ 22 มีวิธีการประเมินผลที่หลากหลาย ✓ 23 มีการประเมินผลที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/ กิจกรรมการเรียนรู้ ✓ 24 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผล ✓ 25 มีเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงานที่เหมาะสม ✓ รวมคะแนนรายข้อ 115 8 รวมทั้งคะแนนหมด 123 เกณฑ์การแปลความหมาย คะแนน 25 – 44 หมายถึง ปรับปรุง คะแนน 45 – 64 หมายถึง พอใช้ คะแนน 65 – 84 หมายถึง ปานกลาง คะแนน 85 – 104 หมายถึง ดี คะแนน 105 – 125 หมายถึง ดีมาก ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ผู้สังเกตการสอน (นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
39 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ชื่อกลุ่มกิจกรรม : สรุปผลการพัฒนาผู้เรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้น ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ครั้งที่ 4 ว/ด/ป ที่กิจกรรม 18 กรกฎาคม 2566 เวลา 15.30 - 16.30 น. จำนวนชั่วโมง 1 ชั่วโมง จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ 5 คน บทบาท MODEL TEACHER BUDDY TEACHER EXPERT MENTOR ADMINISTRATOR ที่ ชื่อ – นามสกุล บทบาทสมาชิก 1. นางปภังกร นาเมืองรักษ์ 2. นางอาณัชยา จินดาศรี 3. นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ 4. นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ 5. ดร.ศราวุฒิ สนใจ ชื่อกิจกรรม/ประเด็นที่จะพัฒนา 1. การสรุปผลการจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่องการหา ความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง สาเหตุของปัญหา 1. จากการทดสอบผลเรียนรู้ในปีการศึกษาที่ผ่านมาของนักเรียนมีคะแนนต่ำในเรื่องการหาความเร็วเฉลี่ย และความเร็วขณะหนึ่ง 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมายังไม่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เท่าที่ควร ความรู้/หลักการที่นำมาใช้ 1. การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 2. ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3. จิตวิทยาการเรียนรู้ 4. การวัดผลและประเมินผล 5. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่ทำ 1. สมาชิกร่วมสังเกตการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์
40 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 2. สมาชิกประเมินการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผลที่ได้จากกิจกรรม 1. ได้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อไปปรับปรุงกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่องการหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่งในครั้งต่อไป 2. ได้ทราบจุดเด่น-จุดด้อยจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 เรื่องการหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง การนำผลที่ได้ไปใช้ 1. นำผลที่ได้จากการประเมินไปปรับปรุง แก้ไข พัฒนาเรื่องการหาความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะหนึ่ง ต่อไป ลงชื่อ ผู้บันทึก (นางปภังกร นาเมืองรักษ์) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
41 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ที่ ชื่อ-สกุล บทบาท ลายมือชื่อ 1 นางปภังกร นาเมืองรักษ์ MODEL TEACHER 2 นางอาณัชยา จินดาศรี BUDDY TEACHER 3 นางสาวนิธิกานต์ ธนิตชัยพัฒน์ EXPERT 4 นางศิราภรณ์ พิมพ์ศิริ MENTOR 5 ดร.ศราวุฒิ สนใจ ADMINISTRATOR เสนอรองผู้อำนวยการตรวจสอบก่อนรับรอง [ ✓] ถูกต้อง ครบถ้วน ควรรับรองผลการดำเนินงาน จำนวน 2 ชั่วโมง [ ] ไม่รับรอง ลงชื่อ ผู้รับรอง (ดร.ศราวุฒิ สนใจ) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ เสนอผู้อำนวยการตรวจสอบรับรอง [✓] ถูกต้อง ครบถ้วน ควรรับรองผลการดำเนินงาน จำนวน 2 ชั่วโมง [ ] ไม่รับรอง ลงชื่อ ผู้รับรอง (นายเสกสันต์ สัมฤทธิ์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน
42 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ภาพกิจกรรม PLC
43 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครูผู้สอน นางปภังกร นาเมืองรักษ์ บทบาท MODEL TEACHER วิชาที่สอน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 รหัสวิชา ว30103 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/3 สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้ร่วมสังเกตการสอน(คนที่) สรุปผลคะแนนประเมิน 1 119 2 122 3 122 4 123 รวมคะแนน 486 คะแนนเฉลี่ย 121.5 เกณฑ์การแปลความหมาย คะแนน 25 – 44 หมายถึง ปรับปรุง คะแนน 45 – 64 หมายถึง พอใช้ คะแนน 65 – 84 หมายถึง ปานกลาง คะแนน 85 – 104 หมายถึง ดี คะแนน 105 – 125 หมายถึง ดีมาก สรุปได้ว่า ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับดีมาก ข้อมูลประกอบกิจกรรม / ผลที่ได้จากกิจกรรม PLC
44 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครูผู้สอน นางปภังกร นาเมืองรักษ์ บทบาท MODEL TEACHER วิชาที่สอน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 รหัสวิชา ว30103 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/3 สรุปผลการประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 หัวข้อประเมิน จำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน(คน) ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง Reading 39 Writing 39 Arithmetic 39 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา 39 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 39 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ 39 ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ 39 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 39 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ 39 ความมีเมตตากรุณา มีวินัย คุณธรรม และจริยธรรม 39 รวม 390 ร้อยละ 100 ระดับดีขึ้นไปร้อยละ 100 สรุปได้ว่า ผลการประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ระดับดีขึ้นไปร้อยละ 100 ข้อมูลประกอบกิจกรรม / ผลที่ได้จากกิจกรรม PLC
45 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้าน จำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ความรู้ 28 11 - - ทักษะกระบวนการ 37 2 - - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 37 2 - - รวม 102 15 - - ร้อยละ 87.18 12.82 0.00 0.00 สรุปได้ว่า ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระดับดีขึ้นไปร้อยละ 100 0 5 10 15 20 25 30 35 40 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ข้อมูลประกอบกิจกรรม / ผลที่ได้จากกิจกรรม PLC
46 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)