รายงานวิจยั ในชนั้ เรียน
เรือ่ ง รปู แบบการจดั การเรียนการสอนออนไลนท์ เี่ หมาะสมสาหรบั นกั เรยี น
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวชิ าวทิ ยาการคานวณ 3 รหสั วิชา ว22103
กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
นางสาวสุพรรณี ดวงมรกต
ครู โรงเรยี นมธั ยมวดั ศรจี นั ทร์ประดษิ ฐ์ ในพระบรมราชานุเคราะห์
โรงเรียนมธั ยมวดั ศรีจันทรป์ ระดษิ ฐ์ ในพระบรมราชานุเคราะห์
สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 6
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
บันทกึ ขอ้ ความ
ส่วนราชการ โรงเรยี นมธั ยมวดั ศรจี นั ทรป์ ระดษิ ฐ์ ในพระบรมราชานเุ คราะห์
ที่ ศป.บว.21/ วนั ที่
เร่อื ง ขออนุญาตรายงานวจิ ยั ในชั้นเรียน
เรยี น ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวดั ศรีจันทรป์ ระดษิ ฐ์ ในพระบรมราชานุเคราะห์
ตามท่ีข้าพเจ้านางสาวสุพรรณี ดวงมรกต ตาแหน่ง ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติการสอนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 รหัสวิชา ว22103 รายวิชา วิทยาการ
คานวณ 3 จานวน 0.5 หน่วยกิต ในภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 น้นั
ข้าพเจ้าจึงได้จัดทารายงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ท่ีเหมาะสมสาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาวิทยาการคานวณ 3 รหัสวิชา ว22103 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ได้จัดทาข้ึนเพื่อรายงานวิจัย
ในชัน้ เรียน ซ่ึงในรายงานฉบับน้ีได้กล่าวถึงความเป็นมาและความสาคญั ของการวจิ ยั วัตถุประสงคข์ องการวิจัย
ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง วิธีดาเนินการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการวิจัย และข้อเสนอแนะ เพื่อเป็น
แนวทางให้ครูผู้สอนได้รับทราบ และใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีสอน
ใหม้ ีคุณภาพ ตรงตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ดั ในหลกั สตู รต่อไป
จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุญาต
(นางสาวสพุ รรณี ดวงมรกต)
ตาแหน่ง ครู
ความเหน็ ของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ความเหน็ ของหัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ
....................................................................................... .......................................................................................
....................................................................................... .......................................................................................
(ลงชอ่ื )............................................................ (ลงช่ือ)............................................................
(นางสาวสุพรรณี ดวงมรกต) (นางปานทอง แสงจนั ทร์งาม)
หวั หนา้ กลุ่มบริหารวิชาการ
หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี .........../.............../..............
.........../.............../..............
ความเหน็ ของผู้อานวยการสถานศึกษา
ความเหน็ ของรองผูอ้ านวยการสถานศึกษา .........................................................................................
.......................................................................................
.........................................................................................
.......................................................................................
(ลงชื่อ)............................................................ (ลงชือ่ )............................................................
(นายพรอ้ มพนั ธ์ุ ลายลักษณ์) (นางสาวชลารกั ษ์ สายอุทัศน์)
รองผอู้ านวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ผ้อู านวยการโรงเรียนมธั ยมวดั ศรจี ันทร์ประดิษฐ์ ในพระบรมราชานุเคราะห์
.........../.............../..............
.........../.............../.............
กติ ตกิ รรมประกาศ
การวิจัยในครั้งนี้จะสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ผู้วิจัยขอขอบคุณนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียน
มัธยมวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ ในพระบรมราชานุเคราะห์ และครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีท่ีมีส่วนร่วมในการเสนอรูปแบบวิธีการสอนและวิธีการแก้ปัญหาการเรียนของนักเรียนในช่วง
สถานการณ์ไวรัสโคโรนา่ 2019 (COVID-19) เป็นอยา่ งดี อันเปน็ แนวทางในการแก้ปัญหาการเข้าเรยี นและการ
ส่งงานของนักเรียนในรายวิชาวิทยาการคานวณ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 จนนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนที่สูงขน้ึ
ผู้วิจยั
ชื่อเรอ่ื ง รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนออนไลนท์ ี่เหมาะสมสาหรบั นักเรยี น ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2
รายวชิ าวิทยาการคานวณ 3 รหัสวชิ า ว22103 กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564
Title The Suitable Model of Online Learning and Teaching for high school students 2 years
ผู้วจิ ยั นางสาวสพุ รรณี ดวงมรกต
ลักษณะประชากรทศี่ ึกษา นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2
โรงเรียนมัธยมวัดศรจี ันทร์ประดิษฐ์ ในพระบรมราชานุเคราะห์ จานวน 236 คน
ระยะเวลา เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2564 ถงึ เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2564
บทคัดยอ่
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังน้ี เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ท่ี
เหมาะสมสาหรับนักเรียนนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลนท์ ่ี
และเพอ่ื วดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนภายหลังการพัฒนารปู แบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ประชากรและ
กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนมัธยมวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ ในพระบรมราชานุเคราะห์
ทเ่ี รียนวชิ าวิทยาการคานวณ 3 รหัสวชิ า ว22103 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 235 คน เครื่องมือ
ที่ใช้ในการวิจัย สื่อการสอนออนไลน์ คลิปส่ือการสอน สื่อพาวเวอร์พอยต์ เกม เว็บไซต์ ใบภารกิจ ตามเนื้อหา
ในบทเรียน แบบบันทึกการเข้าเรียนหรือเข้าศึกษาเพิ่มเติมและการส่งงานของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่า
รูปแบบการเรียนของนักเรียน แบ่งได้ 3 รูปแบบ คือ รูปแบบท่ี 1 นักเรียนสามารถเข้าเรียนออนไลน์ได้ตาม
ช่ัวโมงเรียน รูปแบบที่ 2 คือ นักเรียนสามารถเข้าเรียนออนไลน์ได้เป็นบางครั้ง รูปแบบที่ 3 นักเรียนไม่
สามารถเรียนออนไลน์ได้ ทาให้ครูผู้สอนใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนหลัก ๆ 6 รูปแบบ ได้แก่ 1) การ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้แอปพลิเคช่ันการประชุมทางวิดีโอ เช่น Google Meet, Google
classroom, Line, Facebook Live 2) การจัดการเรียนการสอนออนไลนโ์ ดยใช้คลปิ วดิ โี อ โดยครูผูส้ อนจัดทา
คลิปวิดีโอการสอนท่ีสอดคล้องกับเนื้อหาที่จะสอนจากน้ันอัพโหลดคลิปข้ึน YouTube หรืออัพขึ้น Facebook
3) การจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้เกม ครูผู้สอนใช้เกมออนไลน์หรือสร้างเกมข้ึนมาโดยสอดคล้องกับ
เน้ือหาท่ีสอน 4) การจัดการเรียนการสอนแบบใช้เอกสาร จัดทาใบความรู้ หรือใบภารกิจให้นักเรียนที่ไม่
สามารถเรยี นออนไลนท์ าส่ง 5) การจดั การเรยี นการสอนแบบผสมผสาน เป็นรปู แบบการผสมผสานการจัดการ
เรียนการสอนหลายรูปแบบเข้าด้วยกันตามความเหมาะสมของเน้ือหาและสถานการณ์ เช่น นาคลิปวิดีโอไป
เปิดสอนในแอปพลิเคช่ันการประชุมทางวิดีโอ การสอนแบบให้นักเรียนเล่นเกมระหว่างกานสอน หรือให้
นักเรียนทาใบภารกิจควบคไู่ ปกบั การสอนออนไลน์ เป็นตน้
สารบญั หนา้
ก
กิตตกิ รรมประกาศ ข
บทคดั ย่อ ค
สารบญั 1
บทท่ี 1 บทนา 1
2
ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา 2
วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 2
ขอบเขตของการวจิ ัย 3
ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รบั 3
บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง 6
การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ 8
รูปแบบการเรยี นการสอนท่ีเลือกใชแ้ ละเทคนิคการสอน 9
วธิ สี อนออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพและผลสมั ฤทธิ์ท่ดี ี 10
งานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง 11
กรอบแนวคิด 11
บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนินการวิจัย 11
ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง 11
ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย 11
เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวิจัย 13
วธิ ีดาเนินการวจิ ยั 13
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 14
ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 14
บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 14
วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 14
วธิ กี ารดาเนนิ การวจิ ัย 15
สรุปผลการวิจัย 16
ข้อเสนอแนะเพื่อการทาวจิ ยั ในครัง้ ตอ่ ไป
บรรณานุกรม
บทที่ 1
บทนา
1. ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา
การจัดการศึกษาไทยในสังคมปัจจุบันได้รับอิทธิพลจากกระแสโลกาภิวฒั น์ท่ีมีการเชอ่ื มโยงในทุกดา้ น
ท่ัวโลก มีผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายองค์ความรู้ การเปิดเสรีทางการศึกษาอันมีผลทาให้เกิดการผลักดันให้
สถาบันการศึกษาไทยต้องพัฒนาการจัดการศึกษาที่มีความเป็นสากลเป็นท่ียอมรับทัดเทียมในระดับสากลมาก
ขึ้นซ่ึงสถาบันการศึกษาในปัจจุบันได้พยายามคิดค้นหรือนานวัตกรรมทางการศึกษาที่แปลกใหม่มาประยุกตใ์ ช้
ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนในหลายลักษณะด้วยกัน เช่น การศึกษาทางไกล การเรียนรู้ผ่าน
ระบบออนไลน์ การเรียนรู้ผ่าน Video Conference, Website, e-Learning และ Webpage (ณิรดา เวชญา
ลักษณ์, 2561)
การศึกษาออนไลน์ (Online Education) หรือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (Online Learning
and Teaching) เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาในยุคใหม่ภายใต้อิทธิพลการขับเคล่ือนของเทคโนโลยีเครือข่าย
คอมพวิ เตอร์ (Computer Networks) และโลกแหง่ อินเทอรเ์ น็ต (Internet) ที่มกี ารเช่อื มโยงและใช้ประโยชน์
กันอย่างกว้างไกลแทบทุกมุมโลก ซึ่งการศึกษาออนไลน์ท่ีเกิดขึ้นนี้จะมีกรอบแนวความคิดของการใช้ที่สาคัญ
คือการรวมกลุ่มกันทางสังคมแห่งการเรียนรู้เพ่ือจุดประสงค์รว่ มกันในการสื่อสารและการสง่ ผ่านความรูร้ ่วมกัน
ในสังคมออนไลน์ เรียกว่า “สังคมแห่งการแสวงหาความรู้หรือสังคมแห่งปัญญา” (Community of Inquiry)
ในโลกแห่งสังคมแห่งภูมิปัญญาหรือการแสวงหาความรู้น้ีเทคโนโลยีทางการเรียนอิเล็กทรอนิกส์(Electronics
Learning) จะมีบทบาทและประสิทธิภาพค่อนข้างสูงในการสร้างและเช่ือมโยงองค์ความรู้ในวิถีทางหรือ
รูปแบบตา่ ง ๆ ใหบ้ ังเกดิ ข้ึนในกจิ กรรมทางการเรียนเทคโนโลยที ีเ่ ป็นฐานสาคัญในการสร้างสรรค์บทบาทางการ
เรียนการสอนทางไกลดังกลา่ วคือ “คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การเรียนทางไกล” ที่มีความแตกต่างจากการเรียนทางไกล
แบบดั้งเดิมท่ัวไป เทคโนโลยีดงั กล่าวจะชว่ ยสนับสนุนและสร้างการมสี ่วนรว่ มและการเสริมสร้างประสบการณ์
ทางการเรยี นรใู้ หเ้ กิดข้ึนในระบบการสอนน้ัน ๆ (สรุ ศักดิ์ ปาเฮ, 2561)
การระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ส่งผลต่อระบบการศึกษาเป็นอย่างมาก ต้ังแต่
เชื้อไวรัสเร่ิมระบาดในประเทศจีนปลายปีท่ีแล้วจนถึงปัจจุบัน UNESCO รายงานว่ารัฐบาล 191 ประเทศ
ท่ัวโลก ประกาศปิดสถานศึกษาท้ังประเทศ มีผู้เรียนได้รับผลกระทบกว่า 1.5 พันล้านคน หรือมากกว่าร้อยละ
90 ของผู้เรียนทั้งหมดในโลกได้รับผลกระทบ ถูกปั่นป่วนกระบวนการเรียนรู้ และบางส่วนยังประสบปัญหา
เร่อื งการเข้าถงึ เทคโนโลยีท่ีเข้ามามีบทบาทในโลกการศึกษาแบบปัจจุบนั ทันดว่ น ชีใ้ หเ้ ห็นถึงประเดน็ ดา้ นความ
เหลื่อมล้าที่อาจรุนแรงสาหัสมากขึ้นเป็นทวีคูณ การมาเยือนของวิกฤตโรคระบาดทาให้เกิดคาถามเกี่ยวกับ
ระบบการศึกษาหลากหลายด้าน เป็นต้นว่า เราจะออกแบบการเรียนรู้ในยุคโควิด-19 ให้มีประสิทธิภาพได้
อย่างไร ทักษะและหลักสูตรการศึกษารูปแบบใหม่ควรเป็นอย่างไร เทคโนโลยีจะเข้ามามีบทบาทด้านการ
เรียนรู้หรือทาให้ความเหลื่อมล้าย่าแยก่ ว่าเดิม ประเทศไทยจึงทบทวนบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อเตรียมตวั
ให้พร้อมในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ที่สอดรับกับมาตรการป้องกันการระบาด พร้อมกับเตรียม
มาตรการต่าง ๆ เพอ่ื ป้องกันไมใ่ หผ้ เู้ รียนไดร้ ับผลกระทบจากรปู แบบการเรยี นทเี่ ปลย่ี นไป
2
ด้วยวิกฤติการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) ทาให้โรงเรียนมัธยมวัดศรีประดษิ ฐ์
ในพระบรมราชานุเคราะห์ต้องปรบั การเรยี นการสอนจากการเรยี นการสอนในห้องเรยี น เป็นการเรยี นการสอน
ผ่านระบบออนไลน์ทาให้ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนและผู้ปกครอง จะต้องปรับเปล่ียน
พฤติกรรมการเรียนในรูปแบบใหม่ เพ่ือให้กระบวนการเรียนการสอนดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย
และมีประสทิ ธิภาพ
จากปัญหาข้างต้นทาให้ผู้ วิจัยมีคว ามส นใจท่ีจ ะ ศึก ษา ส ภ าพ การจัด การเรียน การส อนอ อ น ไ ล น์
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา
วิทยาการคานวณ 3 รหัสวิชา ว22103 เพื่อนาไปสู่การปรับปรุงและแก้ไขการเรียนการสอนออนไลน์
ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน อีกท้ังยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการ
สอนในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ต่อไปในอนาคต
2. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั
2.1 เพอ่ื ศึกษารูปแบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ทเี่ หมาะสมสาหรบั นักเรยี นนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 2
2.2 เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ท่ีเหมาะสมสาหรับนักเรียนนักเรียนชั้น
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2
2.3 เพ่อื ให้นักเรียนมีผลสมั ฤทธิส์ งู ขน้ึ
3. ขอบเขตของการวจิ ยั
3.1 ขอบเขตเน้อื หา
เน้ือหาที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เป็นบทเรียนในรายวิชาวิทยาการคานวณ 3 รหัสวิชา ว22103
โดยแบง่ เปน็ 2 หน่วยการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 1 - 2
3.2 ขอบเขตประชากร
3.2.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนรายวิชาวิทยาการ
คานวณ 3 รหัสวิชา ว22103 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน 235 คน ให้ความร่วมมือในการ
ศกึ ษารปู แบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลนท์ ี่เหมาะสม
3.2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คัดเลือกจากนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ท่ีเรียนรายวิชา
วทิ ยาการคานวณ 3 รหัสวชิ า ว22103 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ทงั้ หมด
3.3 ระยะเวลา
เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 ถงึ เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2564 รวมจานวน 20 สัปดาห์
4. ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ บั
4.1 ผู้เรียนมีรปู แบบการจดั การเรียนออนไลนท์ ีเ่ หมาะสม
4.2 ครูผูส้ อนมรี ปู แบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ทเี่ หมาะสมสาหรับนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2
4.3 นักเรยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสูงข้นึ ข้นึ
3
บทท่ี 2
เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง
ในการวจิ ยั ครั้งนี้ ผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ออนไลนท์ ่เี หมาะสมสาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 รายวิชาวทิ ยาการคานวณ 3 รหัสวชิ า ว22103 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
โดยทาการศึกษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวิจัย ทีเ่ กี่ยวข้อง ดังน้ี
1. การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์
2. รูปแบบการเรยี นการสอนที่เลือกใช้และเทคนิคการสอน
3. วธิ ีสอนออนไลน์ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและผลสมั ฤทธิ์ทด่ี ี
1. การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ (ครไู ทยฟรี.คอม, ออนไลน์)
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล (Efficiency in Online Learning
Management of Digital Age) การเรียนการสอนแบบออนไลนเ์ ปน็ วิธกี ารถา่ ยทอดเน้ือหา รูปภาพ วิดโี อ การ
ใช้ส่ือหลายๆประเภท(Multimedia) ร่วมกับการสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
และเทคโนโลยี สมัยใหม่ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่มีความหลายหลาย ทันสมัย สามารถเรียนรู้ด้วย
ตนเองได้ตามความต้องการ ซึ่งการเรียนการสอนแบบออนไลน์มีความจาเป็นมากในปัจจุบัน เน่ืองจากการ
เรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนจาเป็นต้องมีทักษะทางด้านการส่ือสาร การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศ การรู้เท่าทันสื่อ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมท้ังในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019-COVID-19) โดยองค์การอนามัยโลก
ได้ประกาศเป็นภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข ทาให้สถาบันการศึกษาไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้
ตามปกติ
การจัดเรียนการเรียนรู้ทางออนไลน์ในยุคดิจิทัล เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีเปล่ยี นแปลงวิธีเรยี นท่ี
เป็นอยู่เดิมเป็นการเรียนท่ีใช้เทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าสาหรับการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์อย่างมี
ประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดผลลพั ธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งการสอนแบบออนไลน์ เป็นการ
จัดการเรยี นรู้ทผี่ สมผสานองค์ความรู้รว่ มกับนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีท่ีทนั สมัย มีรปู แบบการสอนท่ี
หลากหลาย องคป์ ระกอบของการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ สรุปไดด้ งั นี้
1. ผู้สอน (Instructor) เป็นผู้ถ่ายทอดเน้ือหา องค์ความรู้ต่างๆให้กับผู้เรียนให้เกิดความเข้าใจใน
เนื้อหาประสบการณ์ ความเช่ียวชาญของผู้สอน มีส่วนทาให้การสอนออนไลน์บรรลุเป้าหมาย ซ่ึงบทบาทของ
ผู้สอนเป็นผู้ให้คาแนะนา (Guide) พี่เล้ียง (Mentor) เป็นผู้ฝึก (Coach) อานวยความสะดวก (Facilitators)
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเล็งเห็นศักยภาพของตนเองในด้านการเรียนรู้ รวมถึงการพัฒนาสมรรถนะ ในการ
เรียนทักษะด้านความรู้ที่ใช้ในการทางาน ความสามารถในการใช้เทคนิคต่างๆในการทางานที่สอนกันได้(Hard
Skill) เพือ่ นาไปสู่การปฏิบัติงานท่ีเหมาะสม และการพฒั นาทักษะด้านอารมณ์ ความสามารถในการอยู่ร่วมกับ
ผู้อ่ืน รวมถึงการพัฒนาตนเอง (Soft Skill) อย่างไรก็ตามผู้สอนต้องพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ เพ่อื ส่งเสริมกระบวนการจัดการเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และช่วยใหม้ ีความพร้อมในการแก้ไข
ปัญหาเฉพาะหน้าขณะท่สี อน และควรมกี ารตดิ ตามการเข้าเรียนของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เช่น ความถี่ของการ
4
เข้าเรียน จานวนชั่วโมงการเรียน ปัญหาอุปสรรค ความต้องการในการช่วยเหลือเพิ่มเติมในการเรียน เพื่อให้
ผู้เรยี นได้รบั ประโยชนจ์ ากการเรียนการสอนแบบออนไลน์เพมิ่ ขน้ึ
2. ผู้เรียน (Student) เป็นผู้รับเนื้อหาและองค์ความรู้จากผู้สอน ซึ่งผู้เรียนจาเป็นต้องมีความพร้อม
ในด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ การรู้เท่าทันส่ือ (Digital Literacy) สามารถสืบค้น วิเคราะห์ข้อมูล
ประเมินเนื้อหาอย่างเป็นระบบ โดยใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจเก่ียวกับข้อมูลได้อย่างเหมาะสม มีการ
เตรียมความพร้อมในการเรียนรู้ เช่น การศึกษาขอบเขตของเนื้อหาก่อนเข้าเรียน การสืบค้นข้อมูลที่เก่ียวข้อง
กับการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ การเตรียมระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตให้พร้อมใช้งาน การเตรียมสถานที่
สาหรับการเรียนที่เหมาะสม การติดต่อส่ือสารแบบดิจิทัลกับผู้สอนเพื่อให้สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้
เหมาะสม รวมท้ังมีความฉลาดทางอารมณ์ในการใช้สื่อ (Digital Emotional Intelligence) อย่างเหมาะสม
เช่น การแบ่งปันข้อมูลข่าวสารให้กับคนอ่ืน การมีน้าใจในโลกออนไลน์ เป็นต้น รวมท้ังควรเป็นผู้ที่มีความ
รับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการเรียน การส่งงาน
ตามกาหนด มีการทบทวนความรู้อย่างสม่าเสมอ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการเรียนการสอนแบบ
ออนไลน์
3. เน้ือหา (Content) เป็นส่วนสาคัญท่ีทาให้การเรียนการสอนบรรลุตามวัตถุประสงค์ เนื้อหาควรมี
การออกแบบโครงสร้างตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา มีการวางแผนผังรายวิชาเพ่ือเป็นระบบนาทางเชื่อมโยง
ไปสู่เนอ้ื หาต่างๆในบทเรยี น สาหรับข้อความของเนอ้ื หาควรมคี วามชดั เจน กระชบั เข้าใจง่าย มีการปรับปรุงให้
ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นศึกษาทาความเขา้ ใจได้ดว้ ยตนเองอย่างเหมาะสมควรมีการจัดลาดับข้อมูล
หวั ขอ้ ย่อยต่างๆให้มกี ารเชื่อมโยงกนั และเนื้อหาในบทเรยี นสามารถที่จะสง่ เสริมให้ผ้เู รียนศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเติม
ได้ภายหลังจากการเรียนออนไลน์
4. ส่ือการเรียนและแหล่งเรียนรู้ (Instructional Media & Resources) ถือว่ามีความสาคัญเป็น
อย่างย่ิงต่อการจัดการศึกษา สื่อการสอนท่ีดีจะเป็นส่วนช่วยให้ผู้เรียนสามารถทาความเข้าใจในเนื้อหาขณะที่
เรียนได้ ส่ือท่ีใช้ในการสอนควรที่มีความแปลกใหม่ ดึงดูดความสนใจของผู้เรียนและกระตุ้นการ เรียนรู้ เช่น
วิดีโอ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว สถานการณ์จาลอง บทความวิชาการ เป็นต้น อย่างไรก็ตามผู้สอนควรเลือกใช้
สื่อให้เหมาะสม เช่น ขนาดตัวหนังสือ สี ความคมชัดของรูปภาพ ความถูกต้องของข้อมูล รวมท้ังสื่อที่นามาใช้
ควรมีความสอดคล้องกับเนื้อหาของรายวิชาเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเพิ่มมากข้ึน นอกจากนี้แหล่งเรียนรู้
(Resources) ไดแ้ ก่ หนังสือ ตารา E-book E-Journal ห้องสมุด เปน็ ทางเลือกที่ทาใหผ้ ู้เรียนสามารถเข้าถึงส่ือ
การเรียนรู้ ดว้ ยการสืบคน้ ข้อมลู เพ่ิมเตมิ เพื่อนามาประกอบการเรียน ซ่ึงแหลง่ เรยี นรู้ควรมีความหลากหลายให้
ผเู้ รียนสบื คน้ ไดอ้ ย่างเพยี งพอ ทาใหผ้ ู้สอนไม่จาเปน็ ตอ้ งใส่เน้อื หาในบทเรียนทงั้ หมด
การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์-แหลง่ เรียนรู้
5. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (Learning Process) เป็นกระบวนการออกแบบการเรียนรู้ให้กับ
ผู้เรียนตามหัวข้อ วัตถุประสงค์ เน้ือหา สื่อการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการวัดประเมินผล โดยอาศัย
เทคโนโลยีสารสนเทศ มาออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ภายใต้กระบวนการวิเคราะห์ (Analysis) วางแผน
ออกแบบ (Planning Design) นาไปใช้ (Implement) พัฒนา (Development) ประเมินผล (Evaluation)
หลักสูตรการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ซ่ึงกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้
สามารถนาเน้ือหาไปประยุกตส์ ่กู ารเรยี นรตู้ ามสภาพจริง (Authentic Learning)
การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์-เทคนคิ
6. ระบบการติดต่อสื่อสาร (Communication Systems) มีส่วนสาคัญทาให้การจัดการเรียนการ
สอนแบบออนไลน์ประสบความสาเร็จได้ ซึ่งการติดต่อสื่อสารแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1) การส่ือสาร ทาง
5
เดียว (One-Way Communication) เป็นการถ่ายทอดเนื้อหาผ่านสื่อการสอน เช่น วิดีโอ ( Video)
PowerPoint ภาพน่ิง (Slide) สถานการณ์จาลอง (Scenario) กรณีศึกษา (Case Study) โดยไม่มีปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน 2) การส่ือสารสองทาง (Two-Way Communication) เป็นการถ่ายทอดเนื้อหาผ่าน
สื่อการสอน เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) ระบบการจัดบทเรียน
(Learning Management System: LMS) หรือการเรียนโดยผ่านแอปพลิเคช่ันการประชุมทางวิดีโอ เช่น
Google Hangout Meet, Zoom Meeting, Schoology, Webex, Microsoft Teams เป็นตน้ ซง่ึ ผู้สอนและ
ผู้เรียนสามารถพูดคุย ซักถามร่วมกันได้ในขณะที่สอนและตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนได้ จาก
ประสบการณ์การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ของผู้นิพนธ์ พบว่า การพิจารณาเลือกระบบการ
ติดต่อสือ่ สาร ทาให้เกิดการเรยี นร้ถู งึ จุดเด่น ขอ้ จากัดของโปรแกรม ได้แก่ จานวนผู้เขา้ ใชง้ าน ระยะเวลาใชง้ าน
ความคมชัดของภาพ เสียง ทาให้การเรยี นการสอนแบบออนไลน์มปี ระสทิ ธิภาพและเหมาะสม รวมทั้งการเลือก
ระบบการติดต่อสื่อสารชนิดสองทางผ่านโปรแกรมต่างๆ สามารถส่งเสริมให้ผู้สอนและผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์
รว่ มกนั เพ่มิ ข้นึ ทาให้ผเู้ รียนกล้าทจี่ ะพดู คุยหรอื ซกั ถามกับผ้สู อนไดส้ ะดวกมากข้นึ
การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์-ติดตอ่ ส่อื สาร
7. ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Network Systems) เป็นช่องทางในการอานวยความ
สะดวกให้การเรียนการสอนมีความราบร่ืนได้ ระบบเครือข่ายสารสนเทศ ประกอบด้วย 1) ระบบเครือข่าย
ภายในสถาบัน (Intranet) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสถานศึกษา ซ่ึงให้ผู้เรียนสามารถเข้ามาใช้
เครือข่ายภายในสถานศึกษาสาหรับการเรียนออนไลน์ได้ 2) ระบบเครือข่ายภายนอกสถาบัน (Internet) ท่ี
เช่ือมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ัวโลกเพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารได้รวดเร็ว ซึ่งผู้เรียนสามารถใช้
เครือข่ายอินเตอร์เน็ตสาหรับการเข้าเรยี นออนไลน์ได้ทุกท่ี ทุกเวลา รวมท้ังสืบค้นข้อมูลประกอบการเรียนรไู้ ด้
อย่างไรก็ตาม อาจมีข้อจากัดเก่ียวกับความพร้อมของนักศึกษาในเร่ืองการเตรียมอุปกรณ์เชื่อมต่อกับระบบ
เครอื ข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศและพ้นื ท่ีที่ไม่มสี ัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รวมถงึ ความเรว็ ของอินเตอร์เน็ต
อาจทาใหก้ ารจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ไม่ราบรื่นได้
การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์-ระบบเครือข่าย
8. การวัดและการประเมินผล (Measurement and Evaluation) จาเป็นต้องมีการวัดและ
ประเมินผล โดยมีการวัดและประเมินผลทั้งระหว่างเรียน (Formative Assessment) เช่น การตั้งคาถาม การ
สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน สะท้อนคิด เป็นต้น และภายหลังจัดการเรียน (Summative Assessment) เช่น การ
ทดสอบด้วยแบบทดสอบต่างๆ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน ประสิทธิผลของการเรียน เพื่อสะท้อน
ความสามารถการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งควรมีความหลากหลาย เพ่ือวัดประเมินผลผู้เรียนให้สอดคล้องตาม
สภาพจริง อย่างไรก็ตามผู้สอนจาเป็นต้องออกแบบเครื่องมือวิธีการวัดและประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ
รวมทั้งควรมีการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในการทดสอบออนไลน์ เพ่ือป้องกันการทุจริตในระหว่างการสอบ
จากประสบการณ์การจัดทดสอบแบบออนไลน์ พบว่าปัญหาของการทุจริตในการทาข้อสอบมีน้อย เนื่องจาก
ผู้สอนมีการกาหนดวิธีการสอบชัดเจน มีระบบการจัดเรียงข้อสอบแบบสุ่ม ทาให้การเรียงลาดับข้อสอบแต่ละ
ชุดท่ีส่งให้ผู้เรียนทาการสอบน้ันจะไม่เหมือนกัน พร้อมท้ังมีเวลาเป็นตัวกาหนดการส้ินสุดใช้งานในระบบ และ
ผู้เรยี นต้องเปดิ กลอ้ งตลอดเวลาขณะทมี่ กี ารทดสอบเพื่อให้ผูส้ อนไดส้ ังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน แตล่ ะคนได้
การจดั การเรียนการสอนออนไลน์-การวัดการประเมินผล
จึงกล่าวได้ว่า องค์ประกอบของการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์เป็นส่วนสาคัญท่ีจะทาให้การ
เรียนการสอนนั้นเกิดประสิทธิภาพ ซ่ึงองค์ประกอบดังกล่าวจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกแบบให้มีความ
สอดคล้องกับสถานการณ์จริง สามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับผู้เรียนได้ ทั้งนี้ควรประเมินความพร้อมของ
6
องค์ประกอบดังกล่าว การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของการนาไปใช้ เพื่อนาไปสู่การประยุกต์ใช้กับการเรียน
การสอนแบบออนไลน์ใหม้ คี วามเหมาะสม
2. รปู แบบการเรยี นการสอนท่เี ลอื กใช้และเทคนิคการสอน
รปู แบบการเรยี นการสอนออนไลน์ที่อาจารย์เลอื กใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน ไดแ้ ก่
2.1 โปรแกรม Microsoft Teams เป็นโปรแกรมท่ีมีความโดดเด่นในเรื่องการทางานร่วมกับ Microsoft
Office 365 การแชทแบบกลุ่ม แชร์หน้าจอได้ สามารถจัดการเรียนการสอนโดยการประชุมร่วมกันได้ถึง 250
คน และสามารถบันทึกการประชุมได้รองรับการเรียนการสอนด้วยเสียง และในรูปแบบ Video Conference
สามารถไลฟ์สดได้เสมือนห้องเรียนจริง รวมทั้งสามารถสง่ ไฟล์งานได้ จากการใช้โปรแกรม Microsoft Teams
ของคณาจารย์พบว่าเป็นโปรแกรมท่ีเหมาะสมสาหรับการใช้ในการจัดการเรียนการสอนท่ีมีจานวนนักศึกษา
มาก ๆ และสามารถใช้สาหรับจัดการสื่อการเรียนการสอนด้วยมีลักษณะการใช้งานระบบแบบ LMS ได้ซึ่งทา
ใหส้ ะดวกในการ upload ส่อื การสอน เอกสารตา่ ง ๆ และการมอบหมายงาน
2.2 โปรแกรม Zoom สามารถประชุมพร้อมกันได้สูงสุด 100 คน แต่จะมีจากัดการคุยวิดีโอไว้ครั้งละไม่
เกิน 40 นาทีรองรับการประชุมร่วมกันจากทุกแพลตฟอร์ม ไม่ว่าผู้ร่วมประชุมจะใช้ PC, Mac, IOS, Android
(หรอื อุปกรณ์ Zoom Presence) ก็สามารถประชุมด้วยกนั ได้หมด เลอื กสถานการณป์ ระชมุ ไดว้ ่าอยากประชุม
แบบโต้ตอบได้หรือนั่งฟังเฉยๆ การ Share Screen สามารถแชร์ได้หลายแบบ เช่น แชร์หน้าจอทั้งหมด แชร์
Whiteboard (เหมาะมากๆ สาหรับการ brainstorm ให้คนในห้องช่วยกันขีดเขียนได้) หรือจะแชร์หน้าจอ
เฉพาะของหน้าต่างแต่ละแอปฯ ก็ได้สามารถเชิญผู้ร่วมงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมได้อย่างง่ายดาย ผ่าน
หมายเลขโทรศัพท์, อีเมล์หรือรายชื่อ สามารถแชร์หน้าจอในกลุ่มผู้ประชุมได้แบบไหลล่ืน โดยสามารถแชร์
โดยตรงจากมือถือ นอกจากน้ียังแชร์คอนเทนต์ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น รูปภาพ ไฟล์ใน Dropbox, One
Drive, Google drive และ box จากการใช้งานของคณาจารย์พบว่าโปรแกรม Zoom จะเป็นโปรแกรมที่ใช้
ง่าย อัดบันทึกวีดีโอสอนได้สะดวก แต่หากเป็นการใช้โปรแกรมโดยไม่ได้เช่าซ้ือสิทธิ์การใช้งาน จะมีข้อจากัด
ด้านระยะเวลา ในการใชโ้ ปรแกรม Zoom จะตอ้ งใชค้ กู่ บั โปรแกรมอื่น ๆ เพือ่ ชว่ ยในการ upload
2.3 โ ปรแกรม OBS ซึ่ง OBS มาจากคาว่า Open Broadcaster Software เป็นโ ปรแกรมที่มี
ความสามารถหลากหลายมาก แมว้ า่ จะไม่สะดวกเท่ากับโปรแกรมเสียเงินแบบ นยิ มอยา่ งมากตวั หน่ึงในการทา
Live Streaming Video เป็นโปรแกรมไว้ใชเ้ พ่ือชว่ ยจัดการการไลฟ์สตรีมและอัดวีดีโอให้ง่ายขนึ้ สามารถใช้ใน
การแสดงหน้าจอของโปรแกรมที่ใช้งานต่าง ๆ ในเคร่ืองได้ทั้งยังเพ่ิมลูกเล่นในหน้าจอตามท่ีต้องการได้อีกด้วย
รวมถึงการควบคุมการเปลี่ยนชุดหน้าจอต่าง ๆ ตามที่กาหนดไว้อาจารย์ผู้สอนจะใช้โปรแกรม OBS ในการ
จัดทาคลปิ วีดีโอสอน ซึง่ โปรแกรมสามารถจดั ทาคลิปสอนทีม่ คี วามละเอียดคมชดั ได้ดี
2.4 โปรแกรม Google Classroom เป็นเคร่ืองมือใน Google Apps for Education ท่ีช่วยให้อาจารย์
ผู้สอนสามารถสร้างและจัดระเบียบงานได้อย่างรวดเร็ว แสดงความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ และส่ือสาร
กับทุกคนในห้องเรียนได้ง่าย Classroom ช่วยผู้เรียนจัดระเบียบงานใน Google ไดร์ฟทางานเสร็จและ
ส่ง ตลอดจนสื่อสารกับอาจารย์ผู้สอนและเพ่ือนร่วมช้ันเรียนได้โดยตรง นอกจากนั้น Classroom ได้รวม
Google เอกสาร ไดร์ฟ และ Gmail เข้าไว้ด้วยกันเพ่ือช่วยให้ผู้สอนสร้างและเก็บงานได้โดยไม่ส้ินเปลือง
กระดาษ และจะเห็นได้ทันทีว่าใครทางานเสร็จหรือยังไม่เสร็จ และให้ความคิดเห็นโดยตรงแบบเรียลไทม์
แก่ผู้เรียนแต่ละคน ผู้สอนสามารถประกาศ ถามคาถามและแสดงความคิดเห็นกับผู้เรียนได้แบบเรียลไทม์
ช่วยปรับปรุงการส่ือสารท้ังในและนอกห้องเรียน Classroom จะสร้างโฟลเดอร์ในไดร์ฟโดยอัตโนมัติสาหรับ
แต่ละงาน และสาหรับผ้เู รียนแตล่ ะคน ผเู้ รียนสามารถเห็นได้งา่ ยวา่ มีงานใดครบกาหนดในหน้างาน
7
2.5 Facebook Live การไลฟ์บน Facebook เป็นวิธีการที่ดีท่ีสุดสาหรับอาจารย์ในการมีปฏิสัมพันธ์กับ
นักเรียนนักศึกษาได้แบบเรียลไทม์ไม่ว่าพวกเขาจะอยู่ที่ใดก็ตาม หากพวกเขาไม่สามารถมาเจอกันท่ีโรงเรียน
หรอื มหาวิทยาลยั อาจารยส์ ามารถใช้ไลฟ์บน Facebook ผา่ นแอพเพอ่ื จัดอเี วนต์ออนไลน์และเชื่อมต่อกันผ่าน
การถ่ายทอดสดการสนทนาแบบไลฟ์ การจัดช่วงถาม-ตอบในเวลาดาเนินการหรือโดยผู้นาของโรงเรียนหรือ
มหาวิทยาลัย เปน็ ต้น เคล็ดลับที่เปน็ ประโยชนใ์ นการจัดไลฟ์บน Facebook ได้แก่
2.5.1 จดั ไลฟส์ ดในกลุ่ม Facebook เพอ่ื รักษาความเปน็ สว่ นตัวและควบคมุ กลมุ่ ผรู้ ับชม
2.5.2 สร้างอีเวนตภ์ ายในกลุ่มเพื่อแจง้ ใหผ้ ู้คนทราบตารางไลฟส์ ดล่วงหนา้
2.5.3 รอสัก 2-3 นาทีกอ่ นเรม่ิ เพือ่ รอให้ผ้ชู มเข้ามาในไลฟ์
2.5.4 ผชู้ มสามารถปรับคุณภาพของวิดโี อเพื่อช่วยให้การรับชมราบรน่ื ขึ้น หากอินเทอร์เนต็ ไม่เสถียร
2.5.5 กระตุ้นใหผ้ ชู้ มมีสว่ นร่วมด้วยการคอมเมนต์หรอื สง่ อโี มติคอน
2.5.6 กดบนั ทกึ หรือเซฟวิดีโอเพอ่ื ให้นกั เรยี นกลับมาชมย้อนหลงั ได้
2.6 Messenger จากการที่ประเทศไทยเปลี่ยนไปสู่การทางานจากที่บ้านเพ่ิมข้ึน ทาให้การสนทนาบน
ช่องทางออนไลน์ ต่าง ๆ มีจานวนเพิ่มข้ึน ไม่ว่าจะเป็นการเช่ือมต่อระหว่างบุคคลหรือกลุ่มคนที่มีจานวนสูงสุด
8 คน ท้ังกับเพ่ือนร่วมงาน อาจารย์ ฝ่ายบริหารของโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย และผู้ปกครอง ผ่านการส่ง
ขอ้ ความ รูปภาพ เสยี ง และคลปิ วิดีโอเพ่ืออัพเดทและถามไถ่ความเปน็ ไปของกันและกัน Messenger สามารถ
ชว่ ยใหอ้ าจารยเ์ ชอ่ื มตอ่ กับชุมชนได้อย่างง่ายดายยงิ่ ข้ึน ดังนี้
2.6.1 ค้นหาและเชื่อมต่อกบั ผู้คนได้อย่างง่ายดาย โดยไมจ่ าเป็นต้องมเี บอร์โทรศัพทม์ ือถือ
2.6.2 เขา้ ถึงอยา่ งไร้รอยตอ่ ผ่านอุปกรณท์ ้ังหมด (ทง้ั ระบบ iOS และ Android)
2.6.3 สามารถใชเ้ พ่ือโทรสนทนากนั หรอื วิดโี อคอลได้ทัง้ ระหว่างบุคคลหรอื แบบกลมุ่
2.6.4 สามารถสง่ ข้อความได้ แมไ้ ม่มีดาตา้ อินเทอรเ์ น็ต
2.7 การใช้ Line Meeting ถือเป็นการชดเชยการจัดการเรียนการสอนผ่าน Facebook live อีกทั้ง
แอพลิเคชนั Line สามารถเขา้ ถึงไดง้ า่ ย โดยใช้ Line Meeting เสริมเพอ่ื ให้ครแู ละนักเรยี นสามารถรว่ มประชุม
วิดีโอคอลร่วมกัน อาจใช้สาหรับการพบปะพูดคุย ซักถามข้อสงสัย ทบทวนความเข้าใจและร่วมทาหรือเฉลย
แบบฝึกหดั
2.8 YouTube ไม่มีใครไม่ชอบวิดีโอ เพราะเป็นสื่อการเรียนรู้ที่เรียนรู้ได้ง่ายท่ีแล้ว นอกจากวิดีโอ
บน YouTube ท่ีเก่ียวกับไลฟ์สไตล์ ก็ยังสามารถสร้างวิดีโอที่เก่ียวกับการเรียนรู้สนุกๆ ให้กับผู้เรียนได้กลับไป
น่ังเรียนที่บ้านเองได้ หรือจะใช้เป็นช่องทางท่ีให้ผู้เรียนได้ปลดปล่อยพลังความสร้างสรรค์ ในการสร้างวิดี โอ
ทเ่ี กีย่ วกับเนือ้ หาทกี่ าลังเรยี นรู้ก็ได้เช่นเดียวกัน
2.9 Google Meet คือ แพลตฟอรม หนึ่งในผลิตภัณฑของ Google เปนแพลตฟอรมประชุมออนไลน
ท่ีเอาใชสาหรับติดตอพูดคุยกันผานวิดีโอคอล เพ่ือใชประชุมออนไลน การจัดการเรียนการสอนออนไลน หรือ
นัดประชุมผานออนไลน เปนตน ซ่ึงการใช้โปรแกรม Google Meet ในการเรียนการสอนนั้นมีกระบวนการ
ใช้งานไมซ่ บั ซอ้ นเข้าใจงา่ ย นกั เรียนสามารถเขา้ ใช้งานได้อยา่ งสะดวก และรวดเรว็
สาหรับการเลือกรูปแบบการเรียนการสอนและเทคนิคการสอน เข้ามาใช้ในห้องเรียนเพ่ือตอบโจทย์
การเรียนรู้ของคนไทยยุคใหม่น้ัน ผู้สอนจาเป็นจะต้องเข้าใจพฤติกรรมของคนยุคใหม่ให้ดีก่อน ดูว่าพวกเขา
ตอ้ งการอะไรในการเรียนรู้ รวมถงึ ความพร้อมของผ้เู รยี นเองด้วย แล้วนากลบั มาวเิ คราะห์ดูว่าผู้สอนจะสามารถ
ประยุกต์ใช้ในการสอนได้อย่างไร จากน้ันก็นารูปแบบการเรียนการสอนและเทคนิคการสอนที่เหมาะสมท่ีสุด
มาใช้ในการสอน และในขณะเดียวกันก็ต้องคอยติดตามผล ว่ารูปแบบและเทคนิคเหล่าน้ันมีประสิทธิภาพ
ในการจดั การเรยี นการสอนอย่างไร
8
3. วธิ ีสอนออนไลนใ์ ห้มปี ระสทิ ธิภาพและผลสมั ฤทธิ์ที่ดี (รกั คร.ู คอม, ออนไลน)์
3.1 กาหนดแนวทางทช่ี ดั เจน
เรียนออนไลน์ทาให้นักเรียนมีอสิ ระมากขึ้น ดังน้ันผู้สอนตอ้ งกาหนดแนวทางทีช่ ัดเจนสาหรับนักเรียน
ทัง้ ในการเขา้ ถงึ การสอนออนไลน์ของคุณ เช่น เครือ่ งมือในการเรยี น แหล่งดาวนโ์ หลดเอกสารการเรยี น รวมไป
ถึงตารางเวลาในการสอน รวมไปถึงความคาดหวังที่จะได้รับจากนักเรียน เช่น การทาแบบฝึกหัดหรือ
แบบทดสอบ การมสี ่วนรว่ มในห้องเรียนออนไลน์ เป็นต้น
3.2 ออกแบบการสอนท่นี า่ สนใจ
แรงจูงใจในการเรียนและการมีส่วนร่วมเป็นส่ิงสาคัญท้ังในรูปแบบการสอนแบบตัวต่อตัว หรือการ
สอนออนไลน์ ดังน้ันการทาให้นักเรียนต้ังใจขณะเรียนออนไลน์มากข้ึนน้ัน ผู้สอนจาเป็นต้องวิเคราะห์ความ
ต้องการของผู้เรียน เพื่อออกแบบเนื้อหาการเรียนรู้ ตลอดจนการหากิจกรรมการเรียนรู้และการแก้ปัญหาทาง
เทคนคิ ทเ่ี หมาะสม ใชเ้ ทคนคิ การสอนอย่างสร้างสรรค์เพอื่ พฒั นาประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่ีดขี องนักเรยี น
3.3 เลอื กเครอื่ งมอื การสอนทเ่ี หมาะสม
แน่นอนว่าเคร่ืองมือการส่ือสารออนไลน์เป็นสิ่งท่ีขาดไม่ได้ในการสร้างห้องเรียนออนไลน์ มีซอฟแวร์
มากมายในปัจจุบัน เคร่ืองมือการสอนท่ีดีจะช่วยให้การสอนออนไลน์ของผู้สอนเป็นไปได้อย่างราบร่ืน เช่น
บางซอฟแวรจ์ ะมีกระดานสนทนา จอแสดงเอกสารการสอน รวมไปถึงการบันทึกการสอนทง้ั หมดไว้ได้อีกด้วย
3.4 กระตุ้นให้นักเรยี นทางานรว่ มกันแบบออนไลน์
กระตุ้นให้นักเรียนได้ส่ือสารกันระหว่างที่เรียนออนไลน์ โดยการให้พวกเขาทาโปรเจกต์ หรือ
มอบหมายงานให้ทาร่วมกนั ผ่านกระดานสนทนาหรือการประชุมออนไลน์ กจ็ ะชว่ ยให้ผู้เรยี นได้ส่ือสารกันและ
รู้สึกว่าเหมือนอยใู่ นห้องเรยี นจรงิ ๆ ซึ่งถือเปน็ การสรา้ งการมีส่วนร่วมทดี่ ีอกี ด้วย
3.5 ใช้ประโยชนจ์ ากการทางานทงั้ แบบกลุม่ และแบบเดีย่ ว
การผสมผสานท่ีดีของงานกลุ่มและงานเด่ียวเป็นวิธีที่ดี ท่ีจะทาให้ม่ันใจว่าการเรียนรู้ออนไลน์นั้น
ประสบความสาเร็จ รูปแบบการเรียนรู้ท่ีหลากหลายน้ีจะช่วยเพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียน
และสอนพวกเขาถึงความสาคัญของการบรรลเุ ป้าหมายการทางานกลุม่ และการสรา้ งความสาเร็จสว่ นบคุ คล
3.6 ใชท้ รัพยากรทมี่ อี ยู่
เน่ืองจากนักเรียนใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเพ่ือเข้าสู่ห้องเรียนออนไลน์อยู่แล้ว ทรัพยากรที่ดี
และง่ายที่สุดสาหรับพวกเขาก็คือ ส่ิงท่ีอยู่บนโลกออนไลน์ ผู้สอนอาจจะให้พวกเขาค้นหาข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง
บนเวบ็ ไซต์ต่างๆ แทนการอ้างอิงจากหนังสือตารา
3.7 มีการปิดการสอน
การปิดการสอนด้วยการให้นักเรียนสรุปหรือประเมินเป็นวิธีท่ีดี ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้สะท้อนส่ิงท่ี
เรียนรู้ และให้นักเรียนได้ไตร่ตรองเน้ือหา และแชร์ประสบการณ์ต่างๆ เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงส่ิงที่พวกเขา
ไดร้ ับ จากการเรยี นในครั้งน้ีหรือจากรายวิชาน้ี
3.8 ให้นักเรยี น Feedback
ในช่วงสัปดาห์ที่ 2 หรือ 3 ผู้สอนควรขอความเห็นจากนักเรียนโดยตรงเก่ียวกับสิ่งท่ีเกิดข้ึน และควร
จะให้นักเรียนแสดงความเห็นให้ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่เน้ือหา ไปจนถึงวิธีการสอน และสิ่งที่ต้องปรับปรุง
โดยอาจจะให้นกั เรียนโพสตค์ วามคิดเหน็ ลงบนกระดานสาหรับการ Feedback โดยเฉพาะ
9
4. งานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้อง
รินทร์ณฐา บวรวัชรเศรษฐ์ และ วรางคณา โสมะนันทน์ (2564) ได้ทาการวิจัย เรื่อง การศึกษา
การจัดการเรียนการสอนช่วงสถานการณ์ COVID-19 สาหรับนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า พบว่า
1) ครูมีวิธีจัดการเรียนการสอนช่วงสถานการณ์ COVID-19 สาหรับนักเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า
คือ ก่อนสอนมีการเตรียมตัวเร่ืองการใช้เทคโนโลยีและสื่อการสอนอยู่ในระดับมาก ระหว่างสอนครูใช้เทคนิค
การควบคุมชั้นเรียนด้วยการสร้างข้อตกลงร่วมกันและใช้แอพพลิเคชั่นในการช่วยจัดการชั้นเรียนอยู่ในระดับ
มาก และหลังการสอนครูให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยการใช้ใบงานและ
การทดสอบแบบออนไลน์อยู่ในระดับปานกลาง 2) พฤติกรรมการเรียนออนไลน์ของนักเรียน พบว่า ก่อนเรียน
นักเรียนเตรียมหนังสือและอุปกรณ์การเรียนอยู่ในระดับปานกลาง ระหว่างเรียนเข้าเรียนตรงเวลา ต้ังใจเรียน
และร่วมตอบคาถามอยู่ในระดับปานกลาง หลังเรียนทาการบ้านทันทีหากทาไม่ได้ก็จะรอวารสารวิจัยและ
พฒั นาการศึกษาพิเศษผปู้ กครองอยใู่ นระดบั ปานกลาง และ 3) ความคิดเห็นของผู้ปกครองต่อการจัดการเรียน
การสอนออนไลนพ์ บวา่ กอ่ นเรยี นผู้ปกครองช่วยเตรียมเทคโนโลยีและเตือนการเตรยี มอุปกรณก์ ารเรียน กากับ
การเข้าเรียนของลูกอยู่ในระดับมาก ระหว่างเรียนผู้ปกครองนั่งอยู่เป็นเพ่ือนลูก และช่วยแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้น
ขณะเรียนอยใู่ นระดับมาก หลงั เรยี นชว่ ยลกู ทาการบา้ นและทบทวนบทเรียนอย่ใู นระดับมาก
ศิริพร มีพรบูชา (2563) ได้ทาการวิจัย เรื่องการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์
โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เร่ือง แนวคิดเชิงคานวณแก้ปัญหา
กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พบว่า ผลการหาประสทิ ธิภาพของส่อื ทีพ่ ัฒนาจากแผนการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์มีค่า ความเชื่อม่ันเท่ากับ .90 ซ่ึงอยู่ในเกณฑ์ท่ีมีความเชื่อม่ันสงู และจากการ
วิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทร่ี ะดับ .05 และผเู้ รียนมีความพงึ พอใจต่อการจัด กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบออนไลนใ์ นระดับมาก เพราะผ้เู รียน
สามารถศกึ ษาบทเรียนได้ด้วยตนเองในช่วงเวลาท่ีตอ้ งการ
สุวัฒน์ บรรลือ (2559) ได้ทาการวิจัย เรื่องรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่เหมาะสม
สาหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี พบว่า ภายหลังจากการปรับพฤติกรรมการเรียนในช้ันเรียน
และการส่งงานแล้ว ได้ทาการทดสอบหลังการเรียน (post-test) พบว่า 1. รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์สาหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) ข้ันตอนก่อนเรียน
ซ่ึงประกอบด้วยขั้นตอนย่อย 1.1) การวิเคราะห์ผู้เรียน 1.2) การวิเคราะห์เนื้อหา 2) ขั้นตอนระหว่างเรียน
ประกอบด้วยข้ันตอนย่อย คือ 2.1) ปฐมนิเทศรายวิชา 2.2) จัดการเรียนการสอน และ 3) ข้ันตอ น
การประเมินผล 2. การหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า นักศึกษากลุ่ม
ท่ีเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ และกลุ่มท่ีเรียนในช้ันเรียนแบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 น่ันแสดงว่าการเรียนการสอนออนไลน์
สามารถก่อให้เกดิ ผลสมั ฤทธ์ไิ ดเ้ ทา่ กับการเรียนในชั้นเรยี นแบบปกติ
ธนพรรณ ทรัพย์ธนาดล (2552) ได้ทาการวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการ
สอนบทเรียนออนไลน์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พบว่า ปัจจัยด้านผู้บริหาร ปัจจัยด้านอาจารย์
ปัจจยั ดา้ นนักศึกษาและปจั จัยด้านสถานศึกษา สง่ ผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรยี นออนไลน์ของ
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
5. กรอบแนวคิด 10
ตวั แปรอสิ ระ ตัวแปรตาม
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้
- รูปแบบการสอน - การเขา้ เรยี นหรือเขา้ ศกึ ษาส่อื การ
- ส่ือการสอนรูปแบบ
สอนรปู แบบตา่ ง ๆ
ตา่ ง ๆ
11
บทท่ี 3
วิธีดาเนนิ การวิจัย
การวิจัย เรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่เหมาะสมสาหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษา
ปีท่ี 2 รายวิชาวิทยาการคานวณ 3 รหัสวิชา ว22103 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 มรี ายละเอยี ดเก่ียวกบั การดาเนินการวจิ ัย ดงั นี้
1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีเรียนรายวิชาวิทยาการคานวณ 3
รหัสวิชา ว22103 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน 235 คน ให้ความร่วมมือในการศึกษารูปแบบ
การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ท่เี หมาะสม
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คัดเลือกจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่เรียนรายวิชา
วทิ ยาการคานวณ 3 รหสั วิชา ว22103 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ท้ังหมด
2. ตัวแปรทีศ่ กึ ษา
2.1 ตวั แปรอิสระ
2.1.1 รูปแบบการสอน
2.1.2 สื่อการสอนรปู แบบต่าง ๆ
2.2 ตวั แปรตาม
2.2.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นรู้
2.2.2 การเขา้ เรยี นหรือเขา้ ศึกษาสอื่ การสอนรปู แบบต่าง ๆ
3. เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย
3.1 สอ่ื การสอนออนไลน์ คลิปวดิ โี อสื่อการสอน ส่ือพาวเวอรพ์ อยต์ เกม เว็บไซต์
3.2 ใบภารกิจตามเน้อื หาในบทเรียน
3.3 แบบบันทึกการเข้าเรียนหรอื เข้าศกึ ษาเพ่ิมเติม และการสง่ งานของนักเรยี น
4. วิธีดาเนินการวจิ ัย
4.1 การสร้างเครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวิจยั
4.1.1 สอบถามความพร้อมของนักเรียนและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องเพ่ือเป็นแนวทางในการเลือก
รปู แบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ทเ่ี หมาะสมสาหรบั นักเรยี น
4.1.2 ดาเนนิ การสรา้ งสอื่ การสอนออนไลน์ท่ีเหมาะสมกบั นกั เรยี น
4.1.3 แบบบนั ทึกการเข้าเรียนหรือเขา้ ศกึ ษาเพ่ิมเติม และการสง่ งานของนกั เรียน
12
4.2 วิธีเกบ็ รวบรวมข้อมูล
นาแบบบันทึกการเข้าเรียนหรือนับจานวนนักเรียนท่ีเข้าศึกษาเพ่ิมเติมจากส่ือการสอนออนไลน์
และการส่งงานของนักเรียน มาใช้ในการศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ รายวิชา
วทิ ยาการคานวณ 3 รหัสวชิ า ว22103 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
4.3 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
นาผลท่ีได้จากการเข้าเรียนหรือนับจานวนนักเรียนท่ีเข้าศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อการสอนออนไลน์
และการสง่ งานของนักเรยี นมาหาข้อสรุปในการศกึ ษาและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
13
บทท่ี 4
ผลการวิจยั
การวิจัยคร้ังน้ี เพ่ือหารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ท่ีเหมาะสมสาหรับนักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 รายวิชาวิทยาการคานวณ 3 รหัสวิชา ว22103 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลและวเิ คราะห์
ข้อมูล จะนาเสนอผลการวิจัยและอภปิ รายผลดงั ตอ่ ไปนี้
1. ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล/ผลการแก้ปัญหาจากการนาไปปฏิบตั ิจริง
ผู้วิจัยได้ดาเนินการทาการวิจัยตามขั้นตอนต่าง ๆ ท่ีเตรียมไว้และนาไปใช้กับนักเรียนในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีเรียนรายวิชาวิทยาการคานวณ 3 รหัสวิชา ว22103 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
จานวน 235 คน พบว่า รูปแบบการเรียนของนกั เรียน แบง่ ได้ 3 รูปแบบ คือ รปู แบบที่ 1 นกั เรยี นสามารถเข้า
เรยี นออนไลน์ได้ตามชัว่ โมงเรียน รปู แบบที่ 2 คอื นกั เรยี นสามารถเข้าเรียนออนไลน์ไดเ้ ปน็ บางครง้ั รูปแบบที่
3 นักเรียนไม่สามารถเรียนออนไลน์ได้ ทาให้ครูผู้สอนใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนหลัก ๆ 6 รูปแบบ
ได้แก่ 1) การจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้แอปพลิเคช่ันการประชุมทางวิดีโอ เช่น Google Meet,
Google classroom, Line, Facebook Live 2) การจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้คลิปวิดีโอ โดย
ครูผู้สอนจัดทาคลิปวิดีโอการสอนท่ีสอดคล้องกับเนื้อหาที่จะสอนจากน้ันอัพโหลดคลิปข้ึน YouTube หรืออัพ
ขึ้น Facebook 3) การจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้เกม ครูผู้สอนใช้เกมออนไลน์หรือสร้างเกมข้ึนมา
โดยสอดคล้องกับเน้ือหาที่สอน 4) การจัดการเรียนการสอนแบบใช้เอกสาร จัดทาใบความรู้ หรือใบภารกิจให้
นักเรียนท่ีไม่สามารถเรียนออนไลน์ทาส่ง 5) การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เป็นรูปแบบการ
ผสมผสานการจัดการเรียนการสอนหลายรูปแบบเข้าด้วยกันตามความเหมาะสมของเน้ือหาและสถานการณ์
เช่น นาคลิปวิดีโอไปเปิดสอนในแอปพลิเคช่ันการประชุมทางวิดีโอ การสอนแบบให้นักเรียนเล่นเกมระหว่าง
กานสอน หรือให้นักเรียนทาใบภารกิจควบคู่ไปกับการสอนออนไลน์ เป็นต้น ผลท่ีได้คือนักเรียนสามารถเลือก
เรยี นในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างอสิ ระและตามศักยภาพของตนเอง สามารถเข้าไปศกึ ษาเนือ้ หาทเ่ี รียนได้เพ่ิมเติม
เมื่อไม่เข้าใจหรือสงสัย และสามารถสอบถามครูผู้สอนได้ตลอดเวลา นักเรียนเข้าใจในเน้ือหาที่เรียนมากย่ิงขึ้น
เป็นผลให้นักเรียนมีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ จานวน 165 คน คิดเป็นร้อยละ 70.21 ของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 2 จากการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่เหมาะสมสาหรับนักเรียนนี้ทาให้
สามารถแก้ไขปัญหานักเรียนไม่สามารถเข้าเรียนได้เนื่องจากไม่มีอุปกรณ์ หรือแก้ปัญหานักเรียนเกิดความเบ่อื
หนา่ ยในการเรยี นออนไลนโ์ ดยมีรปู แบบการสอนและสื่อการสอนทีห่ ลากหลาย ทาให้นกั เรยี นเข้าเรียนออนไลน์
มากขึน้ เข้าใจในเนื้อหาที่เรียนมีความรับผิดชอบในการส่งงานที่ดีขน้ึ แตย่ ังมบี างส่วนที่ไมส่ ามารถทาการแก้ไข
ได้เนื่องจากครูผู้สอนไม่สามารถติดต่อนักเรียนหรือเป็นนักเรียนขาดนาน ทาให้ไม่สามารถติดตามงานนักเรียน
ได้
14
บทที่ 5
สรุปผล และขอ้ เสนอแนะ
การวิจัย เรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่เหมาะสมสาหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษา
ปีท่ี 2 รายวิชาวิทยาการคานวณ 3 รหัสวิชา ว22103 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
จะนาเสนอผลการวจิ ัยและอภิปรายผลดังตอ่ ไปน้ี
1. วัตถุประสงค์ของการวิจยั
2. วิธีการดาเนนิ การวิจยั
3. สรปุ ผลการวิจัย
4. ขอ้ เสนอแนะ
1. วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั
2.1 เพอ่ื ศึกษารปู แบบการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ที่เหมาะสมสาหรบั นกั เรยี นนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2
2.2 เพอื่ พฒั นารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลนท์ ่เี หมาะสมสาหรับนักเรยี นนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2
2.3 เพ่ือใหน้ กั เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์สงู ขน้ึ
2. วธิ กี ารดาเนินการวจิ ัย
2.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
2.1.1 ประชากรทใ่ี ช้ในการวจิ ยั เป็นนักเรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ท่ีเรยี นรายวิชาวิทยาการคานวณ 3
รหัสวชิ า ว22103 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน 235 คน ให้ความรว่ มมือในการศึกษารปู แบบ การ
จดั การเรยี นการสอนออนไลน์ที่เหมาะสม
2.1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คัดเลือกจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ท่ีเรียนรายวิชา
วิทยาการคานวณ 3 รหสั วิชา ว22103 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ทงั้ หมด
3. สรุปผลการวจิ ยั
การวิจัยการปลูกฝังความรับผิดชอบ เร่ือง รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่เหมาะสม
สาหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาวิทยาการคานวณ 4 รหัสวิชา ว22104 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จากระยะเวลาเรียนทง้ั สิน้
20 สัปดาห์ เนื้อหาที่เรียนจานวน 2 หน่วยการเรียนรู้ ใบงานตามเน้ือหาในบทเรียน จานวน 6 ใบงาน และ
นาผลการบันทึกการเข้าเรียน การส่งงานของนักเรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ทั้งหมด จานวน 235 คน
จากห้องเรียนท้ังหมด 6 ห้องเรียน พบว่า นักเรียนสามารถเข้าเรียนออนไลน์ได้ตามตารางเรียนจานวน 51 คน
คิดเป็นร้อยละ 21.61 นักเรียนไม่สามารถเข้าเรียนออนไลน์ตามตารางได้บางครั้ง แต่เข้าศึกษาโดยการดูคลิป
วิดีโอการสอน จานวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 35.17 นักเรียนไม่สามารถเข้าเรียนออนไลน์ได้เลยทาการศึกษา
จากใบความรู้หรือหนังสือและทาใบภารกิจส่ง จานวน 31 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.14 และนกั เรยี นทไี่ ม่เขา้ เรียน
และไม่ส่งงาน จานวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 29.67 จากผลการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ออนไลนท์ ี่เหมาะสมสาหรับนกั เรียน จะเหน็ ไดว้ ่านักเรยี นส่วนใหญย่ ังไมส่ ามารถเข้าเรียนออนไลนไ์ ด้ตลอดเวลา
15
เนื่องจากสาเหตุหลายอย่าง เช่น ไม่มีอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเรียนออนไลน์ ไม่มีเวลาเข้าเรียนออนไลน์เน่ืองจาก
ต้องช่วยผู้ปกครองทางาน ตื่นสายเนื่องจากผู้ปกครองออกไปทางานไม่มีคนปลุก นักเรียนเล่นเกมในเวลา
กลางคืนทาให้ไม่ตื่นขึ้นมาเรียนหนังสือ นักเรียนเกิดความเบ่ือหน่ายในการเรียนออนไลน์ และเป็นการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์แบบเต็มรูปแบบคร้ังแรก ครูผ้สู อนไม่ได้เจอนักเรยี นทาให้ไม่สามารถติดต่อนักเรียนบางคนได้
จงึ เปน็ ผลใหต้ ามงานนกั เรยี นไมไ่ ด้บางสว่ น จากสาเหตุดังกล่าว ทาให้ครผู ู้สอนทาการแก้ปญั หาโดยการสร้างส่ือ
การสอนที่หลากหลาย และสร้างช่องทางการติดต่อให้กับนักเรียนได้ติดต่อครูผู้สอนได้ตลอดเวลา เช่น การอัด
คลปิ การสอนระหว่างสอน หรอื ทาคลิปวดิ ีโอการสอนอัพโหลดขึ้น YouTube หรือ Facebook เพ่ือใหน้ ักเรียน
สามารถเข้าไปศึกษาได้ตลอดเวลา จัดทาใบความรู้และใบภารกิจให้นักเรียนนากลับไปทาที่บ้านในกรณีท่ีไม่
สามารถเข้าเรียนออนไลน์ได้ จัดหาเกมหรือจัดทาเกมการสอนท่ีสอดคล้องกับเนื้อหาท่ีเรียนให้นักเรียนได้ร่วม
เล่นเกมในคาบเรียนเพ่ือกระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้น มีความสนุกในการเรียน ในคาบเรียนให้
นักเรียนได้มีการนาเสนอผลงานหรือได้แสดงความคิดเห็น เพื่อให้นักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ทาให้เกิดความ
กระตือรือร้นในการเรียนออนไลน์ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จากการนารูปแบบการสอนดังกล่าวมาใช้ทาให้
นักเรียนมีผลการเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินจานวน 165 คน คิดเป็นร้อยละ 70.21 มีนักเรียนเพียงบางคนท่ี
ไม่สามารถติดตามให้ส่งงานได้เน่ืองจากไม่สามารถติดต่อนักเรียนได้และเป็นนักเรียนขาดนานทาให้มีผลการ
เรยี นไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
4. ข้อเสนอแนะเพ่ือการทาวิจยั ในคร้ังต่อไป
1. เพิ่มรปู แบบในการติดต่อนักเรยี นหรือมีขอ้ มูลในการติดต่อนักเรียนทีส่ อนทุกคน
2. จัดทาเอกสารหรือสื่อการสอนให้กับนักเรียนท่ีมีผลการเรียนติด 0 ร เพ่ือให้นักเรียนมีผลการเรียนผ่าน
เกณฑ์การประเมินและผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทีส่ งู ข้ึน
16
บรรณานุกรม
ครูไทยฟรีดอทคอม. (2564). การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ มีอะไรบ้าง. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564
จาก https://www.kruthaifree.com/การจัดการเรียนการสอนออนไลน์-มีอะไรบา้ ง
โจ้ บ้านทุ่งไพล. (2564). การสอนออนไลน์ด้วย Facebook live และ Line Meeting. สืบค้นเมื่อ
25 พฤศจกิ ายน 2564 จาก https://inskru.com/idea/-Mp6jf9TjBJJDCS7BACG
ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2561). หลักการจัดการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร. สานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
ธนพรรณ ทรัพย์ธนาดล. (2552). ปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ของ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา (วจิ ัย). นครราชสีมา: มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา.
รักครู. (2564). 8 วิธีสอนออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพและผลสัมฤทธ์ิท่ีดี. สืบค้นเม่ือ 10 มิถุนายน 2564
จาก https://rukkroo.com/24199/
รินทร์ณฐา บวรวัชรเศรษฐ์ ,และวรางคณา โสมะนันทน์. (2564). การศึกษาการจัดการเรียนการสอนช่วง
สถานการณ์ COVID-19 สาหรับนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า. วารสารวิจัยและพัฒนา
การศกึ ษาพิเศษ ปที ี่ 10 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564. 121-135.
ล้าหน้าShow. (2563). FACEBOOK แนะนาเคร่ืองมือเสริมสาหรับเรียนออนไลน์ และ WORK FROM
HOME. สืบค้นเม่ือ 10 มิถุนายน 2564 จาก https://www.techoffside.com/2020/03/ facebook-
learning-continues-online/
ศิริพร มีพรบูชา. (2563). การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์
Google Classroom ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง แนวคดิ เชิงคานวณแก้ปัญหา (วิจยั ). ประจวบคีรีขันธ์:
โรงเรยี นบา้ นห้วยมงคล.
สุรศักด์ิ ปาเฮ. (2561). การศึกษาออนไลน์ : ทฤษฎีและวิธีปฏิบัติ. แพร่. ห้างหุ้นส่วนจากัดแพร่ไทย
อุตสาหการพมิ พ์.
สุวัฒน์ บรรลือ. (2559). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ท่ีเหมาะสมสาหรับมหาวิทยาลัย
ราชภฏั อุบลราชธานี (วิจยั ). อบุ ลราชธานี: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี.
อักษรเจริญทัศน์. (2564). 3 ตัวช่วยการสอนออนไลน์ สนุกได้ทุกคลาส. สืบค้นเม่ือ 10 กรกฎาคม 2564 จาก
https://www.aksorn.com/teach-online
SME tips. (2564). 5 สื่อการเรียนรู้สาหรับคนยุคใหม่ ควรเรียนจากส่ือไหนบ้าง ?. สืบค้นเมื่อ
10 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.tot.co.th/sme-tips/SME-tips/2020/06/19/5-สื่อการ
เรียนรูส้ าหรบั คนยุคใหม่-ควรเรยี นจากสื่อไหนบา้ ง