The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติรัชกาลที่1-10

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฟิรฮานี อาสาวะ, 2020-02-16 12:13:45

รัชกาลที่1-10

ประวัติรัชกาลที่1-10

พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลท๑่ี )

พระราชประวตั ิรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโล กมหาราช(ประสู ติ พ.ศ. 2279 ข้ึนครองราชย์
พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2352) มีพระนามเดิมวา่ ทองดว้ ง
พระราชประวตั ิ
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงเป็นปฐมกษตั ริยแ์ ห่งพระบรมราชวงศจ์ กั รี
ทรงพระนามเต็มวา่ " พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจกั รพรรดิราชาธb
บดินทร์ ธรณินทราธิราชรัตนากาศภาสกรวงศอ์ งคป์ รมาธิเบศร ตรีภูวเนตรวรนารถนายก ดิลกรัตนชาติอาชา
ศรัย สมุทยั วโรมนตส์ กลจกั รฬาธิเบนทร์ สุริเยนทราธิบดินทรหริหรินทรธาดาธิบดี ศรีสุวบิ ุลยคุณธขนิษฐ์ ฤทธิ
ราเมศวรมหนั ตบ์ รมธรรมิกราชาธิราชเดโชไชย พรหมเทพา ดิเทพนฤดินทร์ภูมินทรปรามาธิเบศร โลกเชฎฐ
วสิ ุทธ์ิรัตนมกุฎประเทศคตามหาพทุ ธางกูรบรมบพติ ร พระพุทธเจา้ อยหู่ วั "

ทรงประสูติเมื่อวนั ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 พระราชบิดาทรงพระนามว่า ออกอกั ษรสุนทรศาสตร์ พระราช
มารดาทรงพระนามวา่
ดาวเรือง มีบุตรและธิดารวมท้งั หมด 5 คน คือ
คนท่ี 1 เป็นหญิงช่ือ "สา" ( ตอ่ มาไดร้ ับสถาปนาเป็นพระเจา้ พ่ีนางเธอกรมสมเด็จพระเทพสุดาวดี )
คนท่ี 2 เป็นชายชื่อ "ขนุ รามนรงค"์ ( ถึงแก่กรรมก่อนที่จะเสียกรุงศรีอยธุ ยาแก่พมา่ คร้ังท่ี 2 )
คนที่ 3 เป็นหญิงชื่อ "แกว้ " ( ต่อมาไดร้ ับสถาปนาเป็นพระเจา้ พีน่ างเธอกรมสมเดจ็ พระศรีสุดารักษ์ )
คนท่ี 4 เป็นชายชื่อ "ดว้ ง" (พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช )
คนท่ี 5 เป็ นชายช่ื อ "บุญมา" ( ต่อมาได้รับสถาปนาเป็ นกรมพระราชวังบวรมหาสุ รสิ งหนาท
สมเดจ็ พระอนุชาธิราช )

เม่ือเจริญวยั ไดถ้ วายตวั เป็นมหาดเลก็ ในสมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอเจา้ ฟ้าอุทุมพร
พระชนมายุ 21 พรรษา ออกบวชที่วดั มหาทลาย แล้วกลบั มาเป็ นมหาดเล็กหลวงในแผ่นดินพระเจา้
อุทุมพร

พระชนมายุ 25 พรรษา ไดร้ ับตวั แหน่งเป็ นหลวงยกกระบตั ร ประจาํ เมืองราชบุรีในแผน่ ดินพระท่ีนง่ั
สุริยามรินทร์ พระองคไ์ ดว้ วิ าห์กบั ธิดานาค ธิดาของท่านเศรษฐีทองกบั ส้ม

พระชนมายุ 32 พรรษา ในระหวา่ งที่รับราชการอยกู่ บั พระเจา้ กรุงธนบุรี ไดเ้ ลื่อนตาํ แหน่งดงั น้ี
พระชนมายุ 33 พรรษา พ.ศ. 2312 ไดเ้ ลื่อนเป็นพระยาอภยั รณฤทธ์ิ เม่ือพระเจา้ กรุงธนบุรีปราบชุมนุม
เจา้ พมิ าย
พระชนมายุ 34 พรรษา พ.ศ. 2313 ไดเ้ ล่ือนเป็ นพระยายมราชท่ีสมุหนายกเมื่อพระเจา้ กรุงธนบุรีไป
ปราบชุมนุมเจา้ พระฝาง
พระชนมายุ 35 พรรษา พ.ศ. 2314 ไดเ้ ลื่อนเป็นเจา้ พระยาจกั รี เมื่อคราวเป็นแมท่ พั ไปตีเขมรคร้ังที่ 2
พระชนมายุ 41 พรรษา พ.ศ. 2321 ไดเ้ ล่ือนเป็ นสมเด็จเจา้ พระยามหากษตั ริยศ์ ึกเมื่อคราวเป็ นแม่ทพั
ใหญไ่ ปตีเมืองลาวตะวนั ออก
พ.ศ. 2323 เป็ นคร้ังสุดทา้ ยที่ไปปราบเขมร ขณะเดียวกบั ท่ีกรุงธนบุรีเกิดจลาจลจึงเสด็จยกกองทพั
กลบั มากรุงธนบุรี เม่ือ พ.ศ. 2325 พระองคท์ รงปราบปรามเส้ียนหนามแผน่ ดินเสร็จแลว้ จึงเสด็จข้ึนครองราช

สมบตั ิปราบดาภิเษก แลว้ ไดม้ ีพระราชดาํ รัสให้ขุดเอาหีบพระบรมศพของพระเจา้ กรุงธนบุรีข้ึนต้งั ณ เมรุวดั
บางยเี่ รือพระราชทานพระสงฆบ์ งั สุกลุ แลว้ ถวายพระเพลิงพระบรมศพ เสร็จแลว้ ใหม้ ีการมหรสพ

พระราชกรณียกิจประการแรกท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ทรงจดั ทาํ เมื่อเสดจ็ ข้ึนครองราชย์ คือการโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ้งั กรุงรัตนโกสินทร์เป็ นราชธานีใหม่ ทางตะวนั ออก
ของแมน่ ้าํ เจา้ พระยา แทนกรุงธนบุรี ดว้ ยเหตุผลทางดา้ นยุทธศาสตร์ เนื่องจากกรุงธนบุรีต้งั อยบู่ นสองฝ่ังแม่น้าํ
ทาํ ใหก้ ารลาํ เลียงอาวธุ ยทุ ธภณั ฑ์ และการรักษาพระนครเป็นไปไดย้ าก อีกท้งั พระราชวงั เดิมมีพ้นื ที่จาํ กดั ไม่
สามารถขยายได้ เนื่องจากติดวดั อรุณราชวราราม และวดั โมฬีโลกยาราม ส่วนทางฝ่ังกรุงรัตนโกสินทร์น้นั มี
ความเหมาะสมกวา่ ตรงท่ีมีพ้ืนแผน่ ดินเป็นลกั ษณะหวั แหลม มีแม่น้าํ เป็นคูเมืองธรรมชาติ มีชยั ภูมิเหมาะสม
และสามารถรับศึกไดเ้ ป็นอยา่ งดี

การสร้างราชธานีใหมน่ ้นั ใชเ้ วลาท้งั สิ้น ๓ ปี โดยพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ทรงทาํ พิธียกเสาหลกั เมือง เมื่อวนั อาทิตย์ เดือน ๖ ข้ึน ๑๐ ค่าํ ปี ขาล จศ.๑๑๔๔ ตรงกบั วนั ที่ ๒๑ เมษายน พศ.
๒๓๒๕ และโปรดเกลา้ ฯใหส้ ร้าง พระบรมมหาราชวงั สืบทอดราชประเพณี และสร้างพระอารามหลวงในเขต
พระบรมมหาราชวงั ตามแบบกรุงศรีอยธุ ยา ซ่ึงการสร้างเมืองและพระบรมมหาราชวงั เป็นการสืบทอดประเพณี
วฒั นธรรม และศิลปะกรรมด้งั เดิมของชาติ ซ่ึงปฏิบตั ิกนั มาต้งั แตส่ มยั กรุงศรีอยธุ ยา และไดพ้ ระราชทานนาม
แก่ราชธานีใหมน่ ้ีวา่

“กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุทธยา มหาดลิ กภพ นพรัตนราชธานีบูรีรมย์ อุดม
ราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถติ สักกะทตั ตยิ ะวษิ ณุกรรมประสิทธ์ิ”

ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงแปลงสร้อย “บวรรัตนโกสินทร์” เป็น “อมร
รัตนโกสินทร์”

นอกจากน้ี ยงั โปรดเกลา้ ฯให้ สร้างส่ิงต่างๆ อนั สาํ คญั ต่อการสถาปนาราชธานี ไดแ้ ก่ ป้อมปราการคลอง
ถนนและสะพานต่างๆ มากมาย

พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั (รัชกาลที่๒)

พระราชประวตั ิรัชกาลท่ี 2 แห่งราชวงศจ์ กั รี
พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั (ประสูติ พ.ศ. 2310 ข้ึนครองราชย์ พ.ศ. 2353 - พ.ศ. 2367)
มีพระนามเดิมวา่ ฉิม

พระราชประวตั ิ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ทรงเป็ นพระมหากษตั ริยไ์ ทยองค์ท่ี 2 แห่งราชวงศ์จกั รี ทรง
ประสูติเม่ือ 24 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2310 ตรงกบั วนั พุธ ข้ึน 7 ค่าํ เดือน 3 ปี กุน มีพระนามเดิมวา่ "ฉิม" พระองคท์ รง
เป็นพระบรมราชโอรสองคท์ ี่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและกรมสมเด็จพระอมรินท
รามาตยพ์ ระบรมราชชนนีพนั ปี หลวง ประสูติ ณ บา้ นอมั พวา แขวงเมืองสมุทรสงคราม ขณะน้นั พระบาทสมเด็จ
พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นหลวงยกกรับตั รเมืองราชบุรี พระบิดาไดใ้ หเ้ ขา้ ศึกษากบั สมเด็จพระวนั รัต
( ทองอยู่ ) ณ วดั บางหวา้ ใหญ่ พระองคท์ รงมีพระชายาเทา่ ที่ปรากฎ

1. กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ พระอคั รมเหสี
2. กรมสมเด็จพระศรีสุราลยั พระสนมเอก ขณะข้ึนครองราชยใ์ นปี พ.ศ. 2352 มีพระชนมายไุ ด้ พระราชกรณียกิจ
ที่สาํ คญั
พ.ศ. 2317 ขณะที่เพ่ิงมีพระชนมายุได้ 8 พรรษา ไดต้ ิดตามไปสงครามเชียงใหม่ อยู่ในเหตุการณ์คร้ังที่บิดามี
ราชการไปปราบปรามเมืองนางรอง นครจาํ ปาศกั ด์ิ และบางแกว้ ราชบุรี จนถึงอายุ 11 พรรษา
พ.ศ. 2322 พระราชบิดาไปราชการสงครามกรุงศรีสตั นาคนหุต ก็ติดตามไป
พ.ศ. 2323 พระชนมายุ 13 พรรษา ไดเ้ ขา้ เป็นศิษยส์ มเด็จพระวนั รัต (ทองอยู่ )
พ.ศ. 2324 พระราชบิดาไดเ้ ลื่อนเป็นสมเด็จเจา้ พระยามหากษตั ริยศ์ ึกฯ ไปร่วมปราบปรามเขมรกบั พระบิดา
พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ไดป้ ราบดาภิเษกแลว้ ไดท้ รงสถาปนาข้ึนเป็ น "สมเด็จพระ
เจา้ ลูกยาเธอเจา้ ฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร"
พ.ศ. 2329 พระชนมายุ 19 พรรษา ไดโ้ ดยเสด็จสมเด็จพระบรมชนกนาถ ไปสงครามตาํ บลลาดหญา้ และทางหวั
เมืองฝ่ ายเหนือ
พ.ศ. 2330 ไดโ้ ดยเสดจ็ พระบรมชนกนาถ ไปสงครามท่ีตาํ บลทา่ ดินแดง และตีเมืองทวาย
พ.ศ. 2331 ทรงผนวชเป็นพระภิกษุในพระอุโบสถวดั พระศรีรัตนศาสดาราม ซ่ึงเป็ นพระองคแ์ รกท่ีอุปสมบทใน
วดั น้ี เสด็จไปจาํ พรรษา เมื่อครบสามเดือน ณ วดั สมอราย ปัจจุบนั คือวดั ราชาธิราช คร้ันทรงลาผนวชในปี น้นั
ทรงอภิเษกสมรสกบั สมเด็จเจา้ หญิงบุญรอด พระธิดาในพระพนี่ างเธอ สมเดจ็ เจา้ ฟ้าหญิงกรมพระศรีสุดารักษ์
พ.ศ. 2336 โดยเสดจ็ พระราชบิดาไปตีเมืองทวาย คร้ังที่ 2
พ.ศ. 2349 ( วนั อาทิตย์ เดือน 8 ข้ึน 7 ค่าํ ปี ขาล ) ทรงพระชนมายุได้ 40 พรรษาได้รับสถาปนาเป็ น "กรม
พระราชวงั บวรสถานมงคล" ซ่ึงดาํ รงตาํ แหน่งพระมหาอุปราชข้ึนแทน กรมพระราชวงั บวรมหาสุรสีหนาท ท่ีได้
สวรรคตแลว้ เมื่อ พ.ศ. 2346

พระราชกรณียกจิ สําคัญในรัชกาลท่ี ๒
ดา้ นการปกครอง

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ทรงประกอบพระราชกรณียกิจดา้ นการปกครองโดย
ยงั คงรูปแบบการปกครองแบบเดิม แต่มีการต้งั เจา้ นายท่ีเป็ นเช้ือพระวงศ์เขา้ ดูแลบริหารงานราชการตาม
หน่วยงานตา่ งๆ เช่น กรมพระคลงั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระเจา้ ลูกยาเธอ กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์เป็ น
ผูก้ าํ กับดูแล เป็ นต้น ส่วนด้านการออกและปรับปรุงกฎหมายในการปกครองประเทศท่ีเอ้ือประโยชน์แก่
ประชาชนมากข้ึน ไดแ้ ก่ พระราชกาํ หนดสักเลก โดยพระองค์โปรดให้ดาํ เนินการสักเลกหมู่ใหม่ เปลี่ยนเป็ นปี
ละ 3 เดือน ทาํ ให้ไพร่สามารถประกอบอาชีพได้ นอกจากน้ียงั มีการออกกฎหมายว่าดว้ ยสัญญาท่ีดินรวมถึง

พินัยกรรมว่าตอ้ งทาํ เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร และกฎหมายที่สําคญั ท่ีพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้กาํ หนดข้ึน คือ
กฎหมายหา้ มซ้ือขายสูบฝ่ิน

ดา้ นเศรษฐกิจ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ทรงประกอบพระราชกรณียกิจดา้ นเศรษฐกิจ ที่สําคญั คือ
การรวบรวมรายไดจ้ าการคา้ กบั ต่างประเทศ ซ่ึงในสมยั น้ีไดม้ ีการเรียกเก็บภาษีอากรแบบใหม่คือ การเดินสวน
และการเดินนา การเดินสวนเป็ นการแต่งต้งั เจา้ พนกั งานไปสํารวจพ้ืนที่เพาะปลูกของราษฎร เพื่อคิดอตั ราเสีย
ภาษีอากรที่ถูกตอ้ ง ทาํ ใหเ้ กิดความยตุ ิธรรมแก่เจา้ ของสวน ส่วนการเดินนาคลา้ ยกบั การเดินสวน แต่ใหเ้ ก็บหาง
ขา้ วแทนแทนการเก็บภาษีอากร
..... อ่านต่อไดท้ ่ี: https://www.gotoknow.org/posts/374047

พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท๓ี่ )

พระราชประวตั ิรัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศจ์ กั รี
พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ประสูติ พ.ศ. 2330 ข้ึนครองราชย์ พ.ศ. 2367 - พ.ศ. 2394)
มีพระนามเดิมวา่ พระองคช์ ายทบั

พระราชประวตั ิ
พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเป็ นพระมหากษตั ริยไ์ ทยองค์ที่ 3 แห่งราชวงศจ์ กั รี เป็ นพระ
ราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั และสมเด็จพระศรีสุราลยั ( เจา้ จอมมารดาเรียม ) ประสูติ
ณ วนั จนั ทร์ เดือน 4 แรม 10 ค่าํ ปี มะแม ตรงกบั วนั ที่ 31 มีนาคม พุทธศกั ราช 2330 มีพระนามเดิมวา่ "พระองค์
ชายทบั "
พ.ศ. 2365 พระองคช์ ายทบั ไดร้ ับสถาปนาเป็ นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์กาํ กบั ราชการกรมท่า กรมพระ
คลงั มหาสมบตั ิ กรมพระตาํ รวจวา่ การฎีกา นอกจากน้ียงั ไดท้ รงรับพระกรุณาให้แต่งสําเภาหลวงออกไปคา้ ขาย
ณ เมืองจีน พระองคท์ รงไดร้ ับพระสามญั ญานามวา่ "เจา้ สวั "
ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ในรัชการที่ 2 ทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคต โดยมิไดต้ รัส
มอบราชสมบตั ิใหแ้ ก่พระราชโอรสองคใ์ ด พระบรมวงศานุวงศ์ และบรรดาเสนาบดีผเู้ ป็ นประทานในราชการจึง
ปรึกษากนั เห็นควรถวายราชสมบตั ิแก่พระเจา้ ลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ อนั ที่จริงแลว้ ราชสมบตั ิควรตก
แก่ เจา้ ฟ้ามงกฎุ ( พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ) เพราะเจา้ ฟ้ามงกุฎ เป็ นราชโอรสท่ีประสูติจากสมเด็จ

พระบรมราชินีในรัชกาลท่ี 2 โดยตรง ส่วนกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ เป็ นเพียงราชโอรสที่เกิดจากเจา้ จอมเท่าน้นั
โดยท่ีพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ต้งั พระราชหฤทยั ไวแ้ ลว้ วา่ เมื่อสิ้นรัชกาลพระองคแ์ ลว้ จะคืนราช
สมบตั ิ ให้แก่สมเด็จพระอนุชา ( เจา้ ฟ้ามงกุฎ) ดงั น้นั พระองคจ์ ึงไม่ทรงสถาปนาพระบรมราชินี คงมีแต่เจา้ จอม
มารดา และเจา้ จอม
พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั ข้ึนครองราชยใ์ นวนั ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ข้ึน 7 ค่าํ เดือน 9 ปี วอกฉ
ศก

พระราชกรณยี กจิ สําคัญในรัชกาลที่ ๓
ด้านการปกครอง

ลกั ษณะการปกครองในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ ยงั คงเป็นแบบอยา่ งที่สืบทอดมาจากสมยั อยธุ ยาและ
กรุงธนบุรี คือ การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษตั ริยท์ รงอยใู่ นตาํ แหน่งสูงสุดของการปก
รองประเทศ ทรงเป็นประมุขผพู้ ระราชทานความพิทกั ษร์ ักษาบา้ นเมืองใหป้ ลอดภยั ตาํ แหน่งรองลงมา คือพระ
มหาอุปราช ซ่ึงดาํ รงตาํ แหน่งกรมพระราชวงั บวรสถานมงคล เช่นเดียวกบั ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาตอนปลาย
ตาํ แหน่งบงั คบั บญั ชาในดา้ นการปกครองแยกตอ่ มา คืออคั รมหาเสนาบดีฝ่ ายทหาร คือ พระสมุหพระกลาโหม
และฝ่ ายพลเรือน คือ สมุหนายก ตาํ แหน่งรองลงมา เรียก เสนาบดีจตุสดมภ์ คือ เสนาบดีเมืองหรือเวยี ง กรมวงั
กรมพระคลงั และกรมนา

ส่วนการบริหารราชการแผน่ ดิน ยงั คงจดั แบง่ ออกเป็นหวั เมืองช้นั นอก หวั เมืองช้นั ใน และหวั เมือง
ประเทศราช ดงั ท่ีเคยปกครองกนั มาต้งั แต่ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา ซ่ึงการแบง่ การปกครองในลกั ษณะน้ีก่อใหเ้ กิด
ปัญหาในการปกครองหวั เมืองประเทศราช เช่น ลาว เขมร และมลายู เพราะหวั เมืองเหล่าน้ีพยายามหาทางเป็น
เอกราช หลุดจากอาํ นาจของอาณาจกั รไทย
ด้านการทาํ นุบาํ รุงประเทศ

ในสมยั รัตนโกสินทร์ เนน้ หลกั ไปในดา้ นการก่อสร้างบา้ นเมือง ตลอดจนการขุดลอกคูคลอง สร้างป้อม
สร้างเมือง ฯลฯ เพราะอยใู่ นระยะการสร้างราชธานีใหม่ และพระมหากษตั ริยใ์ นสามรัชกาลแรกทรงยดึ ถือ
นโยบายร่วมกนั ในอนั ที่จะสร้างบา้ นเมืองใหใ้ หญ่โตสง่างามเทียบเท่ากบั กรุงศรีอยธุ ยา นบั ต้งั แตก่ ารสร้าง
พระบรมมหาราชวงั วดั วาอารามต่าง ๆ เป็นตน้

ตอ่ มาในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั วตั ถุสถานต่าง ๆ ท่ีสร้างมาต้งั แต่รัชกาลที่ 1 ทรุด
โทรมลงเป็ นอนั มาก พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงสร้างและบูรณะปฏิสังขรณ์ข้ึนใหม่ อาทิ พระบรม มหาราชวงั
และวดั วาอารามต่าง ๆ และยงั ทรงเป็นพระธุระในการขดุ แตง่ คลองเพม่ิ เติม คือ คลองสุนขั หอน คลองบางขนุ
เทียน คลองพระโขนง และคลองแสนแสบ (คลองบางขนาก)

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลท๔ี่ )

พระชนมายไุ ด้ 37 พรรษา พระราชประวตั ิรัชกาลท่ี 4 แห่งราชวงศจ์ กั รี
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ประสูติ พ.ศ. 2347 ข้ึนครองราชย์ พ.ศ. 2393 - พ.ศ. 2411)
มีพระนามเดิมวา่ เจา้ ฟ้ามหามาลา

พระราชประวตั ิ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เป็นพระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั
กบั สมเด็จพระศรีสุริเยนทรา บรมราชินี ประสูติเม่ือวนั พฤหสั บดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ตรงกบั ปี ชวด มีพระ
นามเดิมวา่ เจา้ ฟ้ามหามาลา ขณะน้นั พระราชบิดายงั ดาั รงพระยศเป็ นเจา้ ฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร เมื่อทรงพระ
เยาวไ์ ดท้ รงศึกษาอกั ขะสมยั กบั สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ เมื่อพระชนมายไุ ด้ 9 พรรษา ไดร้ ับสถาปนาเป็ นเจา้
ฟ้ามงกุฎ มีพระราชอนุชาร่วมพระราชมารดา คือ เจา้ ฟ้าจุธามณี ซ่ึงต่อมาไดร้ ับสถาปนาเป็ น พระบาทสมเด็จ
พระปิ่ นเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
เม่ือพระชนมายไุ ด้ 9 พรรษา สมเด็จพระบรมชนกนาถก็โปรดใหม้ ีการพระราชพิธีลงสรง ( พ.ศ. 2355
) เป็ นคร้ังแรกที่กระทาํ ข้ึนในกรุงรัตนโกสินทร์ ไดร้ ับพระราชทานนามจารึกในพระสุพรรณปัฎว่า " สมเด็จ
พระเจา้ ลูกยาเธอเจา้ ฟ้ามงกุฎสมมุติเทววงศ์พงศอ์ ิสรคก์ ษตั ริย์ ขตั ติยราชกุมาร " สมเด็จเจา้ ฟ้ามงกุฎฯ ไดเ้ สด็จ
ข้ึนครองราชยเ์ ม่ือวนั ท่ี 4เมษายน พุทธศกั ราช 2394 ทรงพระนามวา่ "พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั "
เรียกขานในหมูช่ าวตา่ งชาติวา่ "คิงส์มงกุฎ" ขณะที่พระองคข์ ้ึนเสวย สิริราชยส์ มบตั ิน้นั พระชนมายุ 37 พรรษา

เม่ือไดเ้ สด็จข้ึนครองราชยแ์ ลว้ ทรงโปรดเกลา้ ฯ สถาปนาสมเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอเจา้ ฟ้ากรมขุนอิศเรศ
รังสรรค์ ( พระนามเดิมเจา้ ฟ้าจุธามณีโอรสองค์ท่ี 50 ของรัชกาลสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ) ข้ึนเป็ น
สมเดจ็ พระปิ่ นเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมีฐานะเสมือนพระเจา้ แผน่ ดินอีกพระองคห์ น่ึง

พระราชกรณียกจิ ทสี่ ําคัญของรัชกาลท่ี ๔
หลงั จากที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสด็จข้ึนครองราชยแ์ ลว้ ก็ทรงทาํ นุบาํ รุงบา้ นเมืองให้

เจริ�ุรุ่งเร่ืองในทุก ๆ ดา้ น ทรงเป็นพระมหากษตั ริยผ์ ูเ้ ริ่มศกั ราชการติดต่อกบั นานาอารยประเทศอยา่ งจริงจงั
ดงั จะเห็นไดจ้ ากการท่ีประเทศตา่ ง ๆ ส่งคณะทูตเขา้ มาเจริญสัมพนั ธไมตรี และติดต่อคา้ ขาย และพระองคไ์ ด้
ทรงแต่งคณะทูต ออกไปเจริญสมั พนั ธไมตรีตอบแทนหลายคร้ัง เช่น องั กฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา โปรตุเกส
เดนมาร์ค ฯลฯ ทรงสนบั สนุนใหม้ ีการศึกษาศิลปะวทิ ยาการใหม่ ๆ เช่น วชิ าการต่อเรือใบ เรือกลไฟ เรือรบ
การฝึกทหารอยา่ งยโุ รป การยกเลิกธรรมเนียมที่ลา้ สมยั บางประการ เช่น ประเพณีการเขา้ เฝ้าใหใ้ ส่เส้ือเขา้ เฝ้า
การใหป้ ระชาชนเฝ้าแหนรับเสด็จตลอดระยะรายทางเสด็จได้ และหากประชาชนมีเร่ืองเดือนเน้ือร้อนใจก็
สามารถถวายฏีกาเพอ่ื ขอความเป็นธรรมไดโ้ ดยตรงไมต่ อ้ งผา่ นขา้ ราชการช้นั ผใู้ หญก่ ่อน ฯลฯ

พระปรีชาสามารถส่วนพระองคท์ ี่สาํ คญั ประการหน่ึงคือ วชิ าการดา้ นโหราศาสตร์ และดาราศาสตร์
ทรงสามารถคาํ นวณระยะเวลาการเกิดสุริยปุ ราคาไดอ้ ยา่ งแม่นยาํ ดงั ไดเ้ สดจ็ พระราชดาํ เนินพร้อมพระราช
อาคนั ตุกะท้งั ปวงไปชมสุริยุปราคาที่หวา้ กอ ประจวบคีรีขนั ธ์ เมื่อ พ.ศ.2411

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสด็จสวรรคต ณ พระที่นงั่ ภาณุมาศจาํ รูญ เม่ือวนั ที่1 ตุลาคม
พทุ ธศกั ราช 2411 สิริพระชนมายไุ ด้ 64 พรรษา รวมเวลาที่ปกครองประเทศนาน 17 ปี เศษ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดารวมท้งั สิ้น 82 พระองค์

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั (รัชกาลท๕่ี )

พระราชประวตั ิรัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศจ์ กั รี
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ประสูติ พ.ศ. 2396 ข้ึนครองราชย์ พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453)
มีพระนามเดิมวา่ เจา้ ฟ้าจุฬาลงกรณ์

พระราชประวตั ิ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มีพระนามเดิมวา่ " เจา้ ฟ้าจุฬาลงกรณ์ " เป็ นพระราชโอรส
ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 4 กบั สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ( สมเด็จพระนาง
รําเพยภมรภิรมย์ ) พระองคป์ ระสูติเมื่อวนั ท่ี 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 ตรงกบั วนั องั คาร แรม 3 ค่าํ เดือน 10 ได้
ทรงรับสถาปนาเป็นกรมหม่ืนพฆิ เนศวรสุรสังกาศ และกรมขนุ พอนิจประชานาถ
ดา้ นการศึกษา พระองค์ทรงได้รับการศึกษาเป็ นมาอย่างดี คือ ทรงศึกษาอกั ษรศาสตร์ โบราณราช
ประเพณี ภาษาบาลี ภาษาองั กฤษ ภาษาไทยรัฐประศาสนศาสตร์ วิชากระบี่ กระบอง วิชาอศั วกรรม วิชา
มวยปล้าํ การยิงปื นไฟ เมื่อพระชนมายไุ ด้ 16 พรรษา ไดข้ ้ึนเถลิงถวลั ยราชสมบตั ิโดยมีสมเด็จเจา้ พระยาบรม
มหาศรีสุริยวงศเ์ ป็นผสู้ าํ เร็จราชการ พ.ศ. 2410 พระเจา้ นโปเลียนท่ี 3 แห่งฝรั่งเศส ไดส้ ่งพระแสงกระบ่ีมาถวาย
คร้ันพระชนมายคุ รบที่จะวา่ ราชการได้ พระองคจ์ ึงไดท้ รงทาํ พิธีราชาภิเษกใหม่อีกคร้ังหน่ึง เม่ือ พ.ศ. 2416 ทาํ
ใหเ้ กิดผลใหญ่ 2 ขอ้
1. ทาํ ให้พวกพ่อคา้ ชาวต่างประเทศหันมาทาํ การติดต่อกบั พระองคโ์ ดยตรง เป็ นการปลูกความนิยมนบั ถือกบั
ชาวต่างประเทศไดเ้ ป็นอยา่ งดีเยย่ี ม

2. ทาํ ใหพ้ ระองค์ มีพระราชอาํ นาจท่ีจะควบคุมกาํ ลงั ทหารการเงินไดโ้ ดยตรงเป็ นไดท้ รงอาํ นาจในบา้ นเมือง
โดยสมบูรณ์

พระราชกรณียกิจที่สาํ คญั ของรัชกาลที่ 5 ไดแ้ ก่ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหม้ ีเลิกทาส การป้องกนั
การเป็นอาณานิคมของฝร่ังเศส และจกั รวรรดิองั กฤษ ไดม้ ีการประกาศออกมาใหม้ ีการนบั ถือศาสนาโดยอิสระ
ในประเทศ โดยบุคคลศาสนาคริสตแ์ ละศาสนาอิสลามสามารถปฏิบตั ิการในศาสนาไดอ้ ยา่ งอิสระ นอกจากน้ี
ไดม้ ีมีการนาํ ระบบจากทางยโุ รปมาใชใ้ นประเทศไทย ไดแ้ ก่ระบบการใชธ้ นบตั รและเหรียญบาท ใชร้ ะบบเขต
การปกครองใหม่ เช่น มณฑลเทศาภิบาล จงั หวดั และอาํ เภอ และไดม้ ีการสร้างรถไฟ สายแรก คือ กรุงเทพฯ ถึง
เมืองนครราชสีมา ลงวนั ที่ 1 มีนาคม ร.ศ.109 ซ่ึงตรงกบั พุทธศกั ราช 2433 นอกจากน้ีไดม้ ีงานพระราชนิพนธ์
ที่สาํ คญั
การเสียดินแดน

ภาพการรบระหว่างไทย-ฝรั่งเศส ในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ท่ีปากน้าํ เมืองสมุทรปราการ ซ่ึงนาํ ไปสู่
การเสียดินแดนของไทยใหแ้ ก่ฝรั่งเศสเป็นจาํ นวนมาก

พระบรมราชนุสาวรียพ์ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ที่ป้อมพระจุลจอมเกลา้ ปากน้าํ เมือง
สมุทรปราการ การเสียดินแดนใหฝ้ ร่ังเศส

คร้ังที่ 1 เสียแคว้นเขมร (เขมรส่วนนอก) เน้ือที่ประมาณ 123,050 ตารางกิโลเมตร และเกาะ
อีก 6 เกาะ วนั ท่ี 15 กรกฎาคม 2410

คร้ังท่ี 2 เสียแควน้ สิบสองจุไท หวั พนั หา้ ท้งั หก เมืองพวน แควน้ หลวงพระบาง แควน้ เวยี งจนั ทน์ คาํ
ม่วน และแควน้ จาํ ปาศกั ด์ิฝั่งตะวนั ออก (หวั เมืองลาวท้งั หมด) โดยยึดเอาดินแดนสิบสองจุไทย และไดอ้ า้ งว่า
ดินแดนหลวงพระบาง เวียงจนั ทน์ และนครจาํ ปาศกั ด์ิ เคยเป็ นประเทศราชของญวนและเขมรมาก่อน จึงบีบ
บงั คบั เอาดินแดนเพ่ิมอีก เน้ือท่ีประมาณ 321,000 ตารางกิโลเมตร วนั ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2431 ฝรั่งเศสข่มเหง
ไทยอยา่ งรุนแรงโดยส่งเรือรบล่วงเขา้ มาในแม่น้าํ เจา้ พระยา เม่ือถึงป้อมพระจุลจอมเกล้า ฝ่ ายไทยยิงปื นไม่
บรรจุกระสุน 3 นดั เพื่อเตือนให้ออกไป แต่ทางฝรั่งเศสกลบั ระดมยงิ ปื นใหญ่เขา้ มาเป็ นอนั มาก เกิดการรบกนั
พกั หน่ึง ในวนั ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436 ฝรั่งเศสนาํ เรือรบมาทอดสมอ หนา้ สถานทูตของตนในกรุงเทพฯ ได้
สาํ เร็จ (ท้งั น้ีประเทศองั กฤษ ไดส้ ่งเรือรบเขา้ มาลอยลาํ อยู่ 2 ลาํ ท่ีอ่าวไทยเช่นกนั แต่มิไดช้ ่วยปกป้องไทยแต่
อยา่ งใด) ฝรั่งเศสยนื่ คาํ ขาดใหไ้ ทย 3 ขอ้ ใหต้ อบใน 48 ชวั่ โมง เน้ือหา คือ

ใหไ้ ทยใชค้ า่ เสียหายสามลา้ นแฟรงค์ โดยจ่ายเป็นเหรียญนกจากเงินถุงแดง พร้อมส่งเช็คใหส้ ถานทูต
ฝรั่งเศสแถวบางรัก ใหย้ กดินแดนบนฝั่งซา้ ยแมน่ ้าํ โขงและเกาะตา่ งๆ ในแม่น้าํ ดว้ ย

ให้ถอนทัพไทยจากฝั่งแม่น้ําโขงออกให้หมดและไม่สร้างสถานท่ีสําหรับการทหาร ใน
ระยะ 25 กิโลเมตร ทางฝ่ ายไทยไม่ยอมรับในขอ้ 2 ฝรั่งเศสจึงส่งกองทพั มาปิ ดอ่าวไทย เมื่อวนั ที่ 26 กรกฎาคม
- 3 สิงหาคม พ.ศ. 2436 และยดึ เอาจงั หวดั จนั ทบุรีกบั จงั หวดั ตราดไว้ เพ่ือบงั คบั ใหไ้ ทยทาํ ตาม

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั (รัชกาลท๖ี่ )

พระราชประวตั ิรัชกาลท่ี 6 แห่งราชวงศจ์ กั รี
พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ประสูติ พ.ศ. 2423 ข้ึนครองราชย์ พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2468)
มีพระนามเดิมวา่ สมเด็จเจา้ ฟ้ามหาวชิราวธุ

พระราชประวตั ิ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชสมภพเม่ือ วันเสาร์ ที่ 1 มกราคคม
พ.ศ. 2421 พระองคท์ รงเป็ นพระราชโอรสของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั และสมเด็จพระนาง
เจา้ เสาวภาผอ่ งศรี ( สมเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชเทวี ) เม่ือยงั ทรงพระเยาวท์ รงพระนามวา่ "สมเด็จเจา้ ฟ้า
มหาวชิราวุธ" ได้รับสถาปนาเป็ นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนเทพทวาราวดี ในปี พ.ศ. 2431 และต่อมาในปี
พ.ศ. 2437 สมเดจ็ พระบรมเชษฐาธิราชเจา้ ฟ้าชายมหาวชิราวุธ ไดร้ ับสถาปนาเป็ นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
สยามมงกุฎราชกุมารดาํ รงตาํ แหน่งรัชทายาท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ ฯ จึงไดร้ ับสถาปนาเป็ นสมเด็จ
พระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฎราชกมุ าร ดาํ รงตาํ แหน่งรัชทายาทแทน

พระราชกรณยี กจิ ทส่ี ําคญั ของรัชกาลท่ี 6
ด้านการศึกษา

ในดา้ นการศึกษา ทรงริเร่ิมสร้างโรงเรียนข้ึนแทนวดั ประจาํ รัชกาล ไดแ้ ก่ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ซ่ึง
ในปัจจุบันคือโรงเรี ยนวชิราวุธวิทยาลัย ท้ังยังทรงสนับสนุนกิจการของโรงเรี ยนราชวิทยาลัยซ่ึง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัวโปรดเกลา้ ฯ ให้สถาปนาข้ึนในปี พ.ศ. 2440 (ปัจจุบนั คือโรงเรียน
ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ)์ และในปี พ.ศ. 2459 ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระดิษฐาน
“โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว” ข้ึนเป็ น “จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั ” ซ่ึงเป็นมหาวทิ ยาลยั แห่งแรกของประเทศไทย
การเปิ ดโรงเรียนในเมืองเหนือ

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมื่อคร้ังยงั ทรงดาํ รงพระอิสริยยศสยามมกฎุ ราชกมุ ารไดเ้ สด็จ
พระราชทานนามโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลยั เม่ือวนั ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2449 ซ่ึงไมเ่ ป็นเพียงแตก่ ารนาํ
รูปแบบการศึกษาตะวนั ตกมายงั หวั เมืองเหนือเทา่ น้นั แต่ยงั แฝงนยั การเมืองระหวา่ งประเทศเอาไวด้ ว้ ย[16]
เห็นไดจ้ ากการเสดจ็ ประพาสมณฑลพายพั ท้งั สองคร้ังระหวา่ ง พ.ศ. 2448-2450 พระองคไ์ ดท้ รงสนพระทยั ใน
กิจการโรงเรียนท่ีจดั ต้งั ข้ึนมาใหม่ท้งั สิ้น โดยพระองคท์ รงบนั ทึกไวใ้ นพระราชนิพนธ์ "เที่ยวเมืองพระร่วง"
และ "ลิลิตพายพั "[16] ท้งั น้ี เป้าหมายของการจดั การศึกษายงั แฝงประโยชน์ทางการเมืองท่ีจะใหช้ าวทอ้ งถ่ิน
กลมเกลียวกบั ไทยอีกดว้ ย[16]
ด้านการเศรษฐกจิ

ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ิคลงั ออมสิน พ.ศ. 2456 ข้ึน เพื่อใหป้ ระชาชนรู้จกั
ออมทรัพยแ์ ละเพอ่ื ความมน่ั คงในดา้ นเศรษฐกิจของประเทศ อีกท้งั ยงั ทรงริเร่ิมก่อต้งั บริษทั ปูนซิเมนตไ์ ทยข้ึน
ด้านการคมนาคม

ในปี พ.ศ. 2460 ทรงต้งั กรมรถไฟหลวง และเร่ิมเปิ ดการเดินรถไฟสายกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่ สายใต้
จากธนบุรีเช่ือมกบั ปี นงั และสิงคโปร์ อีกท้งั ยงั ทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างสะพานพระราม 6 เพีอ่ เช่ือมทางรถไฟ
ไปยงั ภูมิภาคอื่น

พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รัชกาลท่ี ๗)

พระราชประวตั ิรัชกาลที่ 7 แห่งราชวงศจ์ กั รี
พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ประสูติ พ.ศ. 2436 ข้ึนครองราชย์ พ.ศ. 2468 - พ.ศ. 2477)
มีพระนามเดิมวา่ เจา้ ฟ้าชายประชาธิปกศกั ดิเดช กรมหลวงสุโขทยั ธรรมราชา

พระราชประวตั ิ
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็ นโอรสองค์ที่ 76 ทรงเป็ นพระโอรสองค์เล็กของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ซ่ึงทรงประสูติแด่สมเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชินีนารถ นบั วา่
เป็ นพระราชโอรสองค์เล็กสุด ประสูติ เมื่อวนั ท่ี 8 พฤศจิการยน พ.ศ. 2436 ตรงกับวนั พุธ แรม 14 ค่ํา
เดือน 11 ปี มะเส็ง ทรงพระนามเดิมวา่ " เจา้ ฟ้าชายประชาธิปกศกั ดิเดช กรมหลวงสุโขทยั ธรรมราชา
เมื่อทรงมีพระชนมายไุ ด้ 12 พรรษา พระองคไ์ ดเ้ ขา้ ศึกษา ในวทิ ยาลยั ทหารบก ณ ประเทศองั กฤษจน
จบและไดเ้ สดจ็ กลบั มารับราชการในรัชกาลที่ 6 ซ่ึงเป็นพระเชษฐาธิราชของพระองค์ โดยไดร้ ับยศเป็ นนายพนั
โททหารบกมีตาํ แหน่งเป็ นราชองครักษ์ และผูบ้ งั คบั การโรงเรียนนายร้อยช้นั ประถม ต่อมาภายหลงั ไดเ้ ลื่อน
ตาํ แหน่งเป็ นลาํ ดบั จนเป็ นนายพนั เอก มีตาํ แหน่งเป็ นปลดั กรมเสนาธิการทหารบก ก่อนข้ึนครองราชสมบตั ิมี
ตาํ แหน่งเป็นผบู้ ญั ชาการกองพลทหารราบที่ 2

พระราชกรณยี กจิ ทสี่ ําคัญของรัชกาลที่ 7
ด้านการทาํ นุบํารุงบ้านเมือง

เศรษฐกิจ สืบเนื่องจากผลของสงครามโลกคร้ังท่ี 1 ประเทศทวั่ โลกประสบปัญหาภาวะเศรษฐกิจ ตกต่าํ
ซ่ึงมีผลกระทบกระเทือนมาสู่ประเทศไทย พระองคไ์ ดท้ รงพยายามแกไ้ ขการงบประมาณของประเทศใหง้ บดุล
อยา่ งดีที่สุด โดยทรงเสียสละตดั ทอนรายจา่ ยส่วนพระองค์ โดยมิไดข้ ้ึนภาษีใหร้ าษฎร เดือดร้อน
การสุขาภิบาลและสาธารณูปโภค โปรดใหป้ รับปรุงงานสุขาภิบาลทว่ั ราชอาณาจกั รใหท้ ดั เทียมอารยประเทศ
ขยายการส่ือสารและการคมนาคม โปรดใหส้ ร้างสถานีวิทยกุ ระจายเสียงแห่งแรกใน ประเทศไทย ในส่วน
กิจการรถไฟ ขยายเส้นทางรถทางทิศตะวนั ออกจากทางจงั หวดั ปราจีนบุรี จน กระทงั่ ถึงต่อเขตแดนเขมร
การส่งเสริมกิจการสหกรณ์ใหป้ ระชาชนไดม้ ีโอกาสร่วมกนั ประกอบกิจการทางเศรษฐกิจ โดยทรงพระกรุณา
โปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ. 2471 ข้ึน
ทรงสละพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคส์ ร้างโรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมกรุง ซ่ึงนบั เป็นโรงภาพยนตร์ทนั สมยั ใน
สมยั น้นั ติดเคร่ืองปรับอากาศ เพื่อเป็ นสถานบนั เทิงใหแ้ ก่ผคู้ นในกรุงเทพมหานคร สาํ หรับในเขตหวั เมือง ทรง
ไดจ้ ดั ต้งั สภาจดั บาํ รุงสถานที่ชายทะเลทิศตะวนั ตกข้ึน เพอ่ื ทาํ นุบาํ รุงหวั หินและใกลเ้ คียงใหเ้ ป็นสถานที่ตาก
อากาศชายทะเลแก่ประชาชนท่ีมาพกั ผอ่ น

ในปี พ.ศ. 2475 เป็นระยะเวลาท่ีกรุงเทพฯ มีอายคุ รบ 150 ปี ทรงจดั งานเฉลิมฉลองโดยทาํ นุบาํ รุง
บูรณปฏิสังขรณ์สิ่งสาํ คญั อนั เป็นหลกั ของกรุงเทพฯ หลายประการ คือ บูรณะวดั พระศรีรัตนศาสดาราม
พระบรมมหาราชวงั สร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ เพ่ือเชื่อมกรุงเทพฯและธนบุรี เป็นการขยายเขต เมือง
ใหก้ วา้ งขวาง และสร้างพระบรมราชานุสาวรียพ์ ระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล(รัชกาลท๘ี่ )

พระราชประวตั ิรัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศจ์ กั รี
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล (ประสูติ พ.ศ. 2468 ข้ึนครองราชย์ พ.ศ. 2472 - พ.ศ. 2489)
มีพระนามเดิมวา่ พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ อานนั ทมหิดล

พระราชประวตั ิ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล มีพระนามเดิมวา่ พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้
อานนั ทมหิดล ทรงพระราชสมภพ เม่ือวนั อาทิตยท์ ่ี 20 กนั ยายน พ.ศ. 2468 ตรงกบั วนั ข้ึน 3 ค่าํ เดือน 11 ปี ฉลู
ณ เมืองไฮเดลแบร์ก ประเทศเยอรมนั นี ทรงเป็นพระราชโอรสองคท์ ่ี 2 ของสมเด็จพระราชบิดาเจา้ ฟ้ามหิดล
อดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ ทรงมีพระพน่ี างและพระอนุชาร่วม
สมเดจ็ พระราชบิดาและสมเด็จพระราชชนนีเดียวกนั คือ
1. สมเด็จพระเจา้ พ่นี างเธอ เจา้ ฟ้ากลั ยาณิวฒั นา
2. สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟ้าภูมิพลอดุลยเดช
พ.ศ. 2472 สมเดจ็ พระราชบิดา เจา้ ฟ้ามหิดลอดุลยเดชกรมหลวงสงขลานครินทร์เสด็จทิวงคต
พ.ศ. 2474 พระองคไ์ ดเ้ สด็จไปทรงศึกษาท่ีโรงเรียนมาแตร์เดอี ถนนเพลินจิต
พ.ศ. 2476 เสดจ็ พระราชดาํ เนินไปทวปี ยโุ รป ประทบั ณ เมืองโลซานนป์ ระเทศสวสิ เซอร์แลนด์

พ.ศ. 2477 ทรงเสด็จข้ึนครองราชย์ เม่ือวนั ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้
เจา้ อยหู่ วั ไมม่ ีพระราชโอรสและพระราชธิดาที่จะสืบราชสันตติวงศ์ และดว้ ยความเห็นชอบของผสู้ าํ เร็จ
ราชการแผน่ ดินท่ีไดด้ าํ เนินการไปตามกฎมณเฑียรบาล
พ.ศ. 2481 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหิดล ไดเ้ สด็จพระราชดาํ เนินกลบั เย่ยี มประเทศไทยพร้อม
ดว้ ยสมเดจ็ พระชนนี สมเด็จพระพีน่ างเธอและสมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งเธอ ไดท้ รงประประทบั อยทู่ ี่พระตาํ หนกั

จิตรลดารโหฐานประมาณ 2 เดือน จึงเสด็จไปประเทศสวสิ เซอร์แลนด์ เพื่อเขา้ ศึกษาวชิ านิติศาสตร์ และการ
ปกครองในมหาวทิ ยาลยั ประเทศน้นั
พ.ศ. 2488 วนั ที่ 20 กนั ยายน พ.ศ. 2488 พระองคท์ รงบรรลุนิติภาวะ จึงเสด็จกลบั มาถึงประเทศไทยอีกคร้ัง
หน่ึง และในวนั ที่ 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2488 ไดท้ รงประทบั อยู่ ณ พระท่ีนงั่ บรมพิมานในพระบรมมหาราชวงั
ผสู้ าํ เร็จราชการแทนคนล่าสุดคือ นายปรีดี พนมยงค์ ไดถ้ วายพระราชภารกิจแด่พระองคเ์ พือ่ ไดท้ รงบริหาร
เตม็ ท่ีตามพระราชอาํ นาจ

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภูมพิ ลอดุลยเดช(รัชกาลท๙่ี )

พระราชประวตั ิรัชกาลท่ี 9 แห่งราชวงศจ์ กั รี
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช (ประสูติ พ.ศ. 2470 ข้ึนครองราชย์ พ.ศ. 2489 - ปัจจุบนั )

พระราชประวตั ิ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงสมภพเม่ือวนั ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ เมือง
เคมบริจดจม์ ลรัฐเมสสาชูเสท ประเทศสหรัฐอเมริกา ทรงเป็ นพระราชโอรสาธิราช องคท์ ่ี 3 ในสมเด็จพระราช
ชนนีศรีสังวาลย์ ( สมเด็จพระศรีนครินทรทรา บรมราชชนนี ) พระองคเ์ ป็ นพระราชโอรสองคเ์ ล็ก ทรงมีพระ
เชษฐาธิราชวา่ " พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั อานนั ทมหิดล " พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ รัชกาลท่ี 8 และมีพระพี่
นาง พระนามวา่ " สมเดจ็ พระพ่นี างเธอเจา้ ฟ้ากลั ยาณิวฒั นา "
พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ กลบั เถลิงถวลั ยราชสมบตั ิตอ่ จากพระบรมเชษฐาเม่ือวนั ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ขณะ
มีพระชนั ษา 19 ปี ก่อนครองราชยไ์ ดท้ รงศึกษาวชิ าวิศวกรรมศาสตร์และไดเ้ สด็จกลบั ไปศึกษาวชิ านิติศาสตร์
และรัฐประศาสนศาสตร์ตอ่ อีกภายหลงั ท่ีไดค้ รองราชยแ์ ลว้
ทรงสนพระทยั ในอกั ษรศาสตร์ และการดนตรีทรงรอบรู้ภาษาตา่ งประเทศหลายภาษาและตรัสไดอ้ ยา่ ง
คล่องแคล่ว จนเป็ นที่ประจกั ษ์แก่คณะทูตานุทูตและประชาชนชาวเมืองน้ันๆ เป็ นอย่างดี ต่างพากนั ชมว่า
พระองคท์ รงมีความรู้ทนั สมยั ท่ีสุดพระองคห์ น่ึง สําหรับดนตรีน้นั ทรงประพนั ธ์เน้ือร้องและทาํ นองเพลงแด่

คณะวงดนตรีต่างๆ มีเพลงพระราชนิพนธ์ที่คนไทยรู้จกั เช่น เพลงสายฝน เพลงประจาํ มหาวิทยาลยั จุฬาลงกรณ์
เพลงประจาํ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ พระองค์เคยเขา้ ร่วมวงดนตรีกบั ชาวต่างประเทศมาแลว้ โดยไม่ถือ
พระองค์

รัชกาลท่ี 10 สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกรู

พระนามเดิมของพระองค์ เดิมวา่ สมเด็จ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้าวชิราลงกรณ บรมจกั รยาดิศรสันตติ
วงศ เทเวศรธาํ รง สุบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาดุลเดช ภูมิพลนเรศวรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควฒั น์
บรมขตั ติยราชกุมาร ซ่ึงเป็ นพระราชโอรสเพียงพระองคเ์ ดียว ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ
ดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระองค์ทรงพระราชสมภพ เมื่อวนั จนั ทร์ที่ ๒๘
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ เมื่อเวลา ๑๗ นาฬิกา ๔๕ นาที ณ พระท่ีนงั่ อมั พรสถาน พระราชวงั ดุสิต
การศึกษา
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจา้ ฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงไดร้ ับการศึกษาระดบั อนุบาล
ศึกษาท่ีพระที่นง่ั อุดร พระราชวงั ดุสิต และทรงเขา้ รับการศึกษาระดบั ประถมศึกษาและระดบั มธั ยมศึกษา
โรงเรี ยนจิตรลดา ระหว่างพุทธศักราช ๒๔๙๙ –๒๕๐๕ ท่ีประเทศอังกฤษระหว่างพุทธศักราช
๒๕๐๙ – ๒๕๑๓

หลงั จากน้นั ไดท้ รงศึกษาระดบั เตรียมทหารที่โรงเรียนคิงส์ นครซิดนี่ย์ ประเทศออสเตรเลีย แลว้ เขา้ รับ
การศึกษาระดบั อุดมศึกษา ทรงไดร้ ับปริญญาอกั ษรศาสตรบณั ฑิต (การศึกษาดา้ นทหาร) คณะการศึกษาดา้ น
ทหาร จากมหาวทิ ยาลยั นิวเซาทเ์ วลล์ ประเทศออสเตรเลีย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙


Click to View FlipBook Version