The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานเว็บไซต์เพื่อคนรักสุขภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fadee7955, 2022-01-11 00:35:41

โครงงานเว็บไซต์เพื่อคนรักสุขภาพ

โครงงานเว็บไซต์เพื่อคนรักสุขภาพ

เวบ็ ไซต์เพอื่ คนรักสุขภาพ
( health lover )

จดั ทาโดย
นางสาวฟาดลี ะฮ์ ตาเยะ รหสั นักศึกษา 63302040115
นางสาวอาซีรา จูเมาะ รหสั นกั ศกึ ษา 63302040011

โครงงานนี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศึกษาตามหลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ สงู
สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยการอาชพี สายบุรี ประจาปีการศกึ ษา 2564

เว็บไซต์เพอื่ คนรักสุขภาพ
( health lover )

จดั ทาโดย
นางสาวฟาดลี ะฮ์ ตาเยะ รหสั นักศึกษา 63302040115
นางสาวอาซีรา จูเมาะ รหสั นกั ศกึ ษา 63302040011

โครงงานนี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ สงู
สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ทิ ลั สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยการอาชพี สายบุรี ประจาปีการศกึ ษา 2564



คานา

การจัดทาโครงงานในครั้งน้ี เป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาโครงงาน รหัสวิชา 30204-8571602 หลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง สาขาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทัล โดยคณะผู้จัดทาได้จัดทาโครงงานประเภท เว็บไซต์เพ่ือ
คนรักสุขภาพ การที่บุคคลใดบุคคลหน่ึงมีสุขภาพท่ีแข็งแรงเป็นปัจจัยที่สาคัญประการหน่ึงที่ส่งเสริมให้บุคคลน้ัน
ประสบความสาเร็จในด้านต่างๆ อาทิเช่น ด้านการศึกษา ด้านการทางาน เปน็ ต้น เน่ืองจากผู้มสี ุขภาพแข็งแรงจะมี
ความสามารถทางร่างกาย จติ ใจ และเวลามากกวา่ คนท่ีไมแ่ ขง็ แรง

ในรายงานเล่มนี้ประกอบดว้ ย ความเป็นมาและความสาคญั ของโครงงาน วัตถุประสงค์ของโครงงาน ทฤษฎี
และเอกสารที่เกี่ยวข้อง นิยามคัพท์เฉพาะของโครงงาน วิธีการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน สรุปอภิปรายและ
ขอ้ เสนอแนะ คณะผจู้ ัดทาหวังเปน็ อยา่ งยิ่งว่า รายงานเลม่ นี้จะเป็นประโยชน์ต่อผอู้ ่านหรือผู้ที่สนใจในรายงานเล่มนี้
หากรายงานเล่มนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ทางคณะผู้จดั ทาต้องขออภยั ณ โอกาสน้ี และยินดีท่จี ะนาคาตชิ มพฒั นา
ปรับปรุงแกไ้ ขในโอกาศตอ่ ไป

คณะผจู้ ัดทา
นางสาวฟาดลี ะฮ์ ตาเยะ
นางสาวอาซรี า จเู มาะ



กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงงานเล่มนี้เป็นส่วนหน่ึงของวิชาโครงงาน ในหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง ซ่ึงเน้ือหาโครงงานเล่มน้ีจะเร่ิมตั้งแต่การนาเสนอโครงงาน การออกแบบเว็บไซต์ ตลอดจนผลการ
ดาเนินงานการสร้างเว็บไซต์

คณะผู้จัดทาโครงงาน ตอ้ งขอขอบคุณอาจารย์ มิรันตี ซสู ารอ อาจารย์ท่ีปรึกษารว่ มเป็นอย่างยิ่งทีไ่ ด้แนะนา
จนโครงงานสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และสมบรู ณค์ ณะผู้จัดทาโครงงานจึงขอพระคณุ เป็นอยา่ งสูง

คณะผู้จัดทาโครงงาน ต้องขอขอบคุณคุณพ่อคุณแม่ และเพ่ือนๆท่ีได้ให้คาแนะนาและคาปรึกษาเกี่ยวกับ
การจัดทาโครงงานในครั้งนี้ รวมท้งั เป็นกาลังใจทีด่ ีอย่เู สมอมา

คณะผจู้ ัดทาโครงงานต้องขอขอบคุณทุกท่านทไ่ี ดใ้ ห้คาปรึกษา และสนับสนุนเกี่ยวกับการจัดทาโครงงานใน
ดา้ นต่างๆ ทาให้โครงงานสาเร็จลุล่วงไปด้วดี และผู้จัดทาโครงงานหวังว่าโครงงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ท่านไม่
มากกน็ อ้ ย หากผิดพลาดประการใดต้องการขออภัยมา ณ ทน่ี ด้ี ว้ ย

คณะผจู้ ัดทา
นางสาวฟาดลี ะฮ์ ตาเยะ
นางสาวอาซีรา จเู มาะ



ช่อื โครงงาน : เว็บไซต์เพื่อคนรกั สขุ ภาพ

(health lover)

ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ : นางสาวฟาดลี ะฮ์ ตาเยะ รหสั นักศึกษา 63302040115

: นางสาวอาซีรา จูเมาะ รหัสนักศกึ ษา 63302040011

สาขาวชิ า : เทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ิทัล

ครูท่ีปรกึ ษา : นางสาวมิรนั ตี ซูสารอ

___________________________________________________________________________________

บทคัดย่อ

โครงงาน เว็บไซต์เพื่อคนรักสุขภาพเล่มนี้ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเอารูปแบบการเรียนรู้
เก่ียวกับความหมายของอาหารเพื่อสุขภาพ ซ่ึงเป็นส่ือท่ีได้รับความสนใจและเป็นท่ีนิยมในระดับหน่ึง ได้นามา
ประยุกต์เข้ากับการเรียนรู้โดยได้ศึกษารูปแบบและพัฒนาการเรียนรู้ เว็บไซต์เพื่อคนรักสุขภาพสามารถนามาใช้ใน
ชวี ิตประจาวันของเราได้

จากการศึกษาค้นคว้าการทาโครงงานในครั้งนี้พบว่ามีข้อมูลท่ีน่าสนใจเกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพด้วย
ตนเอง และมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ท่ีสนใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองด้วย และสามารถนาประโยชน์ที่ได้รับ
จากการเข้าชมเว็บไซต์ได้นามาใช้ประโยชน์ให้ได้มากท่ีสุด นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างความสามัคคีภายในกลุ่มอีก
ด้วย สื่อเว็บไซต์ในครั้งน้ีทาการสร้างด้วยโปรแกรม Adobe Dreamweaver CS6 เป็นโปรแกรมท่ีใช้ในการพัฒนา
ในคร้ังนี้



สารบัญ

เร่ือง หน้า
คานา.............................................................................................. ..................................................................ก
กิตตกิ รรมประกาศ...........................................................................................................................................ข
บทคดั ย่อ..........................................................................................................................................................ค
สารบญั .............................................................................................................................................................ง
สารบัญ(ต่อ)............................................................................................................................. ........................จ
สารบญั ตาราง..................................................................................................................................................ฉ
สารบัญภาพ.....................................................................................................................................................ช

บทท่ี 1 บทนา
1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ......................................................................................................1
1.2 วัตถปุ ระสงค์การวิจัย..................................................................................................................1
1.3 กรอบแนวคิดการวิจัย.................................................................................................................2
1.4 ขอบเขตการวจิ ัย.........................................................................................................................2
1.5 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ.........................................................................................................๒
1.6 นยิ ามศพั ท.์ .................................................................................................................................3

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง
2.1 ความหมายของสุขภาพ..............................................................................................................4
2.2 ความสาคญั ของสุขภาพ.............................................................................................................5
2.3 ทฤษฎีการดแู ลของวัตสัน...........................................................................................................6
2.4 ทฤษฎกี ารดแู ลตนเองของของโอเร็ม..........................................................................................6
2.5 แนวคดิ เร่อื งการดูแลตนเอง.......................................................................................................7
2.6 งานวิจัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง....................................................................................................................8
2.7 การเร่มิ ตน้ ใชง้ านโปรแกรม Dreamweaver cs6....................................................................10
2.8 การเริ่มตน้ ใช้งานโปรแกรม canva………………………………………………………………………...........11

บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนินการวจิ ัย
ขน้ั ตอนที่ 1 การวางแผนการวจิ ยั ....................................................................................................13
ขนั้ ตอนที่ 2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง..........................................................................................13
ขั้นตอนท่ี 3 เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา............................................................................................13



สารบัญ(ต่อ)

เร่อื ง หนา้
ขั้นตอนท่ี 4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู .................................................................................................14
ข้ันตอนที่ 5 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ......................................................................................................14
ขน้ั ตอนที่ 6 ข้ันตอนการดาเนินการสร้างเวบ็ ไซต์............................................................................15
ข้ันตอนที่ 7 สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล....................................................................................21

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู
ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม.......................................................23
ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหค์ วามพึงพอใจ.........................................................................................24

บทที่ 5 สรุปผลการวจิ ัย อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
5.1 สรปุ ผล.....................................................................................................................................25
5.2 อภิปรายผล..............................................................................................................................25
5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการจดั ทาโครงงาน................................................................................25
5.4 แนวทางการแก้ไข.....................................................................................................................26
5.5 ข้อเสนอแนะ.............................................................................................................................26

บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

ก แบบเสนอขออนุมตั โิ ครงงาน
ข ขัน้ ตอนการสรา้ งเว็บไซต์
ค แบบสอบถามความพงึ พอใจ
แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
ประวัติผู้จัดทาโครงงาน



สารบัญตาราง

ตารางท่ี หน้า

ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงค่าความถ่ีและรอ้ ยละ ของจานวนผู้ตอบแบบสอบถาม..........................................23

ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงเปอร์เซ็นต์ ของค่าเฉล่ีย ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน

และระดบั ความพึงพอใจ............................................................................................................24



สารบญั ภาพ

ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 2.1 โปรแกรม Dreamweaver cs6……………………………………………………………………………………...10
ภาพที่ 2.2 โปรแกรม canva……………………………………………………………………………………………………….....11
ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ................................................................................................................12
ภาพท่ี 6.1 หนา้ หลกั ของเว็บไซต.์ .................................................................................................................15
ภาพที่ 6.2 ความหมายของอาหารเพื่อสุขภาพ.............................................................................................16
ภาพที่ 6.3 ความหมายของอาหารเพื่อสุขภาพ(ต่อ)......................................................................................16
ภาพท่ี 6.4 ประโยชน์ของอาหารเพ่อื สุขภาพ................................................................................................17
ภาพท่ี 6.5 ประโยชน์ของอาหารเพ่ือสขุ ภาพ(ต่อ).........................................................................................17
ภาพท่ี 6.6 วิธีดูแลสุขภาพด้วยตนเอง...........................................................................................................18
ภาพท่ี 6.7 วิธีดูแลสุขภาพด้วยตนเอง(ต่อ)....................................................................................................18
ภาพท่ี 6.8 ผักผลไม้เพ่ือสุขภาพ....................................................................................................................19
ภาพที่ 6.9 ผักผลไมเ้ พ่ือสุขภาพ(ต่อ).............................................................................................................19
ภาพท่ี 6.10 เมนอู าหารเพื่อสขุ ภาพ..............................................................................................................20
ภาพท่ี 6.11 เมนอู าหารเพ่ือสุขภาพ(ต่อ).......................................................................................................20
ภาพที่ 6.12 เมนูเครอ่ื งดื่มเพื่อสขุ ภาพ..........................................................................................................21
ภาพท่ี 6.13 เมนูเคร่อื งด่ืมเพื่อสุขภาพ(ต่อ)...................................................................................................21

บทที่ 1
บทนา

1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ในสังคมปัจจุบันอินเตอร์เน็ตได้มีบทบาทสาคัญของแต่ละคนในชีวิตประจาวันโดยการใช้การค้นคว้าหา

ข้อมูล หาความรู้ หาคาตอบส่ิงอ่ืนๆในเรื่องต่างๆ เช่นในโลกปัจจุบันกระแสในเรื่องการรักสุขภาพ และการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่มีอิทธิพลอย่างย่ิงต่อคนในสังคมไทย โดยเฉพาะสังคมเมืองท่ีกระแสทุนนิยมได้
ทางานควบคู่กับกระแสบริโภคนิยม ซ่ึง ได้แทรกซมึ ไปอย่างลกึ ซ้ึงจนกระแสความนิยมนั้นได้กลับกลายเป็นลักษณะ
นิสัย และวิธีชีวิต การอยู่ การกิน การนอน การออกกาลังกาย การบารุงร่างกาย การรักษาร่างกายของคนในสังคม
ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะสังคมไทย ต้องดารงอยู่ท่ามกลางวิถีชีวิตแบบอุตสาหกรรมที่เน้นการ
ทางานการแสวงหากาไร การเจริญก้าวหน้า การเป็นผู้นา ความโดดเด่น การแสวงหาเป็นที่ยอมรับ ซ่ึงส่งผลต่อ
สถานะทางสุขภาพของคนในสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป ดังจะเห็นได้จากจานวนผู้ปว่ ยโรคต่างๆ อันมีเหตุปัจจัยมาจาก
พฤติกรรมสุขภาพทเ่ี ป็นผลมาจากพฤติกรรมการไม่ออกกาลังกาย ความเครียด การบริโภคอาหารไมเ่ ป็นเวลาไม่เป็น
ประโยชน์ หรือปนเปื้อนด้วยสารผิด การพักผ่อนไม่เพียงพอ เร่ืองสุขภาพและการดูแลสุขภาพเป็นเรื่องท่ีมี
ความสาคัญอยา่ งมากตอ่ คนในสงั คมตอนนี้

สภาวะของรา่ งกายและจิตใจของมนุษย์ การท่ีมนุษย์จะดารงชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสขุ นัน้ ต้องเป็นผู้
ท่ีมีสภาวะของร่างกายและจิตใจสมบูรณ์ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และมีโครงสร้างของร่างกายที่เหมาะสม ผู้ที่มี
สุขภาพที่ดีจะสามารถปฏิบัติงานหรือทากิจกรรมต่างๆ ได้อย่างคล่องแคล่ว มีบุคลิกภาพที่ดี สุขภาพแข็งแรงเป็นที่
ช่ืนชมของคนทั่วไป และสามารถคบค้าสมาคมได้อย่างสนิทใจ ซ่ึงเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีจะทาให้ประสบความสาเร็จใน
ชวี ิตในด้านต่างๆ การรับประทานอาหารเพ่ือสขุ ภาพและการดแู ลสุขภาพจะช่วยให้การทางานของร่างกายของคุณดี
ข้ึน ในปัจจุบันการใช้ชีวิตอย่างเร่งรีบทาให้เกิดความเครียด ขาดการออกกาลังกาย ขาดการรับประทานอาหารท่ีที
คุณภาพ ขาดความสนใจต่อสุขภาพตังเองทาให้เกิดโรคต่างๆ ซึ่งเกิดจากการไม่ดูแลตัวเองให้ดี จึงส่งผลให้เกิด
ปัญหาโรคภัยต่างๆ ตามมา ดังน้ัน การดูแลสุขภาพตนเอง เป็นกิจกรรมที่บุคคลแต่ละคนจะต้องปฏิบัติเพื่อให้ที
สุขภาพที่ดียิ่งข้ึน หลายคนรับประทานอาหารที่หาง่ายแต่ไม่ดีต่อสุขภาพ และไม่ได้คานึงถึงผลเสียของการ
รับประทานอาหารนน้ั ทาใหค้ นเหลา่ น้ีมีสขุ ภาพทีไ่ ม่ดี และทาให้เกิดโรคภัยตา่ งๆ มากมาย

ทางกลุ่มจึงได้จัดทาโครงงานเว็บไซต์เพ่ือคนรักสุขภาพจึงเล็งเห็นถึงความสาคัญในประเด็นดังกล่าวจึงได้
ดาเนินการสร้างเว็บไซต์เพื่อคนรักสุขภาพท่ีดีข้ึนมา เพ่ือให้ผู้ที่สนใจในประเด็นดังกล่าวได้ร่วมกันพูดคุย ถ่ายทอด
ความรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ด้านสุขภาพ ดังนั้นโครงงานเว็บไซต์เพ่ือคนรักสุขภาพ จึงเป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติตนเพ่ือศึกษาให้เข้าใจสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคต่างๆ และการเลือกบริโภคอาหารท่ีมีผลดีต่อสุขภาพ และการ
เลือกรบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชนต์ ่อสุขภาพ

1.2 วัตถุประสงค์การวจิ ัย
1.2.1 เพ่ือแบ่งปันความรเู้ ก่ียวกบั การดแู ลสุขภาพทดี่ ี และการแนะนาอาหารที่ดีต่อสขุ ภาพ
1.2.2 เพ่ือส่งเสริมใหผ้ ู้ศกึ ษามสี ขุ ภาพทด่ี ี และแขง็ แรง หลีกเล่ยี งจากโรคภัยตา่ งๆ
1.2.3 เพอื่ นาความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการเรยี นโปรแกรมการสรา้ งเว็บไซต์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในรปู แบบ

ของโครงงาน

1.3 กรอบแนวคดิ การวิจยั ๒
ตัวแปรตน้
ตวั แปรตาม
ปจั จยั นา
ปจั จยั การดูแลสุขภาพ
1. ความรู้เกี่ยวกบั การดแู ลสุขภาพ
2. เจตคตติ ่อการดแู ลสุขภาพ 1. ด้านความรับผิดชอบต่อสขุ ภาพ
3. การรบั รู้ประโยชนข์ องการดูแล 2. ดา้ นโภชนาการ
สขุ ภาพ 3. ดา้ นการทากิจกรรม การออกกาลงั กาย
และการบริโภคอาหาร
ปจั จัยทางชีวสังคม 4. ดา้ นการจัดการสภาพแวดล้อมรอบตัว
5. ดา้ นการตรวจและการดูแลตนเอง
1. เพศ
2. อายุ
3. อาชพี
4. รายได้

1.4 ขอบเขตการวจิ ัย
1.3.1 ดา้ นเนื้อหา/รายละเอียด
- มเี นื้อหา/ส่อื เวบ็ ไซตเ์ กี่ยวกับการดูแลสขุ ภาพท่ดี ี
- มีรูปภาพประกอบ
1.3.2 ด้านโปรแกรมทใ่ี ชง้ านในการพัฒนา
- โปรแกรม adobe Dreamweaver cs6
- โปรแกรม Canva
1.3.3 ดา้ นประชากร/กลุ่มตัวอยา่ งทใี่ ช้ในการสารวจความพึงพอใจ
- ประชากร คือ นักศึกษา ศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพ อาเภอทุ่งยางแดง สาขาวิทยาลัยการอาชีพ
ปตั ตานี จานวน ๑๕๗ คน
- กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาชายระดับช้ัน ปวส. 1 ศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพ อาเภอทุ่งยางแดง ที่มี
อายุระหว่าง 19-21 ปี จานวน 10 คน และ นักศึกษาหญิงระดับช้ัน ปวส. 2 ศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพ
อาเภอท่งุ ยางแดง ทมี่ อี ายุระหวา่ ง 22-24 ปี จานวน 10 คน

1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.4.1 นกั ศึกษามีความรเู้ กีย่ วกับการดูแลสขุ ภาพที่ดี และการเลอื กอาหารที่ดตี อ่ สุขภาพ
1.4.2 ผู้ศกึ ษามีสุขภาพทด่ี ี และแข็งแรง หลีกเล่ยี งจากโรคภัยตา่ งๆ
1.4.3 ไดเ้ ว็บไซตเ์ พ่ือคนรักสุขภาพ ๑ เว็บไซต์



1.6 นิยามศพั ท์
- กระบวนการติดสินใจ
กระบวนกการตัดสินใจ (process of decision making) หมายถึง การกาหนดขั้นตอนของการตัดสินใจ

ตง้ั แต่ข้ันตอนแรกไปจนถึงข้ันตอนสุดท้ายการตัดสินใจโดยมีลาดับขน้ั ของกระบวนการดังกล่าวเป็นการตัดสินใจโดย
ใช้หลักเหตุผลและมีกฎเกณฑ์ซึ่งเป็นการตัดสินใจโดยใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นเคร่ืองมือช่วยในการหา
ข้อสรปุ เพือ่ การตดั สิน

- สขุ ภาพ
สุขภาพ หมายถึง การมีร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บในทุกส่วนของร่างกาย มีสุขภาพจิตดี และ
สามารถปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างปกติสุข ผู้มีสุขภาพดีถือว่าเป็นกาไรของชีวิต เพราะทาให้ผู้เป็น
เจ้าของชีวิตดารงชวี ิตอยู่อย่างเปน็ สุขได้น่ันเอง
- การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ หมายถึง การแสดงออกหรือการกระทาของประชาชนในการทาให้ตนเองมีความสมบูรณ์
แข็งแรง ปราศจากความเจ็บป่วยท้ังทางร่างกายและจิตใจ สามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข โดย
ครอบคลุมพฤติกรรมการ ดูแลสุขภาพในด้าน ความรับผิดชอบต่อสุขภาพตนเอง ด้านโภชนาการ และด้านกิจกรรม
และการออกกาลงั กาย
- ความรเู้ กี่ยวกบั การดูแลสขุ ภาพ
ความรู้เก่ียวกับการดแู ลสุขภาพ หมายถงึ ความสามารถในการอธิบายหรือเข้าใจเนื้อหาความรู้การนาไปใช้
และพสิ ูจน์แลว้ เป็นความจรงิ ซ่ึงเป็นความรู้ทางพฤตกิ รรมสุขภาพสว่ นบุคคล
- การบรโิ ภค
การบริโภค หมายถึง ความหมายของการบริโภค คือ การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการท้ังในรูปของ
การบริโภคและอุปโภค ซ่ึงการบริโภคหมายถึงการใช้ประโยชน์จากสินค้าโดยการนาเข้าสู่ร่างกาย ส่วน อุปโภคจะ
หมายถึง การใช้ประโยชนจ์ ากสนิ ค้านนั้ โดยไมต่ ้องผา่ นเข้าส่รู ่างกาย

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง

ในการจัดทาโครงงาน เว็บไซต์เพื่อคนรักสุขภาพ ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดี คณะผู้จัดทาได้
ศึกษาหาขอ้ มลู งานวจิ ยั และเอกสารท่เี กย่ี วข้องไว้ดงั น้ี

2.1 ความหมายของสขุ ภาพ
2.2 ความสาคัญของสุขภาพ
2.3 ทฤษฎกี ารดูแลของวัตสัน
2.4 ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม็
2.5 แนวคดิ เรื่องการดูแลตนเอง
2.6 งานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
2.7 การเรม่ิ ตน้ ใช้งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
2.8 การเริ่มต้นใชง้ านโปรแกรม canva

2.1 ความหมายของสขุ ภาพ
องค์กรอนามัยโลก ( WHO: World Health Organization) ได้ใ้ห้คานิยามคาว่า สุขภาพในความหมาย

กว้างขน้ึ ว่า สุขภาพ หมายถึง สุขภาวะท่ีสมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต และทางสังคม และได้ให้ความหมายของคาว่า
สุขภาพ ไวในธรรมนูญขององค์การอนามัยโลกเมื่อปี ค.ศ.1948 ไว้ ดังน้ี “สุขภาพ หมายถึง สภาวะแห่ง ความ
สมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจรวมถึงการดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข และมิได้หมายความเฉพาะ
เพียงแต่การปราศจากโรคและทุพพลภาพ เท่านั้น” ต่อมาในท่ีประชุม สมชชาองค์การอนามัยโลกเมื่อเดือน
พฤษภาคม พ.ศ. 2541 ได้มีมติให้ เพ่ิมคาว่า “Spiritual well-being” หรือสุขภาวะทางจิตวิญญาณเข้าไปในคา
จากดั ความของสขุ ภาพ

ในอดีตคาวา่ สุขภาพ หมายถงึ สขุ ภาพกายเปน็ หลัก ต่อมาจึงไดก้ ล้าวถึงสุขภาพจิตรว่ ม ไปด้วย เพราะเห็น
ว่าคนที่มีสุขภาพกายสมบูรณ์แข็งแรง แต่สุขภาพจิตเส่ือมโทรมหรือเป็นโรคจิตก็ไม่สามารถดาเนินชีวิตเป็นปกติสุข
ได้ ซ้าร้ายอาจจะทาร้ายผู้อื่นได้อีกด้วยปัจจุบัน คาว่า สุขภาพ มิได้หมายเฉพาะสุขภาพกายและสุขภาพจิตเท่านั้น
แต่ยังหมายรวมถึงสุขภาพสังคม และ สุขภาพศีลธรรมอีกด้วยสรุปว่าในความหมายของ “สุขภาพ” ในปัจจุบันมี
องคป์ ระกอบ 4 ส่วน ด้วยกันคือ

1. สุขภาพกาย หมายถึง สภาพท่ีดีของร่างกายกล่าวคืออวัยวะต่างๆอยู่ในสภาพที่ดีมี ความแข็งแรง
สมบรู ณ์ทางานไดต้ ามปกติ และมีความสัมพนั ธ์กับทกุ สว่ นเป็นอยา่ งดี และก่อใหเกดิ ประสิทธิภาพที่ดใี นการทางาน

2. สุขภาพจิต หมายถึง สภาพของจิตใจท่ีสามารถควบคุมอารมณ์ได้มีจิตใจเบิกบาน แจ่มใส มิใหเกิดความ
คับขอ้ งใจหรอื ขดแย้งในจิตใจ สามารถปรบั ตัวเข้ากบั สังคมและส่ิงแวดลอมได้อย่างมีความสุข

3. สขุ ภาพสังคม หมายถงึ สภาวะที่ดขี องปญั ญาท่ีมีความรั่วรเู้ ท่าทนและความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผล
แห่งความดีความชั่วความมีประโยชน์และความมีโทษ ซ่ึงนาไปสู้ความมีจิตอันดีงามและเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่



4. สุขภาพศีลธรรมหมายถึง บุคคลท่ีมีสภาวะทางกายและจิตใจที่สุขสมบูรณ์สามารถ ปฏิสัมพันธ์ และ
ปรบั ตัวให้อยู่ ในสังคมได้เป็นอยา่ งดแี ละมีความสุข

องคค์ วามรู้ด้านสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ มีสั่งสมไว้มากพอสมควร และเรามีระบบบริการสขุ ภาพทท่ี างานได้ผลดี
ทีเดียวแต่เราขาดการศึกษาสุขภาพสังคมและสุขภาพศีลธรรมอย่างเป็นระบบและ เชื่อมโยงหากทาได้เราจะ
จดั การกับสุขภาพสังคมและสุขภาพศีลธรรมได้ดกี ว่าน้ีท่ีจริงทางตะวนออกและโดยเฉพาะในบริบทของวัฒนธรรม
ไทยก็มีเน้ือหาความรู้และขอปฏิบัติไว้มากมายเพียงแต่ “นักวิชาการสุขภาพ” ยังมิได้จัดเป็นระบบและเช่ือมโดย
จรงิ จังตัวอย่างเช่น ในเร่ืองสุขภาพสังคมหากเรานาเอาวิถีชีวิต มารยาท ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม
ไทยมาพูดจากันอย่างจริงจัง และนาเข้าไปอยู่ในระบบอบรมเลี้ยงดูและระบบการศึกษา รวมท้ังระบบบริการ
สุขภาพด้วยกจะเกิดประโยชน์หรือในเรื่องสุขภาพศีลธรรมเราก็มี ศาสนาธรรมพร้อมสรรพ ไม่วาจะเป็นศาสนา
พุทธคริสต์อิสลาม ฮินด-ู พราหมณ์ หรือสิกข์หรือปรัชญาขงจ๊ือที่คนไทยเชื้อสายจีนยึดถือเป็นแนวทางชีวิตล้วนแต่
มีคุณค่ามหาศาลที่เราควรนาไปสั่งสอนลูกหลานหรือลูกศิษย์และเป็น องค์ประกอบสาคัญของการศึกษาและการ
สาธารณสขุ ของประเทศ

ตามร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 2545 ให้ความหมายของคาว้า สุขภาพ คือภาวะท่ีมีความพร้อม
สมบูรณ์ท้ังทางร่างกายคือร่างกายท่ีสมบูรณ์แข็งแรงคล่องแคล่วมีกาลัง ไม่เป็นโรคไม่พิการไม่มีอุบัติเหตุอันตราย
มีส่ิงแวดล้อมทส่ี ง่ เสรมิ สุขภาพ

ดังน้ัน “สุขภาพ” จึงหมายถึงการมีร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บในทุกส่วนของร่างกาย มี
สุขภาพจิตดีและสามารถปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างปกติสุข ผู้มีสุขภาพดีถือว่าเป็นกาไรของชีวิต
เพราะทาใหผ้ เู้ ปน็ เจ้าของชีวิตดารงชีวติ อยู่อยา่ งเปน็ สขุ ได้

2.2 ความสาคัญของสขุ ภาพ
ตามคาสอนของสมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า สิ่งท่ีจาเป็นสาหรับชีวิตหรือปัจจัยสี่ ได้แก่ อาหาร ที่พัก

อาศัย ยารักษาโรค และเคร่ืองนุ่งห่ม จะเห็นได้ว่าแท้ที่จริงแล้ว ปัจจัยที่ 4 อย่างนี้ก็มีความเก่ียวพันกันโดยตรง ต่อ
สุขภาพของมนุษย์เราเป็นอย่างยิ่ง เพราะแต่ละปัจจัยมีผลต่อสุขภาพทั้งสิ้น ถ้าหากจะกล่าวกันว่า ในการท่ี มนุษย์
เราจะดารงชีวิตอยู่อย่างมีความสุขในโลกนี้นั้น องค์ประกอบสาคัญที่สุดอย่างหน่ึงได้แก่ “สุขภาพ” ก็คง ไม่ผิด
เพราะการมีสุขภาพท่ีดีย่อมเป็นท่ีพึงปรารถนาของมวลมนุษย์ทุกคน สาหรับ “ทุกขภาพ” น้ันคงไม่มีผู้ใด ต้องการ
เป็นแน่ สุขภาพจึงเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นท่ียากจะหาสิ่งอื่นใดมาเปรียบได้ ดังที่สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าได้
ตรัสไว้เป็นพระพุทธภาษิตวา่ “อโรคฺยา ปรมาลาภา” ซ่ึงแปลว่า “ความไม่มีโรคเป็นลาภอัน ประเสริฐหรือเป็นลาภ
อย่างยิ่ง” พระพุทธภาษิตข้อนี้แม้แต่ชาวอารยประเทศทางตะวนั ตกก็ยังยอมรบั นับถือกนั และได้มีผู้นาไปตีพิมพ์ลง
ในหนงั สือสขุ วิทยาบางเล่ม พร้อมท้ังแปลไวว้ ่า “สุขภาพ คือ พรอันประเสรฐิ สดุ ”

มนุษย์ที่เกิดมาจาเป็นต้องดารงชีวิตในโลกน้ีให้ได้ส่ิงที่คดิ ว่าดีท่ีสุดสาหรบั ตนและพยายามใช้ชีวิตให้ยืนยาว
ที่สุดเท่าที่ตนสมารถทาได้มนุษย์มีความต้องการทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม ซึ่งก่อให้เกิด แรงผลักดันนาไปสู่
การปฏิบัติเพื่อตอบสนองความต้องการด้วยวธิ ีการต่างกันเท่าที่โอกาส สติและปัญญาจะอานวย หารความต้องการ
ในเบ้ืองต้นน้ีได้รับการตอบสนอง ก็จะมีความต้องการเพิ่มขึ้นท้ังปริมาณและความ ซับซ้อน หรือมีความต้องการใน
เร่ืองอื่นต่อไปไม่ส้ินสุด เน่ืองจากมนุษย์แต่ละคนมีความแตกต่างกันการกาหนดความต้องการและการตอบสนองที่
หลากหลาย ยอ่ มสง่ ผลกระทบต่อตนเองและสงั คมท้ังทางบวกและทางลบได้



การท่ีบุคคลมีสุขภาพจึงเปรยี บเสมือนมีทรัพยากรภายในตนเป็นขุมพลังทจี่ ะโน้มนาโดยสามารถใช้ ชวี ิตท่ีมี
คุณค่าท้ังดา้ นส่วนตัวและส่วนรวม อาจกลา่ วได้ว่า สุขภาพคือ บุคคลท่ีมีคุณภาพชีวติ สามารถดารงชีวิตในสังคมได้
ด้วยดีทาสง่ิ ที่ดมี ีประโยชน์ อนั นามาซง่ึ ความสุข ความเจริญตอ่ ตนเองและสังคม

นอกจากนี้บุคคลแต่ละคน ย่อมเป็นสมาชิกคนหน่ึงของสถาบันครอบครัว ชุมชนประเทศ และของ โลก
ภาวะสุขภาพของแต่ละคน จะส่งผลกระทบต่อสมาชิกคนอื่นๆและสุขภาพโดยรวม บุคคลจึงมีหน้าท่ีใน การดูแล
รกั ษาและสง่ เสรมิ สขุ ภาพของตนและรบั ผิดชอบตอ่ ผลกระทบท่ีมตี ่อส่วนรวม หากคนมสี ุขภาพ ยอ่ มทาให้ครอบครัว
ชุมชนประเทศ และโลกมีคุณภาพมีสนั ติภาพมคี วามสุข และมีความเจริญทีแ่ ท้จรงิ ได้

2.3 ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน
ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson’s Caring theory: 1985) เป็นทั้งปรัชญาและทฤษฎี ทางการ

พยาบาล ที่มีจุดเน้นท่ีทีการดูแล (Caring) ซ่ึงพัฒนามาตั้งแต่ ปีค.ศ. 1979 ภายใต้อิทธิพล ทางด้านมานุษยวิทยา
รวมท้ังความรู้สึกผูกพันต่อบทบาทการดูแลเพ่ือการฟ้ืนหายของผู้ป่วยท่ีวัตสัน ประจักษ์ด้วยตัวเองประกอบกบ
ประสบการณ์ ของวัตสันขณะเผชิญความเจ็บป่วย เผชิญการสูญเสียบุคคลอนเป็นท่ีรัก ปัจจุบันทฤษฎีนี้ได้รับการ
พัฒนาจนวัตสันเรียกว่าเป็น ศาสตร์การดูแลมนุษย์ (Human Caring Science) และมีการจัดตั้งศูนย์การดูแล
มนุษย์ ( Human science caring center) ที่คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยโคโรลาโด รวมทั้งได้จัดตั้งสถาบัน
วิทยาศาสตร์การดูแลวัตสัน (The Watson Caring Science Institute) ซ่ึงมีลักษณะเป็นมูลนิธิที่มุ่งเน้นการ
พัฒนาทฤษฎีการดูแล การปฏิบัติการพยาบาล การวิจัย บนปรัชญาการดูแลมนุษย์ทฤษฎีการดูแลของวัตสันได้รับ
การ พัฒนาอย่างต่อเน่ืองรวมทั้งนาไปใช้ในการพยาบาลท่ีเน้นรูปแบบการดูแลที่เขาถึงจิตใจกันระหว่าง คนสองคน
(Transpersonal caring model) เพ่ือให้เกิดการฟื้นหาย (Healing) และมีการใชเป็น แนวคิดเพ่ือการศึกษาวิจัย
ในวงกวางทง้ั การวิจยั เชงิ คณุ ภาพ และเชงิ ปริมาณ

2.4 ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม็
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม (Orem, 1985: 38-41) เป็นแนวคิดที่สร้างขึ้นหรือ ค้นพบจากความ

เป็นจริงเก่ียวข้องกับการพยาบาลมีวัตถุประสงคเพ่ือบรรยายอธิบาย ทานาย หรือ กาหนดวิธีการพยาบาลเป็น
ทฤษฎีทางการพยาบาลท่ีรู้จักแพร่หลายในวิชาชีพพยาบาลและมีการนาไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการ
พยาบาลเป็นพ้ืนฐานของการสร้างหลักสูตรในโรงพยาบาล บางแห่งและเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัยทางการ
พยาบาลโอเร็ม อธิบายมโนทัศน์ของการดูแลไว้ ว่า “การดูแลตนเองเป็นการปฏิบัติกิจกรรมท่ีบุคคลริเร่ิมและ
กระทาเพ่ือให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ในการดารงไว้ซึ่งชีวิต สุขภาพ และความเป็นอยู่อันดี” การสร้างทฤษฎีการ
ดูแลตนเองโอเร็มใช้ พื้นฐานความเชอื่ ทีน่ ามาอธิบายมโนทัศนห์ ลักของทฤษฎี ไดแ้ ก่

1. บคุ คลเป็นผู้มคี วามรบั ผิดชอบต่อการกระทาของตนเอง
2. บุคคลเป็นผูท้ ่ีมคี วามสามารถและเต็มใจทจ่ี ะดแู ลตนเองหรือผู้ทอี่ ยู่ในความปกครองของตนเอง
3. การดูแลตนเองเป็นส่ิงสาคัญ และเป็นความจาเป็นในชีวิตของบุคคลเพื่อดารงรักษา สุขภาพชีวิตการ
พฒั นาการ และความเปน็ ปกติสุขของชีวติ (Well bing)
4. การดูแลตนเองเป็นกิจกรรมที่เรียนรู้และจดจาไว้ได้จากสังคม สิ่งแวดล้อม และการติดต่อสื่อสารที่ซ้า
กันและกัน
5. การศึกษาและวัฒนธรรมมีอิทธพิ ลต่อบคุ คล



6. การดูแลตนเองหรอื การดแู ลผู้อยู่ ในความปกครองหรือผอู้ ่นื เปน็ สิ่งทม่ี คี ่าควรแกก่ ารส่งเสริม
7. ผู้ป่วยคนชราคนพิการ หรือทารกต้องได้รับการช่วยเหลือดูแลจากบุคคลอื่น เพื่อสามารถที่จะกลับมา
รบั ผิดชอบดแู ลตนเองไดต้ ามความสามารถที่มีอยู่ขณะนั้น
8. การพยาบาลเป็นการบริการเพื่อมนุษย์ซึ่งกระทาโดยมีเจตนาท่ีจะช่วยเหลือ สนับสนุนบุคคลท่ีมีความ
ต้องการที่ดารงความมีสุขภาพดีในช่วงระยะเวลาหน่ึงทฤษฎีทางการ พยาบาลของโอเร็ม ประกอบด้วย 3 ทฤษฎี
ที่สาคัญ ไดแ้ ก่
8.1 ทฤษฎีดูแลตัวเอง (Self – care Theory)
8.2 ทฤษฎีความพร่องในการดแู ลตนเอง (The theory of self-care defi
8.3 ทฤษฎรี ะบบพยาบาล (The theory of nursing system)

2.5 แนวคิดเรื่องการดูแลตนเอง
1. สุขภาพไม่ใช่โรคและการรักษาโรคเท่านั้น แต่หมายถึงสุขภาวะที่สมบูรณ์เชื่อมโยง กันทุกด้าน้ ซึ่ง

เก่ียวข้องกับเศรษฐกิจ จิตใจ ครอบครัว ชุมชน สังคม วัฒนธรรม และส่ิงแวดล้อมซ่ึง จะเช่ือมโยงเกี่ยวข้องไป
ด้วยกนั ท้งั หมด เพื่อใหก้ ารเคล่ือนไหวเร่ืองสุขภาพเป็นการเคล่ือนไหวท่ีใหญท่ ุกดา้ น

2. สุขภาพเป็นอุดมการณ์ของชาติถ้าคนมีสุขภาพที่สมบูรณ์จะทางานได้ดีผลผลิตต่างๆ จะเพิ่มข้ึน
เศรษฐกิจของชาติจะดีคา่ ใช้จา่ ยในการรักษาจะลดลงประชาชนมีสขุ ภาพแข็งแรงทาให้มีประสิทธิภาพในการทางาน
เศรษฐกจิ ของชาตกิ จ็ ะดขี ึ้น

3. ระบบสขุ ภาพเป็นระบบสร้างนาซ่อม ปัจจุบันจะมีการรณรงค์ในเร่ืองการออกกาลังกาย การระมัดระวัง
เรื่องอาหารการกินที่มีสารพิษ การส่งเสริมสุขภาพจิต การลดความเสี่ยงจากอุบัติภัยการให้ความรู้เร่ืองการรักษา
สุขภาพแกป่ ระชาชน การควบคมุ และปราบปรามสารเสพติด ซ่ึงส่งิ ตา่ งๆทีก่ ลา่ วมาน้ีล้วนเป็นการสร้างเสริมสุขภาพ
ทงั้ สิ้นการออกกาลังกายกเ็ ป็นการสรา้ งเสรมิ สุขภาพวิธีหนึ่งที่รฐั บาลกาลังรณรงคอ์ ยู่ในขณะน้ี

4. รัฐจะต้องกาหนดนโยบายพื้นฐานท่ีจะปฏิบัติเพื่อความผาสุกของประชาชน พระราชบัญญัติสุขภาพ
แห่งชาติได้กาหนดหน้าที่ของรัฐในการดาเนินการต่างๆ เพื่อการมีสุขภาพท่ีสมบูรณ์ของประชาชน เช่น การดูและ
ระบบบริการสาธารณสุขไม่ใหเป็นไปเพ่ือการค้ากาไรเชิงธุรกิจการกระจายรายได้เพ่ือแก่ไขความยากจน เพราะ
ความยากจนเปน็ อุปสรรคต่อการมีสุขภาพดี

5. ความมั่นคงด้านสุขภาพ ความม่ันคงทางด้านต่างๆเป็นเร่ืองที่รัฐและประชาชนต้องร่วมมือกันสร้างให
เกดิ ขนึ้ เพ่อื เป็นหลักประกนั ว่าสุขภาพทส่ี มบรู ณจ์ ะมคี วามม่ันคงและย่ังยืน

6. ต้องมีการจัดระบบสุขภาพท่ีสมบูรณ์ระบบสุขภาพที่สมบูรณ์จะต้องมีองค์ประกอบครบและทางาน
เชื่อมโยงกันอยา่ งสมบูรณซ์ ึ่งองคป์ ระกอบต่างๆ มดี ังน้ี

6.1 ระบบสร้างเสริมสุขภาพ
6.2 ระบบปอ้ งกันและควบคมุ ปญั หาที่คกุ คามทางสุขภาพ
6.3 ระบบบรกิ ารสาธารณสขุ
6.4 ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ดา้ นสขุ ภาพปจั จบุ ันยาสมุนไพรกับการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
6.5 ระบบค้มุ ครองผู้บริโภคดา้ นสุขภาพ
6.6 ระบบสมองของระบบสขุ ภาพ



6.7 ระบบกาลังคนด้านสาธารณสุข กาลังคนดา้ นการแพทย์มีความสาคัญยิ่งต่อสาธารณสุขในปัจจุบนั
7. สุขภาพดีไมม่ ีขายถ้าอยากได้ต้องสรา้ งเอง เป็นแนวคิดท่ีว่าสุขภาพดีมีได้ทุกคนทุกคนมีสทิ ธ์ิท่ีจะมี และ
เป็นหนา้ ทขี่ องทกุ คนท่ีจะต้องดแู ลส่งเสรมิ สขุ ภาพใหด้ ดี ้วยตัวของตัวเอง
8. โรคภัยไข้เจ็บและอุบัติเหตุมิใช่เคราะห์กรรม คนเราต้องมีการป้องกันมิให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บและ
อบุ ัตเิ หตุข้นึ กบั ตนเองอย่าดาเนินชีวติ ด้วยความประมาทอย่าคดิ ว่า “อะไรจะเกดิ ก็ตอ้ งเกิด”
9. ประหยัดเงนิ ตรา การทีค่ นเรามสี ขุ ภาพสมบูรณ์ไมม่ ีโรคภัยไขเ้ จ็บและอุบัติเหตุก็จะ ทาให้ไมต่ ้องสญู เสีย
เงินตราไปกบั การรักษา
10. การใช้คาว่า “สร้างเสริมสุขภาพ” แทนคาว่า “ส่งเสริมสุขภาพ” การใช้คาว่า “สร้างเสริมสุขภาพ”
จะใหความรู้สึกใหมๆ่ มโนภาพใหม่ๆ ทาให้มคี วามรสู้ กึ อยากทจ่ี ะสร้างเสริม สุขภาพให้แก่ตนเอง
10.1 มีพฤติกรรมสุขภาพทดี่ ีเช่น ออกกาลังกายเป็นประจา รบั ประทานอาหารที่มีคณุ ค่าและเหมาะสม
10.2 สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพจิต โดยมีการป้องกันและลดความเครียด การมีจิตจติ ใจท่ดี ี
10.3 การสร้างเสริมส่ิงแวดล้อมเพ่ือสุขภาพ ควรมีการอนุรักษและจัดสิ่งแวดล้อมท่ี เอื้อต่อสุขภาพ
สิ่งแวดล้อมทเี่ อ้ือตอ่ สุขภาพ สิง่ แวดล้อมทเี่ ป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพ
10.4 สร้างเสริมสังคมทมี่ สี ุขภาวะท่ดี ี
10.5 มกี ระบวนการทีน่ โยบายเปน็ ไปเพอื่ สขุ ภาวะของสังคม รัฐไดพ้ ยายามจัดให้มี นโยบายเป็นไปเพอ่ื สุข
ภาวะของสังคม เชน่ พระราชบญั ญตั ิสุขภาพแห่งชาติประกันสุขภาพ ถ้วนหน้า เปน็ ตน้

2.6 งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
สุดารัตน์ กางทองและคณะ (2552: บทคัดย่อ)ศึกษาเร่ือง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ของบุคลากรใน

มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เพ่ือทราบถึงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของบุคลากร ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สกลนครผลการศึกษาที่ได้จะใช้เป็นแนวทางในการกาหนดแผนเพ่ือป้องกัน และแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการดูแล
สุขภาพ ไม่ถูกต้องของบุคลากรเพ่ือให้บุคลากรมีสุขภาพ ร่างกายท่ีแข็งแรงปราศจากโรค และมีจิตใจท่ีสมบูรณ์
สามารถปรับตัวเข้ากบั สิ่งแวดล้อมได้และ ทางานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ซง่ึ จะส่งผลใหบ้ ุคลากรประสบความสาเร็จ
ในด้านการทางาน พบว่า พบว่าบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครมีระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพทั้ง 4
ด้าน ประกอบด้วยพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหาร พฤติกรรมด้านการออกกาลังกายพฤติกรรม ด้าน การจัดการ
กับอารมณ์ และความเครียดและพฤตกิ รรมด้านการดแู ลสขุ ภาพท่ัวไปส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง

จรุง วรบุตร (2550: 90-91) ศึกษาการ เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
ตนเองจาแนกตาม เพศอายุรายได้ระดับการศึกษาอาชีพ และภาวะสุขภาพ เปน็ ปจั จัยท่ีมีอิทธพิ ลต่อพฤติกรรมการ
ดูแลสุขภาพของประชาชนวัยกลางคน อาเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี พบว่าประชนวัยกลางคน ที่มีรายได้
ครอบครัวต่างกันคือ มีรายได้ไม่เพียงพอ เพียงพอแต่ไม่เหลือเก็บ และเพียงพอและเหลือเก็บบ้างมีพฤติกรรมการ
ดูแลสุขภาพตนเองไม่แตกต่างกันที่มีอายุแตกต่างกัน คือ 40-44 ปี 45-49 ปี 50-54 ปีและ 55-60 ปีมี
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพท่ีไม่แตกต่างกัน รับการศึกษาท่ีต่างกันคือ ประถมศึกษาหรือต่ากว่า และสูงกว่า
มัธยมศึกษาตอนปลายมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไม่แตกต่างกัน และการ ประกอบอาชีพที่ต่างกันคือ
เกษตรกรรม การประมงธุรกิจท่องเท่ียวและอื่นๆ พฤตกิ รรมการดูแล สุขภาพตนเองไมแ่ ตกต่างกัน



พิษนุ อภิสมาจารโยธิน (2549: บทคัดย่อ) ศึกษาความสัมพันธ์ของ การดูแลสุขภาพตนเองตาม
ยุทธศาสตร์เมืองไทย แข็งแรงของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยในจังหวัด นครปฐม พบว่า นักศึกษา
ตระหนักถึงเร่ืองการดูแลสุขภาพในระดับมาก ส่วนใหญ่จะมีความรู้ใน เร่ืองสุขภาพ มีอารมณ์ความรู้สึกเรื่อง
สุขภาพในระดับมาก และมีแนวโน้มในการกระทาระดับปานกลาง มีแรงจูงใจจากครอบครัวเร่ืองสุขภาพในระดับ
มากและการจูงใจจากเพ่ือนระดบั ปานกลาง

โดยที่นักศึกษามีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองตามยุทธศาสตร์เมอื งไทยแข็งแรงในระดับปานกลางโดย
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในด้านอารมณ์ และอบายมุขในระดับมาก ส่วนการดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในด้าน
อาหาร อโรคยา อนามัยสิ่งแวดล้อมและออกกาลังกายอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ เพศอายุ
ภูมิลาเนาท่ีพักอาศัยในปัจจุบัน และสภาพทางเศรษฐกิจมี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการการดูแลสุขภาพตนเอง
ตามยุทธศาสตรเ์ มืองไทยแข็งแรง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ0.01 ส่วนภูมิลาเนาเดิม และโรคประจาตัว ไม่
มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ปัจจัยเสริม ได้แก่ความตระหนักเรื่องสุขภาพการจูงในจาก
ครอบครัวและการจูงใจจากเพ่ือนในเร่ืองสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ตาม
ยุทธศาสตร์เมืองไทยแข็งแรง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ0.01 ปัจจัยเกื้อหนุน ได้แก่ บริบทของสถานศึกษา
ที่แตกต่างกัน คือ มหาวิทยาลัยที่เน้นด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ สิ่งแวดลอม้ และมหาวิทยาลัยท่ีเน้นด้าน
ศิลปะศาสตร์สังคมศาสตร์และศึกษาศาสตร์มีพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตนเองตามยุทธศาสตร์เมองไทยแข็งแรง
แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ี ระดบั 0.05

พรศรี แหยมอุบล (2547: 34) ศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียน ระดับ มัธยมศึกษา
ตอนปลาย ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จานวน 378 คน พบว่า นักเรียนมี ระดับ ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ
และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในระดับปานกลางส่วนความคิด เก่ียวกับการมีสุขภาพดีและการจูงใจจาก
สังคมในการดูแลสุขภาพอยู่ในระดับมากนักเรียนท่ีมี ลักษณะการอยู่อาศัยแตกต่างกันมีพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพ
ไม่แตกต่างกันส่วนนักเรียนท่ีมีเพศ และภาวะสุขภาพในปัจจุบันแตกต่างกันมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง
แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 ส่วนความคิดเก่ียวกับการมีสขุ ภาพดี และการจูงใจจากสังคมใน
การ ดูแลสุขภาพสามารถรวมทานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนได้ร้อยละ 22.6 อย่างมี
นัยสาคัญทางสถติ ิทีร่ ะดบั .001

วนิดา นองใน (2540: บทคัดย่อ ) ศึกษาปัจจัยที่มีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมสง่ เสริมสุขภาพ ของ คนงานสตรี
โรงงานอุตสาหกรรมส่ิงทอ จังหวัดปทุมธานีพบว่าปัจจัยทมความสัมพันธ์กับ พฤติกรรม การส่งเสริมสุขภาพ คือ
ปัจจัยนาได้ แก่อายุ ประสบการณ์การทางาน ความรู้เก่ียวกับการส่งเสริม สุขภาพ ทัศนคติต่อการส่งเสริมสุขภาพ
ค่านิยมต่อการส่งเสริมสุขภาพ และการรับรู้ สถานสุขภาพ ปัจจัยเอื้อได้แก่ การเข้าถุงบริการโรงพยาบาล หรือ
สถานบริการสุขภาพ และปัจจัยเอื้อ ได้แก่การ ได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสามี บิดา มารดา จากเพื่อนรวม
งาน จาก นายจ้างและบุคลากร ทางการแพทย์เมื่อวิเคราะห์ตัวแปรทานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยใช้ สถิติ
วเิ คราะห์การถด ถอยแบบขั้นตอน พบว่า ค่านิยมต่อการส่งเสรมิ สุขภาพ ทานายพฤติกรรมการ ส่งเสริมสุขภาพได้
ดที ีส่ ดุ รองลงมาได้แก่ การไดร้ บั การสนับสนุนจากทางสงั คม จากทางบุคลากร ทางการแพทย์และการเข้าถึงบริการ
จากโรงพยาบาล หรือสถานบริการสุขภาพ ตามลาดับ โดยตัว แปรท้ังหมดสามารถใช้ร่วมกันทานายพฤติกรรม
ส่งเสริมสุขภาพคนงานสตรีได้รอ้ ยละ 37.2

ปัทมา กาญจนวงษ (2539: ์ บทคัดย่อ) ศึกษาการรับรู้ถึงปัญหาในเรื่องสุขภาพ และการดูแลตนเองของ
เยาวชนท่ีทางานในโรงงานอุตสาหกรรมเคร่ืองแก้ว จังหวัดสระบุรีจานวน 200 คน พบว่า ปัจจัยพ้ืนฐานในเร่ือง

๑๐

อายุระดับการศึกษา และรายได้มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการดูแล สุขภาพตนเองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี
ระดับ3.05
2.7 การเริม่ ต้นใชง้ านโปรแกรม Dreamweaver cs6

ภาพที่ 2.1 โปรแกรม Dreamweaver cs6
Adobe Dreamweaver CS6 เป็นโปรแกรมสาเร็จรูปท่ีใช้สาหรับสร้างเว็บไซต์ เหมาะสาหรับนักพัฒนา
เวบ็ ไซต์ต้ังแต่มือใหม่ไปจนถึงมืออาชีพ โดยสามารถนาขอ้ ความและภาพมาประกอบเป็นหน้าเว็บเพจได้อย่างง่ายๆ
และสามารถเพิ่มลูกเล่นทางด้านมัลติมีเดีย ตลอดจนการติดต่อกับฐานข้อมูลท่ีทาได้ง่าย นอกจากน้ี Adobe
Dreamweaver CS6 ยังเป็นโปรแกรมประเภท WYSIWYG อ่านว่า "วิซซีวิก" (What You See Is What You
Get) แปลว่า คุณเห็นอย่างไรคุณก็ได้รับอย่างน้ัน หมายความว่าลักษณะข้อความ การวางภาพกราฟิก บนเว็บเพจ
ทาไว้อย่างไร เม่ือทาการแสดงผล บนบราวเซอร์แล้ว ลักษณะของข้อคววามหรือภาพกราฟิกท่ีได้ก็จะเหมือนกับท่ี
ทาไว้
- ความสามารถใหมข่ อง Adobe Dreamweaver CS6
1. Fluid grid layout
การออกแบบหน้าเอกสารใหม่บนพ้ืนฐานของตารางทสี่ ามารถนาไปใชไ้ ดห้ ลากหลายบนหน้าจอขนาดต่างๆ
เชน่ Smart Phone Tablet หรอื PC โดยเราสามารถออกแบบครงั้ เดยี ว แล้วสามารถนาไปใชไ้ ด้กบั ทุกอุปกรณ์
2. jQuery Mobile Framework updates
jQuery Mobile Framework เข้ามาใน Adobe Dreamweaver CS5.5 ในเวอร์ชั่นนี้ได้มีการเพิ่มส่วน
ช่วยในการทางานกับ jQuery Mobile Framework ได้สะดวกข้ึนไปอีก เช่น การนา Theme ที่ออกแบบ
ด้วย Adobe Firework CS6 ม าเลื อกใช้กับ Mobile Web project แล ะการเลื อกกาห น ด icon ต่าง ๆ
ให้กับ button เป็นตน้

๑๑

3. Adobe PhoneGap Build integration
สาหรับใน Adobe Dreamweaver CS6 ได้เพ่ิมส่วนของการทางานกับ Phone Gap Build เข้าไป ทาให้
คุณสามารถที่จะนา Mobile project ที่ทาอยู่ข้ึนไปบนระบบ online service ของ Phone Gap Build ให้ทาการ
compile ออกมาเป็นไฟล์ mobile application บน platform ต่างๆ ได้ง่ายๆ
4. CSS3 Transition
ความสามารถของ CSS3 น้ันเร่ิมปรากฏออกมาให้เห็นมากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งเร่ือง Web Font หรือการ
ทา animation ของ HTML Element ก็สามารถทาได้อย่างน่าประทับใจ Adobe Dreamweaver CS6 ได้เพ่ิม
สว่ น User Interface ใหค้ ุณสามารถกาหนด CSS3 Transition ใหก้ ับ element ได้ตามท่ีคุณต้องการ ลดข้ันตอน
การเขยี น code CSS ด้วยตนเอง ประหยัดเวลาและได้งานสวย ๆ ทม่ี ีคุณภาพและน่าประทับใจ
5. Integrate with Adobe Business Catalyst
หากคุณยังไม่รู้จัก Adobe Business Catalyst มาก่อน ให้คุณนึกถึง บริการ hosting ตั้งแต่จด domain
name, ใช้บริการ hosting, จนถึง SEO, Web Analytic จนไปถึง E-commerce system เรียกได้ว่าครบวงจร
ซ่ึง Adobe นา online service นี้มาเช่ือมเข้ากับ Adobe Dreamweaver เพ่ือให้ Web designer ไม่ต้องออกไป
หา domain หรือ hosting ที่ไหน แค่สมัครใช้บริการ แล้วก็สามารถ upload ตัว Web Project ขึ้นไปใช้งานได้
ทนั ที (มีท้ังแบบฟรใี ห้ทดลองใช้ และเสียเงินเปน็ รายเดอื น)
6. Web Font Management
Adobe Dreamweaver CS6 ได้มีส่วนของการจัดการ Web Font ทาให้ปัญหาเรื่องฟอนต์ในเครื่องผู้ชม
สามารถแสดงตัวอกั ษรบนหน้าเวบ็ ไดถ้ ูกตอ้ ง
7. CSS Multiple Classes selection
การCSS Class ให้ HTML Element ใน Adobe Dreamweaver รุ่นก่อนๆไม่สามารถทาได้อย่างสะดวก
นัก ต้องอาศัยความรอบคอบ แต่ใน Adobe Dreamweaver CS6ได้มีการเพิ่มส่วนในการจัดการ CSS Multiple
Class ให้ง่ายและสะดวกขึ้นมาก

2.8 การเริ่มตน้ ใช้งาน โปรแกรม canva

ภาพท่ี 2.2 โปรแกรม canva

๑๒

Canva เป็นโปรแกรมสาเร็จรูปที่อยู่ในรปู แบบเวบ็ ไซต์และการสร้างส่ือการนาเสนอหลากหายรปู แบบ เช่น
Presentation, Poster, Card, Resume, Certificate, Infographic เป็นต้น ซึ่ง Canva นั้นจะมีขนาดมาตรฐาน
ให้เลอื กหรือ ผใู้ ชส้ ามารถกาหนดขนาดเองได้Canva ใช้งานงา่ ย สวยงาม สามารถแบ่งปันให้แกผ่ ู้อืน่ ได้

บทที่ 3
วธิ กี ารดาเนนิ การวิจัย

การศึกษาหาความรู้ ด้วยโครงงาน “เว็บไซต์เพ่ือคนรักสุขภาพ” เป็นการส่งเสริมวิธีการค้นหาความรู้โดย
การทางานร่วมกนั นเปน็ กล่มุ และการนาความรู้ท่ีได้รบั มาสร้างเป็นความรขู้ องตนเอง และสามารถนาความรู้ที่ไดร้ ับ
จากการค้นคว้าไปเผยแพร์กับผู้อ่ืนโดยผู้ที่จัดทาโครงงาน ได้ดาเนินการตามข้ันตอนของกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือ
สง่ เสรมิ ทกั ษะการแสวงหาความรู้ มขี ั้นตอนดงั ตอ่ ไปน้ี

ขัน้ ตอนการดาเนินการ

ข้ันตอนท่ี 1 การวางแผนการวจิ ัย

ขน้ั ตอนที่ 2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง

ขนั้ ตอนท่ี 3 เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศึกษา

ข้ันตอนที่ 4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู

ข้ันตอนที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูล

ขน้ั ตอนท่ี 6 ข้นั ตอนการดาเนินการสรา้ งเวบ็ ไซต์

ขน้ั ตอนท่ี 7 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล
ภาพท่ี 3.1 ข้นั ตอนการดาเนินการ

๑๓

ขนั้ ตอนท่ี 1 การวางแผนการวจิ ัย

1.การรวบรวมสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับองค์ความรู้ และแบ่งหน้าท่ีให้เข้ากับการทางาน เช่น การแบ่ง
การทารายงานการวิจัย และการทาเว็บไซต์ให้สมาชิกในกลุ่มที่ถนัดในการทาช้ินงาน และตกแต่งชิ้นงาน
เปน็ ต้น

2.รวบรวมข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และความรู้รอบตัว จัดหมวดข้อมูลน้ันๆ และเก็บรายละเอียดของข้อมูล
เพ่ือทาให้ขอ้ มลู เขา้ ใจง่ายขนึ้

3.ปรับเปลี่ยนข้อมูล เพ่ือให้มีความน่าสนใจมากยิ่งข้ึน และตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด เพื่อความ
ถูกต้องของโครงงาน

4.เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการทาโครงงาน เพื่อให้สะดวกในการทาโครงงานมากย่ิงขึ้น แลกเปลี่ยนข้อมูลหรือ
ความรู้จากกลุ่มอื่นๆ เพอื่ ทีจ่ ะได้หลากหลายแนวทางในการรวบรวมข้อมูลในการทารายงานและนาเสนอ
ขอ้ มูล

5.กาหนดหวั ขอ้ เรื่องเพ่ือใหง้ า่ ยต่อการค้นหาขอ้ มูลในอินเทอร์เน็ตและตาราต่างๆ กาหนดเวบ็ ไซตข์ องข้อมูลที่
ตอ้ งการ

6.คน้ หาขอ้ มลู จากอนิ เทอรเ์ นต็ บนเวบ็ ไซตต์ ่างๆ
7.จดบันทกึ ขอ้ มูลจากอินเทอรเ์ น็ต บนเว็บไซต์ตา่ งๆ เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อแยกแยะข้อมูล และจดั เกบ็ ข้อมูล

เป็นกลุ่มๆ
8.จดั ตกแตง่ ขอ้ มูล เพื่อให้ขอ้ มลู มีความน่าสนใจมากย่ิงขนึ้ เรียบเรยี งขอ้ มูลใหเ้ ขา้ กนั กับหัวขอ้ เร่ืองเพ่ือผู้อ่าน

จะไดเ้ ข้าใจมากย่งิ ข้ึน

ขน้ั ตอนที่ 2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

ประชากรทใี่ ชใ้ นการวิจยั ในคร้ังน้ี คอื นกั ศกึ ษา ศูนยฝ์ กึ อบรมวิชาชีพ อาเภอท่งุ ยางแดง สาขาวทิ ยาลยั การ
อาชีพปตั ตานี จานวน 20 คน

กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยในครั้งน้ี คือ นักศึกษาชายระดับช้ัน ปวส. 1 ศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพ อาเภอทุ่ง
ยางแดง ท่ีมีอายุ ระหว่าง 19-21 ปี จานวน 10 คน และ นักศึกษาหญิงระดับชั้น ปวส. 2 ศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพ
อาเภอท่งุ ยางแดง ทม่ี ีอายรุ ะหว่าง 22-24 ปี จานวน 10 คน

ขัน้ ตอนท่ี 3 เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศกึ ษา
ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือสาหรับการศึกษาค้นคว้าเพ่ือให้บรรลุ ตาม

วัตถุประสงค์ โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งมีรายละเอียดเก่ียวกับ การสร้าง
แบบสอบถามดงั ตอ่ ไปน้ี

3.1 ทบทวนวตั ถุประสงค์ และตัวแปรท่ีใช้ในการศกึ ษา
3.2 ศกึ ษาวธิ ีการสรา้ งแบบสอบถามจากเอกสาร งานวิจัย และทฤษฎที เี่ กีย่ วขอ้ ง
3.3 ทาการสรา้ งแบบสอบถามเพ่ือถามเก่ียวกับความคิดเห็นในประเด็นต่อไปน้ี คือ ขอ้ มูล ทั่วไปของผู้ตอบ
แบบสอบถาม ขอ้ มูลเกี่ยวกับระดบั ช้ันการศึกษาของผตู้ อบแบบสอบถาม และข้อมลู เก่ยี วกับข้อเสนอแนะของผู้ตอบ
แบบสอบถาม

๑๔

3.4 นาแบบสอบถามที่ได้ทาการสร้างขน้ึ และนาไปเสนอให้กับอาจารย์ทป่ี รกึ ษา เพือ่ ตรวจสอบเนอื้ หาและ
เสนอแนะปรับปรุงแกไ้ ขเพื่อใหแ้ บบสอบถามมคี วามสมบรู ณ์

3.5 ทาการปรับปรุงแกไ้ ขและไดเ้ สนออาจารย์ทปี่ รึกษาตรวจสอบเน้ือหาอีกคร้งั
3.6 ทาการปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามตามข้อเสนอแนะให้ถูกตอ้ ง
3.7 นาแบบสอบถามไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างจานวน 20 คน เพื่อหาความเช่ือม่ันและนาผลท่ีได้ เข้า
ปรกึ ษากบั อาจารย์ทป่ี รึกษา

- อุปกรณ์ด้านฮารด์ แวร์
- โน๊ตบุ๊ค จานวน 1 เครื่อง
- เมาส์ จานวน 1 ตัว

- อปุ กรณ์ด้านซอรฟ์ แวร์
- โปรแกรม Microsoft Word
- โปรแกรม dreamweaver
- โปรแกรม canva

ขน้ั ตอนที่ 4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลผจู้ ัดทาไดด้ าเนนิ การ ดังน้ี

4.1 ขอความร่วมมือจากกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการเข้าชมเว็บไซต์เพื่อคนรัก
สุขภาพ

4.2 ผู้จัดทาแจกแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างและชี้แจงเกี่ยวกับการกรอกแบบสอบถามความพึงพอใจใน
การเข้าชมเวบ็ ไซตเ์ พ่ือคนรักสขุ ภาพ

4.3 ผูจ้ ัดทาทาการเก็บรวบรวมแบบสอบถามคืนจากกลุม่ ตัวอยา่ ง

ขน้ั ตอนที่ 5 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
ผู้จัดทาได้นาขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการรวบรวมข้อมลู มาวเิ คราะห์ ดงั น้ี

ตอนที่ 1 ระดบั ช้ันการศกึ ษาของผู้ตอบแบบสอบถามข้อมูลเป็นแบบตรวจสอบรายการดาเนนิ การวเิ คราะห์
โดยแจกแจงความถีแ่ ละค่าร้อยละ

ตอนที่ 2 นาข้อมูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในการเข้าชมเว็บไซต์เพื่อคนรัก
สุขภาพโดยออกแบบมาตราส่วนนประมาณค่าโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าชมท่ีผ่านการประเมิน
ความตรงเชิงโครงสร้างและเนื้อหาแล้วโดยแบบประเมินความพึงพอใจท่ีปรับปรุงน้ันได้ให้ผู้ตอบแบบสอบถาม
ประเมินความพึงพอใจในการเข้าชมเว็บไซต์เพื่อคนรักสุขภาพโดยมีหลักเกณฑ์ในการให้คะแนนแบบประเมินความ
พงึ พอใจในการเขา้ ใช้บริการ 5 ระดบั ดังน้ี

5 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั ดมี าก
4 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดับ ดี
3 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั ปางกลาง
2 หมายถงึ มีความพึงพอใจในระดบั พอใช้
1 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดบั ปรับปรุง

๑๕

5.1 เกณฑก์ ารประเมินค่าความพึงพอใจ
4.50 – 5.00 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมากท่ีสดุ
3.50 – 4.49 หมายถึงมคี วามพึงพอใจมาก
2.50 – 3.49 หมายถึงมคี วามพึงพอใจปางกลาง
1.50 – 2.49 หมายถึงมีความพงึ พอใจระดับนอ้ ย
1.00 – 1.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจระดบั นอ้ ยท่สี ุด

ขน้ั ตอนท่ี 6 ขัน้ ตอนการดาเนนิ การสร้างเว็บไซต์

ภาพที่ 6.1 หน้าหลักของเว็บไซต์
ภาพที่ 6.2 ความหมายของอาหารเพือ่ สุขภาพ

๑๖
ภาพที่ 6.3 ความหมายของอาหารสขุ ภาพ (ต่อ)
ภาพที่ 6.4 ประโยชน์ของอาหารเพอ่ื สขุ ภาพ

๑๗
ภาพที่ 6.5 ประโยชน์ของอาหารเพ่ือสุขภาพ (ต่อ)

ภาพที่ 6.6 วิธีดูแลสุขภาพดว้ ยตนเอง

๑๘
ภาพท่ี 6.7 วธิ ีดแู ลสขุ ภาพดว้ ยตนเอง (ต่อ)

ภาพที่ 6.9 ผักผลไมเ้ พ่ือสุขภาพ (ต่อ)

๑๙
ภาพที่ 6.9 ผกั ผลไม้เพ่ือสขุ ภาพ (ต่อ)
ภาพที่ 6.10 เมนูอาหารเพื่อสุขภาพ

๒๐
ภาพท่ี 6.11 เมนูอาหารเพื่อสขุ ภาพ (ต่อ)
ภาพท่ี 6.12 เมนูเคร่ืองดื่มเพอื่ สขุ ภาพ

๒๑

ภาพท่ี 6.13 เมนเู ครื่องด่ืมเพ่อื สขุ ภาพ (ต่อ)

ขน้ั ตอนท่ี 7 สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
ในการจัดทาโครงาน เว็บไซต์เพ่อื คนรักสขุ ภาพ สถิติทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู แบง่ ออกได้ ดงั น้ี

การวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลโครงงานได้ใช้สถติ ิเพื่อวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี

5.1 รอ้ ยละ (percentage) โดยใชส้ ูตรดงั น้ี
สตู ร P =

เมื่อ P แทน แทนร้อยละ
F แทน ความถีท่ ีต่ อ้ งการเปล่ียนใหเ้ ป็นรอ้ ยล
N แทน จานวนความถ่ีทงั้ หมด

5.2 ค่าเฉลยี่ (Arithmetic Mean) โดยใช้สูตรดังนี้
สตู ร =

เม่อื แทน ค่าเฉลีย่
n แทน ผลรวมของขอ้ มูลทั้งหมด
แทน จานวนขอ้ มูล

๒๒

5.3 ค่าความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

สูตร S.D.

เมอื่ S.D. แทน สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน
x แทน คะแนนแตล่ ะในกลมุ่ ตัวอยา่ ง
n - 1 แทน จานวนตวั แปรอสิ ระ
n แทน ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ ง
แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดกาลังสอง
แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตวั ยกกาลงั สอง

๒๔

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การทาโครงงานในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ของโครงงานคือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลท้ังหมด
ผู้จัดทาได้นามาวิเคราะหเ์ นื้อหาและสังเคราะห์เป็นภาพรวมของการจัดการด้านการสร้างความพึงพอใจต่อ เว็บไซต์
เพอื่ คนรกั สขุ ภาพ และผู้จัดทานาผลการศึกษามาเขยี นรายงานโครงงานต่อไป

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงค่าความถ่ีและรอ้ ยละ ของจานวนผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามลักษณะ

ข้อมูลทั่วไปดงั น้ี

ข้อมูลท่ัวไป ความถ่ี รอ้ ยละ

ชาย 10 50.00
10 50.00
เพศ หญิง 20 100.00
รวม

อายุ 19-21 ปี 10 50.00

อายุ 22-24 ปี 10 50.00

อายุ อายุ 25-27 ปี - -

อืน่ ๆ โปรดระบุ....... - -

รวม 20 100.00

ปวส. 1 10 50.00

ระดับช้ัน/การศึกษา ปวส. 2 10 50.00

รวม 20 100.00

๒๔

ตารางท่ี ๔.๑ ตารางแสดงค่าความถ่ีและร้อยละ ของจานวนผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามลักษณะ
ข้อมูลทว่ั ไป

จากตารางท่ี 4.1 ผู้ตอบแบบสอบถามมีจานวนทั้งหมด 20 คนจาแนกเป็นเพศชาย จานวน 10 คน คิด
เป็นร้อยละ 50.00 และเพศหญิง จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 เมอ่ื จาแนกตามอายุพบว่า อายุ 19-21
ปี จานวน 10 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 และอายุ 22-24 ปี จานวน 10 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00 เมอ่ื จาแนก
ตามระดับชั้นการศึกษาพบว่า ระดับชั้น ปวส. 1 จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 และระดับช้ัน ปวส. 2
จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจสาหรับกล่มุ ตัวอย่างที่มีต่อการจดั ทาในการวิจัย เร่ือง เว็บไซต์เพื่อคน
รักสขุ ภาพ

ตารางท่ี 4.2 ตารางแสดงเปอรเ์ ซน็ ต์ ของค่าเฉลี่ย สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดบั ความพงึ พอใจ

ลาดับ รายการประเมินผล ค่าเฉลยี่ S.D. ระดับความพึงพอใจ

1 การออกแบบหน้าเวบ็ ไซต์มีความสวยงาม 3.45 0.68 ปางกลาง

2 การจัดรูปแบบของเว็บไซต์มีความน่าสนใจ 3 0.64 ปางกลาง

3 การจัดรูปแบบบนหน้าเว็บไซต์ทาให้สามารถ 3.6 0.82 มาก
หาข้อมลู ที่ตอ้ งการอา่ นได้ง่าย

4 ขอ้ มลู มปี ระโยชนแ์ กท่ า่ นหรือไม่ 4.4 0.50 มาก

5 สามารถนาข้อมูลไปใช้ในชีวิตประจาวันของ 4.6 0.50 มากทส่ี ุด
ท่านได้หรอื ไม่

รวมทัง้ ส้ิน 3.81 0.87 มาก

ตารางท่ี 4.2 ตารางแสดงเปอร์เซ็นต์ ของค่าเฉล่ยี ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับความพงึ พอใจ

จากตารางท่ี 4.2 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลระดับความพึงพอใจของเวบ็ ไซตเ์ พื่อคนรักสุขภาพ พบว่าโดยรวม
มีความพึงพอใจในระดับมากเมื่อพิจารณาพบว่าค่าเฉล่ียสูงสุด คือการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ( =4.6)
รองลงมาคือการออกแบบหน้าเว็บไซต์มีความสวยงาม ( =3.45) และค่าต่าสุดคือการจัดรูปแบบของเว็บไซต์
( =3)ตามลาดบั

บทท่ี 5
สรปุ ผลการวจิ ัย อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การทาโครงงานในครงั้ น้ี มีวัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน คอื เพื่อสรา้ งเรื่องการศึกษาความพงึ พอใจต่อเว็บไซต์
เพ่ือคนรักสุขภาพ และเพื่อสร้างความดึงดูดความสนใจเก่ียวกับสุขภาพที่ดี และมีความสอดคล้องกับเน้ือหาการรัก
สุขภาพ การสรา้ งเว็บไซต์เพอื่ ให้ผู้ท่ีเขา้ ชมเว็บไซตม์ คี วามเข้าใจสง่ิ ทีจ่ ะส่อื ไดง้ ่ายขน้ึ

5.1 สรุปผล
จากการทาเว็บไซต์เพื่อคนรักสุขภาพ เป็นเว็บไซต์ที่ผู้จัดทาได้เร่ิมดาเนินการตามข้ันตอนการดาเนินงานที่

เสนอในรูปแบบ โดยเว็บไซต์ของเราได้จัดทาข้ึนเพื่อเผยแพร่ความรู้ที่มีประโยชนต์ ่อสังคม เพื่อให้การดารงชีวิตของ
มนุษย์ได้มีสุขภาพท่ีดีข้ึน และนอกจากน้ีเว็บไซต์เพ่ือคนรักสุขภาพสามารถท่ีจะเข้าไปศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับ
สุขภาพท่ีดีได้ และกลุ่มตัวอย่างได้เข้ามามีส่วนร่วมในการทาแบบประเมินแสดงความคิดเห็นในเนื้อหาและรูปแบบ
ของเว็บไซต์เพ่ือคนรกั สุขภาพ

5.2 อภิปรายผล
การรับประทานอาหารเพ่ือสุขภาพยังดูเหมือนเป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งในการประกอบสร้างตวั ตนของชนช้ัน

กลาง การใช้ชีวิตหรือ ไลฟ์สไตล์จึงมีความสาคัญแก่ชนช้ันกลางที่พยายามยกระดับตนเองให้สูงขึ้นจากเดิม ใช้การ
บริโภคสินค้าและการใช้ชีวิตเป็นสัญญาบ่งบอกความเป็นตัวเองท่ามกลาง สภาพสังคมที่มีแต่การจับจ้อง การเลือก
บริโภคอาหารเพ่อื สขุ ภาพทดี่ ี เพ่ือใหส้ ขุ ภาพมีความแขง็ แรงและปราศจากโรคภัยต่างๆ ของตนเองได้

ผลจากการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นกลุ่มท่ีสนใจเก่ียวกับการดูแลสุขภาพท่ีมี
ความรกั ตอ่ สขุ ภาพของตนเองสนใจเกี่ยวกับการรับประทานท่มี ีประโยชน์ต่อตนเองและปราศจากโรคภยั ตา่ งๆ ทเี่ ข้า
มา

โครงงานนี้ได้รับคาแนะนาจากอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นโครงงานท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่รักสุขภาพและบุคลล
ทั่วไปที่สนใจเกี่ยวกับการดแู ลสุขภาพที่ดขี องตนเองและการรับประทานอาหารที่ดตี ่อสุขภาพอีกดว้ ย

5.3 ปญั หาและอุปสรรคในการจดั ทาโครงงาน
5.3.1 เนื่องจากผู้จัดทาโครงงานยังขาดความชานาญในการใช้โปรแกรม และขาดประสบการณ์ในการใช้

โปรแกรม
5.3.2 การพัฒนาเว็บไซต์อาจยังไม่ควบคลุม อาจเกิดความผิดพลาด เนื่องจากประสบการณ์การวิเคราะห์

ประกอบจากการเกบ็ ขอ้ มูลในการพัฒนา

๒๖

5.3.3 การออกแบบเวบ็ ไซต์ในแต่ละหน้ายังขาดความชานาญในการออกแบหน้าเว็บไซตแ์ ละการเชื่อมต่อ
ขอ้ มลู ตา่ งๆ

5.4 แนวทางการแก้ไข
5.4.1 ผู้จัดทาตอ้ งมีการฝึกฝนในการใชโ้ ปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการสร้างเวบ็ ไซตใ์ นคร้งั น้ีเพื่อใหเ้ กิดความชานาญ
5.4.2 ผู้จัดทาต้องศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ บทความหนังสือท่ีเก่ียวกับ

สุขภาพเพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการนามาประยกุ ต์ใช้ในการสร้างเวบ็ ไซต์ในครัง้ นี้
5.4.3 ศึกษาขั้นตอนการสร้างเว็บไซตเ์ พ่ือให้เวบ็ ไซต์มีความน่าสนใจในการเขา้ ชมและมีความสมบรู ณ์
5.4.4 ศกึ ษาการทาโครงงานและขอคาแนะนาจากอาจารยท์ ปี่ รึกษา

5.5 ข้อเสนอแนะ
5.5.1 กอ่ นการเร่มิ ทางาน ควรตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีความพร้อมเพื่อท่ีจะไดร้ องรับ

การทางานไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี เพอื่ ไมใ่ ห้เกดิ ปญั หาขณะทางาน
5.5.2 ควรบรหิ ารจัดการเวลา ในการทาเว็บไซต์อยา่ งชัดเจน เพื่อความทันตอ่ การศึกษาเพิ่มเตมิ และแกไ้ ข

ขอ้ บกพร่อง รวมถงึ การตรวจสอบดคู วามเรียบร้อยของระบบใหม้ ีความสมบรู ณ์ในการทาเว็บไซต์
5.5.3 หากเลือกทีจ่ ะทาเว็บไซต์ ก็ควรต้องศึกษาเร่ืองการทาเวบ็ ไซต์มากอ่ นล่วงหน้า กอ่ นจะสร้างเวบ็ ไซต์

ขึ้นจรงิ เพอ่ื ใหเ้ กิดความเข้าใจและสามารถวิเคราะหก์ ารสร้างเวบ็ ไซต์ได้

บรรณานุกรม

เพญ็ ศร/ี เลศิ เกียรติวิทยา.//(2563).//โครงงาน.//พิมพค์ รง้ั ที่/1.//กรุงเทพฯ:/เอมพันธ์.
โครงงานเรือ่ ง อาหารเพ่ือสขุ ภาพ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://pimwebsite.wordpress.com

ค้นหาข้อมลู ในวันที่ (24 กรกฎาคม 2564)
การกาหนดกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.bangkok.go.th รศ.พ.ต.อ.หญิง ดร.พชั รา สิน

ลอยมา คน้ หาข้อมูลในวันที่ (25 กรกฎาคม )
ทฤษฎีการดแู ลของวตั สนั เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.chulapedia.chula.ac.th ดร.จนี วัตสัน คน้ หาข้อมลู ใน

วนั ที่ (26 กรกฎาคม 2564 )
การดูแลสขุ ภาพดว้ ยตนเอง เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.cigna.co.th ค้นหาข้อมูลในวันที่

( 27 กรกฎาคม2564)
การเร่มิ ตน้ ใช้งานโปรแกรม Dreamweaver cs6 เข้าถึงไดจ้ าก https://sites.google.com ค้นหาข้อมลู ในวันท่ี

( 27 กรกฎาคม 2564 )
เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการศกึ ษา เข้าถึงไดจ้ าก https://rforvcd.files.wordpress.com ค้นหาข้อมูลในวนั ที่

( 15 สิงหาคม 2564 )
สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล เข้าถงึ ได้จาก https://doctemple.wordpress.com ค้นหาข้อมลู ในวันท่ี

( 17สิงหาคม 2564 )
ผักผลไมเ้ พ่ือสุขภาพ เข้าถึงไดจ้ าก https://colletontoday.com ค้นหาข้อมลู ในวันท่ี ( 20 สิงหาคม 2564 )
เมนอู าหารเพอ่ื สุขภาพ เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.wongnai.com ค้นหาข้อมลู ในวันที่ ( 25 สิงหาคม 2564 )
เมนูเคร่อื งด่ืมเพอื่ สุขภาพ เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.shopat24.com ค้นหาข้อมลู ไดจ้ าก

( 29 สิงหาคม 2564 )
สุขภาพหมายถึง เข้าถงึ ไดจ้ าก http://human.cmu.ac.th ค้นหาข้อมลู ได้จาก (31 สงหาคม 2564)

ภาคผนวก ก
แบบเสนอขออนุมัติโครงงาน

ภาคผนวก ข
ขนั้ ตอนการสร้างเว็บไซต์

ภาพที่ ข.1 หน้าหลกั ของเวบ็ ไซต์
ภาพท่ี ข.2 ความหมายของอาหารเพอื่ สุขภาพ

ภาพท่ี ข.3 ความหมายของอาหารสขุ ภาพ (ต่อ)
ภาพที่ ข.4 ประโยชน์ของอาหารเพอื่ สุขภาพ

ภาพที่ ข.5 ประโยชน์ของอาหารเพอื่ สุขภาพ (ต่อ)
ภาพท่ี ข.6 วิธดี แู ลสุขภาพด้วยตนเอง

ภาพที่ ข.7 วธิ ีดแู ลสุขภาพด้วยตนเอง (ต่อ)
ภาพที่ ข.8 ผักผลไม้เพ่ือสขุ ภาพ

ภาพที่ ข.9 ผักผลไม้เพ่อื สุขภาพ (ต่อ)
ภาพท่ี ข.10 เมนูอาหารเพอ่ื สุขภาพ

ภาพท่ี ข.11 เมนูอาหารเพ่ือสุขภาพ (ตอ่ )
ภาพที่ ข.12 เมนูเคร่ืองดม่ื เพ่อื สขุ ภาพ

ภาพที่ ข.13 เมนเู คร่อื งด่มื เพ่ือสุขภาพ (ต่อ)

ภาคผนวก ค
แบบสอบถามความพงึ พอใจ

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

เร่ือง การสรา้ งส่อื เวบ็ ไซต์เพื่อคนรักสุขภาพ (Health love)

ตอนท่ี 1 รายละเอียดทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

คาช้ีแจง โปรดทาเคร่อื งหมาย  ลงในชอ่ ง ระดับความพึงพอใจของท่าน

1. เพศ ชาย หญงิ อ่ืนๆ โปรดระบ.ุ .................
2. อายุ 19-21 ปี 22-24 ปี 25-27 ปี
3. ระดับชั้น/การศึกษา ปวส. 1 ปวส. 2

ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการสร้างเวบ็ ไซต์ เพอื่ คนรักสขุ ภาพ โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงในช่องที่
ตรงกับความพงึ พอใจของท่านมากทส่ี ุด

5 ระดบั ความพงึ พอใจ 1
ลาดับ รายการประเมนิ มากที่สุด น้อย
43 2 ทสี่ ุด
1. การออกแบบหน้าเวบ็ ไซต์มคี วามสวยงาม มาก ปาน น้อย
2. การจดั รูปแบบของเว็บไซต์มีความน่าสนใจ
3. การจัดรูปแบบบนหน้าเวบ็ ไซต์ทาให้ กลาง

สามารถหาข้อมลู ทตี่ ้องการอ่านไดง้ ่าย
4. ขอ้ มูลมีประโยชนแ์ ก่ท่านหรอื ไม่
5. สามารถนาข้อมลู ไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั

ของท่านไดห้ รือไม่

ตอนที่ 3 ข้อแสดงความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะ
.............................................................................................................................. .......................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
............................................................................................... ......................................................................................

ประวตั ิผจู้ ัดทาโครงงาน

ชือ่ – นามสกุล : นางสาวฟาดีละฮ์ ตาเยะ
ช่อื เลน่ : ฟาดลี ะฮ์
สาขา : เทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ัล
รหสั นักศกึ ษา : 63302040115
วนั /เดือน/ปเี กิด : ๐๓ มีนาคม ๒๕๔๕
ทอ่ี ยู่ปจั จบุ ัน : ๙๘/๑ หมู่ ๔ ตาบลลุโบะยิไร อาเภอมายอ จังหวัดปตั ตานี
อเี มล์ : [email protected]
ประวตั กิ ารศึกษา
- ระดบั มธั ยมศึกษา : โรงเรยี นสมบรู ณ์ศาสน์อสิ ลาม
- ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สงู (ปวส.) วทิ ยาลัยการอาชพี สายบุรี
คตปิ ระจาใจ : ความพยายามอยทู่ ไี่ หน ความสาเรจ็ อยู่ทน่ี น้ั

ประวัตผิ จู้ ดั ทาโครงงาน

ชอ่ื – นามสกุล : นางสาวอาซีรา จูเมาะ
ชอื่ เล่น : สีรา
สาขา : เทคโนโลยีธุรกจิ ดิจิทลั
รหสั นกั ศกึ ษา : 6330204001
วนั /เดือน/ปเี กิด : ๐๘ กุมพาพันธ์ุ ๒๕๔๕
ท่อี ย่ปู จั จบุ ัน : ๖๓/๒ หมู่ ๕ ตาบลบ้านกลาง อาเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
อเี มล : [email protected]
ประวตั ิการศึกษา

- ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสมบูรณศ์ าสน์อสิ ลาม
- ระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสงู (ปวส.) วทิ ยาลัยการอาชีพสายบุรี
คตปิ ระจาใจ : หากร้สู กึ สับสนในสิ่งท่ที าอยู่ ยอ่ มเป็นสญั ญาณท่ีดใี ห้เร่มิ เรยี นรู้สิ่งใหมๆ่


Click to View FlipBook Version