The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือระเบียบกรมการศาสนาวันอาทิตย์ฯ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือระเบียบกรมการศาสนาวันอาทิตย์ฯ

หนังสือระเบียบกรมการศาสนาวันอาทิตย์ฯ

กรมการศาสนา
กระทรวงวฒั นธรรม

www.dra.go.th



ระเบยี บกรมการศาสนา

ว่าดว้ ยศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
พ.ศ. ๒๕๖๒

ส�ำ นกั พฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรม กลมุ่ สง่ เสริมเครือขา่ ยคุณธรรมจรยิ ธรรม
โทร. ๐ ๒๒๐๙ ๓๗๒๘ โทรสาร ๐ ๒๒๐๒ ๙๖๓๔
www.dra.go.th
Email: [email protected]

ระเบยี บกรมการศาสนา

ว่าด้วยศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒ (พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๒)

ผู้จัดพิมพ์ : กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม
ปที พ่ี ิมพ์ คร้ังที่ ๒ : พ.ศ. ๒๕๖๓
จ�ำนวนพมิ พ์ : ๓,๐๐๐ เล่ม

ทีป่ รึกษา อธบิ ดีกรมการศาสนา
นายกิตติพนั ธ์ พานสุวรรณ รองอธบิ ดีกรมการศาสนา
นางศรีนวล ลัภกติ โร ผอู้ �ำนวยการส�ำนักพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรม
นายส�ำรวย นักการเรยี น ผูอ้ ำ� นวยการกองศาสนปู ถัมภ์
นายพลู ศกั ด์ิ สขุ ทรพั ยท์ วผี ล เลขานกุ ารกรมการศาสนา
นางสุรีย์ เกาศล ที่ปรกึ ษากรมการศาสนา
นายมานัส ทารตั น์ใจ ท่ีปรึกษากรมการศาสนา
นายชวลติ ศิริภิรมย์

คณะท�ำงาน ผูอ้ ำ� นวยการกลุ่มส่งเสรมิ เครอื ข่ายคณุ ธรรมจริยธรรม
นายธนพล พรมสวุ งษ์ นักวชิ าการศาสนาชำ� นาญการ
นายเอกสทิ ธ์ิ คลา้ ยแดง นักวิชาการศาสนาปฏิบตั ิการ
นางสาวปรียา เพ็ชรแตม้ ทอง เจ้าหน้าทบ่ี นั ทกึ ขอ้ มูล
นางสาวธนาภรณ์ เงนิ เหรียญ นักวิชาการศาสนา
นางสาวฤดี ฉลาดสนุ ทรวาที เจ้าหน้าท่วี ิเคราะหโ์ ครงการ
นายสมานมิตร วงศ์ถามาตย์ เจ้าหน้าที่วเิ คราะหโ์ ครงการ
นายสทิ ธพิ ล พูลสวัสด์ิ

พิมพท์ ี่ : บริษทั ร�ำไทยเพรส จ�ำกดั
เลขท่ี ๑๑๑/๙๓-๙๕ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๖๖๙-๐๓๐๐-๔

โทรสาร ๐-๒๒๔๓-๕๘๗๐

ค�ำน�ำ

ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์ (ศพอ.) เปน็ “ศูนย์เรยี นรู้ คูค่ ุณธรรม” ของชมุ ชน
ทจ่ี ะเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนโดยใชม้ ติ ทิ างศาสนา น�ำ สกู่ ารพฒั นาทมี่ น่ั คงและยง่ั ยนื กรมการศาสนา
มเี ปา้ หมายทจ่ี ะพฒั นาศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยใ์ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและครอบคลมุ พนื้ ทที่ วั่ ประเทศ
เพ่ือเป็นแหล่งบ่มเพาะ ศึกษาเรียนรู้คุณธรรมจริยธรรมสำ�หรับเด็ก เยาวชน และประชาชน เสริมสร้าง
ความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน สรา้ งโอกาสใหก้ ารเรยี นรหู้ ลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา น�ำ มาเปน็ หลกั ในการด�ำ เนนิ ชวี ติ
ทด่ี งี าม การด�ำ เนนิ งานดงั กลา่ วไดร้ บั ความรว่ มมอื จากทกุ ภาคสว่ นของสงั คมไทย ไดแ้ ก่ ภาคคณะสงฆ์ ภาครฐั
ภาคเอกชน ภาคประชาชน และทุกหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง ในการพฒั นาศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
และพร้อมที่จะช่วยกันผลักดันให้เป็นโครงการที่ยั่งยืนและมีคุณภาพ เกิดผลสัมฤทธ์ิที่เป็นรูปธรรมชัดเจน
กิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของชมุ ชน เป็นชมุ ชนคุณธรรมขบั เคล่อื นดว้ ยพลังบวร (บา้ น - วัด - โรงเรยี น)
อยา่ งแทจ้ รงิ

กรมการศาสนาไดอ้ อกระเบียบวา่ ดว้ ยศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒
รววท้ังประกาศกรมการศาสนา เรื่อง การจัดช้ันเรียนและหลักสูตรการเรียนการสอนของศูนย์ศึกษา
พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่อให้การเรียนการสอนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เกดิ ประสิทธิผลในการปลกู ฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมสู่เด็ก เยาวชน และประชาชน โดยการจดั ช้ันเรียน แบ่งเป็น
๓ ชั้น คอื ช้ันต้น ช้ันกลาง และช้ันสูง ใชห้ ลักสสุตรการเรยี นการสอนของภาคคณะสงฆ์ คอื หลักสูตรธรรม
ศกึ ษาชั้นตรี - โท - เอก เป็นวชิ าบังคับ โดยมวี ิชาเลอื กอย่างนอ้ ย ๑ วชิ า มีกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนโดยตอ้ ง
เข้าร่วมกิจกรรมที่ศูนย์ฯ จัดขึ้น และเปิดสอนใในวันอาทิตย์ และวันอ่ืนตามท่ีคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ
เหน็ สมควร โดยใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมของพ้ืนที่

หวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้องในการดำ�เนินงานโครงการ
ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย์ให้เกิดความเข้มแขง็

(นายกติ ตพิ ันธ์ พานสวุ รรณ)
อธิบดกี รมการศาสนา



สารบัญ หน้า



คำ� นำ� ๗
๑๑
ศนู ย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์ ๑๕
- ความเปน็ มา ๑๗
- ความส�ำคญั ๒๐
- คณุ ค่าของศนู ย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย ์
- ประโยชนข์ องศูนยศ์ ึกษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยท์ ี่มีตอ่ ชุมชน ๒๓
- ศูนยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์ : ๒๙
ศูนย์กลางการเสรมิ สรา้ งชมุ ชนคุณธรรมดว้ ยพลงั บวร
- รายละเอยี ดท่ีควรรู้เกี่ยวกับโครงการศูนยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ (ศพอ.) ๓๐
- การขอจัดตง้ั ศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย์
ในความอุปถมั ภข์ องกรมการศาสนา ๓๑
- แผนภูมิขน้ั ตอนการขอจัดตง้ั เป็นศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์
ในความอปุ ถัมภ์ของกรมการศาสนา (ในกรุงเทพมหานคร) ๓๕
- แผนภูมิขน้ั ตอนการขอจดั ต้งั เปน็ ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย ์ ๔๓
ในความอุปถัมภข์ องกรมการศาสนา (ในจังหวดั อื่น)
๔๙
ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ด้วยศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๕๒
๔๓
ประกาศกรมการศาสนา เรื่อง การจัดชัน้ เรียนและหลักสตู รการเรียนการสอน ๕๗
ของศนู ย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย์
๕๘
แบบค�ำขอจดทะเบียนศนู ยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย์ : ในกรงุ เทพมหานคร
- แบบ ศพอ.๒ (แบบรายงานจ�ำนวนผู้เรยี นทสี่ อบผา่ นธรรมศึกษา)
- แบบ ศพอ.๓ (แบบรายงานขอ้ มูลศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย)์
- แบบ ศพอ.๕ (รายชอื่ ผเู้ รยี น/ผู้สอน/ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมในศูนย์ศกึ ษา
พระพุทธศาสนาวันอาทิตย)์
- แบบฟอร์มแผนพัฒนา ศพอ.

หน้า

แบบค�ำขอจดทะเบยี นศูนยศ์ ึกษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตย์ : ในจงั หวัดอน่ื ๖๑
- แบบ ศพอ.๑ (แบบรายงานการจดั สรรเงนิ อดุ หนุนศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย)์ ๖๕
- แบบ ศพอ.๒ (แบบรายงานจ�ำนวนผู้เรียนที่สอบผา่ นธรรมศึกษา) ๖๖
- แบบ ศพอ.๓ (แบบรายงานขอ้ มลู ศนู ย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย)์ ๖๗
- แบบ ศพอ.๔ (แบบสรปุ ข้อมลู ศูนยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย)์ ๗๐
- แบบ ศพอ.๕ (รายช่ือผู้เรยี น/ผสู้ อน/ประชาชนที่เขา้ รว่ มกจิ กรรมในศนู ยศ์ ึกษา ๗๑
พระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์)
- แบบ มฐ.๑ (แบบประเมนิ มาตรฐานศูนย์ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย)์ ๗๒
- แบบ มฐ.๒ (แบบรายงานผลการประเมนิ มาตรฐานศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย)์ ๗๔
- แบบรายงานภาคคณะสงฆ์ (แบบรายงานผลการด�ำเนนิ งานของเจา้ คณะจังหวัด) ๗๘
- แบบฟอร์มแผนพฒั นา ศพอ. ๗๙

ภาคผนวก ๘๓
- สือ่ ประชาสัมพนั ธ์ การส่งเสรมิ การด�ำเนินงาน
ของศนู ย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ (ศพอ.)

ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์

6 ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

ศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์

ความเป็นมา

การสอนพระพุทธศาสนาในวันอาทิตย์ ก่อตั้งข้ึนคร้ังแรกที่ประเทศศรีลังกา โดยพันเอก
เฮนรี สตีล ออลคอตต์ ชาวอเมริกัน ซึ่งปรารถนาจะช่วยพุทธศาสนิกชนชาวลังกาต่อสู้กับนักเผยแพร่
ศาสนาคริสต์และนโยบายเก่ียวกับศาสนาของรัฐบาล อาณานิคมของอังกฤษ โดยจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๘
เปน็ ชว่ งระยะเวลาทพี่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กาก�ำลงั อยใู่ นภาวะอนั ตรายอยา่ งยง่ิ การจดั ตง้ั โรงเรยี น
พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ของประเทศศรีลังกา มีวัตถุประสงค์ส�ำคัญ ๒ ประการ คือ ๑) เพื่อพ้ืนฟู
พระพทุ ธศาสนา ๒) เพอ่ื ตอ่ ตา้ นนกั เผยแพรศ่ าสนาครสิ ตท์ เ่ี ขา้ มาเผยแพรศ่ าสนา โรงเรยี นทจี่ ดั ตง้ั ขนึ้ มลี กั ษณะ
เป็นสถาบันอาสา คือ คณะครูและอาจารย์ท�ำงาน โดยไม่มีค่าตอบแทนใดๆ มีทั้งฆราวาสและพระภิกษุ
ผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษาและศาสนาซ่ึงอยู่ภายใต้การด�ำเนินงานของสมาคมยุวพุทธ ปัจจุบันโรงเรียน
พุทธศาสนาวันอาทิตย์ในศรีลังกาเจริญแพร่หลายมาก มีโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์เกือบทุกหมู่บ้าน
และเกอื บทุกวดั หลกั สูตรทใี่ ช้เรียนมี ๔ ระดับ คอื ระดบั ชนั้ ตน้ ชัน้ กลาง ชัน้ ปลายและช้ันสงู
การเขา้ มาของโรงเรยี นพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยใ์ นประเทศไทย เรมิ่ ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๘๘ ซงึ่ เปน็ การ
ส่งเสริมศีลธรรมในโรงเรียนเป็นหลัก เป็นช่วงระยะเวลาสงครามโลกครั้งท่ี ๒ สภาพสังคมไทยขณะนั้น
ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทกุ ๆ ดา้ น เชน่ ทางดา้ นสังคม ดา้ นเศรษฐกิจ การเมอื ง และวฒั นธรรม
โดยเฉพาะในด้านวัฒนธรรม การเข้ามาของวัฒนธรรมบางอย่างท่ีขัดกับสังคมไทย ท�ำให้มีความคิดเห็นว่า
ความประพฤติของเด็กไทยผิดเพี้ยนไปจากวัฒนธรรมเดิม รัฐบาลขณะนั้นเล็งเห็นถึงปัญหาความมั่นคง
ของประเทศจากลัทธิคอมมิวนิสต์ ซ่ึงอาจท�ำให้เด็กและเยาวชนถูกชักจูงได้ง่าย กระทรวงศึกษาธิการจึงต้ัง
คณะกรรมการแกไ้ ขศลี ธรรมทเี่ สอื่ มทราม พ.ศ. ๒๔๙๖-๒๕๐๐ ขน้ึ เพอื่ ท�ำหนา้ ทส่ี อดสอ่ งดแู ลความประพฤติ
ของขา้ ราชการ และสง่ เสรมิ เผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาแกเ่ ดก็ ทง้ั ในดา้ นการสอนและการปฏบิ ตั ิ โดยก�ำหนดให้
กรมสามัญศึกษาจัดแบบไหว้สวดมนต์มาตรฐาน เพื่อให้เป็นแบบเดียวกันทุกโรงเรียนและให้การนิมนต์พระ
มาเทศนใ์ หน้ กั เรยี นฟงั เดอื นละครงั้ โดยค�ำนงึ ถงึ ความเหมาะสมกบั วยั ของเดก็ (สวุ มิ ล เอกอรุ ,ุ ๒๕๔๐ : ๕๐-๕๑)
ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ ซง่ึ เดมิ ใชช้ อ่ื วา่ โรงเรยี นพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ ส�ำหรบั
ประเทศไทย เรมิ่ ก�ำเนดิ ขนึ้ เมอ่ื ประมาณ ปี พ.ศ. ๒๔๙๖-๒๕๐๐ โดยพระพมิ ลธรรม (อาจ อาสภมหาเถร) สงั ฆมนตรี
ว่าการองคก์ ารปกครอง (สมยั พระราชบญั ญตั กิ ารปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔) อธิบดสี งฆ์ (เจ้าอาวาส)
วดั มหาธาตยุ วุ ราชรงั สฤษฎ ิ์ องคท์ ตุ ยิ สภานายกมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ซึ่งมีสมณศักด์ิสุดท้ายที่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ ได้เดินทางไปดูกิจการพระพุทธศาสนาท่ีประเทศพม่าและ

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 7

ศรลี งั กา เหน็ พระสงฆใ์ นประเทศพมา่ และศรลี งั กาจดั ระเบยี บการสอนศลี ธรรมแกเ่ ดก็ และเยาวชนไดผ้ ลดมี าก
และจดั การสอนเฉพาะวนั อาทติ ย์ เมอื่ ทา่ นเดนิ ทางกลบั มาประเทศไทย จงึ ไดป้ รารภถงึ การสอนศลี ธรรมของ
พระสงฆใ์ นประเทศพมา่ และศรลี งั กาแกพ่ ระเจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารและพระนสิ ติ ของมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
และมดี �ำริวา่ “โรงเรียนพุทธศาสนาวนั อาทิตย์ สมควรจะได้จดั ใหม้ ขี ้ึนในประเทศไทยบา้ ง เพราะว่าเดก็
และเยาวชนมีความสนใจในพระพุทธศาสนาอยู่แล้ว ซ่ึงจะท�ำให้เป็นก�ำลังส�ำคัญของพระพุทธศาสนา
ตอ่ ไป และยงั เปน็ การสง่ เสรมิ ในดา้ นการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาอกี ประการหนง่ึ อกี ทง้ั เปน็ การใหโ้ อกาส
แกเ่ ดก็ และเยาวชนไดศ้ กึ ษา และรจู้ กั หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนาไดถ้ กู ตอ้ งตามสมควรแกว่ ยั ของตน”
ประกอบกับในสมัยนั้น พระเจ้าหน้าที่และพระนิสิตของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้น�ำบุตรหลาน
ของข้าราชการ พ่อค้า และประชาชนท่ัวไป ที่สนใจมาฟังบรรยาย ฝึกสมาธิในวันอาทิตย์ ซึ่งพากันว่ิงเล่น
บรเิ วณลานอโศกวดั มหาธาตฯุ มาเลา่ นทิ านและสอนธรรมะ นอกจากนน้ั ทางโรงเรยี นและมหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ
ได้อาราธนาพระสงฆ์ดังกล่าวไปสอนธรรมะ อบรมศีลธรรมแก่นักเรียนและนักศึกษาอีกด้วย ดังนั้น
พระเจา้ หนา้ ทแี่ ละพระนสิ ติ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั จงึ ด�ำเนนิ การขอเสนออนมุ ตั ติ อ่ ทางสภามหาวทิ ยาลยั
เพ่ือเปิดสอนโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ข้ึน ได้รับอนุมัติให้เปิดท�ำการสอนเม่ือวันที่ ๑๓ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๐๑ จึงนับได้ว่าเป็นโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์แห่งแรกในประเทศไทย หลังจากน้ัน
กไ็ ด้รับความสนใจ มกี ารจดั ตง้ั ขยายไปยังวัดต่างๆ ท่ัวประเทศ
ต่อมา ทางราชการจึงได้พิจารณาเห็นว่า สภาพสังคมไทยก�ำลังเปลี่ยนแปลงไปจากสังคม
เกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม ประชาชนส่วนใหญ่ต่างก็มุ่งแต่จะประกอบภารกิจเกี่ยวกับอาชีพ
การงานที่รัดตัว โดยไม่มีเวลาสนใจเข้าวัดปฏิบัติธรรมหรือประพฤติตนในฐานะเป็นพุทธศาสนิกชนท่ีดี
เดก็ และเยาวชนทเี่ กดิ มาในครอบครวั ชาวพุทธ จงึ ขาดแบบอย่างทดี่ ใี นการประพฤตปิ ฏิบตั ติ นตามหลกั ของ
พระพทุ ธศาสนา ดงั น้นั หากทางราชการสนับสนุนใหว้ ัดในฐานะทเ่ี ป็นศนู ยก์ ลางของชุมชนไดจ้ ัดตั้งโรงเรยี น
พระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยข์ นึ้ โดยเนน้ ใหพ้ ระสงฆเ์ ปน็ ผอู้ บรมสงั่ สอน กจ็ ะเปน็ การสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ และเยาวชน
ไดร้ บั การอบรมปลกู ฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมตง้ั แตว่ ยั การศกึ ษา และไดใ้ ชเ้ วลาวา่ งจากวนั หยดุ การศกึ ษา ไดศ้ กึ ษา
หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาและน�ำไปประพฤตปิ ฏิบัติในชวี ติ ประจ�ำวันไดถ้ ูกต้องตามสมควรแก่วยั ท้งั ยงั
เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้วัดมีบทบาทในการปฏิบัติภารกิจด้านการศึกษาสงเคราะห์และเสริมสร้าง
ความสมั พันธร์ ะหว่างบา้ น วดั และโรงเรยี น ให้เป็นเอกลักษณข์ องวถิ ชี วี ิตในสงั คมไทยตลอดไป
ด้วยเหตุน้ี กรมการศาสนาในฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐท่ีมีหน้าท่ีด้านการรับสนองงาน
การพระศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาท่ีต้องท�ำนุบ�ำรุงส่งเสริมเป็นพิเศษในฐานะที่เป็นศาสนาประจ�ำ
ชาตไิ ทยมาตง้ั แตบ่ รรพกาล จึงได้จัดตงั้ โครงการสง่ เสริมการศึกษาศนู ยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์
ต้ังแต่ปีงบประมาณ ๒๕๒๐ เป็นต้นมา โดยในระยะแรกได้จัดสรรงบประมาณอุดหนุนวัดต่างๆ ท่ีเปิด
ด�ำเนนิ การโรงเรยี นพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยด์ ว้ ยงบประมาณทจี่ �ำกดั และไดเ้ หน็ ความส�ำคญั ของการเผยแผ่
ปลูกฝังศีลธรรมแก่เด็กและเยาวชนในรูปแบบการศึกษาสงเคราะห์ โดยการจัดต้ังโรงเรียนพระพุทธศาสนา

8 ระเบยี บกรมการศาสนาว่าด้วยศูนย์ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

วันอาทิตย์ เพื่อสอนวิชาพระพุทธศาสนาขึ้นในวัดท่ีด�ำเนินการโดยพระสงฆ์ย่ิงข้ึน จึงได้เสนอโครงการ
ส่งเสริมต่อรัฐบาลเพ่ือให้ได้รับงบประมาณสนับสนุนมากขึ้น ซ่ึงรัฐบาลทุกสมัยก็ได้เห็นความส�ำคัญของ
งานดา้ นนวี้ า่ เปน็ การดำ� เนนิ งานพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมสปู่ ระชาชนทมี่ เี ดก็ และเยาวชนเปน็ เปา้ หมาย
ท่ีส�ำคญั ยิ่ง จึงได้มีนโยบายส่งเสรมิ สนับสนุนด้านงบประมาณอย่างตอ่ เนือ่ งทกุ ปี
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ เพ่ือให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะทางและสอดคล้องกับระเบียบทางราชการ
โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ท่ัวประเทศได้เปลี่ยนช่ือจากค�ำว่า “โรงเรียน” เป็น “ศูนย์ศึกษา”
จึงมีช่ือเป็นทางการมาจนปัจจุบันน้ีว่า “ศูนย์ศึกษา” จึงมีชื่อเป็นทางการมาจนปัจจุบันน้ีว่า “ศูนย์ศึกษา
พระพทุ ธศาสนาวันอาทิตย”์ และก�ำหนดใหใ้ ช้อักษรย่อวา่ “ศพอ.”
นบั ตงั้ แตน่ นั้ มา ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยก์ ไ็ ดเ้ จรญิ แพรห่ ลาย เพมิ่ จ�ำนวนขน้ึ ตามล�ำดบั
อีกท้ังใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นปีที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร ทรงเจรญิ พระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ นกั ษตั ร ๖๐ พรรษา คณะสงฆแ์ ละกรมการศาสนา
ได้สนับสนุนให้วัดท่ัวประเทศเปิดศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ โดยก�ำหนดเป้าหมายให้ได้จ�ำนวน
๖๑ ศนู ย ์ เพอื่ นอ้ มเกลา้ ฯ ถวายเปน็ พระราชกศุ ลและเฉลมิ พระเกยี รตแิ ดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พ.ศ. ๒๕๓๔
เพ่ือให้การด�ำเนินงานของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ในความอุปถัมภ์ของ
กรมการศาสนาเปน็ ไปโดยสะดวก รวดเรว็ มเี อกภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ กรมการศาสนาจงึ ไดอ้ อกระเบยี บ
กรมการศาสนาวา่ ดว้ ยศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๓๔ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำ� เนนิ งาน
โดยประกาศใช้เมื่อวันท่ี ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๓๔ ต่อมาเม่ือวันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๔ เพ่ือให้
เป็นไปตามความในข้อ ๑๗ แห่งระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วยศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
พ.ศ. ๒๕๓๔ และเพื่อให้การด�ำเนินงานของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ทั่วประเทศเป็นไป
อย่างมีเอกภาพ โดยมีส�ำนักงานกลางเป็นศูนย์ประสาน ควบคุม ดูแล และส่งเสริมการจัดการศึกษา
การพัฒนาบุคลากร การก�ำหนดและพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร การจัดท�ำคู่มือครูและการผลิตสื่อการเรียน
การสอนส�ำหรบั ใชใ้ นศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ (ตอ่ มาไดป้ รบั ปรงุ เปน็ ระเบยี บกรมการศาสนา
วา่ ดว้ ยศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยประกาศใชเ้ มอื่ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๗
และระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วยศนู ย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศใช้เมื่อ
วันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๐ และล่าสุดกรมการศาสนาได้ประกาศใช้ระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วย
ศนู ย์ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒ เม่ือวันที่ ๕ สงิ หาคม ๒๕๖๒)
กรมการศาสนาได้ประกาศตั้งส�ำนักงานบริหารการศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
แหง่ ประเทศไทย (กำ� หนดใชอ้ กั ษรยอ่ วา่ สพท.) พรอ้ มทงั้ ประกาศแตง่ ตง้ั คณะกรรมการบรหิ าร ซงึ่ มสี มเดจ็
พระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถร) เจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม
เป็นประธานกรรมการในคราวเดียวกันด้วย โดยมีหน้าท่ีในการพิจารณาก�ำหนดนโยบาย แผนงาน และ

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 9

โครงการเก่ียวกับแนวทางพัฒนาการศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ขึ้นต่อมหาเถรสมาคม และให้
มีส�ำนักงานต้ังอยู่ที่อาคารเฉลิมพระเกียรติ ส.ว. ชั้น ๒ ของโรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดอนงคาราม
เขตคลองสาน กรงุ เทพมหานคร พรอ้ มทงั้ ประกาศแตง่ ตงั้ พระปรยิ ตั กิ จิ โกศล (ขมิ อสิ สฺ รธมโฺ ม) ผชู้ ว่ ยเจา้ อาวาส
วัดอนงคาราม เป็นเลขาธกิ าร พระครูอุดมธรรมวาที (ส�ำราญ อคฺควโร) ผู้ชว่ ยเจา้ อาวาสวดั ประยุรวงศาวาส
เป็นรองเลขาธิการ และพระมหาบัว ปิยวณฺโณ วัดอนงคาราม เป็นเลขานุการส�ำนักงาน โดยนอกจากจะ
แบง่ ส่วนงานเปน็ ส�ำนักงานเลขานุการ ฝ่ายวิชาการ ฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์ และฝ่ายพสั ดุแล้ว ยงั ก�ำหนดใหม้ ี
ส�ำนักงานศูนย์กลางระดับหัวหน้าท�ำหน้าที่ประสานงานการด�ำเนินงานของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา
วนั อาทติ ย์ ทง้ั ในสว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าคตามเขตการปกครองคณะสงฆ์ จ�ำนวน ๔ แหง่ คอื (๑) ศนู ยห์ นา้ กลาง
ตั้งอยู่ท่วี ัดประยรุ วงศาวาส กรุงเทพมหานคร มีพระครอู ุดมธรรมวาที เปน็ ประธานศนู ย์ (๒) ศนู ยห์ นเหนือ
ต้ังอยู่ที่วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ มีพระธรรมสิทธาจารย์ เป็นประธานศูนย์ (๓) ศูนย์หน
ตะวันออก ตั้งอยู่ที่วัดมหาวนาราม จังหวัดอุบลราชธานี มีพระราชกิตติรังษี เป็นประธานศูนย์ และ
(๔) ศูนย์หนใต้ ตั้งอยู่ที่วัดแจ้ง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพระเทพปัญญาสุธี เป็นประธานศูนย์ โดยให้
ฝ่ายการศึกษาสงเคราะห์ กองศาสนศึกษา กรมการศาสนา (ปัจจุบันเป็นส�ำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม) มีหน้าที่ดูแลและรับผิดชอบสนองงานส�ำนักงานบริหารการศึกษา
พระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์แหง่ ประเทศไทย ตามควรแก่กรณี
การเปิดศูนย์การเรียนการสอนในวันอาทิตย์ได้เล็งเห็นปัญหาด้านสังคมโดยเฉพาะการขาด
คุณธรรม จริยธรรม ในสังคมไทยนับเป็นปัญหาระดับชาติ เน่ืองจากบ้านเมืองและบริบทของสังคมไทย
เปลี่ยนไปอย่างเด่นชัด ดังนั้น การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและส่งเสริมบทบาทของครอบครัวและ
ชมุ ชน ใหม้ ีสว่ นร่วมในการพัฒนาสงั คมไทยให้เป็นสังคมทมี่ ีสนั ตสิ ุขอย่างยง่ั ยืน จึงเปน็ เร่ืองทท่ี ุกฝ่ายตา่ งให้
ความส�ำคญั รว่ มพัฒนาสงั คมโดยเฉพาะในระดับชมุ ชน ท้องถิ่น
ดงั นนั้ การน�ำศาสนากบั การพฒั นาเยาวชนไทยใหเ้ ปน็ คนด ี มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทพ่ี งึ ปรารถนา
ในสังคม จะเป็นการวางรากฐานให้กับเด็กเยาวชนไทยอย่างแท้จริง ตามความคาดหวังของทุกภาคส่วน
ของสังคม และเนื่องจากความเปล่ยี นแปลงของชมุ ชนไทยเป็นสังคมการเรียนรู้ บทบาทขององคก์ รในชุมชน
มีส่วนส�ำคัญในการส่งเสริมให้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ วัดมีบทบาทท่ีเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนไทย
วดั คอื ศนู ยร์ วมจติ ใจของคนไทย และศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย ์ เปน็ องคก์ รทางพระพทุ ธศาสนา
หนึ่งในชุมชนท่ีพระสงฆ์ร่วมกับชุมชน จัดต้ังข้ึนให้เป็นแหล่งปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมแก่เด็ก เยาวชน
และประชาชน มีความใกลช้ ิดพระพุทธศาสนา
การมแี หลง่ พฒั นาศลี ธรรม คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของชมุ ชน ในรปู แบบศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนา
วันอาทิตย์นี้ นับเป็นโครงการส�ำคัญที่ดียิ่งอย่างหนึ่งในสังคมปัจจุบัน เพราะสามารถชักน�ำเด็ก เยาวชน
และประชาชนเข้าสู่ร่มเงาพระพุทธศาสนาเพื่อเข้ามาการศึกษาอบรมบ่มนิสัย และสร้างจิตส�ำนึกให้เห็น
คุณค่าของพระพุทธศาสนาแต่แรกเร่ิม เป็นวิธีการในรูปแบบหนึ่ง ท่ีได้รักษาพระพุทธศาสนาให้ด�ำรงมั่นคง

10 ระเบียบกรมการศาสนาวา่ ดว้ ยศนู ยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

อยไู่ ดต้ ง้ั แตอ่ ดตี จนปจั จบุ นั โดยไดส้ ง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การด�ำเนนิ การศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์
ซ่ึงวัดเป็นทุนทางสังคมและเป็นฐานท่ีส�ำคัญของการพัฒนาชุมชนที่สามารถหล่อหลอมบุคคลให้เกิด
การพัฒนาให้เป็นคนดีมีคุณธรรม โดยเฉพาะศูนย์ฯ ได้มีกระบวนการ วิธีการ และการขับเคลื่อนศีลธรรม
โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ผ่านกระบวนการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา กิจกรรม
ทางพระพุทธศาสนา ในชุมชน วัดจึงได้ท�ำหน้าที่อย่างเข้มแข็ง โดยเปิดพ้ืนท่ีวัดให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้
ของเด็ก เยาวชน และประชาชน ในนามศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ซ่ึงเป็นการบริหารจัดการ
ในลักษณะการบูรณาการงานในพนื้ ท่ี ชุมชน การมีสว่ นร่วม แหล่งจดั กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา สง่ เสริม
สนับสนุนกิจกรรม/งาน/โครงการท่ีด�ำเนินการอยู่แล้วให้ด�ำรงอยู่อย่างย่ังยืน โดยความเช่ือมโยงการบริหาร
จดั การระหวา่ งบา้ น ชุมชน วัด และโรงเรียน ซึง่ โครงการศูนยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทิตย์เป็นโครงการ
ส�ำคัญในการขับเคลื่อนศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชน ให้มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด โดยภาครัฐ
ภาคเอกชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาศูนย์ฯ ให้ชุมชนมีจิตตระหนักเป็นเจ้าของศูนย์ฯ ของชุมชน
เปน็ แหล่งจดั กิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนาในชุมชน เกิดความสามคั คี รว่ มมอื ร่วมใจของคนในชมุ ชน

ความสำ� คญั

ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ (ศพอ.) เป็นองค์กรทางพระพุทธศาสนาหนึ่งในชุมชนท่ี
พระสงฆ์ได้จัดต้ังข้ึนเพ่ือเป็นแหล่งบ่มเพาะปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้แก่เด็ก เยาวชนและประชาชน
เป็นเสมือนสถาบันพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กเยาวชนและประชาชน ซ่ึงศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา
วันอาทิตย์ได้รับการส่งเสริมให้มีบทบาทเพิ่มข้ึนทุกปีเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
โดยได้รับความร่วมมอื เปน็ อยา่ งดีย่งิ จากภาคคณะสงฆ์ ภาครัฐ และภาคเอกชนในพนื้ ท่ี ไดใ้ ห้ความร่วมมือ
ในการพัฒนา ศพอ. ให้มีคุณภาพ ท�ำให้ ศพอ. มีบทบาทในการพัฒนาชุมชน โดยมีส�ำนักงานวัฒนธรรม
จงั หวดั เปน็ หนว่ ยงานปฏบิ ตั ใิ นพนื้ ทที่ ดี่ แู ลเอาใจใสแ่ ละมสี ว่ นผลกั ดนั และพฒั นาศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนา
วนั อาทติ ยม์ าอย่างตอ่ เน่ือง
กระทรวงวฒั นธรรม โดยกรมการศาสนามนี โยบายทจ่ี ะบรู ณาการงานในพน้ื ท ่ี โดยใหศ้ นู ยศ์ กึ ษา
พระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ (ศพอ.) เปน็ แหลง่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของชมุ ชน ทเ่ี ปน็ รากฐานของชมุ ชนคณุ ธรรม
ทจี่ ะน�ำหลกั ธรรมค�ำสอนใหท้ กุ กลมุ่ เปน็ รปู ธรรม และรว่ มกบั ทกุ ภาคสว่ นขบั เคลอื่ นงานพน้ื ที่ มแี นวคดิ ในการ
พัฒนาส่งเสริมสนบั สนุนให้ศูนยศ์ ึกษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตย์ เปน็ ศพอ. ท่มี ีศักยภาพและความพร้อม
ที่จะเป็นผู้น�ำในการพัฒนาชุมชนให้เป็น “ชุมชนคุณธรรม” อย่างต่อเนื่องอันจะเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของชุมชน โดยใช้มิติทางศาสนา บนพืน้ ฐานของความสมั พนั ธร์ ะหว่างวัด บ้าน (ชุมชน) โรงเรยี น ให้อยู่คูก่ ับ
สงั คมไทย ท�ำให้ ศพอ. เพอื่ การพฒั นาท่ียง่ั ยนื ของชาติ ตามนโยบายและยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปขี องรัฐบาล
ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต เป็นการยกระดับการศึกษาและการเรียนรู้ให้มี
คุณภาพเทา่ เทยี มและทั่วถึง โดยปลูกฝงั ระเบยี บวนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ เสริมสรา้ ง

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 11

ให้คนมีสุขภาวะท่ีดี และการสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ในการส่งเสรมิ
การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมแก่เด็กและเยาวชนของชาติ สามารถเป็นตัวจักรใหญ่ท่ีส�ำคัญ
ในการขบั เคลอ่ื นความเจรญิ กา้ วหนา้ ของประเทศไทย ในยคุ ไทยแลนด์ ๔.๐ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เนอ่ื งจากนโยบาย
ท่ีเน้นการพัฒนาประเทศด้วยความรู้ด้านเทคโนโลยี เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ๆ ส่งเสริมทักษะการส่ือสาร
ในสังคมโลกตามบริบททเ่ี ปลีย่ นไป และร้เู ท่าทนั เทคโนโลยี ทเี่ ข้ามามีอทิ ธิพลต่อการด�ำเนินชวี ิตในปจั จุบัน
แตส่ ง่ิ ส�ำคญั ยง่ิ กวา่ ในการพฒั นาคนคอื การปลกู ฝงั ใหเ้ กดิ คณุ ธรรม รผู้ ดิ ชอบชวั่ ดี รหู้ นา้ ทใ่ี นการเปน็ พลเมอื ง
ท่ีดีของชาติ ต่อสังคม และครอบครัว การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมที่พึงประสงค์ ๔ ประการ ดังกล่าว
จงึ เป็นการน�ำพาชาตใิ ห้เจรญิ รงุ่ เรือง มั่นคง มง่ั ค่งั อยา่ งย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ
วิถีวัฒนธรรมไทย จนสามารถน�ำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน สร้างคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติโดยรวม
ดงั น้ี

๑. ศพอ. เปน็ ศูนย์การเรยี นรู้ทางพระพุทธศาสนาของชมุ ชน

๑.๑ ศูนย์ “ธรรมศึกษา” เพ่ือบ่มเพาะให้ผู้เรียนเป็นคนดีมีคุณธรรม เน้น “ความรู้
คคู่ ณุ ธรรม”โดยเปดิ สอน“ธรรมศกึ ษา”ชนั้ ตรีชนั้ โทและชน้ั เอกมคี รผู สู้ อนทง้ั พระภกิ ษแุ ละฆราวาสทมี่ คี วามรู้
ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรธรรมศึกษาของแม่กองธรรมสนามหลวง ซ่ึงมี
๓ ภาค ได้แก่ (๑) ภาควิชาบังคับทางพระพุทธศาสนา (๒) ภาควิชาเลือก มีการสอนเสริมวิชาสามัญ
เช่น วิชาคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ เปน็ ต้นและวิชาเลอื กพิเศษตามความสนใจ เชน่
ดนตรไี ทย ร�ำไทย ท�ำดอกไม้ประดษิ ฐ์ ศิลปะ ฯลฯ และ (๓) ภาคกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน เชน่ กจิ กรรมทาง
พระพทุ ธศาสนา กจิ กรรมทางสถาบนั พระมหากษัตริย์ กิจกรรมเรียนรู้ตามศาสตร์พระราชา ฯลฯ

๑.๒ ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยพัฒนาปรับปรุงสถานที่ในวัด
ให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ และเผยแพร่องค์ความรู้เก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร เพื่อพัฒนาคนในชุมชนให้ด�ำรงชีพด้วยความพอเพียงอย่างต่อเนื่องจนเห็นคุณค่าและ
เกิดศรัทธา รู้จกั ความพอเพยี ง รู้จักการใชช้ วี ติ อย่างสมดุลทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ ด้านสังคม และด้านส่งิ แวดล้อม
รู้จักอยู่ร่วมกับผู้อื่น เอื้อเฟื้อ เผ่ือแผ่ แบ่งปัน มีจิตส�ำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และเห็นคุณค่าของวัฒนธรรม
ค่านิยมความเป็นไทย ท�ำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและยั่งยืนโดยบูรณาการการท�ำงานและประสาน
ความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ โดยทุกศูนย์ต้องเช่ือมโยงการเรียนรู้ต่อกันอย่างเป็นรูปธรรม และ
มีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนการด�ำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับผู้ที่มีความสนใจ
ในกลมุ่ ต่างๆ อยา่ งกว้างขวาง

12 ระเบยี บกรมการศาสนาว่าดว้ ยศูนยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

๒. ศพอ. เปน็ ศนู ย์กลางจัดกิจกรรมของชมุ ชน
เป็นศูนย์กลางจัดกิจกรรมของชุมชน โดยเป็นศูนย์กลางในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและ
ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนท่ีมีบทบาทในการจัดกิจกรรมในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อสร้างการรับรู้ให้กับ
ทุกภาคส่วนในพ้ืนท่ี เช่น จัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สร้างภูมิคุ้มกันทาง
ศลี ธรรม จดั กจิ กรรมทางวฒั นธรรมธ�ำรงไวซ้ ง่ึ ขนบธรรมเนยี มประเพณที างวฒั นธรรมทด่ี งี าม จดั กจิ กรรมทาง
สถาบันพระมหากษัตริย์เสริมสร้างความจงรักภักดี จัดกิจกรรมจิตอาสาจากความร่วมมือของทุกภาคส่วน
ในชุมชน เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ในด้านศาสนา ด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและด้านการรักษา
สืบสานวฒั นธรรมไทย เปน็ การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของเดก็ เยาวชนและประชาชนในทกุ ชว่ งวยั ใหเ้ ปน็ คนดี
มีคณุ ธรรม มปี ญั ญาและมคี วามสุข และมีความสมานฉันทส์ ามัคคภี ายในชมุ ชน
๓. ศพอ. เป็นศนู ยพ์ ัฒนาอาชพี ของชมุ ชน
เปดิ บรกิ ารเปน็ ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ใชเ้ ปน็ ทฝ่ี กึ อบรมอาชพี แกเ่ ดก็ เยาวชน ผปู้ กครอง และประชาชน
ในชุมชนที่ต้องการพฒั นาวชิ าชีพ เช่น งานบรกิ าร งานชา่ งต่างๆ ช่างตัดผม ชา่ งเยบ็ ผ้า ช่างปูน ชา่ งเชอื่ ม
งานจกั สาน งานผลติ สนิ คา้ เพอ่ื ใชห้ รอื ท�ำธรุ กจิ การคา้ มกี ารน�ำทนุ ทางวฒั นธรรมในทอ้ งถน่ิ มาผลติ เปน็ สนิ คา้
ทมี่ อี ตั ลกั ษณแ์ ตกตา่ งตามวถิ วี ฒั นธรรมและภมู ศิ าสตรข์ องแตล่ ะภาคแตล่ ะชมุ ชน เพอื่ สรา้ งงาน สรา้ งรายได้
ให้ทุกคนในชุมชนมีงานท�ำอย่างท่ัวถึง ยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ให้สูงข้ึน และช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ
ชมุ ชนให้ดขี ้นึ
๔. ศพอ. เป็นศนู ย์ต้นแบบแหลง่ แลกเปลย่ี นเรียนรขู้ องชมุ ชน
ศพอ.ต้นแบบ จะเปน็ แหล่งแลกเปลยี่ นเรยี นร้ขู องชมุ ชนทสี่ �ำคญั โดยจะมคี วามพรอ้ มในดา้ น
ตา่ งๆ โดยเฉพาะการเปน็ “ชมุ ชนคณุ ธรรมตน้ แบบ” ทเี่ ปดิ กวา้ งใหช้ มุ ชนอนื่ ๆ ไดม้ าศกึ ษาดงู าน เยยี่ มเยยี น
แลกเปล่ยี นความรแู้ ละประสบการณ์ ศพอ. ต้นแบบ นจ้ี ะคณุ ลกั ษณะพิเศษ คือ มีความสมั พันธ์ทดี่ ภี ายใน
ชุมชนมีการพ่ึงพาอาศัยกัน มีความสามัคคี มีผู้น�ำชุมชนที่เข้มแข็ง คนในชุมชนให้ความร่วมมือในการ
ด�ำเนนิ งานพฒั นาชมุ ชนคณุ ธรรมอยา่ งเตม็ ทมี่ ภี าคเี ครอื ขา่ ยในการด�ำเนนิ งาน “บวร” ไดแ้ ก่ วดั บา้ น โรงเรยี น
และหน่วยงานภาครัฐในพืน้ ท่ี ฯลฯ ทเ่ี ข้มแขง็ เน้นการพฒั นาทีย่ ั่งยนื และการมสี ว่ นร่วมในทุกภาคสว่ น และ
ทุกครัวเรือนโดยจัดกิจกรรมในมิติต่างๆ ที่สามารถเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนอื่นได้ศึกษา เพ่ือน�ำไปพัฒนา
ชมุ ชนตนเองให้เป็นชมุ ชนคณุ ธรรม เป็นการขยายผลสชู่ มุ ชนอ่นื ๆ ต่อไป

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 13

14 ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

คณุ คา่ ของศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์

๑. ช่วยแก้ไขปัญหาสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการค้นพบตัวเลขของปัญหา
เยาวชนไทยในขณะน้ีเกิดวิกฤตคุณธรรมจริยธรรมอย่างมาก และนับวันจะทวีความรุนแรงข้ึน สร้างความ
ยุ่งยากให้แก่สังคมไทย หากไม่ได้รับการเยียวยาแก้ไขในทันที ปัญหาดังกล่าวจะลุกลามขยายไปสู่เยาวชน
ในวงกวา้ งจนยากทจี่ ะแกไ้ ขอนั จะสง่ ผลกระทบตอ่ คณุ ภาพเยาวชนไทยในอนาคต กรมการศาสนาไดส้ นบั สนนุ
ให้การด�ำเนินการในศูนย์ฯ มีศักยภาพใช้หลักธรรมทางศาสนาไปเยียวยาจิตใจของเด็กและเยาวชน
และมีจ�ำนวนที่มากพอ เพ่ือให้เป็นศูนย์กลางในการแก้ปัญหาด้านคุณธรรมของเยาวชนและประชาชน
ในชุมชนทสี่ มั ผัสได้และสามารถประเมินผลงานทีเ่ ป็นรปู ธรรมได้

๒. ชว่ ยสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทด่ี ใี หก้ บั เยาวชนและประชาชนทวั่ ประเทศ โดยใหศ้ นู ยฯ์ เปน็ ฐานของ
ชุมชนที่มั่นคงและเข้มแข็ง ในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้กับเด็กและเยาวชนตั้งแต่เยาว์วัย ซ่ึงเป็นท่ี
ประจักษ์ได้และยังเป็นการด�ำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ที่มุ่งเน้นพัฒนาคนให้เป็นคนดี
มีคณุ ธรรม ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๓. ช่วยฟื้นฟูความเข้มแข็งของวัดในอดีตให้กลับคืนสู่สังคม โดยมีความมุ่งหวังที่จะพลิกฟื้น
บทบาทของวัดให้เป็นฐานปฏิบัติการ เน่ืองจากวัดในอดีตมีบทบาทมากมายที่ค้�ำชูสังคมไทยให้ด�ำรงอยู่
อย่างมั่นคง วัดเป็นทุกส่ิงทุกอย่างของชุมชน และมีบทบาทต่อคนในชุมชนนับต้ังแต่เกิดจนกระท่ังตาย
กลา่ วคอื วดั เปน็ ทพี่ งึ่ ทางจติ ใจของชาวบา้ น มพี ระสงฆเ์ ปน็ ผนู้ �ำชาวบา้ น คอยใหค้ �ำปรกึ ษาสงั่ สอน วดั ยงั เปน็
ทปี่ ระกอบพธิ กี รรมตา่ งๆ ทผ่ี กู พนั กบั วถิ ชี วี ติ ของทกุ คนในชว่ งเวลาตา่ งๆ ของชวี ติ เปน็ แหลง่ อบรมทางปญั ญา
ให้แก่เด็ก เป็นแหล่งรวมสรรพวิชาการความรู้ท้ังมวล เป็นศูนย์รวมศิลปะและวัฒนธรรม เป็นพิพิธภัณฑ์
เป็นรมณียสถานเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ เป็นท่ีให้บริการด้านฌาปนกิจ เป็นสถานท่ีชุมนุมพบปะสังสรรค์
จากความส�ำคัญของวัดในอดีตท่ีมีจ�ำนวนมากน้ี กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม จ�ำเป็นต้อง
ค้นหาและฟื้นฟูส่ิงดีๆ ในอดีตโดยเฉพาะส่ิงดีในวัดให้คืนกลับมาสู่สังคมไทย โดยพลิกฟื้นบทบาทของ
วดั ทดี่ งี ามในอดตี ทเี่ หมาะสมและเขา้ กบั สถานการณข์ องสงั คมปจั จบุ นั ใหก้ ลบั คนื สชู่ มุ ชน โดยมศี นู ยศ์ กึ ษา
พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ท�ำหน้าที่ต่างๆ เช่น เป็นศูนย์กลางชุมชน เป็นศูนย์จัดกิจกรรมของชุมชน
เปน็ ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ของชมุ ชน เปน็ ศนู ยเ์ กบ็ รวบรวมมรดกและวฒั นธรรมไทย เปน็ เสมอื นพพิ ธิ ภณั ฑข์ องชมุ ชน
ทม่ี คี า่ ตอ่ จติ ใจ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วของชมุ ชน เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรทู้ างพระพทุ ธศาสนาของชมุ ชน เพอ่ื ปลกู ฝงั
คุณธรรมจริยธรรมแก่เด็กเยาวชนและประชาชนทุกกลุ่มอาชีพ ให้เข้าถึงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
และสามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของตนเองให้ดขี น้ึ

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 15

๔. ชว่ ยพฒั นาชมุ ชนใหเ้ ขม้ แขง็ จากการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนา
วนั อาทติ ย ์ เปน็ ศนู ยท์ เ่ี ปดิ โอกาสใหท้ กุ ภาคสว่ นของสงั คมไดม้ สี ว่ นรว่ มก�ำหนดนโยบายในการบรหิ ารจดั การ
ร่วมด�ำเนินกิจกรรม รวมทั้งร่วมตรวจสอบในทุกระดับด้วยคนในชุมชนเองเพ่ือ “ท�ำให้คนไทยมีความสุข
อยา่ งยง่ั ยนื ” โดยยดึ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตเิ ปน็ เขม็ ทศิ ในการท�ำงาน ซง่ึ รฐั บาลไดว้ างกรอบ
ทศิ ทางการพฒั นาประเทศมงุ่ สคู่ วาม “มน่ั คงมง่ั คงั่ และยงั่ ยนื ” โดยการน�ำ “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”
มาเป็นแนวทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างย่ังยืนและสมดุลในทุกมิติ
ทั้งเศรษฐกิจและสังคม บนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม เน้นพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
และการสรา้ งจิตส�ำนกึ สาธารณะ สู่การเปน็ สังคมแหง่ ปญั ญา

๕. ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองตามแนวปฏริ ปู การศกึ ษา ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนา
วนั อาทติ ย ์ เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นการสอนทมี่ หี ลกั สตู รเฉพาะของตนเอง สง่ เสรมิ การเรยี นรคู้ คู่ ณุ ธรรม และสง่ เสรมิ
การใช้เวลาอย่างสร้างสรรค์ ให้เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง และเป็นหลักสูตรท่ีมีความยืดหยุ่น
สนองความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ เพื่อมุ่งหวังต่อยอดและเติมเต็มความเป็น
มนุษย์ ท่ีเน้นความหลากหลายในการเรียนการสอน สร้างโอกาส สร้างทางเลือกส�ำหรับคนหลายกลุ่ม
ในทางการศึกษาอย่างเท่าเทียม ตามโอกาสและความสนใจ เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างสรรค์สังคม
กับท้งั มีความสอดคล้องกับการศึกษาในระบบโรงเรยี นและการจัดการศกึ ษาของคณะสงฆ์ไทย ท่ีเนน้ พัฒนา
ผู้เรยี นใหเ้ ป็นคนดี มคี วามสขุ บนพ้นื ฐานแห่งหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ใหม้ ีความรู้ ในศิลปวฒั นธรรม
ตลอดจนขนบธรรมเนยี มประเพณที ดี่ งี ามของไทย ปลกู ฝงั ใหผ้ เู้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ และมคี วาม
ภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ และยึดมั่น
ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ พระประมุข

๖. ช่วยปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของชุมชนให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์
โดยไดม้ กี ารปรบั บทบาทใหมข่ องศนู ยฯ์ ใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง มคี วามทนั สมยั และสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ
ของคนในสังคมไทยในยุคโลกาภิวัตน์ท่ีไร้พรมแดน ทุกส่ิงทุกอย่างมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การท�ำงานในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ให้ทันต่อการ
เปล่ียนแปลง โดยการใช้ไอทีในการแสวงหาความรู้จากโลกอินเทอร์เน็ต พร้อมไปกับการสร้างกระแส
กระตุ้นเร้าให้ทุกภาคส่วนเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาไทย โดยมีศูนย์ฯ ท�ำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการ
พฒั นาชุมชนทง้ั ดา้ นจิตใจและด้านเศรษฐกจิ ชมุ ชน ซึง่ จะเปน็ พลังมหาศาลที่จะขับเคล่อื นเชือ่ มโยงกิจกรรม
การพฒั นาในทกุ มิติสู่ชุมชน สรา้ งครอบครวั อบอุน่ ชมุ ชนเขม้ แข็ง ประเทศชาติมนั่ คง

16 ระเบียบกรมการศาสนาว่าดว้ ยศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

๗. ช่วยน�ำทุนทางสังคมมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าและร่วมฟื้นฟูวิถีไทย โดยให้ศูนย์
ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ในวัด ซึ่งเป็นทุนทางสังคมที่มีคุณค่าและเข้มแข็งของไทย มาเป็นฐานใน
การพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมประชาชน มพี ระภกิ ษสุ งฆผ์ ซู้ ง่ึ ไดร้ บั ความเคารพนบั ถอื เปน็ ผนู้ �ำในการพฒั นา
ชมุ ชน ซงึ่ จะชว่ ยลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งวฒั นธรรมตะวนั ตกกบั วฒั นธรรมตะวนั ออก ใหม้ คี วามสมดลุ ตามวถิ ไี ทย
ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยจ์ ะเปน็ แหลง่ ฟน้ื ฟอู ารยธรรมของไทยทเี่ คยรงุ่ เรอื งในอดตี ใหก้ ลบั คนื สู่
ชุมชนท้องถ่ิน เพ่ือให้ชุมชนได้รู้จักตัวตนของตนเองมากขึ้น รวมท้ังส่งเสริมให้มีการยึดถือตามหลักทฤษฎี
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ให้เกดิ ความสมดลุ ตามวิถีไทย

ประโยชน์ของศูนย์ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตย์ทีม่ ีต่อชุมชน

๑. พัฒนาเดก็ เยาวชนและประชาชนใหม้ ีปัญญาและคณุ ธรรม
ส่งเสริมให้เด็กเยาวชนและประชาชนได้รับการปลูกฝังและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
จากศนู ยก์ ารเรยี นรู้ “ธรรมศกึ ษา”เสรมิ สรา้ งความสามคั คดี ว้ ยกจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
จริยธรรม
ช่วยให้เด็ก เยาวชนและประชาชนได้รับการฝึกอบรมเพ่ิมพูนความรู้และทักษะในด้าน
ต่างๆ อย่างสม่�ำเสมอ
ช่วยท�ำให้เด็กเยาวชนผู้เรียนมีความเข้าใจในวิชาท่ีเรียนในโรงเรียนมากข้ึนจาก
การสอนเสริม
ส่งเสริมให้เด็กแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ฝึกการท�ำงานเป็นหมู่ เคารพในสิทธิ
และฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน ส่งเสริมเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ช่วยให้
การถา่ ยทอดความรู้มีประสทิ ธิภาพย่งิ ข้ึน
เสริมสร้างให้เกิดการเรียนรู้ในการท�ำงาน การบริหารจัดการศูนย์ฯ และแก้ไขปัญหา
ในชมุ ชน
ก่อเกิดประโยชน์ทางปัญญา คือ สร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตและอนุรักษ์และพัฒนา
ศกั ยภาพปัญญาของเด็กและเยาวชน
ก่อเกิดประโยชน์ทางกาย คือ เสริมสร้างสุขภาวะทางกาย สนับสนุนบริการสุขภาพ
ส่คู รอบครวั สง่ เสรมิ ดา้ นโภชนาการ ฯลฯ
ก่อเกิดประโยชน์ทางจิต คอื สนบั สนนุ ความเปน็ อิสระ พัฒนาความเชื่อมั่น/ความภมู ิใจ

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 17

๒. เป็นแหล่งเรียนรู้ของชมุ ชนทห่ี ลากหลาย
เปน็ ศนู ย์กลางของการพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของประเทศไทย
เป็นศูนย์แลกเปล่ียนความรู้ความเข้าใจของชุมชนที่จะน�ำไปสู่การพัฒนาชุมชน
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง
เปน็ แหลง่ สบื คน้ หาความรไู้ ดต้ ลอดเวลา บรกิ ารการเรยี นรทู้ ม่ี ผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงชวี ติ
ของคนในชมุ ชน
เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรทู้ างประวตั ศิ าสตรแ์ ละพระพทุ ธศาสนาของชมุ ชน และเปน็ ศนู ยก์ ลาง
ของชุมชนในการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ให้เด็ก เยาวชน และประชาชน
ทกุ ระดบั ไดเ้ ขา้ วดั เพอ่ื เรยี นรพู้ ระพทุ ธศาสนา ประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปวฒั นธรรม ดว้ ยตนเอง
ตามอธั ยาศัยและสามารถเขา้ ร่วมกจิ กรรมได้หลากหลายตามความสนใจ
เป็นขุมทรัพย์ทางปัญญาและเป็นศูนย์กลางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ
เพอื่ พฒั นาเด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน
เป็นการกระจายแหล่งบริการทางการศึกษา ข้อมูลข่าวสารแก่ชุมชนให้ครอบคลุมทั่วถึง
ทุกพ้นื ท่ีมากยิ่งขน้ึ
เปน็ ศนู ย์รวมของการยกระดบั การศกึ ษา เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวิต
เป็นแหล่งบริการชุมชนในการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการของ
ประชาชน กลมกลืนกับวิถีชีวิตของชุมชนทันต่อความ เปล่ียนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์
ก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์ ก่อให้เกิดสังคมการเรียนรู้และการพึ่งพา
ตนเอง รวมทงั้ เสริมสร้างวิถีชีวติ ท่เี ปน็ ประชาธิปไตย

๓. เป็นฐานพัฒนาเศรษฐกิจชมุ ชน
สร้างความมนั่ ใจเพมิ่ ศกั ยภาพ และยกระดับฐานะของชุมชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ สามารถ
พ่งึ พาตนเองได้ โดยการฝึกอาชพี เสรมิ ตามความสนใจ
สรา้ งมลู ค่าเพิ่มให้กับสินคา้ ทีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ให้มกี ารพัฒนาต่อยอดใหต้ รงตาม
รสนิยมของตลาด น�ำไปสกู่ ารพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื ของสินค้าพนื้ บ้านไทย
ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ฟื้นฟูการอาชีพพื้นบ้านของชุมชนให้มีเอกลักษณ์
เฉพาะถ่ิน แสวงหาความสนใจร่วมสคู่ วามเข้มแข็งในอนาคต
ส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพตามความสนใจ อันเป็นปัจจัยที่ท�ำให้ชุมชนเข้มแข็งและ
พ่งึ ตนเองได้
ส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้ จากภาคบริการพ้ืนบ้าน เช่น นวดแผนไทย
การอบสมุนไพร การท�ำผลติ ภณั ฑ์สนิ้ คา้ ตา่ งๆ ให้เป็นกิจกรรมในครอบครวั และชมุ ชน

18 ระเบียบกรมการศาสนาวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

๔. เป็นสายใยเช่ือมสัมพันธ์ชมุ ชน
เสริมสร้างการเรียนรู้ให้แก่ผู้ปกครองและชุมชนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมในศูนย์ศึกษา
พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ท�ำให้เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างบุคลากรที่เก่ียวข้อง
ในทกุ ระดับ
ก่อให้เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างวัด บ้าน และโรงเรียน อันจะเป็นแหล่ง
รวมคนในชมุ ชน และเปน็ แหลง่ เรยี นรทู้ เ่ี กดิ จากพน้ื ฐานของความรว่ มมอื ของคนในชมุ ชน
เองอย่างแท้จริง เน่ืองจากศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์เป็นของชุมชน
ที่จัดด�ำเนินการโดยชมุ ชน โรงเรียน และวดั
เป็นศูนย์กลางการประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชนในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
ในชมุ ชน
กอ่ ใหเ้ กดิ ความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งคนในชมุ ชนกบั หนว่ ยราชการตา่ งๆ เชน่ กรมการศาสนา
กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ิน องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล ทุกแหง่ ได้ใหก้ าร
สนับสนุนศูนย์ฯ เพื่อท�ำหน้าที่ในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของท้องถ่ิน โดยมีการ
จัดท�ำเป็นยุทธศาสตร์สง่ เสรมิ พัฒนาชุมชนบนพน้ื ฐานของวฒั นธรรมและศาสนา เพ่อื ให้
ชุมชนท้องถ่ินมีความเข้มแข็ง มีความสามัคคี ยึดมั่นในหลักจริยธรรม คุณธรรมและ
หลักประชาธปิ ไตย

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 19

ศนู ย์ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์ :
ศนู ยก์ ลางการเสรมิ สร้างชุมชนคณุ ธรรมดว้ ยพลงั บวร

กรมการศาสนาไดเ้ หน็ ความส�ำคญั ของพลงั บวร (บา้ น วดั โรงเรยี น) ซง่ึ เปน็ สถาบนั ทอี่ ยคู่ สู่ งั คมไทย
มายาวนานและเป็นทุนมรดกทางสังคมท่ีมีบทบาทมากในชุมชน ให้เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาและ
บรหิ ารจัดการศนู ยศ์ ึกษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ยใ์ นชมุ ชนของตน โดยอาศัยกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของ
ทุกฝ่ายในชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมลงมือท�ำและร่วมกันประเมินผล ซ่ึงจะท�ำให้
ทุกฝ่ายรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ท่ีเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ร่วมกัน
(Learning Society)
บ้าน สถาบันครอบครัวหรือคนในชุมชน ให้การสนับสนุน ศพอ. ในวัดให้ท�ำหน้าที่ถ่ายทอด
วัฒนธรรมขัดเกลาเด็กให้เป็นสมาชิกที่ดีของสังคมหรือเข้าร่วมจัดกิจกรรมทางศาสนา/วัฒนธรรม ร่วมเป็น
จิตอาสาบ�ำเพญ็ ประโยชนใ์ นวดั /ในชมุ ชน ฯลฯ
วัด หรือ ศพอ. เป็นแหล่งขัดเกลาบ่มเพาะศีลธรรม/สืบสานวัฒนธรรมและเป็นศูนย์รวมจิตใจ
ของชมุ ชนท�ำหนา้ ทสี่ อนธรรมศกึ ษา จดั กจิ กรรมทางศาสนา/วฒั นธรรม เชญิ ชวนคนในชมุ ชนรว่ มเปน็ สมาชกิ
ของ ศพอ. ตลอดท้ังเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในชุมชน ซ่ึงมีส่วนท�ำให้ปัญหาของชุมชนลดน้อยลง
ประชาชนในชุมชนมีความสามัคคีปรองดองและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข รวมท้ังท�ำให้เกิดความเป็น
ปึกแผน่ มั่นคงของสงั คม
โรงเรียน หรือสถาบันการศึกษา ท�ำหน้าท่ีถ่ายทอดให้ความรู้ ฝึกทักษะอาชีพ ขัดเกลาและ
ถ่ายทอดทางวัฒนธรรม ตามความต้องการของสังคม รวมท้ังสอนธรรมศึกษาในโรงเรียน ร่วมจัดกิจกรรม
ในวัดหรือ ศพอ. โดยน�ำนักเรียนไปวัด ปฏิบัติศาสนกิจในวันธรรมสวนะ ฟังเทศน์ ท�ำบุญ น�ำนักเรียน
ท�ำกจิ กรรมบ�ำเพญ็ ประโยชนท์ ่วี ัด ฯลฯ
พลังบวร (บ้าน วัด โรงเรียน) จึงเป็นพลังที่ส�ำคัญในสังคมท่ีจะสามารถน�ำมาเป็นกลไก
ในการพัฒนาและสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ก่อให้เกิดกระบวนการสร้างสังคมคุณธรรมอย่างย่ังยืนในทุกพื้นที่
โดยให้ท�ำหน้าท่ีเป็นแกนกลางในการพัฒนา ร่วมวางแผน ด�ำเนินการพัฒนาให้เป็นชุมชนคุณธรรม
โดยโรงเรียนมีบทบาทในการสร้างเยาวชนให้เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม ให้สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้
อยา่ งมคี วามสขุ ขณะเดยี วกนั ชมุ ชนกม็ บี ทบาทและความส�ำคญั ตอ่ การจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น ทงั้ ในแงข่ อง
การเป็นแหล่งเรียนรู้มรดกทางวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยมของสังคม และวัดก็มีบทบาทหน้าท่ีท่ีจะให้
การอบรมกลอ่ มเกลาสมาชกิ ในชุมชน

20 ระเบียบกรมการศาสนาวา่ ดว้ ยศูนย์ศึกษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

ดังนั้น หากการประสานการท�ำงานของสามประสาน คือ บ้าน-วัด-โรงเรียน มีความเข้มแข็ง
และมีประสิทธิภาพ จะท�ำให้เกิดชุมชนคุณธรรมท่ีเป็นรูปธรรมมากย่ิงขึ้น โดยมีเป้าหมายให้เริ่มด�ำเนินการ
เฉพาะ ศพอ. ในพื้นที่ท่ีมีความพร้อม มีศักยภาพ และมีพระสงฆ์ เจ้าอาวาส หรือผู้บริหารศูนย์ท่ีมี
ความต้งั ใจทีจ่ ะเปน็ ผนู้ �ำในการบริหารจัดการ ศพอ. ร่วมกบั ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น/สถานศึกษาฯ และคนในพน้ื ท่ี
รว่ มสรา้ ง “ชมุ ชนคุณธรรม” ท่มี ีศูนยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ยเ์ ป็นศนู ย์กลาง ให้เกิดขึน้ ในทุกพืน้ ที่
ทว่ั ไทย

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 21

22 ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

รายละเอียดท่ีควรรู้เกี่ยวกับโครงการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา
วนั อาทิตย์ (ศพอ.)

๑. การด�ำเนินการโครงการ ศพอ.

ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ (ศพอ.) เป็นองค์กรทางพระพุทธศาสนา
องค์กรหนึ่งท่ีพระสงฆ์ได้จัดตั้งข้ึน เป็นการจัดการศึกษาสงเคราะห์ให้การศึกษาอบรมประชาชน
ซงึ่ กลมุ่ เปา้ หมายสว่ นใหญเ่ ปน็ เดก็ และเยาวชนทก่ี �ำลงั อยใู่ นวยั แหง่ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เพอ่ื ใหร้ จู้ กั ใชเ้ วลาวา่ ง
ในวันหยุดเรียนเข้ามาศึกษาหาความรู้ความเข้าใจตามหลักค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา แล้วน้อมน�ำไป
ประพฤตปิ ฏิบัตใิ นชวี ิต ประจ�ำวัน สามารถด�ำรงตนอยู่ไดใ้ นสงั คมอยา่ งสันติสุข ศนู ย์ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา
วันอาทิตย์นับเป็นการศึกษาอัธยาศัย ซึ่งด�ำเนินการโดยพระภิกษุสงฆ์ในความสนับสนุนและให้การอุปถัมภ์
ของกรมการศาสนา
โครงการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เป็นการบูรณาการงานในพื้นที่ส่งเสริม
ใหเ้ ป็น “ศูนยเ์ รียนรู้ คู่คณุ ธรรม” ของชมุ ชน ที่จะเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนโดยใช้มติ ทิ างศาสนา
น�ำสู่การพัฒนาที่ม่ันคงและยั่งยืน โดยมีเป้าหมายที่จะพัฒนาศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ให้มี
ประสิทธิภาพและครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศเพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้คุณธรรมจริยธรรมเด็ก เยาวชน
และประชาชน เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน สรา้ งโอกาสในการเรยี นรูห้ ลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา
มาเป็นหลักในการด�ำเนินชีวิตท่ีดีงาม การด�ำเนินงานดังกล่าวจ�ำเป็นท่ีทุกภาคส่วนของสังคมไทย ได้แก่
ภาคคณะสงฆ์ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะได้มีส่วนร่วมในการ
พัฒนาโครงการฯ และพร้อมที่จะช่วยกันผลักดันให้เป็นโครงการท่ีย่ังยืนและมีคุณภาพ บังเกิดผลสัมฤทธิ์
ท่ีเป็นรูปธรรมชัดเจน ร่วมขับเคล่ือนการด�ำเนินงานโครงการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
เพอ่ื สง่ เสริมให้เป็นศนู ย์กลางของชมุ ชน เป็นชมุ ชนคุณธรรมขับเคล่ือนด้วยพลังบวร (บา้ น - วดั - โรงเรียน)
กรมการศาสนา มรี ะเบยี บวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒
รวมท้ังประกาศกรมการศาสนา เร่ือง การจัดชั้นเรียนและหลักสูตรการเรียนการสอนของศูนย์ศึกษา
พระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒ เพอื่ ใหก้ ารเรยี นการสอน เดก็ เยาวชนเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
เกิดประสิทธิผลในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม เผยแผ่หลักธรรมสู่เด็ก เยาวชน และประชาชน ที่จะให้
ศนู ย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์เป็น เปน็ ศูนย์เรียนรคู้ คู่ ณุ ธรรม แหลง่ เรยี นรู้ศลี ธรรมของคนในชุมชน
ทอ้ งถิ่น โดยการจัดชัน้ เรียน แบง่ เปน็ ๓ ชัน้ คอื ชั้นต้น ชน้ั กลาง และชนั้ สงู ใช้หลักสตู รการเรยี นการสอน
ของภาคคณะสงฆ์ คอื หลกั สตู รธรรมศกึ ษาชนั้ ตรี - โท - เอก เปน็ วชิ าบงั คบั โดยมวี ชิ าเลอื กอยา่ งนอ้ ย ๑ วชิ า
มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยต้องเข้าร่วมกิจกรรมที่ศูนย์ฯจัดข้ึน และเปิดสอนในวันอาทิตย์ และวันอื่น
ตามที่คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯเห็นสมควร มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ และไม่น้อยกว่า
๘๐ ชั่วโมง/ปี โดยให้เป็นไปตามความเหมาะสมของพื้นท่ี กรมการศาสนาได้รับการสนับสนุนจาก
ภาคคณะสงฆ์ ในการใชห้ ลกั สตู รการเรยี นการสอนของภาคคณะสงฆ์ (หลกั สตู รธรรมศกึ ษาชน้ั ตรี โท เอก)
ซึ่งคณะสงฆ์ โดยแม่กองธรรมสนามหลวง ได้ประกาศหลักสูตรธรรมศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 23

ซ่ึงมีขอบข่ายแบ่งการเรียนการสอนเป็น ๓ ระดับ คือ ๑. ระดับประถมศึกษา ๒. ระดับมัธยมศึกษา
๓. ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป ซึ่งกรมการศาสนาได้ส่งเสริมให้ใช้หลักสูตรดังกล่าวในการเรียน
การสอนในศนู ย์ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์ ปัจจบุ ันศูนยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์ (ศพอ.)
ทั่วประเทศ มจี ำ� นวน ๓,๘๔๓ ศูนย์ มคี รูผสู้ อน ๒๓,๐๙๐ รูป/คน มผี ู้เรยี น ๘๗๔,๕๒๒ คน มจี ำ� นวน
ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมตลอดทง้ั ปี ๑๓,๔๓๓,๔๑๙ คน (ข้อมลู ปี ๒๕๖๓)
กรมการศาสนา ส่งเสริมให้ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เป็นศูนย์กลาง
การจัดกจิ กรรมของชุมชนดว้ ยพลงั บวร (บา้ น วดั โรงเรียน) เป็นการสร้าง “สงั คมคุณธรรม” ด้วยหลักธรรม
ทางศาสนา ผสานด้วยกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมทางสถาบันพระมหากษัตริย์ กิจกรรม
เก่ียวกับประเพณีวัฒนธรรมไทย รวมทั้งให้เด็ก เยาวชน และประชาชนมีความม่ันคงในคุณธรรม
รว่ มสรา้ งสรรคช์ ุมชนใหส้ งบร่มเยน็ เปน็ พลงั ส่งเสริมสถาบนั หลักของชาติท่ีม่นั คงและยั่งยนื

๒. ความรว่ มมอื ระหวา่ งหน่วยงานภายนอก

โครงการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์มีการด�ำเนินการร่วมมือกับภาคคณะสงฆ์
ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และทุกหนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ ง ร่วมกันพัฒนาโครงการฯ และพรอ้ มทีจ่ ะ
ช่วยกันผลกั ดันให้เป็นโครงการทย่ี งั่ ยืนและมคี ณุ ภาพ บังเกดิ ผลสัมฤทธิ์ทเ่ี ป็นรปู ธรรมชดั เจน ร่วมขับเคล่อื น
การด�ำเนินงานโครงการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์เพ่ือส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางของชุมชน
เปน็ ชุมชนคุณธรรมขบั เคลอ่ื นดว้ ยพลังบวร (บ้าน - วดั - โรงเรยี น)
ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์ หรอื ศพอ. เป็นหน่งึ ในโครงการของกระทรวงวฒั นธรรม
กรมการศาสนา ท่ีก่อก�ำเนิดข้ึนต้ังแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๒๐ เป็นโครงการที่มีคุณค่าต่อการวางราก ฐานให้
กบั เด็กและเยาวชนใหเ้ ป็นคนดี มคี ณุ ธรรมของแผ่นดนิ ตลอดระยะเวลาอันยาวนานกว่า ๔๐ ปี คณะสงฆ์
เปน็ ผมู้ บี ทบาทส�ำคญั ไดด้ �ำเนนิ งานมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งดว้ ยความเขม้ แขง็ เสยี สละและมคี วามผกู พนั อยา่ งใกลช้ ดิ
กับคนไทยท่ีมีพระพุทธศาสนาเปน็ เคร่ืองหลอ่ หลอมชวี ติ โดยมีวัดเปน็ ศูนย์รวมจิตใจ
นอกจากนี้ คณะสงฆ์ และผูบ้ ริหารศูนยฯ์ ยังไดเ้ มตตารบั ภาระหน้าทใ่ี หม่ ในการเป็นแกนกลาง
หลกั รว่ มมอื กบั ภาค “ประชารฐั ” อนั หมายถงึ ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชนในพนื้ ท ี่ พฒั นาชมุ ชน
ในพน้ื ท่ใี ห้เป็น “ชมุ ชนคณุ ธรรม” ทพี่ ่ึงพาตนเองได้ โดยมีพลงั ๓ ประสาน คอื บ้าน วดั โรงเรียน รวมทง้ั
ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเป็นหน่วยปฏิบัติท่ีคอยหนุนเสริมให้ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
บรรลผุ ลอย่างเปน็ รูปธรรม

๓. การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ และการปรบั เปลยี่ น
คา่ นิยมและวัฒนธรรม

ตอบสนองตามนโยบายของรัฐบาลและยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี โดยเสริมสร้างความ
มน่ั คงของสถาบันหลกั ของชาติ ปลูกฝงั ระเบียบวินยั คุณธรรมจริยธรรม คา่ นิยมท่พี ึงประสงค์ สร้างมนษุ ย์
ให้สมบูรณ์ สร้างชุมชนให้มคี วามเข้มแขง็ สร้างครอบครวั ให้มีความอยู่ดมี สี ขุ และอบอนุ่ ทง้ั นีเ้ พอื่ ให้ประเทศ
มีความมนั่ คง มสี ถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริยท์ ่เี ขม้ แข็งเปน็ ศูนยก์ ลางและเปน็ ทีย่ ดึ เหนี่ยวจิตใจของ
ประชาชน • สงั คม มีความปรองดองและความสามคั คี สามารถผนึกก�ำลังเพ่อื พัฒนาประเทศ • ประชาชน

24 ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ดว้ ยศนู ย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

มคี วามมน่ั คงในชวี ติ มงี านและรายไดท้ มี่ นั่ คงพอเพยี งกบั การด�ำรงชวี ติ โดยมงุ่ ประโยชนส์ ว่ นรวมอยา่ งยง่ั ยนื
ให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และประชาชนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
การแก้ปัญหาของสังคมไทย ซ่ึงก�ำลังประสบปัญหาวิกฤติคุณธรรมและค่านิยม
ทีเ่ ปลย่ี นแปลงไป ตามกระแสวัฒนธรรมต่างชาตแิ ละโลกที่หลากหลาย เคล่ือนไหวทีร่ วดเรว็ ในยุคดิจติ อล
หรือยุคสังคมออนไลน์ ท�ำให้เด็กและเยาวชนไทยไม่สามารถปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงขาดทักษะ
การคดิ วเิ คราะห ์ ในการคดั กรองและเลอื กรบั วฒั นธรรมทด่ี ี เพอื่ ปรบั เปลยี่ นคา่ นยิ มและพฤตกิ รรมใหส้ ามารถ
ปรับตัว เข้ากับกระแสใหม่ของโลกได้ โดยสร้างเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งมากขึ้น และมีการรวมกลุ่ม
เชื่อมโยง เป็นเครือข่าย เพ่ือท�ำกิจกรรม ทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้สามารถแก้ปัญหา
และสนองตอบความต้องการของชมุ ชนดว้ ยตนเองได้ดีขน้ึ
การฟื้นฟูบทบาทของวัดท่ีส�ำคัญในอดีตให้คืนกลับมา เนื่องจากวัดในอดีตมีบทบาท
มากมายทค่ี ำ้� ชสู งั คมไทยใหด้ �ำรงอยอู่ ยา่ งมนั่ คง วดั เปน็ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งของชมุ ชน และมบี ทบาทตอ่ คนในชมุ ชน
นับต้ังแต่เกิดจนกระทั่งตาย กรมการศาสนาต้องการ ค้นหาและฟื้นฟูส่ิงดีๆในอดีตโดยเฉพาะส่ิงดีในวัด
ให้คืนกลับมาสู่สังคมไทย โดยพลิกฟื้นบทบาทของวัดที่ดีงามในอดีตท่ีเหมาะสมและเข้ากับสถานการณ์
ของสังคมปัจจุบันให้กลับคืนสู่ชุมชน โดยมีศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ท�ำหน้าท่ีต่างๆ เช่น
เปน็ ศนู ยก์ ลางชมุ ชน เปน็ ศนู ยจ์ ดั กจิ กรรมของชมุ ชน เปน็ ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ของชมุ ชน เปน็ ศนู ยเ์ กบ็ รวบรวมมรดก
และวัฒนธรรมไทย เป็นเสมือนพิพิธภัณฑ์ของชุมชนที่มีค่าต่อจิตใจ เป็นแหล่งท่องเท่ียวของชุมชน
เป็นศูนย์การเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนาของชุมชน เพ่ือปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมแก่ เด็กเยาวชนและ
ประชาชนทุกกลุ่มอาชีพให้เข้าถึงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและสามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ
ชวี ิตของตนเองใหด้ ขี ึ้น
ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ (ศพอ.) จัดตั้งข้ึนภายใต้รูปแบบ “ประชารัฐ”
โดยการส่งเสริมและสนับสนุนของกรมการศาสนา ร่วมกับภาคคณะสงฆ์ ภาครัฐ และภาคเอกชนในพ้ืนท่ี
มีส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเป็นหน่วยปฏิบัติในพื้นท่ี มีคณะสงฆ์เป็นก�ำลังส�ำคัญในการบ่มเพาะปลูกฝัง
คุณธรรมจริยธรรมใหแ้ กเ่ ด็ก เยาวชน และประชาชน เน้นปลกู ฝังคุณธรรม ๔ ประการ คอื พอเพียง วินยั
สุจริต จิตอาสา เป็นแหล่งเรียนรู้ศีลธรรมตามหลักสูตรธรรมศึกษาช้ันตรี โท เอก เป็นศูนย์การเรียนรู้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ศูนย์กลางการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม
ศูนยพ์ พิ ิธภัณฑข์ องชุมชน และเปน็ ศนู ยฝ์ กึ วิชาชพี ในวัด เป็นตน้

๔. การสนับสนุนจากภาคคณะสงฆ์

ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ หรอื ศพอ. เปน็ หนง่ึ ในโครงการของกระทรวงวฒั นธรรม
กรมการศาสนา เขา้ ไปสนบั สนนุ งานของคณะสงฆใ์ หเ้ ปน็ รปู ธรรมยง่ิ ขนึ้ เปน็ โครงการทม่ี คี ณุ คา่ ตอ่ การวางรากฐาน
ให้กับเด็กเยาวชนและประชาชนให้เป็นคนดี มีคุณธรรมของแผ่นดิน ซ่ึงเป็นการท่ีภาครัฐไปหนุนเสริมงาน
ของคณะสงฆใ์ หด้ �ำเนนิ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งและเนอื่ งจากงาน ศพอ. เปน็ งานของคณะสงฆม์ าแตเ่ ดมิ ในปพี ทุ ธศกั ราช
๒๕๖๒ ที่ประชุมมหาเถรสมาคม (มส.) ได้มีมติมอบหมายให้ พระพรมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)
กรรมการมหาเถรสมาคม เจา้ อาวาสวดั ประยรุ วงศาวาส เปน็ ทปี่ รกึ ษาโครงการศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนา

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 25

วันอาทิตย์ เพ่ือให้ข้อเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินงานพัฒนาศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
แก่กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม และกับผู้บริหาร ศพอ. ทุกแห่งทั่วประเทศ ซ่ึงในปี ๒๕๖๒
พระพรหมบัณฑิต ได้ใหข้ ้อเสนอแนะการพฒั นา ศพอ. ใน ๓ ประเด็นส�ำคัญ ประกอบดว้ ย
๑) การท�ำให้งานพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ให้เป็นงานด้านเผยแผ่ ไม่ใช่ งานด้านการศึกษา
สงเคราะห์ ตามบทบาทหนา้ ทข่ี องพระสงั ฆาธกิ าร
๒) การส่งเสริมให้คณะสงฆ์เข้ามาเก่ียวข้องดูแลเร่ืองหลักสูตรการเรียนการสอน บูรณาการ
เรื่องหลกั สตู รพระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตยใ์ ห้เชอ่ื มโยงกบั การเรยี นการสอนพระพุทธศาสนาในโรงเรียน
๓) สนบั สนนุ ใหเ้ นน้ ภาษาองั กฤษเกยี่ วกบั ศาสนา เสนห่ ข์ องศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์
(ศพอ.) คือ ภาษาอังกฤษ ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ ในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ ภาษาอังกฤษมีความจ�ำเป็น
ตอ้ งหาอาจารย์เกง่ ๆ มาสอนพระพทุ ธศาสนาภาคภาษาองั กฤษใน ศพอ. จะท�ำให้การสอนพระพุทธศาสนา
ในวนั อาทิตย์ฟ้นื ตัวขึ้นมาได้ และสอดคลอ้ งกับนโยบายของรฐั บาลเรอื่ งภาษาต่างประเทศ

๕. อนาคตท่ีเข้มแข็งของ ศพอ.

กรมการศาสนา มุ่งม่ันที่จะฟื้นฟูความเข้มแข็งของวัดในอดีตให้กลับคืนสู่สังคมโดยเฉพาะ
ศพอ.ซ่ึงกระจายอยู่ทั่วประเทศเป็นฐานปฏิบัติการท่ีมีคุณค่าอย่างยิ่งในการสร้างเสริม “ชุมชนคุณธรรม”
เนอื่ งจากวดั ในอดตี มบี ทบาทมากมายทคี่ ำ�้ ชสู งั คมไทยใหด้ �ำรงอยอู่ ยา่ งมนั่ คง วดั เปน็ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งของชมุ ชน
และมีบทบาทต่อคนในชุมชนนับต้ังแต่เกิดจนกระทั่งตาย กล่าวคือ วัดเป็นท่ีพึ่งทางจิตใจของชาวบ้าน
มีพระสงฆ์เป็นผู้น�ำชาวบ้าน คอยให้ค�ำปรึกษาสั่งสอน วัดยังเป็นท่ีประกอบพิธีกรรมต่างๆท่ีผูกพันกับ
วิถีชีวิตของทุกคนในทุกช่วงเวลาของชีวิต เป็นแหล่งอบรมทางปัญญา เป็นแหล่งรวมสรรพวิชาการความรู้
ทงั้ มวล เปน็ ศนู ยร์ วมศลิ ปะและวฒั นธรรม เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑ์ เปน็ รมณยี สถานเปน็ ทพี่ กั ผอ่ นหยอ่ นใจ เปน็ สถาน
ท่ีชุมนมุ พบปะสังสรรค์
จากความส�ำคญั ของวดั ในอดตี ทมี่ มี ากมายนี้ ท�ำใหก้ รมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรมมเี ปา้ หมาย
ท่ีจะค้นหาสงิ่ ดีๆ ในวัดให้คนื กลบั มาสู่สังคมไทย โดยนำ� ศพอ. ท่ตี ง้ั อยใู่ นวัด ภายใตโ้ ครงการศนู ย์ศกึ ษา
พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์มาด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องมากว่า ๔๐ ปี ซึ่งเป็นทุนทางสังคมท่ีมีคุณค่า
และเขม้ แข็งของไทย มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า เพอื่ รว่ มฟ้ืนฟวู ิถีถิน่ วถิ ีไทย โดยมีพระสงฆ์ผมู้ เี มตตา
และเสียสละ เป็นผู้น�ำในการพัฒนาให้เกิดชุมชนคุณธรรม ท่ีสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีการบูรณาการ
การท�ำงานรว่ มกบั ภาคกี ารพัฒนาทกุ ภาคสว่ น ท้ังภาครัฐ เอกชน และประชาชน รวมทัง้ บวร ซ่งึ จะชว่ ยลด
ชอ่ งว่างทางสังคมใหม้ คี วามสมดลุ ตามวิถีไทย ให้คนไทยมีความ “ม่งั คั่ง มัน่ คงและความสุขอยา่ งยงั่ ยืน”
ตามนโยบายของรฐั บาล ซึ่งกรมการศาสนามีแนวคิดพืน้ ฐานการกา้ วสอู่ นาคตทีเ่ ข้มแขง็ ของ ศพอ. ดังน้ี
o การมจี ติ สำ� นกึ ในคณุ คา่ ของพระพทุ ธศาสนา ผบู้ รหิ ารศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์
ตลอดจนประชาชนในชมุ ชนและผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ ตอ้ งตระหนกั ในคณุ คา่ ของพระพทุ ธศาสนา และมจี ติ ส�ำนกึ
ที่จะธ�ำรงไว้ซง่ึ พระพทุ ธศาสนาใหด้ �ำรงอยสู่ ืบไป
o การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในชุมชน ถือเป็นภารกิจหลกั ของศนู ยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนา
วันอาทิตย์ ท่ีจะต้องให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนชุมชนในการส่งเสริมพระพุทธศาสนา

26 ระเบียบกรมการศาสนาว่าดว้ ยศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

อันจะน�ำไปสู่การเป็นเจ้าของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ร่วมกัน รวมทั้งบุคลากรของศูนย์ฯ
ทุกระดบั เป็นหวั ใจของศูนยฯ์ การทีบ่ คุ ลากรเขา้ มามีส่วนรว่ มในองค์กร จะท�ำใหท้ ุกคนได้ใช้ความสามารถ
ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สว่ นรวมมากทส่ี ุด
o ความพรอ้ มของศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ เพอ่ื พฒั นาศนู ยฯ์ ใหม้ คี วามเขม้ แขง็
ในการจดั กิจกรรมการส่งเสรมิ พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีความเหมาะสม ความหลากหลาย และสอดคลอ้ งกับสภาพ
แวดล้อมและกล่มุ เปา้ หมาย
o คณุ ภาพในการบรหิ ารจดั การศนู ยฯ์ โดยต้องใหค้ วามส�ำคัญกับองค์ประกอบต่อไปน้ี
- ตัวของศูนย์ฯ การจัดองค์กรภายในศูนย์ฯ การบริหารงาน การจัดการเรียนการสอน
การจัดกิจกรรม ตลอดจนการให้บริการ ต้องมีระบบ และมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิด
ภาพลักษณท์ ีด่ ีแกศ่ ูนย์ฯ เปน็ ท่ีพงึ พอใจและไดร้ บั การยอมรับจากประชาชนในชมุ ชน
- เจา้ หนา้ ทภ่ี ายในศนู ยฯ์ มกี ารท�ำงานเปน็ ระบบ มจี ติ ส�ำนกึ ในเรอื่ งของการพฒั นาคณุ ภาพ
มวี นิ ยั ในการท�ำงาน พฒั นาการท�ำงานเปน็ ทมี มกี ารประสานงานทดี่ ี และสามารถพฒั นา
ตนเอง ตลอดจนเกิดทศั นคตทิ ี่ดตี อ่ การท�ำงาน
- ผู้ปกครองผู้ใช้บริการจากศูนย์ฯ ต้องมีความมุ่งม่ันในการเรียนการสอนและบริการ
ของศนู ย์ฯ วา่ มคี ุณภาพตามทีต่ ้องการและมีศกั ยภาพ
o การใหค้ วามส�ำคญั กบั กลุ่มผู้รบั บริการ ศูนยฯ์ ตอ้ งพง่ึ พาประชาชน ดงั นัน้ ศนู ยฯ์ จึงต้อง
ท�ำความเข้าใจกับความต้องการของประชาชน (ผู้รับบริการ) ท้ังในปัจจุบันและอนาคตและต้องพยายาม
ด�ำเนินการ ให้บรรลคุ วามต้องการของประชาชน รวมท้งั พยายามท�ำใหเ้ หนอื ความคาดหวังของประชาชน
o ความเป็นผู้น�ำของผู้บริหารศูนย์ฯ ที่มีความมุ่งม่ันที่จะพัฒนาศูนย์ฯ อย่างชัดเจน และ
สร้างบรรยากาศของการท�ำงาน ท่ีจะเอ้ืออ�ำนวยให้ประชาชนและบุคลากรมีส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน
เพือ่ ใหบ้ รรลุผลตามเป้าหมายของศูนย์ฯ
o การบรหิ ารเชงิ กระบวนการและเปน็ ระบบ การบรหิ ารกจิ กรรมและทรพั ยากรเชงิ กระบวนการ
จัดการกระบวนการต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ จะท�ำให้ได้ผลลัพธ์บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิผลและ
ประสิทธภิ าพ
o การปรบั ปรงุ ศนู ยอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง การปรบั ปรงุ สมรรถนะโดยรวมของศนู ยฯ์ ถอื เปน็ เปา้ หมาย
ถาวรขององค์กร
o การตดั สนิ ใจบนพน้ื ฐานของความเปน็ จรงิ การตดั สนิ ใจอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลคอื การมพี น้ื ฐาน
จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ศนู ย์ฯ ตามความเปน็ จริง
o การแสวงหาเครอื ขา่ ย เปน็ การหาแนวรว่ ม แสวงหาความรว่ มมอื ของบคุ คล องคก์ ร หนว่ ยงาน
ชุมชนท้งั ในพื้นที่ และนอกพนื้ ท่ี เพ่อื เสริมศักยภาพของศูนย์ฯ ให้เกดิ ความเข้มแขง็

----------------------------

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 27

28 ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

การขอจัดตงั้ ศนู ย์ศึกษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์
ในความอปุ ถมั ภข์ องกรมการศาสนา

การจดั ตั้ง
ให้จดั ตั้งทว่ี ดั มลู นิธิ สมาคม สถานศกึ ษา หน่วยงานของรัฐ ซง่ึ มสี ถานที่ต้ังอย่ใู กลบ้ รเิ วณหมู่บ้าน

หรอื ชุมชน โดยมหี ลกั เกณฑ์ ดังนี้

๑. เป็นศูนย์การเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนาและส่งเสริมกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม และ

วัฒนธรรมประเพณีไทยให้แก่เด็ก เยาวชนและประชาชนในชมุ ชน

๒. มคี ณะกรรมการบริหารศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตย์ ประกอบด้วย

ผอู้ �ำนวยการศูนย์ เปน็ ประธานกรรมการ

รองผูอ้ �ำนวยการศูนย์ ไมเ่ กนิ สองรูป/คน เปน็ รองประธานกรรมการ

กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒ ิ ไม่เกนิ หา้ รูป/คน

เลขานุการ หนงึ่ รปู /คน

ผู้ช่วยเลขานุการ หนง่ึ รปู /คน

๓. มีครผู ู้สอนเพียงพอกับจ�ำนวนผเู้ รยี น ในอัตราครผู สู้ อน ๑ รูป/คน ต่อผ้เู รยี นไมเ่ กิน ๔๐ คน

๔. มีสถานที่เรียน สถานที่จัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมศีลธรรมคุณธรรมจริยธรรมเหมาะสมและ

เพยี งพอกบั จ�ำนวนผู้เรียน

ขนั้ ตอนการขอจดั ต้งั
๑. ให้วัด มูลนิธิ สมาคม สถานศึกษา หน่วยงานของรฐั ทมี่ คี วามประสงค์จะขอจดั ตั้งศูนยศ์ กึ ษา

พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ท่ีอยู่ในความอุปถัมภ์ของกรมการศาสนา ย่ืนค�ำขอจดทะเบียนต่ออธิบดี

กรมการศาสนาตามแบบค�ำขอจดทะเบยี นทก่ี รมการศาสนาก�ำหนด ดงั นี้

(๑) ในกรงุ เทพมหานคร ใหย้ นื่ ค�ำขอจดทะเบยี น ณ กรมการศาสนา โดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบ

จากเจา้ คณะแขวง เจา้ คณะเขต และเจ้าคณะกรงุ เทพมหานคร

(๒) ในจังหวัดอื่น ให้ยื่นค�ำขอจดทะเบียน ณ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด โดยได้รับ

ความเห็นชอบจากเจ้าคณะต�ำบล เจ้าคณะอ�ำเภอ เจ้าคณะจังหวัด นายอ�ำเภอ วัฒนธรรมจังหวัด และ

ผู้วา่ ราชการจงั หวัด

๒. อธบิ ดกี รมการศาสนา ออกประกาศและหนงั สอื รบั รองการจดั ตั้งศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนา

วนั อาทติ ย์ ตามแบบทกี่ รมการศาสนาก�ำหนด โดยส�ำนกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั จดั ท�ำทะเบยี นการจดั ตง้ั ไวเ้ ปน็

หลกั ฐาน

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 29

แผนภมู ขิ น้ั ตอนการขอจดั ตง้ั เปน็ ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์
ในความอปุ ถมั ภ์ของกรมการศาสนา (ในกรุงเทพมหานคร)

ผมู้ คี วามประสงค์ กรมการศาสนา
กรอกแบบค�ำ ขอจดทะเบยี น แจง้ ให้ผแู้ จง้ ความประสงค์ทราบ
(ขอรบั แบบฟอรม์ ทกี่ รมการศาสนา)
ขอความเห็นชอบจากเจ้าคณะแขวง กรมการศาสนา
ขอความเหน็ ชอบจากเจา้ คณะเขต จัดท�ำ ทะเบียนการจดั ต้ังไวเ้ ป็นหลักฐาน

ขอความเหน็ ชอบจาก กรมการศาสนา
เจา้ คณะกรงุ เทพมหานคร ออกประกาศและหนังสอื รบั รองการจัดตงั้

ย่ืนแบบค�ำ ขอทก่ี รมการศาสนา อธิบดีกรมการศาสนา
พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ

30 ระเบยี บกรมการศาสนาว่าด้วยศูนยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

แผนภมู ขิ นั้ ตอนการขอจดั ตง้ั เปน็ ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์
ในความอปุ ถมั ภ์ของกรมการศาสนา (ในจังหวัดอ่นื )

ผูม้ ีความประสงค์
กรอกแบบคำ�ขอจดทะเบยี น
(ขอรบั แบบฟอร์มที่ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจังหวัด)

ขอความเหน็ ชอบจากเจ้าคณะต�ำ บล สำ�นักงานวัฒนธรรมจงั หวดั
ขอความเห็นชอบจากเจา้ คณะอำ�เภอ แจ้งใหผ้ ูแ้ จ้งความประสงค์ทราบ
ขอความเหน็ ชอบจากเจ้าคณะจงั หวัด
สำ�นักงานวฒั นธรรม
ขอความเหน็ ชอบจากนายอำ�เภอ จงั หวดั จัดท�ำ ทะเบยี นการจดั ตง้ั ไว้เป็นหลกั ฐาน
กรมการศาสนาสง่ ประกาศและหนงั สือรบั รอง

การจัดต้งั ไปทสี่ ำ�นกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั

ยนื่ แบบคำ�ขอทีส่ ำ�นกั งานวัฒนธรรมจังหวัด กรมการศาสนาพิจารณา
วัฒนธรรมจงั หวดั พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ ออกประกาศและหนังสือรับรองการจัดตั้ง

วัฒนธรรมจงั หวดั เสนอผ้วู ่าราชการจังหวัด วัฒนธรรมจงั หวดั
พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ สง่ ค�ำ ขอจดทะเบียนมาท่กี รมการศาสนา

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 31

32 ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

ระเบียบกรมการศาสนา

วา่ ดว้ ยศนู ยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์

พ.ศ. ๒๕๖๒

34 ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

ระเบยี บกรมการศาสนาว่าดว้ ยศนู ยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วยศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา
วันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และระเบียบกรมการศาสนาวา่ ดว้ ยศูนย์ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตย์ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐ เพอื่ ใหก้ ารด�ำเนนิ งานพฒั นาศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั พระอาทติ ยเ์ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
เสรมิ สรา้ งใหศ้ นู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยเ์ กดิ ความเขม้ แขง็ สรา้ งอตั ลกั ษณเ์ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั
เกดิ ความเหมาะสมกบั สถานการณป์ ัจจุบนั
อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
ประกอบกับมติที่ประชุมคณะท�ำงานปรับปรุงระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วยศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา
วนั อาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเติม เห็นชอบใหม้ ีการแก้ไขระเบยี บดังกล่าว อธบิ ดกี รมการศาสนา
จึงวางระเบยี บไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วยศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา
วนั อาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒”
ข้อ ๒ ระเบยี บนใี้ หใ้ ช้บงั คับตง้ั แตว่ นั ถดั จากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ใหย้ กเลกิ
(๑) ระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วยศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๐
(๒) ระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วยศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐
บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ค�ำสั่ง และประกาศอ่ืนใดในส่วนท่ีก�ำหนดไว้แล้วในระเบียบน้ี
หรอื ซึง่ ขดั หรอื แย้งกบั ระเบยี บน้ี ใหใ้ ชร้ ะเบยี บน้แี ทน
ขอ้ ๔ ในระเบียบนี้
“ศนู ยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย”์ หมายความว่า ศนู ยก์ ารเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนา
และจดั กิจกรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของชมุ ชน ศูนยก์ ารเรียนรู้
การเผยแผอ่ บรมปลกู ฝงั ศลี ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาและวฒั นธรรมไทยอนั ดงี ามแกเ่ ดก็ เยาวชนและประชาชน
ท่ีไดจ้ ดั ตัง้ ขนึ้ ตามระเบยี บน้ี มชี ื่อย่อวา่ “ศพอ.”
“คณะกรรมการบรหิ ารศนู ย”์ หมายความวา่ คณะกรรมการบรหิ ารศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนา
วนั อาทติ ย์
“ผู้อ�ำนวยการศนู ย์” หมายความว่า ผูอ้ �ำนวยการศูนยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 35

-๒-
“ครผู สู้ อน” หมายความวา่ ผทู้ �ำหนา้ ทค่ี รหู รอื อาจารยท์ ที่ �ำการสอนในศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนา
วันอาทิตย์ ทงั้ พระสงฆแ์ ละฆราวาส
“ผู้เรยี น” หมายความว่า ผู้ทศ่ี ึกษาเลา่ เรยี นในศูนยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย์
“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดกี รมการศาสนา
ข้อ ๕ ใหอ้ ธบิ ดเี ปน็ ผรู้ กั ษาการตามระเบยี บน้ี และใหม้ อี �ำนาจออก ประกาศ ขอ้ บงั คบั ค�ำสง่ั
หรือหลักเกณฑ์ รวมทั้งตีความและวินิจฉัยปัญหา เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี ได้เท่าท่ีไม่ขัด
หรอื แยง้ กับระเบยี บนี้

หมวด ๑
การจัดต้งั และการดำ� เนินงาน

ข้อ ๖ ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ที่อยู่ในความอุปถัมภ์ของกรมการศาสนา
ใหจ้ ัดต้งั ที่วัด มูลนธิ ิ สมาคม สถานศกึ ษา หนว่ ยงานของรัฐ ซึง่ มีสถานท่ีต้งั อยใู่ กลบ้ ริเวณหมบู่ า้ นหรือชุมชน
โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
(๑) เป็นศูนย์การเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนาและส่งเสริมกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม
และวฒั นธรรมประเพณไี ทยให้แกเ่ ด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน
(๒) มคี ณะกรรมการบริหารศนู ย์
(๓) มคี รผู สู้ อนเพยี งพอกบั จ�ำนวนผเู้ รยี น ในอตั ราครผู สู้ อน ๑ รปู /คน ตอ่ ผเู้ รยี นไมเ่ กนิ ๔๐ คน
(๔) มีสถานที่เรียน สถานท่ีจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมศีลธรรมคุณธรรมจริยธรรมเหมาะสม
และเพยี งพอกบั จ�ำนวนผู้เรียน
ขอ้ ๗ ให้วดั มลู นธิ ิ สมาคม สถานศึกษา หน่วยงานของรฐั ทมี่ ีความประสงค์จะขอจดั ตัง้
ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ ทอ่ี ยใู่ นความอปุ ถมั ภข์ องกรมการศาสนา ยน่ื ค�ำขอจดทะเบยี นตอ่ อธบิ ดี
ตามแบบค�ำขอจดทะเบียนทกี่ รมการศาสนาก�ำหนด ดงั น้ี
(๑) ในกรงุ เทพมหานคร ใหย้ นื่ ค�ำขอจดทะเบยี น ณ กรมการศาสนา โดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบ
จากเจา้ คณะแขวง เจ้าคณะเขต และเจ้าคณะกรงุ เทพมหานคร
(๒) ในจงั หวดั อนื่ ใหย้ น่ื ค�ำขอจดทะเบยี นณส�ำนกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั โดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบ
จากเจา้ คณะต�ำบล เจา้ คณะอ�ำเภอ เจ้าคณะจังหวดั นายอ�ำเภอ วฒั นธรรมจงั หวดั และผู้ว่าราชการจงั หวัด
ให้อธิบดีออกประกาศและหนังสือรับรองการจัดต้ังศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
ตามแบบทกี่ รมการศาสนาก�ำหนด โดยส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดจดั ท�ำทะเบยี นการจดั ตง้ั ไว้เป็นหลกั ฐาน
ขอ้ ๘ ใหเ้ จา้ อาวาสหรอื ผบู้ รหิ ารทม่ี อี �ำนาจของหนว่ ยงานของรฐั สถานศกึ ษา มลู นธิ ิ สมาคม
เป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์ ทั้งนี้ให้รวมถึงพระสงฆ์ท่ีได้รับมอบหมายจากเจ้าอาวาสหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจาก
ผู้บริหารทม่ี อี �ำนาจนน้ั ดว้ ย

36 ระเบยี บกรมการศาสนาว่าด้วยศนู ย์ศึกษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

-๓-
ขอ้ ๙ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ มอี �ำนาจหน้าที่ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) บรหิ ารงานของศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยใ์ หเ้ ปน็ ไปตามนโยบายวตั ถปุ ระสงค์
และระเบยี บของกรมการศาสนา
(๒) แตง่ ตั้งพระสงฆ์หรอื ฆราวาสเป็นคณะกรรมการบริหารศนู ย์ ตามขอ้ ๑๐
(๓) แตง่ ตงั้ ที่ปรกึ ษาของคณะกรรมการบรหิ ารศูนย์
(๔) บรรจุ แต่งต้ัง ถอดถอน ครูผู้สอน และเจ้าหน้าที่ รวมท้ังด�ำเนินการบริหารงานบุคคล
ของศูนยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์
ข้อ ๑๐ ให้มีคณะกรรมการบริหารศูนย์คณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการบริหารศูนย์
ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทิตย”์ ประกอบดว้ ย ผ้อู �ำนวยการศูนย์ เป็นประธานกรรมการ รองผ้อู �ำนวยการ
ศูนย์ จ�ำนวนไม่เกินสองรูป/คน เป็นรองประธานกรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวนไม่เกินห้ารูป/คน
เลขานกุ าร จ�ำนวนหน่ึงรูป/คน และผชู้ ่วยเลขานกุ าร จ�ำนวนหนึ่งรปู /คน
ข้อ ๑๑ คณะกรรมการบรหิ ารศนู ย์ มีอ�ำนาจหน้าท่ี ดังต่อไปนี้
(๑) ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ และควบคุมดูแลการด�ำเนินงานของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา
วันอาทิตย์
(๒) แตง่ ต้ังอนุกรรมการตามทเี่ ห็นสมควร
ข้อ ๑๒ ใหก้ รรมการบรหิ ารศนู ยอ์ ยู่ในต�ำแหน่งคราวละสป่ี ี
ในกรณีทกี่ รรมการพ้นจากต�ำแหนง่ ตามวาระ แต่ยงั มิได้แต่งต้ังกรรมการใหมใ่ หก้ รรมการนั้น
ปฏิบัตหิ นา้ ท่ไี ปพลางก่อนจนกวา่ จะไดแ้ ตง่ ต้งั กรรมการใหม่
กรรมการซึ่งพน้ จากต�ำแหนง่ ตามวาระอาจได้รับแตง่ ต้ังอีกได้
ขอ้ ๑๓ นอกจากการพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระ กรรมการบริหารศูนย์พ้นจากต�ำแหน่ง
ในกรณีดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) มรณภาพหรือถึงแกก่ รรม
(๒) ลาออก
(๓) เป็นบคุ คลลม้ ละลาย
(๔) เป็นคนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) คณะกรรมการบริหารศูนยม์ มี ตใิ ห้พ้นจากต�ำแหนง่
ข้อ ๑๔ ในกรณีที่กรรมการบริหารศูนย์ว่างลงตามข้อ ๑๓ ให้ผู้อ�ำนวยการศูนย์แต่งตั้ง
กรรมการบริหารศูนย์แทนต�ำแหน่งที่ว่างลง และให้ผู้ท่ีได้รับการแต่งตั้ง อยู่ในต�ำแหน่งเท่าวาระท่ีเหลืออยู่
ของผ้ทู ตี่ นแทน

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 37

-๔-
ขอ้ ๑๕ การประชุมของคณะกรรมการบริหารศูนย์ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า
ก่ึงหน่งึ ของกรรมการท้งั หมด จงึ เปน็ องค์ประชุม
ในการประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารศนู ย์ ถา้ ประธานกรรมการไมม่ าประชมุ หรอื ไมอ่ าจปฏบิ ตั ิ
หนา้ ทไี่ ด้ ใหร้ องประธานกรรมการคนใดคนหนง่ึ เปน็ ประธานในทป่ี ระชมุ ถา้ ประธานกรรมการและรองประธาน
กรรมการไมม่ าประชมุ หรอื ไมอ่ าจปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ด้ ใหก้ รรมการทมี่ าประชมุ เลอื กกรรมการคนหนงึ่ เปน็ ประธาน
ในทีป่ ระชมุ
การวินิจฉัยชี้ขาดของท่ีประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหน่ึงในการ
ลงคะแนน ถา้ คะแนนเสยี งเทา่ กันให้ประธานในท่ีประชุมออกเสียงเพ่มิ ขนึ้ อกี หนงึ่ เสยี งเปน็ เสียงชีข้ าด
ข้อ ๑๖ การประชุมของคณะกรรมการบริหารศูนย์จะต้องมีการประชุม อย่างน้อยปีละ
สองครั้ง
ข้อ ๑๗ คณะกรรมการบริหารศูนย์จะแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ เพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติ
อย่างใดอยา่ งหน่งึ ตามท่คี ณะกรรมการบริหารศูนย์มอบหมายกไ็ ด้ และใหน้ �ำความในขอ้ ๑๒ ข้อ ๑๓ ขอ้ ๑๔
และข้อ ๑๕ มาบังคับใชโ้ ดยอนุโลม
ขอ้ ๑๘ ผอู้ �ำนวยการศนู ยอ์ าจตงั้ ทป่ี รกึ ษา โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการบรหิ ารศนู ย์
มีหน้าท่ใี หค้ �ำแนะน�ำในการด�ำเนนิ งานของศนู ย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย์
ขอ้ ๑๙ ใหส้ �ำนกั พฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ ศนู ยก์ ลางประสานนโยบาย แผนงาน
และความร่วมมือด้านวิชาการการเรียนรู้การเผยแผ่การอบรมปลูกฝังศีลธรรมทางพระพุทธศาสนา รวมท้ัง
สนับสนุนการด�ำเนินงานกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ในภารกิจของ
กรมการศาสนา

หมวด ๒
การจดั ชนั้ เรียนและหลักสตู รการเรียนการสอน

ขอ้ ๒๐ การจดั ชน้ั เรยี นและหลกั สตู รการเรยี นการสอน ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศของกรมการ
ศาสนา
ขอ้ ๒๑ ให้มกี ารพัฒนา สง่ เสรมิ สนบั สนุนงานวิชาการและสื่อการเรยี นการสอน
ข้อ ๒๒ ให้จัดการเรยี นการสอนใหส้ อดคล้องกบั หลกั สูตรการเรียนการสอน สงั คม
และท้องถิน่ นั้น ๆ อย่างหลากหลาย

38 ระเบยี บกรมการศาสนาว่าด้วยศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

-๕-

หมวด ๓
การประเมินผล

ขอ้ ๒๓ ใหศ้ ูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์ เปิดสอนในวันอาทิตย์ หรอื วนั อื่นตามท่ี
คณะกรรมการบริหารศูนย์เห็นสมควร โดยให้เป็นไปตามความเหมาะสมของท้องถ่ิน ท�ำการสอนวิชาบังคับ
สัปดาห์ละไม่น้อยกว่าสามช่ัวโมง รวมเวลาตลอดปีการศึกษาไม่น้อยกว่าแปดสิบชั่วโมง และจัดกิจกรรม
วนั ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา วันส�ำคญั ทางสถาบันพระมหากษตั ริย์ วนั ส�ำคัญตามขนบธรรมเนยี มประเพณี
และวัฒนธรรมไทย ตลอดปกี ารศกึ ษาไม่น้อยกว่าห้ากจิ กรรม
ขอ้ ๒๔ ให้ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ท�ำการประเมินผลการศึกษาของผู้เรียน
ประจ�ำปี
ขอ้ ๒๕ ใหอ้ ธบิ ดรี ่วมกบั ผูอ้ �ำนวยการศูนย์ ออกวุฒิบัตรตามแบบทก่ี รมการศาสนาก�ำหนด
ให้แก่ผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรแต่ละช้ัน และให้ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์จัดท�ำทะเบียน
ไวเ้ ป็นหลักฐาน

หมวด ๔
เบด็ เตล็ด

ข้อ ๒๖ ให้ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ที่ได้รับจดทะเบียนไว้แล้วตามข้อ ๗
ต้องรายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีตามแบบทก่ี รมการศาสนาก�ำหนด ภายในเดือนสิงหาคมของทกุ ปี
ในกรุงเทพมหานครใหร้ ายงานตอ่ อธิบดี ในจังหวดั อื่นให้รายงานตอ่ วัฒนธรรมจงั หวัด
ขอ้ ๒๗ ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยแ์ หง่ ใดไมม่ กี ารเรยี นการสอน หรอื จดั กจิ กรรม
ส่งเสริมศีลธรรมคุณธรรมจริยธรรม หรือพักการเรียนการสอนติดต่อกันเป็นระยะเวลาสามปี โดยไม่มีเหตุ
อนั ควร ให้ศูนย์ศึกษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์แหง่ น้ันสนิ้ สดุ จากการอุปถัมภข์ องกรมการศาสนา
ข้อ ๒๘ ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ยท์ ไ่ี ดร้ บั การจดทะเบยี นจดั ตงั้ ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่
ผอู้ �ำนวยการศูนย์ รวมท้งั คณะกรรมการบริหารศนู ย์ ทีป่ รึกษา หรือผู้ชว่ ยเลขานุการ ท่ีไดร้ บั การแต่งตัง้ จาก
ผู้อ�ำนวยการศูนย์ ตามระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วยศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๕๐
และระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วยศูนย์ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตย์ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ใหถ้ ือว่า
เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ คณะกรรมการบริหารศูนย์ และท่ีปรึกษา
ตามระเบียบนี้
ขอ้ ๒๙ ค�ำขอจดทะเบียนที่ได้ย่ืนไว้ก่อนวันที่ระเบียบน้ีมีผลใช้บังคับและยังอยู่ในระหว่าง
การพิจารณา ให้อยู่ในบังคับของระเบียบกรมการศาสนาว่าด้วยศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
พ.ศ. ๒๕๕๐ และระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ดว้ ยศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
แล้วแตก่ รณี ต่อไปจนกวา่ จะด�ำเนนิ การแล้วเสร็จ

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 39

-๖-
ขอ้ ๓๐ การใดท่ีด�ำเนินการอยู่ก่อนวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับให้ด�ำเนินการต่อไปได้ตาม
ความเหมาะสมและความจ�ำเป็น โดยไม่เสียหายแก่ราชการ
ประกาศ ณ วันที่ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

40 ระเบยี บกรมการศาสนาว่าด้วยศูนยศ์ ึกษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

ประกาศกรมการศาสนา

เรือ่ ง การจัดชน้ั เรยี นและหลักสูตรการเรยี นการสอน
ของศนู ยศ์ กึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์

42 ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 43

44 ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 45

46 ระเบยี บกรมการศาสนาวา่ ด้วยศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๖๒


Click to View FlipBook Version