The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jap_.201, 2022-03-27 02:40:59

idplan

idplan

แผนพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชีพเปน็ รายบคุ คล

(Individual Development Plan : ID Plan)

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปกี ารศึกษา 2564

โดย
นายณรงคฤ์ ทธ์ิ เขอ่ื นแก้ว

ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย

โรงเรยี นแมว่ ะวิทยา อำเภอเถนิ จงั หวดั ลำปาง
สังกดั สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 2

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



คำนำ

ตามที่ ก.ค.ศ. ได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาตนเองและวิชาชีพครู (ว22/2560) เมื่อวันที่ 5
กรกฎาคม 2560 ข้อ 1. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยให้
ประเมนิ ตนเองตามแบบ ที่ ก.ค.ศ. กำหนด พร้อมทั้งจดั ทำแผนการพัฒนาตนเองเปน็ รายปี ตามแบบท่สี ว่ นราชการ
กำหนด และเข้ารับการพฒั นาตามแผนอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ฉะนั้นก่อนจะเลอื กหลักสูตรคูปอง ครูจะต้อง
ประเมินตนเอง จัดทำแผนพัฒนาตนเอง เพื่อให้ผู้บริหารอนุมัติหลักสูตร ตาม ID Plan และเมื่อพัฒนาตนเองทำ
แผนพัฒนาตนเองเสร็จแล้วจึงไดร้ ายงานผลการพฒั นาตนเองตามเอกสารดงั แนบในรายงาน

นายณรงคฤ์ ทธ์ิ เขือ่ นแก้ว
มนี าคม 2565



สารบญั

เรือ่ ง หนา้

คำนำ ก

สารบัญ ข

สว่ นที่ 1 ข้อมูลส่วนบคุ คล 1

1.1 ข้อมูลสว่ นตัว 1

1.2 วิชา/สาขา/กลุ่มสาระการเรียนรทู้ ีท่ ำการสอน......................................................................1

1.3 จำนวนช่วั โมงการปฏบิ ตั งิ าน.................................................................................................2

1.4 งานที่ไดร้ ับมอบหมาย............................................................................................................2

1.5 ผลงาน ที่เกิดจากการปฏิบัติหนา้ ที่ในตำแหนง่ ปัจจุบัน..........................................................2

สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเอง 5

2.1 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ กคศ............................................................................5

2.2 ผลการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในสถานศึกษาตามจดุ เน้นของ สพฐ...............................6

2.3 ผลการประเมินศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคิดของหลกั สูตรของสถาบนั ครุ พุ ัฒนา..........6

2.4 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง.....................................................................................................7

ส่วยท่ี 3 แผนการพฒั นาตนเอง 8

3.1 อันดับความสำคญั /สมรรถนะท่ีจะพฒั นา................................................................................8

3.2 วิธกี าร/รปู แบบการพฒั นา.......................................................................................................8

3.3 ระยะเวลาในการพฒั นา...........................................................................................................9

3.4 ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รับ......................................................................................................9

3.5 ประวตั ิการเข้ารับการพฒั นา (ในรอบ 5 ปที ี่ผ่านมา................................................................11

ส่วนท่ี 4 ความต้องการในการพัฒนา (กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ (วิทยาการคำนวณ) 13

4.1 หลักสูตรใดที่ทา่ นต้องการพฒั นา...........................................................................................13

4.2 เพราะเหตุใดทา่ นจงึ ตอ้ งการเขา้ รบั การพัฒนาในหลกั สูตรนี้..................................................13

4.3 ท่านคาดหวังสิ่งใดจากการเข้ารบั การพัฒนาในหลักสตู รนี้......................................................13

4.4 ทา่ นจะนำความรู้จากหลักสตู รไปพฒั นาการสอนของท่านอยา่ งไร.........................................14

ภาคผนวก....................................................................................................................................15

1

ส่วนท่ี 1

ข้อมูลสว่ นบุคคล

1.ขอ้ มูลส่วนตวั

ช่อื (นาย / นาง / นางสาว) ณรงคฤ์ ทธิ์ ชือ่ สกลุ เขอ่ื นแก้ว

ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย วิทยฐานะ ไม่มีวิทยฐานะ

วฒุ ิการศึกษา

 ปรญิ ญาตรี หรือเทียบเท่า วชิ าเอก/สาขาคอมพวิ เตอร์

 ปรญิ ญาโท หรือเทียบเท่า วชิ าเอก/สาขา

 ปริญญาเอก หรือเทียบเท่า วิชาเอก/สาขา

..........................................................................................

 อน่ื ๆ (โปรดระบุ)

.....................................................................................................................................

เขา้ รบั ราชการวนั ที่ 29 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ณ โรงเรียน แมว่ ะวทิ ยา

สังกัด สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 สำนกั คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร

อายุราชการจนถงึ ปัจจุบัน 4 เดือน

เงินเดือน อนั ดับ ครผู ชู้ ่วย อัตราเงนิ เดือน 15,800 บาท

สถานทีท่ ำงาน

1. สถานศึกษา/หนว่ ยงาน โรงเรียนแมว่ ะวิทยา อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง

2. วชิ า/สาขา/กลุ่มสาระการเรียนรูท้ ่ีทำการสอน จำนวน 6 วิชา รวม 20 คาบ/สัปดาห์

ภาคเรยี นที่ 2

วชิ า/สาขา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาการคำนวณ ชน้ั /ระดับ อนุบาล2-3 จำนวน 1 คาบ/สปั ดาห์

วิชา/สาขา/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาการคำนวณ ช้นั /ระดับ ป.1-6 จำนวน 6 คาบ/สปั ดาห์

วชิ า/สาขา/กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ ช้นั /ระดบั ป.1-6 จำนวน 6 คาบ/สัปดาห์

วิชา/สาขา/กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ชน้ั /ระดบั ม.1 จำนวน 3 คาบ/สัปดาห์

วชิ า/สาขา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประวตั ศิ าสตร์ ชน้ั /ระดับ ม.1จำนวน 1 คาบ/สปั ดาห์

วิชา/สาขา/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ชุมนมุ ชนั้ /ระดับ ป.1-6 จำนวน 1 คาบ/สปั ดาห์

วิชา/สาขา/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ลูกเสือ ชัน้ /ระดับ อนุบาล จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์

วิชา/สาขา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ อบรมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ชั้น/ระดับ ป.1-6 จำนวน 1 คาบ/สปั ดาห์

2

3. จำนวนช่วั โมงการปฏิบตั ิงาน
3.1 ชัว่ โมงสอนตามตารางสอน 20 ชวั่ โมง
3.2 ช่วั โมงสนับสนนุ การเรียนรู้ 5 ช่วั โมง
3.3 ชัว่ โมงการมสี ว่ นร่วมในชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) 1 ชั่วโมง
3.4 ชวั่ โมงงานตอบสนองนโยบายและจุดเนน้ 3 ชว่ั โมง

4. งานที่ไดร้ ับมอบหมาย

- งายฝา่ ยบริหารงานท่ัวไป และฝ่ายบคุ คล
- ครผู ู้สอนรายวชิ วทิ ยาการคำนวณ และการงานอาชพี
- ครูเวรประจำวันองั คาร และวนั ศุกร์

5. ผลงาน ท่ีเกดิ จากการปฏิบัติหน้าทีใ่ นตำแหน่งปจั จบุ ัน
1. ผลที่เกดิ จากการจดั การเรยี นรู้
จากการสังเกตในการจัดการเรียนการสอนในด้านของกระบวนการจัดการเรียนรู้ พบว่า

นักเรียนจะมีความสุข สนุกสนานกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเกมแข่งขัน การระดมความคิด และ
กิจกรรมแบบร่วมมือต่าง ๆ ซึง่ โดยสว่ นใหญ่จะชอบในการสรา้ งสรรค์ผลงานตามจินตนาการของผู้เรียนเอง อีก
ท้ังยังให้ความสนใจในสื่อการสอนที่ครูเตรียมมา เช่น สื่อบรรยาย เกม เพลง วีดิทัศน์ เป็นต้น ชอบใช้สีในการ
สร้างสรรค์ผลงานและจะมีความสนใจเป็นพิเศษในการเรียนรู้ร่วมกันกับเพื่อนหรือการจับกลุ่มทำกิจกรรม
แขง่ ขนั กนั

นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ คือ การได้เรียนรู้แบบร่วมมือ เช่น การเขียน
โปรแกรมโดยใช้ board Games coding การพูดแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามต่าง ๆ โดยครูผู้สอน
จะกำหนดหัวข้อที่ให้นักเรียนร่วมกันศึกษาแล้วให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ในรูปแบบของการให้นักเรียนต่อ
ยอดความรู้จากหัวข้อที่ครูให้ศึกษาให้ครบถ้วน จากนั้นก็สรุปบทเรียนร่วมกันในรูปแบบของแผนผังความคิด
หรืออภปิ รายแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ความคิดเหน็ ประสบการณ์รว่ มกนั ในชั้นเรยี น

การจัดการเรียนรู้ในแต่ละชั่วโมงจะมีการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคกระบวนต่าง ๆ ที่
หลากหลาย ในการจัดการเรยี นการสอน เชน่

1. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมแข่งขัน เป็นการเรียนรู้ที่ต้องตกลงกติการ่วมกัน เพื่อไม่ให้
เกิดความยุ่งยากซับซ้อน และสามารถทำให้เกมนั้นราบรื่นไปได้ด้วยดี ซึ่งเนื้อหาที่นำมาเล่นเกมน้ัน
กต็ ้องมาจากเนอื้ หา ในบทเรยี นทค่ี รูผูส้ อนนำมาใหผ้ ู้เรยี นได้ศกึ ษา โดยเปน็ การเรียนร้ทู ผี่ ู้เรยี นสนใจมากทสี่ ดุ

2. การจัดการเรียนรู้แบบระดมความคิด ทั้งกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย ให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยน
ความรู้ ซึ่งกันและกัน คอื การใหผ้ ้เู รยี นร่วมคิด รว่ มวางแผนในการปฏิบตั งิ านและแก้ไขปัญหากล่มุ ของตนเอง

3

3. การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย เป็นการเรียนการสอนโดยครูผู้สอนถ่ายทอดความรู้ให้แก่
ผ้เู รยี นโดยการพูดบอกเลา่ อธิบายเนื้อหาทีเ่ ตรียมมาสอนใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ ปน็ อย่างดี ซง่ึ การบรรยายนเ้ี ปิดโอกาสให้
ผู้เรียนได้ถามข้อคำถามที่สงสัยได้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนั้น สามารถจัดได้หลายรูปแบบ
ขึ้นอยู่กบั ผเู้ รียนวา่ มีความพร้อมท่ีจะเรียนในรูปแบบไหน ครผู สู้ อนกจ็ ะชว่ ยสง่ เสริมและจดั สรรการเรียนรู้ให้กับ
ผเู้ รียนไดอ้ ย่างเต็มศกั ยภาพ

4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หนึ่ง ๆ โดยจะให้
นกั เรียนไดม้ ีสว่ นร่วมในการปฏบิ ตั ิจริง เพื่อให้นกั เรียนเกิดการลองผิดลองถูก จนสามารคิดแก้ปญั หาด้วยตัวเอง
ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง จนสามารถนำไปสู่ความรทู้ ่ีถาวร คงทน ผ่านการเรียนทมี่ ุ่งใหเ้ กดิ ทักษะและประสบการณต์ รง

5. การจัดการเรียนรู้โดยการแสดงบทบาทสมมุติ นักเรียนจะให้ความสนใจเป็นอย่างมาก
ถ้าในการเรยี นการสอนต้องมกี ารแสดงบทบาทสมมติ ทกุ คนในห้องจะให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และสนใจฟัง
และดเู พ่ือนอยา่ งต้งั ใจ

6. การจัดการเรียนรู้โดยการใช้สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นตัวช่วยเสริมแรงให้
นกั เรยี นเกิดความสนใจทจี่ ะเรียนรู้ไดอ้ ย่างสนุกสนาน และไม่นา่ เบือ่

7. มกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยการปฏบิ ตั ิ (Active Learning) โดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั
ดว้ ยกิจกรรมทเ่ี น้นให้ผู้เรยี นปฏิบัติท่หี ลากหลาย

2. ผลทเี่ กดิ จากการพัฒนาวิชาการ

จากการพฒั นาทางด้านวชิ าการส่งผลให้ตวั ของครผู ู้สอนเอง มคี วามรู้ ประสบการณ์ องค์ความรู้ และ
การสอื่ สารที่ชัดเจน สามารถถา่ ยโอนองคค์ วามรู้ใหเ้ กดิ แก่ผูเ้ รยี นได้เขา้ ใจโดยง่าย เกิดความคงทนของความรู้
แก่ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ผ่านสื่อการเรียนร้ตู า่ ง ๆ ดังคำกลา่ วที่ว่า “ส่ือนวัตกรรมการเรยี นรู้ดี แตค่ รูถ่ายโอนความรู้
ไม่เป็น ผลลัพธ์ที่ไดก้ เ็ ท่ากบั ศูนย”์ ครมู ีความรู้ความสามารถในการผลิตสอื่ การสอนบวกกับทกั ษะ
ประสบการณ์ในการถา่ ยทอดความรูด้ ี ส่งผลใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพในการเรียนรขู้ องผูเ้ รียนที่เพม่ิ ข้ึนได้อยา่ ง
รวดเร็ว

3. ผลทเ่ี กดิ กับผู้เรียน

นักเรียนมคี ุณลกั ษณะที่พึงประสงคเ์ ปน็ คนดี มีความซ่ือสตั ย์ ใฝ่รใู้ ฝเ่ รยี น มนี ำ้ ใจ ชอบชว่ ยเหลอื ผูอ้ ื่น
และมวี นิ ยั ในตนเอง อีกทง้ั ยังสามารถเรียนรูใ้ หเ้ ท่าทันเทคโนโลยสี มยั ใหมท่ สี่ ามารถนำมาปรบั ใชใ้ น

4

ชีวิตประจำวนั ได้ ซ่งึ ถือได้วา่ ผู้เรียนเป็นผู้ท่มี คี วามพร้อมทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
และการดำรงชีวติ อยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ได้

4. ผลทเ่ี กดิ กับสถานศกึ ษา
สถานศกึ ษามคี รู บุคคลากรและนักเรียนท่ีมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์เปน็ คนดี มคี วามซ่ือสตั ย์ ใฝ่รใู้ ฝ่

เรยี น มีน้ำใจ ชอบชว่ ยเหลือผูอ้ นื่ และมวี ินัยในตนเอง อีกท้ังยังสามารถเรยี นรู้ใหเ้ ท่าทนั เทคโนโลยีสมัยใหมท่ ี่
สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ซึง่ ถือได้ว่าผเู้ รียนเปน็ ผูท้ ่ีมีความพร้อมทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ
สตปิ ัญญา คณุ ธรรม จริยธรรมและการดำรงชีวติ อยู่ร่วมกับผูอ้ นื่ ได้ และไดร้ บั ความเช่อื ถือจากชมุ ชนหรอื
ผู้ปกครองนักเรียน

5. ผลท่ีเกิดกับชุมชน
ชมุ ชนมีครู บุคคลากรและนักเรยี นทม่ี ีคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคเ์ ป็นคนดี มีความซ่ือสตั ย์ ใฝ่รใู้ ฝ่เรยี น

มนี ำ้ ใจ ชอบช่วยเหลือผู้อ่ืน และมวี นิ ยั ในตนเอง อีกทั้งยังสามารถเรยี นรใู้ หเ้ ท่าทันเทคโนโลยสี มัยใหมท่ ่ีสามารถ
นำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ซงึ่ ถือได้วา่ ผูเ้ รียนเป็นผู้ทมี่ ีความพร้อมทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา
คุณธรรม จรยิ ธรรมและการดำรงชีวติ อยูร่ ่วมกับผ้อู นื่ ได้ ทำให้ชมุ ชนมคี วามเช่อื มน่ั กับทางโรงเรยี นและนำบตุ ร
หลานเขา้ มาเรยี น

5

สว่ นท่ี ๒ ระดบั ความรู้
มมี าก ปานกลาง มนี อ้ ย
ผลการประเมนิ ตนเอง ✓

ตอนท่ี ๑ ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ กคศ. ✓

ดา้ นท่ี ๑ ความรู้ความสามารถในการปฏิบัตงิ านในหนา้ ท่ี ✓

รายการพจิ ารณาตนเอง ✓

๑. เน้อื หาในรายวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ทส่ี อน ✓
๒. วิธีสอน ถ่ายทอดความรู้เชิงเนื้อหา กิจกรรม บริบท เป้าหมายการเรียนรู้
ความรู้พนื้ ฐาน การปรบั พ้ืนฐาน และอปุ สรรคการเรียนรู้ของผู้เรยี น ✓
๓. หลกั การสอน และกระบวนการเรยี นรู้ ✓
๔. หลักสูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมิน และแนวทางการเรียนรู้
ในแตล่ ะเนือ้ หา ✓
๕. พื้นฐานการศึกษา หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยาสงั คม นโยบาย ✓
การศกึ ษา จดุ มุ่งหมายการจดั การศึกษาต้งั แต่ระดบั ชาติจนถงึ ระดับหลกั สตู ร
๖. การจดั การศกึ ษาแบบรวม และการตอบสนองตอ่ ความหลากหลายของผูเ้ รียน
๗. ทฤษฎีการเรียนรู้ และจิตวทิ ยาการเรยี นรู้
๘. การใช้เทคโนโลยี และส่ือนวัตกรรมเพ่อื การเรียนรู้
๙. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ด้านท่ี ๒ ทักษะการปฏิบัติงาน ระดบั ความสามารถ
ทำไดด้ ี พอใช้ ไม่คอ่ ยไดท้ ำ
รายการพจิ ารณาตนเอง

๑. การสร้างและหรือพัฒนาหลกั สตู ร ✓
๒. การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ ✓
๓. การจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ ✓
๔. กลยทุ ธใ์ นการจัดการเรียนรู้ ✓
๕. การสรา้ ง การพฒั นาสอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยที างการศึกษา แหล่งเรียนรู้
๖. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ✓

6

ด้านท่ี ๓ ความเป็นครู

รายการพิจารณาตนเอง ระดับความเป็นครู
สงู มาก ปานกลาง ยงั ต้องปรบั ปรงุ

๑. ยดึ ม่ัน ผกู พัน ศรัทธาในวิชาชพี และทุ่มเทเพือ่ การเรยี นรู้ของผู้เรียน ✓

๒. มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ✓

ทั้งกาย วาจา และจิตใจ ดำรงตนให้เป็นที่เคารพ ศรัทธา และน่าเชื่อถือ

ทัง้ ใน และนอกสถานศึกษา

๓. ปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู ✓

๔. มวี ินัยและการรักษาวินยั ✓

๕. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ✓

ใหม้ คี วามรู้ความชำนาญในวิชาชีพเพ่มิ ข้นึ

๖. ปฏิบตั ิตนโดยนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ ✓

๗. มที ศั นคติทีด่ ตี ่อบา้ นเมอื ง ✓

ตอนที่ ๒ ผลการประเมินศักยภาพของผูเ้ รียนในสถานศกึ ษาตามจุดเน้นของ สพฐ.

รายการศกั ยภาพผเู้ รียนตามจุดเน้น ระดบั ศักยภาพ
สงู มาก ปานกลาง ยังตอ้ งปรับปรุง
๑. ดา้ นอ่านออก อ่านคลอ่ ง เขยี นได้ เขยี นคลอ่ ง
๒. ดา้ นคิดเลขเป็น คดิ เลขคล่อง ✓
๓. ด้านการคดิ ข้นั พ้นื ฐาน ✓
๔. ด้านการคิดข้ันสงู ✓
๕. ดา้ นการสื่อสารอยา่ งสร้างสรรค์ตามชว่ งวยั
๖. ดา้ นการใชภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ✓
๗. ด้านการใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นรู้ ✓
๘. ดา้ นการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง
๙. ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ ✓
๑๐. ดา้ นใฝ่ดี ✓
๑๑. ดา้ นทกั ษะชีวติ
๑๒. ด้านอยอู่ ยา่ งพอเพยี ง มงุ่ ม่นั ในการศกึ ษาและการทำงาน ✓





ตอนท่ี ๓ ผลการประเมินศาสตรก์ ารสอน ตามกรอบแนวคิดของหลกั สูตรของสถาบันครุ พุ ัฒนา

รายการศักยภาพผ้เู รียนตามจดุ เน้น ระดับศักยภาพ
สูงมาก ปานกลาง ยงั ต้องปรับปรงุ
๑. การสอนในศตวรรษที่ ๒๑
๒. การแกปญั หาผ้เู รียน ✓


7

รายการศักยภาพผเู้ รยี นตามจดุ เนน้ ระดับศกั ยภาพ
สูงมาก ปานกลาง ยังตอ้ งปรับปรงุ
๓. จติ วิทยาการแนะแนว/จติ วิทยาการจดั การเรยี นรู้
๔. การจดั การชนั้ เรียน ✓
๕. การวิจยั พัฒนาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรยี นรูทางวิชาชีพ ✓
๖. การพัฒนาหลกั สตู ร
๗. สะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education) ✓
๘. การใช้ส่อื และเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู ✓
๙. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู
๑๐. การออกแบบการเรียนรู ✓





สรุปผลการประเมนิ ตนเอง
ตอนที่ ๑ ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ กคศ. อยู่ในระดับดี มีการพัฒนาหลักสูตร ออกแบบ

การจัดการเรียนรู้ ยึดมั่น ผูกพัน ศรัทธาในวิชาชีพ และทุ่มเทเพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม
และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ทั้งกาย วาจา และจิตใจ ดำรงตนให้เป็นท่ีเคารพ ศรัทธา และ
น่าเชื่อถือทั้งใน และนอกสถานศึกษา เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ใหม้ ีความรคู้ วามชำนาญในวชิ าชีพ เพิ่มข้ึน และปฏบิ ตั ติ นโดยนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้

ตอนที่ ๒ ผลการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในสถานศึกษาตามจุดเน้นของ สพฐ. อยู่ในระดับ
ปานกลาง และในสว่ นท่ตี อ้ งปรับปรุง คือ ด้านการคดิ ขน้ั สูง และด้านการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ)

ตอนที่ ๓ ผลการประเมินศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสูตรของสถาบันคุรุพัฒนา
อยู่ในระดับปานกลาง จึงควรเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ และนำมาปรับใช้ในการจัดการ
เรยี นร้ใู หก้ บั นกั เรียนต่อไป

8

สว่ นที่ ๓
แผนการพฒั นาตนเอง

๑. อนั ดบั ความสำคัญ/สมรรถนะทจ่ี ะพัฒนา
(๒) การสอนในศตวรรษท่ี ๒๑
(๓) การแก้ปัญหาผู้เรียน
(๑๐) จิตวทิ ยาการแนะแนว/จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้
(๔) การจัดการชน้ั เรียน
(๖) การวจิ ัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ
(๗) การพัฒนาหลักสตู ร
(๙) สะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education)
(๑) การใช้สอื่ และเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
(๘) การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
(๕) การออกแบบการเรียนรู้

๒. วิธกี าร/รปู แบบการพัฒนา
๑. การใชส้ อ่ื และเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้
ทำให้ตนเองมคี วามสามารถในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยมีความรูเ้ รื่องการเขยี นแผนการ

จดั ประสบการณ์ การวดั ผลประเมนิ ผล ตลอดจนการผลติ สอื่ การใช้สอื่ ประเภทตา่ ง ๆ สง่ ผลตอ่ การจดั กิจกรรม
การเรียนรู้แก่ผ้เู รียนอยา่ งเหมาะสม

๒. การสอนในศตวรรษที่ ๒๑
ผเู้ รียนมคี ณุ ภาพ มีการพัฒนาไปในทิศทางทีด่ ขี ึ้น ซ่ึงเป็นประโยชนแ์ กผ่ ้เู รยี น สถานศกึ ษา

๓. การแก้ปัญหาผเู้ รยี น
ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ มที ักษะชวี ิต เปน็ ทย่ี อมรบั ของสงั คม

๔. การจัดการชน้ั เรยี น
หอ้ งเรยี นมบี รรยากาศทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ทำใหผ้ ูเ้ รียนตอ้ งการในการเรยี นรู้ และมคี วามสขุ

๕. การออกแบบการเรียนรู้
ครมู คี วามรู้ ทกั ษะกระบวนการในการออกแบบการเรียนรู้ เลอื กใชส้ ือ่ ที่เหมาะสมกับผเู้ รยี น

๖. การวิจยั พฒั นาการเรียนการสอน/ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ
ผู้เรียนได้รับการแก้ปัญหาที่ถูกวิธีโดยครูทำการวิจัยในชั้นเรียน และทำให้มีความรู้

ความสามารถในการเขียนผลงานทางวิชาการ และวิจัยในช้ันเรยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
๗. การพัฒนาหลักสตู ร
ครูมีความรู้ ความสามารถในการพฒั นาหลกั สูตรเพ่มิ ข้ึน

9

๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
ผู้เรียนใหค้ วามสนใจ ตั้งใจ มีความกระตือรือร้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น มีทักษะใน

การปฏิบัติกจิ กรรมตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล สามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้ตลอดเวลาทั้งภายใน-ภายนอก
โรงเรียน

๙. สะเตม็ ศึกษา (STEM Education)
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็นการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ และสามารถนำไป

ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้อยา่ งเหมาะ
๑๐. จิตวิทยาการแนะแนว/จติ วิทยาการจัดการเรียนรู้
ครูมีความรู้ ความเข้าใจการเรียนรแู้ ละพัฒนาการของผูเ้ รยี น

๓. ระยะเวลาในการพฒั นา
เริ่มตน้ ตง้ั แต่ 1 ตุลาคม 2563 ส้ินสดุ 31 มนี าคม 2564

4. ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
ผลลัพธท์ ี่คาดหวงั
ด้านความรู้ : เกิดการเรียนรู้ นำผลการพัฒนาสู่การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน และ

นำประสบการณ์ เข้าแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่เพื่อนร่วมวชิ าชีพ จนเกิดองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชุมชนการ
เรยี นรทู้ างวชิ าชพี ไปใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ทักษะ : มีความสามารถบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนได้เต็ม
ตามศกั ยภาพ สร้างนวัตกรรมจากการปฏิบตั ทิ ส่ี ่งผลตอ่ คณุ ภาพของผเู้ รยี น และสรา้ งนวัตกรรมท่ีได้จากการเข้า
รว่ มในชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ และพฒั นานวตั กรรมให้เปน็ ต้นแบบการเรียนรู้แก่เพื่อนรว่ มวชิ าชพี

ความเป็นครู : ดำรงชีวิตอย่างมีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการ
เป็นผูท้ ม่ี วี ินยั ตรงต่อเวลา ปฏบิ ัติตามกฎระเบียบ ข้อบงั คับ กติกาของสังคม มคี วามประพฤติท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดี
ทั้งทางกาย แต่งกายเหมาะสมกับกาลเทศะ มีมารยาท และเป็นมิตรกับผู้เรียน ตามบทบาทและสถานการณ์ ทาง
วาจา สุภาพ จริงใจและสร้างสรรค์ ที่ก่อให้เกิดกำลังใจ และเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น และทางใจ มีความเมตตา
กรุณา กตญั ญกู ตเวที ซ่ือสตั ยส์ จุ ริต มคี วามเป็นกัลยาณมิตร อดทน มีอดุ มการณ์เพ่ือส่วนรวม ตลอดจนดำรงชีวิต
อย่างเหมาะสมกับฐานะ และมีความรักศรัทธา และยึดมั่นในอุดมการณ์แห่งวิชาชีพ เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพสร้างเครือข่ายชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสร้างวัฒนธรรมทางการเรียนรู้ในสถานศึกษาและเป็นผู้นำการ
เปลี่ยนแปลงตอ่ วงการวิชาชีพ

ลงช่ือ........................................................................
(นายณรงค์ฤทธิ์ เขื่อนแก้ว)
ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย

10

ความเหน็ ของผู้บังคับบัญชา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ........................................................................
(นางสาวปยิ รตั น์ มงั คลษั เฐียร)

ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี นแมว่ ะวิทยา

11

ประวัติการเข้ารบั การพัฒนา (ในรอบ 5 ปี ท่ีผ่านมา)

วนั เดือน ปี ชือ่ หลักสูตร/โครงการ/กิจกรรม สถานทจ่ี ัดอบรม หน่วยงานที่จัดกจิ กรรม

26-27 การประชมุ วจิ ัยทางการศึกษาระดับชาติ ออนไลน์ สำนกั งานเลขาธิการสภา
การศกึ ษา
พฤศจิกายน ครง้ั ที่ 16 “นวัตกรรมการศึกษา :กล้า สำนกั งานเขตพืน้ ท่ี
การศึกษา สำนักงานเขตพื้นท่ี
พ.ศ. 2564 เปล่ยี น สรา้ งสรรค์ ยกระดบั คุณภาพ การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ประถมศกึ ษาลำปาง
การศึกษาไทย” เขต2 ลำปาง เขต2
ออนไลน์
27 พฤศจกิ ายน เขา้ รว่ มโครงการอบรมการจัดทำ สำนกั งานเขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษา
พ.ศ. 2564 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน
เชยี งใหม่ เขต2
(Performance Agreement : PA)

28 เขา้ ร่วมการอบรมหลกั สูตร ความรู้
พฤศจิกายน เบ้ืองต้นในการปฏบิ ัติการวิจยั ในช้ัน
พ.ศ. 2564
เรยี น

10 การสัมมนาวชิ าการ “เหลยี วหลังแล ออนไลน์ มหาวิทยาลยั จุฬาลง
ธันวาคม หนา้ รฐั ธรรมนูญ 2560” กรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. 2564 วทิ ยาเขตนครศรัธรรม

16 การเขา้ ร่วมชมนิทรรศการของสำนักงาน ออนไลน์ ราช
มกราคม เลขาธิการครุ สุ ภา เนอ่ื งในโอกาสงานวนั ออนไลน์
พ.ศ. 256 สำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุ
ครู ประจำปี ๒๕๖๕ผา่ นทางระบบ สภา
ออนไลน์
สำนกั งานรบั รอง
19 โครงการส่งเสรมิ สถานศึกษาและ มาตรฐานและประเมิน
มกราคม ประสานความรว่ มมือกับหน่วยงานต้น
พ.ศ. 2565 สงั กดั เพ่ือสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ คณุ ภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน)

12

วัน เดือน ปี ชอ่ื หลักสตู ร/โครงการ/กจิ กรรม สถานทจี่ ดั อบรม หน่วยงานท่จี ัดกิจกรรม
ออนไลน์
9 เก่ียวกับแนวทางการประกันคุณภาพ สำนำนักงานศึกษาธิการ
กุมภาพนั ธ์ ภายนอกภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ออนไลน์ และสถาบันสง่ เสริมการ
พ.ศ. 2565 ออนไลน์ สอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
อบรมออนไลนก์ ารจดั การเรยี นรู้ ออนไลน์
14 กุมภาพนั ธ์ วิทยาการคำ นวณสำ หรบั ครู ออนไลน์ เทคโนโลยี
พ.ศ. 2565 ออนไลน์
19 กมุ ภาพันธ์ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ - ๖ กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2565 Coding Online for Grade ๔-๖
Teacher (C๔T – ๗) รหัส ๖๓๐๒๔ บริษทั อิงลิชออนไลน์
23 กุมภาพันธ์ จำกดั
พ.ศ. 2565 (จำนวน ๑๒ ชว่ั โมง)
การใช้งานระบบมาตรฐานดา้ นความ สำนกั งานเขตพืน้ ที่
23 กมุ ภาพันธ์ ปลอดภัย (MOE Safety Platform) การศึกษาประถมศึกษา
พ.ศ. 2565 การจัดแขง่ ขนั ตอบปญั หาภาษาองั กฤษ
ลำปาง เขต2
10 มีนาคม ดว้ ยระบบออนไลน(์ อาจารย์ผู้ สำนกั งานเขตพ้นื ท่ี
พ.ศ.2565 ประสานงาน) การศึกษาประถมศกึ ษา
เชียงใหม่ เขต2
การพฒั นาศกั ยภาพครผู ู้ช่วย เพ่อื เตรยี ม
ความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม กระทรวงศึกษาธกิ าร
ผ่านโปรแกรม Google Meet

การอบรมออนไลน์ในระบบ E-learning
CME2 หลักสูตร พัฒนาทกั ษะการ

แกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ
PISA ดา้ นการรูเ้ ร่อื งการอ่าน

การพฒั นาตามหลักสตู ร “ครูรุ่นใหม่
หวั ใจพอเพยี ง” ตามโตรงการพฒั นา
สมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา
เพือ่ วเสรมิ สร้างความย่งั ยืนทางการเงิน
ผ่านระบบออนไลน์(จำนวน ๑๒ ชั่วโมง)

13

ส่วนที่ ๔

ความตอ้ งการในการพัฒนา (กลุม่ สาระวิทยาศาสตร์ (วทิ ยาการคำนวณ)

๑. หลักสูตรใดทท่ี ่านต้องการพฒั นา

ลำดับที่ รหัสหลักสูตร ชื่อหลักสูตร

๑ - เทคนิคการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โปรแกรม Python

๒ - เทคนคิ การใชโ้ ปรแกรม Google Application เพื่อการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

๓ - เทคนคิ การใชโ้ ปรแกรม Scratch ในการสร้างเกม

๔ - การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์

๕ - เทคนคิ การเป็น Youtuber เพื่อการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

๒. เพราะเหตุใดทา่ นจงึ ต้องการเข้ารับการพัฒนาในหลักสตู รนี้
เนื่องด้วยความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ในปัจจุบันมีบทบาทสำคัญต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

การเข้าถึงองค์ความรู้ต่างๆ เป็นเรื่องง่ายดาย เพียงการสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ก็สามารถแสวงหา
ความรู้ตามความสนใจได้ทุกเวลา ดังนั้นจึงต้องการเข้ารับการพัฒนาเพื่อนำวิธีการออกแบบสื่อการเรียนการ
สอนแบบออนไลน์มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อีกทั้งยังสอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
,แผนการศกึ ษาชาติ, นโยบายศธ. และนโยบาย สพฐ.

ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ข้อ ๒.การลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ข้อ ๒.๒ ส่งเสริมสนับสนุนการใช้
เทคโนโลยีในการจัดการศึกษาให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างทั่วถึง ข้อ ๒.๗ สนับสนุนการผลิต จัดหา และใช้ส่ือ
การเรียนการสอน เทคโนโลยี และนวัตกรรม

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาฯ ข้อ ๑.๒ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(PLC) ข้อ ๑.๓ การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) ข้อ ๑.๔ การพัฒนาครูท้ังระบบท่ี
เชือ่ มโยงกบั การเลอ่ื นวิทยฐานะ

๓. ทา่ นคาดหวงั สงิ่ ใดจากการเขา้ รบั การพฒั นาในหลกั สูตรน้ี
ด้านความรู้
๑. การสรา้ งและหรอื พฒั นาหลกั สตู ร การวเิ คราะหห์ ลักสตู ร มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัด

ในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน การงานพ้ืนฐานอาชีพ เพ่ือพฒั นาหลักสูตร แลว้ ใช้เปน็ ข้อสนเทศใน
การจดั ทำคำอธบิ ายรายวชิ าทขี่ า้ พเจ้าปฏบิ ัตกิ ารสอน

๒. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสม
๓. การจัดทำแผนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ใหส้ อดคลอ้ งกับการออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้
มกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย ตลอดจนวธิ กี ารบนั ทกึ หลงั สอนใหส้ อดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
๔. ประมวลความรู้ในประเด็นกลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้จักได้ใช้เป็นแนวทางในการ
พัฒนาการจัดการเรยี นรู้ ทขี่ ้าพเจ้าปฏิบัตกิ ารสอน
๕. การสรา้ งและการพฒั นา สื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษา และแหลง่ เรยี นรู้

14

๖. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ คัดสรรและพัฒนาเครอื่ งมือวัดผลในการพฒั นากิจกรรม
การเรียนรู้ ตามพสิ ยั ทัง้ ๓ ด้าน คือ พุทธิพสิ ัย จิตพิสยั และทักษะพสิ ัย

๗. การวิจัยเพอื่ พัฒนาการเรียนรู้
ด้านทกั ษะ

๑. ความรู้การบริหารจัดการชั้นเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาท่ี
ปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ในการเรียนรู้ มีความปลอดภัยและมี
ความสุข ตลอดจนส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นเกิดกระบวนการคดิ มีทักษะชวี ติ และทักษะการทำงาน

๒. ความร้กู ารจัดระบบดแู ลช่วยเหลือผูเ้ รยี น
๓ การจัดทำข้อมูลสารสนเทศ และเอกสารประจำวิชา อย่างเป็นระบบถูกต้องและเป็น
ปัจจุบัน ตลอดจนใชข้ ้อมูลสารสนเทศในการเสรมิ สร้างและพัฒนาผูเ้ รยี น
ดา้ นความเปน็ ครู
๑. การพฒั นาตนเอง และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพการปฏบิ ตั ิงาน

๔. ท่านจะนำความรู้จากหลักสูตรไปพฒั นาการสอนของทา่ นอยา่ งไร
๑. ข้าพเจ้าจะนำองค์ความรู้จากหลักสตู รไปใช้ในการจดั ทำและพัฒนาหลักสูตรรายวิชาที่จดั กิจกรรม

การเรียนรู้ โดยมีการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดเพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้
รวมถงึ ประเมินความสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชวี้ ดั

๒. ข้าพเจ้าจะนำองค์ความรู้จากหลักสูตร ไปใช้ในการจัดทำและพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ ที่สอดคล้อง
กับคำอธิบายรายวิชา โดยการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และการวัดและ
ประเมินผลมาพัฒนาตนเองตามหลักสูตร

๓. ข้าพเจ้าจะนำองค์ความรู้จากหลักสูตร มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรู้ ทกั ษะ คณุ ลักษณะ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั สมรรถนะสำคัญ และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
อย่างเตม็ ประสิทธภิ าพ และเพื่อใหผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรยี นเพม่ิ มากขน้ึ

๔. ขา้ พเจ้าจะนำความรูแ้ ละทักษะทไี่ ด้รบั การพฒั นาระหว่างการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
จริงในหอ้ งเรียนของตนเอง ผา่ นระบบออนไลน์ เพ่ือร่วมแลกเปลยี่ นเรียนร้กู ับผูเ้ รียน เพื่อนร่วมวชิ าชพี และชุมชน
และเป็นการเผยแพร่ และการเรียนรตู้ ลอดชีวิต

15

ภาคผนวก

16

ภาพกจิ กรรมการปฏิบัตงิ านในหน้าที่

กิจกรรมหน้าเสาธงตอนเชา้ รอ้ งเพลงชาติ สวดมนต์ ท่องสตู รคณู ออกกำลังกาย การปลกู ฝงั คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีของตนเอง และการให้ความรู้ในเรือ่ งตา่ งๆ

17

การดูแลเวรประจำวนั สแกนวดั ไข้ ล้างมือนักเรียนด้วยเจลแอลกอฮอล์ ตรวจความเรยี บรอ้ ยเวรประจำ
ของนักเรยี นในแต่ละพน้ื ที่ จัดกิจกรรมหนา้ เสาธง

18

กจิ กรรมกฬี าสีภายใน โรงเรียนแมว่ ะวทิ ยา ประจำปีการศกึ ษา 2564

19

กจิ กรรมเขา้ คา่ ย-พกั แรมลูกเสือเนตรนารี โรงเรยี นแมว่ ะวิทยา ปกี ารศึกษา 2564

20

ถ่ายและตดั ตอ่ วดิ โี อ แนะนำเก่ียวกับโรงเรยี นแม่วะวทิ ยา และคลปิ สง่ นกั เรยี นเขา้ ประกวด

21

การประชมุ ภายในโรงเรยี นแมว่ ะวทิ ยา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

22

เกียรติบัตร

23

24

25

26

27


Click to View FlipBook Version