The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทความ เรื่องกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ กับการกระทำความผิดอาญาของเด็กแล้วเยาวชน โดยนางสาวภัควลัญชญ์ สุวรรณธาดา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทความ เรื่่อง กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ กับการกระทำความผิดอาญาของเด็กแล้วเยาวชน

บทความ เรื่องกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ กับการกระทำความผิดอาญาของเด็กแล้วเยาวชน โดยนางสาวภัควลัญชญ์ สุวรรณธาดา

กระบวนการยุตธิ รรมเชงิ สมานฉันท์
กบั การกระทาความผิดอาญาของเด็กหรอื เยาวชน

สานักงานยุตธิ รรมจังหวดั ยะลา สาขาเบตง

ก่อนที่จะพิจารณาถึงลักษณะและรปู แบบของกระบวนการยุตธิ รรมเชิงสมานฉนั ท์นัน้ จะตอ้ งทาความ
เข้าใจในเรื่องต่อไปน้ีเป็นการเบ้ืองต้นด้วยคือ (๑) กระบวนการท่ีจะทาให้เกิดความสมานฉันท์ ต้องเป็น
กระบวนการท่ีจะทาให้เกิดความสมานฉันท์และทาให้เกิดการฟื้นฟู โดยมีหลักการว่าควรเป็นกระบวนการ
ทไี่ ม่เปน็ ทางการ ใหผ้ ู้ท่เี ก่ียวข้องทุกฝ่ายได้มาพบกันในบรรยากาศท่ีส่งเสริมให้เกิดการปรองดอง และส่งเสริม
ให้ผู้กระทาผิดได้สานึกผิดและได้ชดใช้ รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วย
(๒) ผลลัพธ์ท่จี ะก่อใหเ้ กดิ ความสมานฉนั ท์ ถือเป็นหัวใจสาคัญ ซ่ึงผลลัพธ์ที่จะได้จากกระบวนการยุติธรรมเชิง
สมานฉันทก์ ็คอื การแสดงความสานึกผิด การยินยอมท่ีจะปรับพฤติกรรม และการเยียวยาชดใช้ท่ีผู้กระทาผิด
พรอ้ มที่จะชดใชใ้ ห้กบั ผเู้ สยี หายซึ่งอาจมิใช่เฉพาะเร่ืองเงินเท่าน้ัน แต่อาจเป็นการบาเพ็ญประโยชน์สาธารณะ
หรืออืน่ ๆ แลว้ แต่กรณี ในทางปฏบิ ัติประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลกได้นากระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ใน
ลักษณะและรูปแบบท่ีแตกต่างกันออกไป ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับบริบทสังคมและวัฒนธรรมของท้องถิ่นเป็นสาคัญ
ลักษณะและรูปแบบของกระบวนการยุติธรรมเชงิ สมานฉนั ท์ จาแนกได้เปน็ ๔ รปู แบบใหญๆ่ คอื

รูปแบบท่ี ๑ การไกล่เกล่ยี เหย่อื อาชญากรรม-ผู้กระทาผิด (Victim-Offender Mediation)
รปู แบบนี้เปน็ การเผชญิ หน้าระหว่างเหยือ่ อาชญากรรมกับผู้กระทาผิด ซึ่งเจ้าหน้าท่ีอาจทาหน้าที่เป็น
ผู้ประสานงาน โดยมเี ป้าหมาย คือ การสนบั สนุนให้มกี ารเยียวยาเหย่ืออาชญากรรม ด้วยการจัดเวทีให้พวกเขา
ไดพ้ บปะพูดคุยกับผกู้ ระทาผดิ บนพ้นื ฐานของความสมัครใจ โดยยอมให้ผู้กระทาผิดได้เรียนรู้ถึงผลกระทบและ
เขา้ มาแสดงความรับผิดชอบต่อพฤติกรรมของเขาท่ีได้กระทาลงไป รูปแบบดังกล่าวน้ีเป็นท่ีแพร่หลายในทวีป
ยโุ รป เชน่ ฝร่ังเศส เยอรมัน และองั กฤษ รวมทง้ั ทวีปอเมรกิ าเหนอื และออสเตรเลีย
รูปแบบท่ี ๒ การประชุมกลุ่มครอบครัว (Family Group Conferences)
รูปแบบน้ีประกอบด้วย เหย่ืออาชญากรรม ผู้กระทาผิด และสมาชิกครอบครัวผู้มีความสาคัญหรือ
เพ่ือนของทั้งสองฝ่าย รวมทั้งมีเจ้าหน้าท่ีเป็นผู้ดาเนินการเช่นเดียวกับการไกล่เกลี่ย ซ่ึงการประชุมกลุ่ม
ครอบครัวนอี้ าจใช้สถานทีใ่ ด ๆ ก็ได้ เช่น โรงเรียน โบสถ์ หรือกลุ่มสมาชิกอื่น ๆ เป็นต้น โดยวิธีการน้ีต้องการ
เน้นย้าถึงความเอาจริงเอาจังของชุมชนต่ออาชญากรรม และความเต็มใจของชุมชนท่ีจะยอมรับผู้กระทาผิด
กลับคืนสู่ชุมชนอีกครั้ง รูปแบบดังกล่าวน้ีเร่ิมขึ้นในประเทศนิวซีแลนด์ และได้รับความนิยมเพิ่มมากข้ึนใน
สหรฐั อเมริกาและแคนาดา
รูปแบบที่ ๓ การพจิ ารณาแบบล้อมวง (Sentencing Circles)
รูปแบบนี้เป็นที่รู้จักกันอีกช่ือหน่ึงว่า “วงกลมแห่งสันติวิธี” โดยผู้ที่เข้าร่วมประชุมจะน่ังพิจารณาใน
ลักษณะเป็นการลอ้ มวง ซ่งึ ประกอบดว้ ย สมาชกิ ของชุมชนท่เี คยทางานเปน็ ผูพ้ พิ ากษา ตารวจ หรืออื่นๆ
รวมทั้งเคยรับผิดชอบงานด้านการพิจารณาคดีหรือการควบคุมสอดส่องมาแล้ว รูปแบบดังกล่าวน้ี เป็นท่ี
แพร่หลายในกลุ่มชาวพ้ืนเมืองของทวีปอเมริกาเหนือโบราณ โดยเฉพาะชาวอะบอริจ้ินแคนาเดียนและ



ประชากรทางตะวันตกเฉียงใต้ของอเมริกากระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับการกระทาความผิดอาญา
ของเดก็ หรือเยาวชน

รปู แบบที่ ๔ คณะกรรมการบูรณาการชมุ ชน (Community Reparative Boards)
รูปแบบน้ปี ระกอบดว้ ย ผ้คู นในชุมชน ผกู้ ระทาผดิ เหย่ืออาชญากรรม ผู้แทนจากกระบวนการยตุ ธิ รรม
และบางครัง้ อาจมีสมาชิกครอบครัวของผ้กู ระทาผดิ รวมอยูด่ ว้ ย โดยคณะกรรมการบูรณาการชุมชนเป็นวิธีการ

เชิงสมานฉันท์ในชุมชนที่หวนกลับมาใหม่และเป็นต้นแบบท่ีให้ชุมชนได้แสดงความรับผิดชอบต่อผู้ท่ีกระทา

ความผิด ซ่ึงรจู้ ักกนั ในนามของคณะกรรมการเยาวชน คณะกรรมการเพ่ือนบ้าน หรือคณะกรรมการยุติธรรม

ทางเลือกชุมชน เป็นต้น เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของการเบี่ยงเบนคดีหรือการคุมประพฤติ รูปแบบน้ีจะใช้กับ

ผู้กระทาความผิดที่ไม่ร้ายแรง และดาเนินการเช่นเดียวกับรูปแบบอ่ืนๆคือ มีการพูดคุยกันด้วยความเคารพ

ก่อนที่คณะกรรมการจะพจิ ารณาโทษ

ประเภทคดีที่สามารถใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์

สามารถนามาใช้กบั ฐานความผดิ หรือประเภทคดบี างคดีได้ดังน้ี
ความผดิ ท่ีเดก็ หรอื เยาวชนเป็นผกู้ ระทา ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์มีการนากระบวนการ

ยุตธิ รรมเชิงสมานฉนั ทม์ าใช้กบั คดีที่เด็กและเยาวชนเปน็ ผูก้ ระทาความผิดโดยบัญญัตเิ ป็นกฎหมายอย่างชัดเจน

และหลายประเทศในยุโรปเช่น อังกฤษ เยอรมัน และออสเตรีย รวมทั้งแคนาดาและสหรัฐอเมริกาก็นา

กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้เป็นหลักเพิ่มมากข้ึน เช่นเดียวกับประเทศไทยที่นาวิธีการ “การ

ประชุมกลุ่มครอบครัวและชุมชน” มาใชก้ บั เดก็ และเยาวชนที่กระทาความผดิ

ความผิดจากความรุนแรงในครอบครัว กรณีความรุนแรงในครอบครัวถือเป็นปัญหาสังคม
ก่ึงอาชญากรรมท่ีต้องใช้กระบวนการยุติธรรมที่มีลักษณะเฉพาะเพื่อให้ความสาคัญกับเหย่ือหรือผู้เสียหายใน
ฐานะเปน็ ประธานของปญั หา โดยคานึงถึงความรู้สึกนึกคิดของผู้เสียหาย และแสวงหาวิธีการท่ีจะให้ผู้กระทา
ผิดเยียวยาชดใช้และปรับปรุงนิสัยความประพฤติอย่างเป็นรูปธรรมมากย่ิงข้ึน ซึ่งกระบวนการยุติธรรมเชิง
สมานฉนั ทเ์ ปน็ ทางเลอื กหนึ่งทสี่ ามารถนามาใชก้ บั เร่อื งน้ีได้ สาหรับประเทศไทยจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติ
คมุ้ ครองผู้ถูกกระทาดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่ึงบัญญัติหลักการเก่ียวกับความยุติธรรมเชิง
สมานฉันท์ไวอ้ ย่างชัดเจน

ความผิดอาญาต่อส่วนตัวหรือความผิดอาญาท่ียอมความกันได้ เนื่องจากคดีอาญาประเภทนี้มี
ลักษณะท่ีกระทบกระเทือนต่อสิทธิส่วนบุคคลแต่มิได้กระทบกระเทือนต่อสาธารณะ กฎหมายจึงยอมให้ถอน
คาร้องทุกข์หรือยอมความกนั ได้ และเม่ือยอมความกนั แล้วผ้เู สียหายจะนาคดีมาฟ้องร้องอีกไม่ได้ โดยตัวอย่าง
คดอี าญาประเภทความผิดทยี่ อมความไดต้ ามประมวลกฎหมายอาญาของไทย เช่น ความผิดฐานข่มขืนกระทา
ชาเรา (มาตรา ๒๗๖ วรรคหนึ่ง) ความผิดฐานอนาจาร (มาตรา ๒๗๘, ๒๘๔) ความผิดฐานหม่ินประมาท
(มาตรา ๓๒๖-๓๒๘) ความผิดฐานยักยอกทรัพย์ (มาตรา ๓๕๒-๓๕๕) และความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์
(มาตรา ๓๕๘-๓๕๙) เปน็ ต้น

ข้อพิพาททางแพ่งเก่ียวเนื่องทางอาญา การกระทาบางอย่างผู้กระทามีความผิดท้ังทางแพ่งและ

ทางอาญา เน่อื งจากการกระทานัน้ เขา้ องค์ประกอบความผิดทางอาญาในขณะเดยี วกนั ยังทาให้ผู้อื่นได้รับความ

เสยี หายด้วย ซงึ่ ลกั ษณะของการกระทาท่เี ป็นความผดิ ทางแพ่งเกี่ยวเน่ืองทางอาญา หรืออีกนัยหนึ่งคือคดีแพ่ง

เกี่ยวเน่ืองคดีอาญานั้น นอกจากผู้กระทาผิดต้องรับผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย



หรือคา่ สินไหมทดแทนใหก้ บั ผู้เสียหายด้วย เพราะฉะนั้น ข้อพิพาทในลักษณะนี้จะระงับลงได้ก็ต่อเม่ือคู่พิพาท

ไดต้ กลงประนีประนอมยอมความกันทัง้ คดีอาญาและคดีแพง่

ความผดิ เลก็ ๆ นอ้ ยๆ อนื่ ๆ เพอื่ หลกี เล่ยี งการจาคุกระยะส้ัน คดีอาญาประเภทนี้เป็นความผิดที่มี

โทษจาคุกไม่เกิน ๓ ปี ซ่ึงแม้กฎหมายจะมิได้บัญญัติให้เป็นคดีความผิดอันยอมความกันได้ เพราะถือว่าเป็น

ความผิดต่อแผ่นดินทาให้ต้องมีการดาเนินกระบวนพิจารณาคดีไปตามลาดับข้ันตอน แต่หน่วยงานใน

กระบวนการยตุ ธิ รรมแตล่ ะลาดบั ได้แก่ เจา้ หนา้ ท่ตี ารวจ พนกั งานอยั การและศาล อาจใช้ดุลพินิจพิจารณาคดี

ประเภทนีใ้ หเ้ กิดความยตุ ิธรรม ท้งั นเ้ี พื่อหลีกเลย่ี งการใชโ้ ทษจาคกุ ระยะสนั้ อนั ก่อให้เกิดผลเสียหายแก่ผู้กระทา

ผดิ และสังคมมากกว่า รวมทง้ั ลดความแออัดในเรอื นจาได้อกี ทางหนงึ่ ดว้ ย

สรุป แม้หลักการของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์จะก่อให้เกิดประโยชน์ในหลายประการ
ทง้ั ในแงข่ องการนาคดอี อกจากกระบวนการยตุ ธิ รรม การแก้ไขเยียวยาความเสียหาย การสนับสนุนให้ผู้กระทา
ผดิ ไดก้ ลับคืนสสู่ งั คม รวมท้ังส่งเสริมใหท้ ุกฝา่ ยได้มสี ่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาร่วมกันแล้ว เป็นต้น แต่อย่างไร
ก็ตาม กระบวนการยตุ ธิ รรมเชิงสมานฉันท์ก็มีข้อบกพร่องเช่นกัน กล่าวคือ เน่ืองจากกระบวนการยุติธรรมใน
ปัจจุบันเป็นระบบที่รัฐเป็นผู้ดาเนินคดี ซึ่งเม่ือมีการลงโทษปรับ รัฐก็จะได้เงินเป็นรายได้ของแผ่นดิน ดังนั้น
หากมีการเปล่ยี นมาใช้กระบวนการยุตธิ รรมเชิงสมานฉันทแ์ ล้วยอ่ มสง่ ผลกระทบต่อรัฐ คือ เงินจานวนน้ีอาจจะ
ต้องถูกแบ่งไปให้แก่ผู้เสียหายเพ่ือเป็นการเยียวยาสิทธิ นอกจากน้ี กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ยังมี
ข้อจากัดในการใช้ เน่ืองจากไม่สามารถใช้ได้กับทุกฐานความผิดหรือคดีทุกประเภท โดยประเทศส่วนใหญ่
ทป่ี ระสบผลสาเร็จจากการนากระบวนการยตุ ธิ รรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ ปรากฏว่าจะใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เฉพาะกับความผิดที่มีอัตราโทษจาคุกระยะสั้นหรือโทษปรับสถานเดียว ดังน้ัน กระบวนการยุติธรรม
เชงิ สมานฉันทอ์ าจไมเ่ อื้อตอ่ กรณีการกระทาความผิดในคดที ่เี ป็นความผิดร้ายแรง (Violent Crimes) ประกอบ
กับสังคมไทยโดยท่ัวไปยังมีความคิดว่า คนที่กระทาความผิดควรจะถูกลงโทษและคิดแต่เรื่องการแก้แค้น
ทดแทนเป็นหลัก ดังนั้น การประนีประนอมกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับการกระทาความผิดอาญา
ของเด็กหรือเยาวชนยอมความกันหรือการไกล่เกลี่ยอาจถูกมองว่าทาให้กฎหมายไม่ศักด์ิสิทธ์ิโดยเฉพาะ
เมอ่ื อาชญากรรมทวีความรุนแรงยิ่งข้ึน ซึ่งข้อบกพร่องต่าง ๆ เหล่าน้ีจาเป็นต้องร่วมมือกันเร่งรัดเพื่อแก้ไขให้
หมดไป โดยวิธีการหน่ึงคือการสร้างความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริงถึงหลักการของกระบวนการยุติธรรม
เชิงสมานฉนั ทเ์ พ่ือใหท้ ุกฝ่ายไดเ้ ต็มใจเขา้ รว่ มในกระบวนการและมีความพึงพอใจต่อผลการดาเนินการน้ันด้วย
อนั จะเป็นสว่ นสาคญั ต่อการนาหลักการมาใชไ้ ด้อยา่ งสอดคล้อง เหมาะสม และตอบสนองตอ่ ความต้องการของ
ทง้ั เหยื่ออาชญากรรม ผกู้ ระทาผิด และชุมชน รวมทั้งเป็นแนวทางในการแก้ไขเยียวยาความเสียหายท่ีเกิดขึ้น
จากการกระทาความผิดอาญาไดอ้ ีกทางหนึ่งด้วย



อ้างอิง

กิตติพงษ์กิตยารักษ์. ๒๕๕๐. “ความยุติธรรมเชงิ สมานฉนั ท์: หลกั การและแนวคดิ ” กระบวนการยตุ ิธรรมเชงิ
สมานฉนั ท.์ พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย
จากดั .

กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ และ จุฑารัตน์ เอื้ออานวย. ๒๕๕๐. “ระบบความยุติธรรมแห่งอนาคตกับสันตสิ ขุ
ในสังคมและชุมชน”. กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท.์ พมิ พ์คร้ังท่ี ๑. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์
ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด.

จฑุ ารตั น์ เอ้ืออานวย. ๒๕๕๐. “กระบวนการยุติธรรมเชงิ สมานฉันท์ : “ทางเลือก” ในการยตุ ิข้อขดั แย้งทาง
อาญาสาหรับสังคมไทย”. กระบวนการยุติธรรมเชงิ สมานฉันท.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑. กรุงเทพมหานคร :
โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด.

เพลินตา ตน้ รังสรรค์. 2553. กระบวนการยตุ ิธรรมเชงิ สมานฉนั ทก์ ับการกระทาความผดิ อาญาของเดก็ หรอื
เยาวชน. เข้าข้อมูลได้จาก ttps://www.senate.go.th/assets/portals/93/fileups/272/files/
S%E0% B9%88ub_Jun/3journal/b121%20jul_7_3.pdf วันที่สืบค้นขอ้ มลู ๑ ตลุ าคม
๒๕๖๔.

สานักงานกองทนุ สนับสนนุ การวิจยั (สกว.). ๒๕๔๕. “ความยตุ ิธรรมเชงิ สมานฉันท์ : หลักการและแนวคดิ ”
ยตุ ิธรรมเชงิ สมานฉนั ท:์ ทางเลอื กใหม่สาหรบั กระบวนการยตุ ธิ รรมไทย. กรุงเทพมหานคร: สกว.


Click to View FlipBook Version