รายงานวิชาภาษาไทยรหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ เรื่องโรคเอสเอลอี(SLE) ———————————— ผู้เขียนรายงานนี้ เด็กหญิงพชรพรยินดี เลขที่ ๒๔ เด็กหญิงชาลิสาครอสส์ เลขที่ ๑๙ เด็กหญิงณัฐกฤตาอ้ายเสาร์ เลขที่๒๑ เด็กหญิงประกายดาวคลังกูล เลขที่๒๓ ชั้นมัธยมศึกษาปี ชั้ ที่๒/๑ เสนอ คุณครูอารียวัฒน์พงษ์นิรันดร ส่งรายงานวนั ที่๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๖๖ รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชาภาษาไทย ภาคเรียนที่๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
คํานํา โรคเอสแอลอี(SLE) หรือโรคลูปัส มีชื่อภาษาองักฤษวา่ Systemic Lupus Erythematosus หรือที่คน ไทยคุ้นเคยชื่อใน โรคพมุ่พวง เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่เกิดจากระบบร่างกายที่ทํางานผิดพลาดไปจาก ปกติโดยมีการสร้างภูมิต้านทาน (antibody) ต่อตา ้ นเซลลเ ์ นื้อเยื่อของตนเองอันนําไปสู่ความเจบป็ ่วย จนถึงแก่ชีวติ ในประเทศไทยยงัไม่ไดม ้ีการสํารวจอตัราความชุกของผปู้่วยโรคเอสแอลอีอยา่งเป็ น ทางการจึงต้องอ้างอิงข้อมูลจากสหรัฐอเมริกา พบประชากรที่ป่ วยเป็นโรคเอสแอลอี๑,๕๐๐,๐๐๐ โดย ร ้ อยละ ๙๐ เป็ นสตรีช่วงอายุ๑๕-๔๕ ปีซึ่งเมื่อคํานวณจากฐานความชุกและจํานวนประชาการพบวา่ สตรีผิวดํามีโอกาสเป็นโรคเอสแอลอีมากกวา่สตรีผวขิาวและมีความรุนแรงกวา่สําหรับประเทศไทย เองกพ ็ บโรคนี้ไดบ ้ ่อย โรคเอสแอลอีถือไดว ้ า่ เป็นโรคที่มีความรุนแรงและอันตรายอันดับต้นๆ ซึ่งนํามาสู่ความพิการและ เสียชีวติส่งผลกระทบกบเศัรษฐกิจและการพฒนาั ประเทศเนื่องจากผปู้่วยส่วนใหญ่ เป็ นสตรีวยเจรั ิญ พันธ์ที่มีบทบาทหน้าที่สําคญใ ันสงัคม ผปู้่วยหลายรายตอง ้ เผชิญกบสังัคมรอบขา ้ งที่ขาดความเข้าใจ เกี่ยวกบโรค ัเอสแอลอีคิดวา่ เป็นโรคที่เกี่ยวกบภัูมิคุม ้ กนขัดัของ ้ หรือเอชไอวี(HIV) เห็นมีผื่นแดงขึ้น ตาม เนื้อตวกัน ็ ึกรังเกียจคิดวา่สามารถติดต่อกนได ั ้ โรคเอสแอลอีมีความอนตัรายเช่นนี้แต่กย ็ งัไม่รับความสนใจจากภาครัฐหรือแมแต ้ ่แพทยเอง ์ ส่วน ใหญ่กไม็ ่ไดค ้ นค ้ วา ้ หาความรู้ จากโรคนี้เพิ่มเติม ไปสู่การวนิิจฉยโรค ัผดิรักษาหรือใหยา ้ ไม่ถูกตอง ้ แต่ในปัจจุบนมั ีความเขา ้ใจเกี่ยวกบโรค ันี้มากยิ่งยิ่ขึ้นทําให้อัตราผู้เสียชีวิตด้วยโรคเอสแอลอีมีน้อยลง แต่ในสงัคมกย ็ งัมีผคู้นไม่มากยิ่งยิ่ที่รู้ จกและัเขา ้ใจกบโรค ัเอสแอลอีเนื่องจากขาดผู้สนับสนุนในการเผย แพร่ศึกษาผปู้่วยหลายรายขาดกาลงัใจในการรักษาเพราะคิดวา่ โรคนี้ไม่มีทางเยยวยาีรักษาได ้ แต่แทจ ้ึงนั้นโรคเอสแอลอีสามารถผดุงอาการด้วยการรับประทานยาตาม นั้ ที่แพทย์สั่งออกกสั่าลังทาน อาหารทํากิจกรรมบําบัดเพื่อควบคุมโรคไม่ใหทร ุ้ดและสามารถดํารงชีวติต่อไปได้
สารบัญ เรื่อง หน้า สาเหตุของโรคเอสแอลอี ภาคผนวก ๑ ๔ บรรณานุกรม ๕ อาการของโรคเอสแอลอี วิธีรักษาโรคเอสแอลอี วธิีป้ องกนโรค ัเอสแอลอี ๒ ๔ ๖
โรคเอสแอลอี โรคเอสแอลอีหรือโรคลูปัส มีชื่อภาษาองักฤษวา่ Systemic Lupus Erythematosus หรือที่คนไทย คุนเค ้ ยกนใันชื่อโรคพมุ่พวง เป็นโรคที่มีความผดิปกติของภูมิคุม ้ กนั โดยปกติร่างกายจะสร ้ าง ภูมิคุม ้ กนมัาเพื่อป้ องกนและัทําลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม ทําหน้าที่จดจําและต่อตา ้ นสาร ที่เป็นอันตรายจากสิ่งแวดล้อม ต่อสูก ้ บเซัลลที่ ์ แปรสภาพผดิปกติแต่ผปู้่วยที่เป็นโรคเอสแอลอี ร่างกายจะสร ้ างสารภูมิคุม ้ กนหรั ือแอนติบอดี(antibody) ซึ่งต่อตา ้ นเนื้อเยื่อของตนเอง ทําใหม ้ีปฏิกิริยา ภูมิคุม ้ กนเป ั ็ นพิษ และไปทําลายเนื้อเยื่ออวยวะัต่างๆ โรคนี้อาจรู้ จกกั นใันอีกชื่อคือ“โรคแพ้ภูมิตัวเอง” มีผลกระทบต่อร่างกายโดยเฉพาะผวหนิงัขอ ้ ระบบเลือด ไตและระบบประสาท โรคเอสแอลเป็นโรค เรื้อรังที่หมายถึงไม่มีวนรั ักษาหายแต่สามารถรักษาตามอาการเพื่อควบคุมโรคและใช้ชีวิตตามปกติได้ และไม่ใช่โรคติดต่อ สาเหตุที่คนไทยเรียกโรคนี้วา่ โรคพมุ่พวง เพราะเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๓๕ วงการเพลงไทยไดส ู้ญเสีย พมุ่พวง ดวงจนทรั ์ นกรั ้ องลูกทุ่งหญิงชื่อดังในอดีตไปด้วยโรคที่ไม่คุนห ู้นกั คือโรคเอสแอลอี(SLE) หรือที่คนไทยนิยมเรียกกนใันเวลาต่อมาในชื่อ“โรคพมุ่พวง” สาเหตุของโรคเอสแอลอี(SLE) แมจะ ้ ยงัไม่มีหลกฐัานยนยืนแนั ่ชดัถึงสาเหตุของการเกิดโรคเอสแอลอีแต่กม ็ีหลกฐัานทางการแพทยแต ์ ่ สามารถนํามากล่าวอา ้ งเป็ นสมมุติฐานของการเกิดโรคได้ ดงันี้ ๑. ฮอร ์โมนน่าจะมีบทบาทสําคัญในการทําใหเก ้ ิดโรคเพราะโรคเอสแอลอีนั้นพนั้ บไดบ ้ ่อยในสตรีวยเจั ริญพนธัุ์ มีอตัราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย ๙ : ๑ ช่วงอายทีุ่ มีฮอร์โมนเพศหญิงสูงที่สุดคือ ๒๐-๔๐ ปีใน ขณะที่เดกและ ็ คนชราอตัราเพศหญิงต่อเพศชายลดเหลือเพียง ๔:๑ ๒. ผู้ป่ วยเอสแอลอีมักมีอาการกาเริบเมื่อถูกกบแสังแดด ตั้งตั้ครรภ ์ หรือเกิดการติดเชื้อ นอกจากนี้อาหาร และยาบางชนิดสามารถกระตุ้นให้บางคนที่ไม่ เป็นโรคนี้มาก่อนแสดงอาการออกมาได้ แสดงใหเห ้ ็ น ไดว ้ า่สภาพแวดลอม ้ กม ็ีผลต่อการเกิดโรคเอสแอลอี ๓. ชาวแอฟริกนัชายเอเชียและชาวลาตินอเมริกาเป็นโรคเอสแอลอีและรุนแรงวา่เชื้อชาติคอเรเซียน นอกจากนี้ญาติสายตรงของผู้ป่ วยเอสแอลอีมีโอกาสเป็นโรคนี้มากกวา่คนปกติถึง ๘ เท่า ทําให้ สนนั ิษฐานไดว ้ า่ โรคเอสแอลอีมีการถ่ายทอดทางพนธัุกรรม แต่ลูกที่มีแม่ เป็นโรคเอสแอลอีและมี โอกาสเป็นโรคนี้ไดม ้ ากกวา่คนปกติแต่อตัราการเป็นโรคอยทีู่ร ้ อยละ ๕ เท่านั้นนั้แมแต ้ ่คู่แฝดที่เกิดจาก ไข่ใบเดียวกนยัอม่มีพนธัุกรรมเหมือนกนทัุกอยา่งแต่อตัราการเป็นโรคอยทีู่แค่ เพียงร ้ อยละ ๕๗ ดงันั้นนั้ จึงสรุปไดว ้ า่การถ่ายทอดทางพนธัุกรรมไม่สามารถทําใหเก ้ ิดโรคได้ น่าจะตอง ้ มีปัจจยัอื่นร่วมดวย ้ ๔. ระบบภูมิคุม ้ กนั ซึ่งตามปกติจะทําหน้าที่ป้ องกนัสิ่งแปลกปลอม เชื้อโรคที่เขา ้ มาในร่างกาย แต่ในผปู้่วยเอสแอลอีนั้นระนั้บบภูมิคุม ้ กนได ัท ้ ํางานผิดไปจากเดิมโดยการสร้างโปรตีนที่เรียกวา่ แอนติบอดี(antibody) ขึ้นมาต่อตา ้ นเนื้อเยื่อของตนเองและไปทําลายอวยวะัต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งทําใหม ้ีอาการเจบป็ ่วยเลกๆ ็ อยา่งเช่น ปวดขอ ้ มีผื่น แพ้แสงแดด ไปจนถึงเสียชีวิต ข้อสงสัยที่วา่
ทําไมร่างกายถึงสร ้ างแอนติบอดี(antibody) ขึ้นมาทําร้ายเซลล์อวัยวะของตนเอง และทําไมผปู้่วยโรคเอสแอลอีแต่ละคนมีอาการไม่แตกต่างกนั ในปัจจุบนยังัไม่มีคําตอบชัดเจน แต่พออนุมานไดว ้ า่ โรคเอสแอลอีเกิดจากสภาพแวดลอม ้ ภายนอกเช่น การติดเชื้อแสงแดด สารเคมี บางชนิดในอาหารและยาร่วมกบฮัอร ์โมนเพศไปกระตุนระ ้ บบภูมิตา ้ นทานของผทีู่้ มีพันธุกรรมเสี่ยง ต่อการเกิดโรคคือแทนที่จะป้ องกนัสิ่งแปลกปลอม เชื้อโรคกลับสร้างแอนติบอดี(antibody) มาทําร้ายเซลล์อวัยวะของตัวเอง ซึ่งผปู้่วยจะอาการหนกเพั ียงใดกขึ้ ็ขึ้นอยกู่บวัา่แอนติบอดี(antibody) จะไปทําลายเซลล์เนื้อเยื่อส่วนใด หากเป็ นอวยวะัสําคญกัย ็ อม่มีความรุนแรงสูง ซึ่งการอกเสับจะเกิด ขึ้นที่อวยวะั ใดกขึ้ ็ขึ้นอยกู่บคัุณสมบตัิที่ของแอนติบอดี(antibody) ที่ร่างกายของผปู้่วยสร ้ างขึ้นมา โดยขึ้นอยกู่บพันธัุกรรมของผนัู้นั้อีกทอดห นั้ นึ่ง ดังนั้นโรค นั้เอสแอลอีจึงไม่ใช่โรคติดต่อ และการถ่ายทอดทางพนธัุกรรมเพียงอยา่งเดียวไม่สามารถทําใหเก ้ ิดโรคได้ ตอง ้ มีปัจจยัอื่นประกอบกนั จึงจะกระตุนภ ู้มิคุม ้ กนใัหท ้ ํางานผิดปกติได้ ๒. อาการแสดงของโรคเอสแอลอี ผปู้่วยโรคเอสแอลอีแต่ละรายมีอาการที่แตกต่างออกไป แต่โดยส่วนใหญ่อาการเริ่มต้นของโรค คือการไม่สบายทั่วๆไป ทั่ มีไข้เบื่ออาหาร น้าน้หนักลด ที่น่าสงัเกตคืออาการอ่อนเพลียอยา่งเห ็นไดช ้ ดั และผมร่วง ส่วนอาการกต ็ ามระบบอาจแตกต่างกนออกไป ั โดยมีอาการของแต่ระบบต่อไปนี้ ๒.๑ ข้อและกล้ามเนื้อ ผู้ป่ วยจะมีอาการปวดที่ขอม ้ ือขอเท ้ า ้ ขอเข ้ ่าและสะโพกโดยส่วนใหญ่ผปู้่วยมกจะัมีอาการกลา ้ มเนื้อ อักเสบ ปวดกล้ามเนื้อและกล้ามเนื้ออ่อนเเรง ๒.๒ ผิวหนัง อาการทางผิวหนังจะมีผื่นเฉพาะโรคเป็นรูปผีเสื้อตั่งตั่แต่สนจมัูกจนถึงโหนกแกม ้ผื่นแดงวงตามในหน้า ศรีษะและใบหูแผลที่เพดานปากจะเป็นๆ หายๆ ๒.๓ เยื่อบุ อาการที่พบบ่อยคือ มีแผลบริเวณเพดาน ปากลกษัณะเป็ นวงแดงไม่ เจบ ็ แพทยต ์ รวจพบ เองโดยผปู้่วย มกไม ั ่พดูถึง เนื่องจากไม่ทําใหเก ้ ิด อาการ นอกจากนี้ยังพบแผลบริเวณริมฝีปากเยื่อบุจมูกและเยื่อบุ บริเวณอวัยวะเพศได้ด้วย สําหรับ เยื่อบุของอวัยวะภายในที่พบการอกเสั บไดบ ้ ่อยคือเยื่อหุ้มปอดและ เยื่อหุ้ม หัวใจ ๒.๔ การเปลี่ยนแปลงทางเลือด เม็ดเลือดแดงแตกจากภาวะภูมิต้านทานของตนเองจนทําใหเก ้ ิดภาวะซีด,เมด ็ เลือดขาวต่าและเกร็ด เลือดต่าความผิดปกตินี้เกิดจากภูมิตา ้ นทานของตนเองทําลายเซลล์เม็ดเลือด
๒.๕ ไต การอักเสบของไตทําให้มีการรั่วของโปรตีน ไข่ขาว ซึ่งทําหน้าที่ดึงสารน้าน้ต่างๆ ให ้ คงอยใู่นหลอด เลือด เมื่อเกิดการสูญเสียโปรตีนสารน้าน้ในหลอดเลือดไม่มีตวดั ึงกจะ ็ รั่วออกไปขงัตวอยัตู่ามเนื้อเยื่อ ต่างๆ ตามแรงโนม ้ ถ่วงของโลก ๒.๖ สมอง การอักเสบที่สมองอาจทําให้ผู้ป่ วยมีอาการ ปวดศีรษะแบบไมเกรน ความจําเสื่อม รวมทั้งเส้นเลือด ทั้ ใน สมองอุดตันทําใหเป้ ็ นอมัพฤกษหร ์ ืออมัพาต แต่อาการที่พบบ่อยคืออาการชกและัสติฟันเฟือน ๒.๗ ปอด ผู้ป่ วยมาพบแพทย์ด้วยอาการเหนื่อยหอบ หายใจไม่อิ่ม ซึ่งอาจเกิดจากปอดอกเสับเพราะ ภูมิตา ้ นทาน ทําลายเนื้อเยื่อปอด หรือปอดบวมเพราะการติดเชื้อ ๒.๘ หัวใจ การอักเสบอาจทําให้ลิ้นหัวใจรั่ว หรือถา ้ เกิดที่กล้ามเนื้อหวใัจกท ็ ําให้หัวใจวายได้ผู้ป่ วยจะ มีอาการ เหนื่อยง่าย ชีพจรเตนเร ้ ็ วเจบหน ็ า ้ อก หรือบวมถา ้ การทํางานของหัวใจล้มเหลว ๒.๙ ทางเดินอาหาร ผู้ป่ วยอาจมีการอักเสบของเยื่อบุช่องทอง ้ ทําใหปวด ้ ทอง ้ ทอง ้ บวม ถา ้ เกิดการอกเสับของเซลล ์ เนื้อเยื่อ ของทางเดินอาหารกจะ ็ มีอาการปวดทอง ้ ทอง ้ เสียเรื้อรังถ่ายเป็ นมูกเลือด ๒.๑๐ ตา อาการที่พบบ่อยคืออาการตาแหง ้ไม่มีน้าน้ตา หล่อเลี้ยง ทําให้รู้สึกเหมือนมีเม็ดกรวด เม็ดทรายในลูกตา นอกจากนี้อาจมีอาการตาแดง ตาเจบ ็ หรือม่านตาอกเสับ แต่อาการที่รุนแรงที่สุดกค ็ือการอกเสับของ เส้นเลือดที่ไปหล่อเลี้ยงจอตาหรือ ประสาทตา
๓. วิธีรักษาโรคเอสแอลอี โรคเอสแอลอีเป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งไม่มีวธิีการรักษาใหหา ้ ยขาด แต่สามารถควบคุมโรคไม่ใหก ้ าเริบ รุนแรงได้ การรักษาจึงเป็ นการบรรเทาอาการเจบป็ ่วยและป้ องกนกาัรอกเสั บไม่ใหร ุ้นแรงถึงขึ้นทําลาย อวัยวะ ด้วยการลดภูมิต้านทานเนื้อเยื่อของตนเองการรักษาจะแตกต่างกนไปต ัามความรุนแรงของโรค ผู้ป่ วยที่มีอาการนอยจะ ้ ใชแค ้ ่ยาตา ้ นการอกเสับที่ไม่ใช่สเตียรอยดเ ์พี่ยงชั่วคชั่ราวแต่ผปู้่วยที่อาการ รุนแรงจะตอง ้ ใชยา ้ คอร ์ ติโคสเตียรอยดร ์่วมกบยาักดภูมิตา ้ นทาน ๔. วธิีป้ องกนโรค ัเอสแอลอี การป้ องกนัพื้นฐานที่จําเป็นสําหรับผปู้่วยโรคเอสแอลวทีุกรายไม่วา่จะมีอาการมากหรือนอย ้ ไดแก ้ ่ ๑. การหลีกเลี่ยงแสงแดด ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจง ้ที่ไม่จําเป็ น หรือใส่เสื้อแขนยาวกางเกงขา ยาว ทาครีมกนแดัดที่มีค่าเอสพีเอฟมาก ๒. พกผั อนใ ่หเพ ้ ียงพอโดยเฉพาะช่วงที่อาการกาเริบมากกวา่ ปกติควรพกผัอนเ่พิ่มมากขึ้นกวา่ ปกติ และยังควรทําจิตใจให้สงบเบิกบาน ๓. มีวนิยใันการรับประทานยาไม่ควรลดหรือหยดุยาเองและไม่ควรซื้อยารับประทานเอง ๔. ป้ องกนกาัรติดเชื้อ หลีกเลี่ยงชุมชน ไม่คลุกคลีกบผั ทีู่้ มีอาการของโรคติดเชื้อ ไม่รับทานอาหารสุกๆ ดิบๆ
บรรณานุกรม ศาสตราจารย์แพทย์หญิงชุชีลาจันทร์วิทยานุชิต. สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ เล่ม 37 เรื่องที่8 โรคเอสเอลอี, ๒๕๕๕
ภาคผนวก แหล่งที่มา : https://www.bim100apco.com/16912571/sle-หรือโรคพมุ่พวง แหล่งที่มา : https://allwellhealthcare.com/sle/ แหล แหล่งที่มา : https://thethaiger.com/th/news/588024/่งที่มา : http://www.bim100bimshop.com/ปัญหาสุขภาพ/โรค-sle-หรือโรคพมุ่พวง/ แหล่งที่มา : https://www.scimath.org/article-biology/item/279-sle