พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครอง
แรงงาน
ความหมายของพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน
พ.ศ.๒๕๔๑
เป็ นกฎหมายที่มีแนวคิดเก่ียวกบั การกาหนดมาตรฐานข้นั ต่าในเร่ืองต่างๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั
การจา้ งแรงงานระหว่างนายจา้ งกบั ลูกจา้ ง อาทิเช่น การกาหนดอตั ราค่าจา้ งข้นั ต่าวนั เวลาทางาน
ปกติ วนั หยดุ วนั ลา ค่าชดเชย ฯลฯ ที่นายจา้ งจะตอ้ งถือปฏิบตั ิต่อลูกจา้ ง โดยมีเจตนารมณ์ท่ีสาคญั
คือ ต้องการคุม้ ครองลูกจา้ งให้มีมาตรฐานในการจา้ งงานท่ีเหมาะสม เหตุผลเนื่องจากอานาจ
ต่อรองระหวา่ งนายจา้ งและลูกจา้ งน้นั ไม่เท่ากนั ดงั น้นั การกาหนดมาตรฐานข้นั ต่าในการจา้ งงาน
โดยรัฐท่ีถือวา่ เป็นคนกลางระหวา่ งท้งั ๒ ฝ่ าย ข้ึนมากจ็ ะเป็นผลดีกบั ลูกจา้ งท่ีจะไดร้ ับการคุม้ ครอง
แรงงานที่เป็ นธรรม นอกจากน้ีกฎหมายคุม้ ครองแรงงานยงั มีลกั ษณะเป็ นกฎหมายสังคมและมี
ลกั ษณะที่เป็ นกฎหมายเกี่ยวกบั ความสงบเรียบร้อย ซ่ึงประเด็นสาคญั ก็คือนายจา้ งและลูกจา้ งไม่
สามารถท่ีจะตกลงยกเวน้ การบงั คบั ใชก้ ฎหมายฯ ไดถ้ า้ ไม่ไดม้ ีการกาหนดให้นายจา้ งและลูกจา้ ง
สามารถท่ีจะตกลงยกเวน้ ไดแ้ ละในกรณีที่มีการตกลงยกเวน้ การบงั คบั ใชก้ ฎหมายฯ ก็จะถือว่า
ขอ้ ตกลงดงั กลา่ วน้นั เป็นโมฆะ
ความสาคญั ของพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน
พ.ศ.๒๕๔๑
กฎหมายที่บญั ญตั ิถึงสิทธิและหนา้ ท่ีระหวา่ งนายจา้ งและลกู จา้ ง โดยกาหนดมาตรฐานข้นั
ต่าในการจา้ งการใชแ้ รงงาน การจดั สถานท่ีและอุปกรณ์ในการทางาน เพ่ือใหผ้ ทู้ างานมีสุขภาพ
อนามยั อนั ดีและมีความปลอดภยั ในชีวิต ร่างกาย และไดค้ า่ ตอบแทนตามสมควร เป็นกฎหมายที่
กาหนดแนวทางปฏิบตั ิต่อกนั ระหวา่ งบุคคลสองฝ่าย คือ นายจา้ งและลูกจา้ ง เพ่ือใหบ้ ุคคลท้งั สอง
ฝ่ายไดม้ ีความเขา้ ใจอนั ดีตอ่ กนั สามารถตกลงในเรื่องสิทธิหนา้ ท่ี และผลประโยชนใ์ นการทางาน
ร่วมกนั ไดร้ วมท้งั กาหนดวิธีการระงบั ขอ้ ขดั แยง้ หรือขอ้ พพิ าทแรงงานที่เกิดข้ึนใหย้ ตุ ิลงโดย
รวดเร็ว เพ่ือใหเ้ กิดความสงบสุขในสถานประกอบกิจการ ซ่ึงจะส่งผลถึงเศรษฐกิจและความมน่ั คง
ของประเทศ
บททวั่ ไปตามพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑
มาตรา ๗ การเรียกร้องหรือการไดม้ าซ่ึงสิทธิหรือประโยชน์ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
ไมเ่ ป็นการตดั สิทธิหรือประโยชน์ท่ีลกู จา้ งพึงไดต้ ามกฎหมายอื่น
มาตรา ๘ ให้รัฐมนตรีมีอานาจแต่งต้งั พนักงานเจ้าหน้าท่ีซ่ึงมีคุณวุฒิไม่ต่ากว่า
ปริญญาตรีทางนิติศาสตร์เพื่อมีอานาจฟ้องคดีหรือแก้ต่างคดีแรงงานให้แก่ลูกจา้ งหรือ
ทายาทโดยธรรมของลูกจา้ งซ่ึงถึงแก่ความตาย และเมื่อกระทรวงแรงงานแจง้ ใหศ้ าลทราบ
แลว้ กใ็ หม้ ีอานาจกระทาการไดจ้ นคดีถึงท่ีสุด
มาตรา ๙ ในกรณีที่นายจ้างไม่คืนหลกั ประกันท่ีเป็ นเงินตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง
หรือไม่จ่ายค่าจา้ ง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยดุ และค่าล่วงเวลาในวนั หยุดภายในเวลาท่ี
กาหนดตามมาตรา ๗๐ หรือค่าชดเชยตามมาตรา ๑๑๘ ค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าว
ล่วงหนา้ หรือค่าชดเชยพิเศษตามมาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๒๑ และมาตรา ๑๒๒ ใหน้ ายจา้ งเสีย
ดอกเบ้ียใหแ้ ก่ลูกจา้ งในระหวา่ งเวลาผิดนดั ร้อยละสิบหา้ ตอ่ ปี ๕ ในกรณีท่ีนายจา้ งจงใจไม่คืน
หรือไม่จ่ายเงินตามวรรคหน่ึงโดยปราศจากเหตุผลอนั สมควร เมื่อพน้ กาหนดเวลาเจ็ดวนั นบั
แต่วนั ท่ีถึงกาหนดคืนหรือจ่าย ใหน้ ายจา้ งเสียเงินเพิ่มให้แก่ลูกจา้ งร้อยละสิบห้าของเงินที่คา้ ง
จ่ายทุกระยะเวลาเจ็ดวนั ในกรณีที่นายจา้ งพร้อมท่ีจะคืนหรือจ่ายเงินตามวรรคหน่ึงและวรรค
สอง และไดน้ าเงินไปมอบไวแ้ ก่อธิบดีหรือผซู้ ่ึงอธิบดีมอบหมายเพ่ือจ่ายใหแ้ ก่ลูกจา้ ง นายจา้ ง
ไม่ตอ้ งเสียดอกเบ้ีย หรือเงินเพ่ิมต้งั แตว่ นั ที่นายจา้ งนาเงินน้นั ไปมอบไว้
มาตรา ๑๐๖ ภายใตบ้ งั คบั มาตรา ๕๑ วรรคหน่ึง หา้ มมิให้นายจา้ งเรียกหรือรับหลกั ประกนั การทางาน
หรือหลกั ประกนั ความเสียหายในการทางาน ไม่ว่าจะเป็ นเงิน ทรัพยส์ ินอ่ืน หรือการคา้ ประกนั ดว้ ยบุคคลจาก
ลูกจา้ ง เวน้ แต่ลกั ษณะหรือสภาพของงานท่ีทาน้ันลูกจา้ งตอ้ งรับผิดชอบเก่ียวกบั การเงินหรือทรัพยส์ ินของ
นายจ้าง ซ่ึงอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้างได้ท้ังน้ีลกั ษณะหรือสภาพของงานที่ให้เรียกหรือรับ
หลกั ประกนั จากลูกจา้ ง ตลอดจนประเภทของหลกั ประกนั จานวนมลู ค่าของหลกั ประกนั และวิธีการเกบ็ รักษา
ให้เป็ นไปตามหลกั เกณฑ์และวิธีการท่ีรัฐมนตรีประกาศกาหนดในกรณีท่ีนายจา้ งเรียกหรือรับหลกั ประกนั
หรือทาสัญญาประกนั กบั ลูกจา้ งเพื่อชดใชค้ วามเสียหายท่ีลูกจา้ งเป็นผูก้ ระทา เม่ือนายจา้ งเลิกจา้ ง หรือลูกจา้ ง
ลาออกหรือสัญญาประกนั ส้ินอายุ ใหน้ ายจา้ งคืนหลกั ประกนั พร้อมดอกเบ้ีย ถา้ มีใหแ้ ก่ลกู จา้ งภายในเจด็ วนั นบั
แตว่ นั ที่นายจา้ งเลิกจา้ งหรือวนั ท่ีลูกจา้ งลาออก หรือวนั ที่สญั ญาประกนั สิ้นอายแุ ลว้ แตก่ รณี
มาตรา ๑๑๗ หน้ีท่ีเกิดจากเงินที่นายจา้ งตอ้ งจ่ายตามพระราชบญั ญตั ิน้ีหรือเงินที่ตอ้ ง
ชดใชก้ องทุนสงเคราะห์ลูกจา้ งตามมาตรา ๑๓๕ ให้ลูกจา้ งหรือกรมสวสั ดิการและคุม้ ครอง
แรงงาน แลว้ แต่กรณีมีบุริมสิทธิเหนือทรัพยส์ ินท้งั หมดของนายจา้ งซ่ึงเป็ นลูกหน้ีในลาดบั
เดียวกบั บุริมสิทธิ ในคา่ ภาษีอากรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๑/๑๘ ในกรณีท่ีผปู้ ระกอบกิจการมอบหมายให้บุคคลหน่ึงบุคคลใดเป็ น ผู้
จดั หาคนมาทางานอนั มิใช่การประกอบธุรกิจจดั หางาน โดยการทางานน้นั เป็นส่วนหน่ึงส่วน
ใด ในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบกิจการ และโดยบุคคล
น้นั จะเป็ น ผูค้ วบคุมดูแลการทางานหรือรับผดิ ชอบในการจ่ายคา่ จา้ งใหแ้ ก่คนท่ีมาทางานน้นั
หรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่า ผูป้ ระกอบกิจการเป็ นนายจ้างของคนที่มาทางานดังกล่าว ให้ผู้
ประกอบกิจการดาเนินการให้ลูกจา้ งรับเหมาค่าแรงที่ทางานในลกั ษณะเดียวกนั กบั ลูกจา้ ง
ตามสัญญาจา้ งโดยตรง ไดร้ ับสิทธิประโยชน์และสวสั ดิการท่ีเป็นธรรมโดยไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ
มาตรา ๑๒ ในกรณีท่ีนายจา้ งเป็นผรู้ ับเหมาช่วง ใหผ้ รู้ ับเหมาช่วงถดั ข้ึนไป หาก
มี ตลอดสายจนถึงผรู้ ับเหมาช้นั ตน้ ร่วมรับผิดกบั ผรู้ ับเหมาช่วงซ่ึงเป็นนายจา้ งในค่าจา้ ง
ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยุดค่าล่วงเวลาในวนั หยุดค่าชดเชย ค่าชดเชยพิเศษ เงิน
สะสม เงินสมทบ หรือเงินเพิ่ม ให้ผูร้ ับเหมาช้นั ตน้ หรือผูร้ ับเหมาช่วงตามวรรคหน่ึง มี
สิทธิไลเ่ บ้ียเงินที่ไดจ้ ่ายไปแลว้ ตามวรรคหน่ึงคืนจากผรู้ ับเหมาช่วงซ่ึงเป็นนายจา้ ง
มาตรา ๑๓ ในกรณีที่กิจการใดมีการเปล่ียนแปลงตวั นายจา้ งเนื่องจากการโอน
รับมรดกหรือด้วยประการอ่ืนใด หรือในกรณีท่ีนายจ้างเป็ นนิติบุคคล และมีการจด
ทะเบียน เปล่ียนแปลง โอน หรือควบกับนิติบุคคลใด สิทธิต่าง ๆ ที่ลูกจา้ งมีอยู่ต่อ
นายจา้ งเดิมเช่นใดใหล้ ูกจา้ ง มีสิทธิเช่นว่าน้นั ต่อไป และใหน้ ายจา้ งใหม่รับไปท้งั สิทธิ
และหนา้ ที่อนั เก่ียวกบั ลกู จา้ งน้นั ทกุ ประการ
มาตรา ๑๔ ใหน้ ายจา้ งปฏิบตั ิต่อลูกจา้ งใหถ้ ูกตอ้ งตามสิทธิและหนา้ ท่ีท่ีกาหนดไว้ ใน
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชยเ์ วน้ แต่พระราชบญั ญตั ิน้ีกาหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอ่ืน
มาตรา ๑๔/๑๙ สัญญาจา้ งระหว่างนายจา้ งกบั ลูกจา้ ง ขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางาน
ระเบียบ หรือคาส่ังของนายจา้ งท่ีทาให้นายจา้ งไดเ้ ปรียบลูกจา้ งเกินสมควร ให้ศาลมีอานาจ
สง่ั ให้ สญั ญาจา้ ง ขอ้ บงั คบั เกี่ยวกบั การทางาน ระเบียบ หรือคาสัง่ น้นั มีผลใชบ้ งั คบั เพียงเท่าที่
เป็นธรรมและ พอสมควรแก่กรณี
มาตรา ๑๕ ให้นายจา้ งปฏิบตั ิต่อลูกจา้ งชายและหญิงโดยเท่าเทียมกนั ในการจา้ ง งาน
เวน้ แตล่ กั ษณะหรือสภาพของงานไม่อาจปฏิบตั ิเช่นน้นั ได้
มาตรา ๑๖๑๐ หา้ มมิใหน้ ายจา้ ง หวั หนา้ งาน ผคู้ วบคุมงาน หรือผตู้ รวจงานกระทา การ
ลว่ งเกิน คุกคาม หรือก่อความเดือดร้อนราคาญทางเพศต่อลูกจา้ ง
การใชแ้ รงงานผหู้ ญิงตามพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑
๑. หา้ มนายจา้ งใหล้ ูกจา้ งหญิงทางานต่อไปน้ี
งานเหมืองแร่หรืองานก่อสร้าง ท่ีตอ้ งทาใตด้ ิน ใตน้ ้า ในถ้า ในอุโมงค์ หรือปลอ่ งในภูเขา
เวน้ แต่ลกั ษณะของงานไม่เป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพหรือ ร่างกายของลูกจา้ งหญิงน้นั
งานท่ีตอ้ งทาบนนงั่ ร้านท่ีสูงกวา่ พ้นื ดินต้งั แต่ 10 เมตรข้ึนไป
งานผลิตหรือขนส่งวตั ถุระเบิดหรือวตั ถุไวไฟ
งานอ่ืนตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
๒. หา้ มนายจา้ งใหล้ ูกจา้ งหญิง ที่มีครรภท์ างานในระหวา่ งเวลา ๒๒.๐๐น.-๐๖.๐๐น. ทางาน
ล่วงเวลาทางานในวนั หยดุ หรือทางานอยา่ งหน่ึงอยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปน้ี
งานเหมืองแร่หรืองานก่อสร้างที่ตอ้ งทาใตด้ ิน ใตน้ ้า ในถ้า ในอุโมงค์ หรือปลอ่ งในภูเขา
เวน้ แตล่ กั ษณะของงาน ไม่เป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพหรือ ร่างกายของลูกจา้ งหญิงน้นั
งานเก่ียวกบั เคร่ืองจกั รหรือเคร่ืองยนตท์ ี่มีความสั่นสะเทือน
งานขบั เคล่ือนหรือติดไปกบั ยานพาหนะ
งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเขน็ ของหนกั เกิน ๑๕ กิโลกรัม
งานที่ทาในเรือ
งานอื่นตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
๓. พนกั งาน ตรวจแรงงานมีคาสัง่ ใหน้ ายจา้ งเปลี่ยนเวลาทางานหรือชว่ั โมงทางาน ของ
ลูกจา้ งหญิงท่ีทางานในระหวา่ งเวลา ๒๔.๐๐น.-๐๖.๐๐น. ไดต้ ามที่เห็น สมควรถา้ พนกั งาน
ตรวจแรงงานเห็นวา่ งานน้นั อาจเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพ และความปลอดภยั ของลกู จา้ งหญิงน้นั
๔. ลูกจา้ งหญิงมีครรภม์ ีสิทธิขอ ใหน้ ายจา้ งเปลี่ยนงานในหนา้ ท่ีเดิมเป็ นการ ชว่ั คราวก่อน
หรือหลงั คลอดได้ กรณีที่มีใบรับรองแพทย์ แผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึง มาแสดงวา่ ไม่อาจทางานใน
หนา้ ที่เดิมต่อไปได้
๕. หา้ มนายจา้ งเลิกจา้ งลกู จา้ งหญิงเพราะเหตุมีครรภ์
การใชแ้ รงงานเด็กตามพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑
๑. หา้ มนายจา้ งจา้ งเดก็ อายตุ ่ากวา่ ๑๕ ปี เป็นลกู จา้
๒. กรณี ท่ีมีการจา้ งเดก็ อายตุ ่ากวา่ ๑๘ ปี เป็นลกู จา้ ง นายจา้ งตอ้ งแจง้ ตอ่ พนกั งาน ตรวจ
แรงงานภายใน ๑๕ วนั นบั แต่วนั ท่ี เดก็ เขา้ ทางาน และแจง้ การสิ้นสุดการ จา้ งเดก็ น้นั ตอ่
พนกั งานตรวจแรงงานภายใน ๗ วนั นบั แต่วนั ที่เด็กออกจากงาน นายจา้ งตอ้ งจดั ใหม้ ีเวลาพกั ๑
ชว่ั โมงต่อวนั ภายใน ๔ ชวั่ โมงแรกของ การทางาน และใหม้ ีเวลาพกั ยอ่ ยไดต้ ามท่ีนายจา้ ง
กาหนด
๓. หา้ มนายจา้ งใชล้ กู จา้ งเดก็ ที่มีอายตุ ่ากวา่ ๑๘ ปี ทางานในระหวา่ งเวลา ๒๒.๐๐น.-๐๖.๐๐น.
เวน้ แต่ไดร้ ับอนุญาตจากอธิบดี
4. หา้ มนายจา้ งใชล้ กู จา้ งเดก็ ท่ีมีอายตุ ่ากวา่ ๑๘ ปี ทางานล่วงเวลา
๕. หา้ มนายจา้ งใหล้ กู จา้ งเดก็ ท่ีมีอายตุ ่ากวา่ ๑๘ ปี ทางานต่อไปน้ี
* งานหลอม เป่ า หล่อ หรือรีดโลหะ
* งานปั๊มโลหะ
* งานเกี่ยวกบั ความร้อน ความเยน็ ความสัน่ สะเทือน เสียงและแสง ท่ีมีระดบั แตกตา่ งจากปกติอนั อาจ
เป็นอนั ตรายตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
* งานเก่ียวกบั สารเคมีที่เป็นอนั ตรายตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
* งานเกี่ยวกบั จุลชีวนั เป็นพิษซ่ึงอาจเป็นเช้ือไวรัส แบคทีเรีย รา หรือเช้ืออ่ืน ตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
* งานเกี่ยวกบั วตั ถุมีพษิ วตั ถรุ ะเบิด หรือวตั ถไุ วไฟ เวน้ แต่งานในสถานี บริการท่ีเป็นเช้ือเพลิงตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง
* งานเก่ียวกบั กมั มนั ตภาพรงั สตี ามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง
๕. หา้ มนายจา้ งใหล้ ูกจา้ งเดก็ ที่มีอายตุ ่ากวา่ ๑๘ ปี ทางานต่อไปน้ี (ต่อ)
* งานขบั หรือบงั คบั รถยกหรือป้ันจนั่ ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
* งานใชเ้ ลื่อยเดินดว้ ยพลงั ไฟฟ้าหรือเครื่องยนต์
* งานที่ตอ้ งทาใตด้ ิน ใตน้ ้า, ในถ้า อโุ มงค์ หรือปล่องในภูเขา
* งานเก่ียวกบั กมั มนั ตภาพรังสีตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
* งานทาความสะอาดเครื่องจกั รหรือเคร่ืองยนตท์ ี่กาลงั ทางาน
* งานที่ตอ้ งทาบนนง่ั ร้านท่ีสูงกวา่ พ้นื ดินต้งั แต่ 10 เมตรข้ึนไป
* งานอ่ืนตามที่กาหนดในกระทรวง
๖. หา้ มนายจา้ งใหล้ กู จา้ งเด็กที่มีอายตุ ่ากวา่ ๑๘ ปี ทางานในสถานท่ีต่อไปน้ี
* โรงฆา่ สตั ว์
* สถานที่เลน่ การพนนั
* สถานท่ีเตน้ รา ราวง หรือ รองเง็ง
* สถาน ที่ที่มีอาหาร สุรา น้าชา หรือเครื่องดื่ม อยา่ งอื่นจาหน่ายและบริการ โดยมีผบู้ าเรอสาหรับปรนนิบตั ิ
ลูกจา้ ง หรือโดยมีท่ีสาหรับพกั ผอ่ นหลบั นอน หรือมีบริการนวดใหแ้ ก่ลกู คา้
* สถานท่ีอื่นตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
๗. หา้ มนายจา้ งจ่ายค่าจา้ งของลกู จา้ งซ่ึงเป็นเด็กแก่บุคคลอื่น
๘. หา้ มนายจา้ งเรียก/หรือรับ เงินประกนั จากฝ่ ายลูกจา้ งซ่ึงเป็นเดก็
๙. ลูกจา้ ง ซ่ึงเป็นเด็กอายตุ ่ากวา่ 18 ปี มีสิทธิลาเพอ่ื เขา้ ประชุม สมั มนา รับการอบรม รับการฝึก หรือลาเพือ่ การ
อื่นซ่ึงจดั โดยสถานศึกษา หรือหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน ท่ีอธิบดีเห็นชอบ และใหน้ ายจา้ ง จ่ายคา่ จา้ งแก่
ลูกจา้ งเด็กเทา่ กบั คา่ จา้ งในวนั ทางานตลอดระยะเวลาท่ีลา แต่ปี หน่ึงตอ้ งไม่เกิน 30 วนั
การใชแ้ รงงานภาคเกษตรกรรม พ.ศ.๒๕๕๗
ขอ้ ๑ ใหย้ กเลิกกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการคุม้ ครองแรงงานในงานเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๔๗
ขอ้ ๒ ในกฎกระทรวงน้ี “งานเกษตรกรรม” หมายความวา่ งานที่เกี่ยวกบั การเพาะปลูก การเล้ียงสตั ว์
การป่ าไม้ การทานาเกลือสมทุ ร และการประมงท่ีมิใช่การประมงทะเล
ขอ้ ๓ ใหน้ ายจา้ งซ่ึงจา้ งลูกจา้ งทางานเกษตรกรรมตลอดปี ปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๔๑
ขอ้ ๔ ในงานเกษตรกรรมซ่ึงมิไดจ้ า้ งลูกจา้ งตลอดปี และมิไดใ้ หล้ ูกจา้ งทางานในลกั ษณะที่ เป็นงาน
อตุ สาหกรรมตอ่ เน่ืองจากงานดงั กลา่ ว ใหน้ ายจา้ งปฏิบตั ิตามมาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ มาตรา
๑๔ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ มาตรา ๓๗ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓
มาตรา ๔๔ มาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๕๕ มาตรา ๗๐ มาตรา ๗๖
มาตรา ๑๑๒ มาตรา ๑๑๓ มาตรา ๑๑๔ มาตรา ๑๑๕ มาตรา ๑๒๓ มาตรา ๑๒๖ มาตรา ๑๒๗ มาตรา ๑๒๘
มาตรา ๑๒๙ มาตรา ๑๓๔ มาตรา ๑๓๖ มาตรา ๑๓๗ มาตรา ๑๓๙ มาตรา ๑๔๐ มาตรา ๑๔๒ และมาตรา ๑๔๓
แห่งพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๑/๑ มาตรา ๑๖
มาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๕๑ มาตรา ๑๒๔ มาตรา ๑๒๔/๑ มาตรา ๑๒๕ มาตรา
๑๓๕ และมาตรา ๑๔๑ แห่งพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแกไ้ ขเพ่ิมเติมโดย
พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวงน้ี
ขอ้ ๕ ลกู จา้ งซ่ึงทางานติดตอ่ กนั มาแลว้ ครบหน่ึงร้อยแปดสิบวนั มีสิทธิหยดุ พกั ผอ่ นไดไ้ ม่นอ้ ยกวา่
สามวนั ทางาน โดยใหน้ ายจา้ งเป็นผกู้ าหนดวนั หยดุ ดงั กลา่ วใหแ้ ก่ลกู จา้ งล่วงหนา้ หรือกาหนดใหต้ ามที่
นายจา้ งและลูกจา้ งตกลงกนั
ใหน้ ายจา้ งจ่ายค่าจา้ งใหแ้ ก่ลกู จา้ งในวนั หยดุ พกั ผอ่ นเสมือนวา่ ลกู จา้ งมาทางานตามปกติในวนั หยดุ
พกั ผอ่ นน้นั
ถา้ นายจา้ งใหล้ กู จา้ งทางานในวนั หยดุ พกั ผอ่ นตามวรรคหน่ึงใหน้ ายจา้ งจ่ายคา่ ทางาน ในวนั หยดุ แก่
ลกู จา้ งเพ่ิมข้ึนไมน่ อ้ ยกวา่ หน่ึงเท่าของอตั ราค่าจา้ งต่อ ชว่ั โมงในวนั ทางานตามจานวนชว่ั โมงที่ทาหรือไม่
นอ้ ยกวา่ หน่ึงเทา่ ของอตั ราค่า จา้ งต่อหน่วยในวนั ทางานตามจานวนผลงานท่ีทาไดส้ าหรับลกู จา้ งซ่ึงไดร้ ับค่า
จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย
ขอ้ ๖ ในกรณี ท่ีนายจา้ งมิไดจ้ ดั ใหล้ ูกจา้ งหยดุ พกั ผอ่ นหรือจดั ใหล้ กู จา้ งหยดุ พกั ผอ่ นนอ้ ย กวา่ ท่ี
กาหนดไวต้ ามขอ้ ๕ ใหน้ ายจา้ งจ่ายค่าทางานในวนั หยดุ ใหแ้ ก่ลกู จา้ งเพ่ิมข้ึนไม่นอ้ ยกวา่ หน่ึง เทา่ ของอตั รา
ค่าจา้ งในวนั ทางานเสมือนวา่ นายจา้ งใหล้ ูกจา้ งทางานในวนั หยดุ
ขอ้ ๗ ลูกจา้ งมีสิทธิลาป่ วยไดเ้ ทา่ ท่ีป่ วยจริง การลาป่ วยต้งั แต่สามวนั ทางานข้ึนไปนายจา้ งอาจให้
ลูกจา้ งแสดงใบรับรองแพทย์ แผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึงหรือของสถานพยาบาลของทางราชการในกรณีที่ลูกจา้ ง
ไมอ่ าจ แสดงใบรับรองแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึงหรือของสถานพยาบาลของทางราชการได้
ใหล้ ูกจา้ งช้ีแจงนายจา้ งทราบ
ใหน้ ายจา้ งจ่ายค่าจา้ งใหแ้ ก่ลูกจา้ งในวนั ลาป่ วยเท่ากบั อตั ราค่าจา้ งในวนั ทางานตลอดระยะเวลาท่ีลา
แตต่ อ้ งไม่เกินสิบหา้ วนั ทางาน
ขอ้ ๘ ใหน้ ายจา้ งจดั ใหม้ ีน้าสะอาดสาหรับดื่มโดยมีปริมาณเพียงพอแก่ลูกจา้ ง
กรณีลกู จา้ งพกั อาศยั อยกู่ บั นายจา้ งนายจา้ งตอ้ งจดั หาท่ีพกั อาศยั ที่สะอาดถูกสุขลกั ษณะและปลอดภยั
ใหแ้ ก่ลูกจา้ ง ใหน้ ายจา้ งจดั สวสั ดิการอื่น ๆ ที่เป็นประโยชนแ์ ก่ลกู จา้ งตามท่ีอธิบดีประกาศกาหนด
ค่าจา้ ง ค่าลว่ งเวลา คา่ ทางานในวนั หยดุ คา่ ลว่ งเวลาในวนั หยดุ
กฎหมายกาหนดการจ่าย ดงั ต่อไปน้ี
๑. การคานวณคา่ จา้ งเป็นรายเดือน ใหจ้ ่ายเดือนละไม่นอ้ ยกวา่ ๑ คร้ัง
๒. ค่าลว่ งเวลา ค่าทางานในวนั หยดุ และคา่ ลว่ งเวลาในวนั หยดุ ใหจ้ ่ายเดือนละไม่นอ้ ยกวา่ ๑ คร้ัง
๓. กรณีเลิกจา้ ง ตอ้ งจ่ายค่าจา้ งภายใน ๓ วนั นบั แตว่ นั ท่ีเลิกจา้ ง ตามมาตรา ๗๐
๔. อตั ราค่าจา้ งข้นั ต่าข้ึนอยกู่ บั รัฐกาหนด นายจา้ งจะหกั คา่ จา้ งไมไ่ ด้ เวน้ แต่
- ชาระภาษีเงินไดท้ ่ีลูกจา้ งจะตอ้ งจ่าย
- ชาระค่าบารุงสหภาพแรงงาน
- ชาระหน้ีสหกรณ์ออมทรัพย์
- เงินประกนั การทางาน หรือชดใชค้ ่าเสียหาย ในกรณีลกู จา้ งเป็นผูก้ ระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
อยา่ งร้ายแรง
- กองทนุ เงินสะสม
โดยขอ้ ๒-๕ จะหกั ไดไ้ มเ่ กิน ๑๐ % และหกั รวมกนั ไมเ่ กิน ๑ ใน ๕ ของเงินที่ลูกจา้ งมีสิทธิไดร้ ับ เวน้ แต่
ลกู จา้ งยนิ ยอม
นายจา้ งตอ้ งจ่ายคา่ จา้ งใหแ้ ก่ลูกจา้ ง สาหรับวนั ลา ดงั น้ี ตามมาตรา ๕๗ ๕๘ ๕๙
๑. ลาป่ วย ปี หน่ึงไม่เกิน ๓๐ วนั ทางาน
๒. ลาเพื่อทาหมนั ตามจานวนวนั ท่ีมีสิทธิลา
๓. ลาเพ่ือรับราชการทหาร ปี หน่ึงไมเ่ กิน ๖๐ วนั
๔. ลาเพื่อคลอดบุตร ครรภห์ น่ึงไมเ่ กิน ๔๕ วนั
สวสั ดิการของลกู จา้ ง
สวสั ดิการแรงงานเป็นปัจจยั สาคญั ประการหน่ึงท่ีช่วยใหค้ ุณภาพชีวติ ของลกู จา้ งรวมถึงครอบครัวดี
ข้ึนความเอ้ืออาทรของนายจา้ งโดยการจดั สวสั ดิการแรงงานใหแ้ ก่ลกู จา้ ง ยอ่ มทาใหล้ กู จา้ งมีความรัก ความ
ผกู พนั ตอ่ นายจา้ ง ทาใหล้ ูกจา้ งเกิดขวญั และกาลงั ใจในการทางานซ่ึงทาใหผ้ ลผลิตของลูกจา้ งมีปริมาณสูงข้ึน
และคุณภาพสูงข้ึนในขณะเดียวกนั การจดั สวสั ดิการแรงงานใหแ้ ก่ลูกจา้ งยงั ช่วยเสริมสร้างสัมพนั ธภาพอนั ดี
ระหวา่ งนายจา้ งและลูกจา้ งช่วยลดปัญหาและขอ้ ขดั แยง้ ในสถานประกอบกิจการทาใหก้ ารประกอบกิจการ
ของนายจา้ งดาเนินไปอยา่ งราบร่ืน
กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงานไดป้ ฏิบตั ิภารกิจดา้ นสวสั ดิการแรงงาน โดยการส่งเสริม ใหม้ ีการ
จดั สวสั ดิการข้ึนในสถานประกอบกิจการ โดยเห็นวา่ การท่ีลูกจา้ งไดร้ ับสวสั ดิการท่ีดี นอกจากทาใหล้ ูกจา้ ง
เกิดขวญั และกาลงั ใจที่ดีแลว้ ยงั ส่งผลใหล้ ูกจา้ งลดการขาดงาน ลางานและเปล่ียนงานบอ่ ย ในที่สุดจะเป็นการ
เพ่ิมประสิทธิภาพ การทางานและผลิตภาพใน การทางาน ภายใตก้ รอบภารกิจดงั กลา่ ว สวสั ดิการแรงงานได้
ถกู จดั แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท คือ
๑. สวสั ดิการแรงงานตามกฎหมาย
๒. สวสั ดิการแรงงานนอกเหนือกฎหมาย
๑. สวสั ดิการแรงงานตามกฎหมาย เป็นสวสั ดิการที่ไดม้ ีการพิจารณาแลว้ วา่ เป็นสิ่งจาเป็น
พ้ืนฐานสาหรับลกู จา้ งในสถานประกอบกิจการ ซ่ึงพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้
กาหนดหลกั เกณฑเ์ กี่ยวกบั การจดั สวสั ดิการ ไว้ ๔ ส่วน ดงั น้ี
ส่วนที่ ๑ เป็นส่วนที่ใหอ้ านาจรัฐมนตรีในการออกกฎหมายกาหนดใหน้ ายจา้ งตอ้ งจดั
สวสั ดิการประเภทตา่ งๆ โดยรัฐมนตรีไดอ้ อกกฎหมายที่ใชบ้ งั คบั เพื่อใหส้ ถานประกอบกิจการที่มี
ลูกจา้ งต้งั แต่ ๑ คนข้ึนไป ตอ้ งมีการจดั สวสั ดิการประเภทน้ี คือ กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการจดั สวสั ดิการใน
สถานประกอบกิจการ พ.ศ.๒๕๔๑ ซ่ึงมีผลบงั คบั ใชต้ ้งั แตว่ นั ที่ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๔๘ เป็นตน้ ไป โดย
มีสาระสาคญั ดงั น้ีขอ้ ๑ ในสถานที่ทางานของลูกจา้ ง ใหน้ ายจา้ งจดั ใหม้ ี
(๑) น้าสะอาดสาหรับดื่มไม่นอ้ ยกวา่ หน่ึงท่ี สาหรับลูกจา้ งไมเ่ กินส่ีสิบคน และเพิ่มข้ึนใน
อตั ราส่วน หน่ึงที่สาหรับลูกจา้ งทุกๆ สี่สิบคน เศษของส่ีสิบคนถา้ เกินยสี่ ิบคนใหถ้ ือเป็นสี่สิบ
(๒) หอ้ งน้าและหอ้ งสว้ มตามแบบและจานวนท่ีกาหนดในกฎหมายวา่ ดว้ ยการควบคุมอาคาร และ
กฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวขอ้ ง และมีการดูแลรักษาความสะอาดใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ีถูกสุขลกั ษณะเป็นประจาทุกวนั
ใหน้ ายจา้ งจดั ใหม้ ีหอ้ งน้าและหอ้ งส้วมแยกสาหรับลกู จา้ งชายและลกู จา้ งหญิง และในกรณีท่ีมีลกู จา้ ง ที่เป็นคนพกิ าร
ใหน้ ายจา้ งจดั ใหม้ ีหอ้ งน้าและหอ้ งสว้ มสาหรับคนพิการแยกไวโ้ ดยเฉพาะ
ขอ้ ๒ ในสถานที่ทางานของลกู จา้ ง ใหน้ ายจา้ งจดั ใหม้ ีส่ิงจาเป็นในการปฐมพยาบาลและการรักษาพยาบาล
ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) สถานท่ีทางานท่ีมีลกู จา้ งทางานต้งั แต่สิบคนข้ึนไป ตอ้ งจดั ใหม้ ีเวชภณั ฑแ์ ละยาเพือ่ ใช้ ในการปฐม
พยาบาลในจานวนที่เพียงพอ
(๒) สถานที่ทางานที่มีลูกจา้ งในขณะเดียวกนั ต้งั แตส่ องร้อยคนข้ึนไป ตอ้ งจดั ใหม้ ี
- เวชภณั ฑแ์ ละยาเพอ่ื ใชใ้ นการปฐมพยาบาลตาม (๑)
- หอ้ งรักษาพยาบาลพร้อมเตียงพกั คนไขอ้ ยา่ งนอ้ ยหน่ึงเตียง เวชภณั ฑแ์ ละยานอกจาก ท่ีระบไุ วใ้ น ขอ้ 1
ตามความจาเป็ นและเพียงพอแก่การรักษาพยาบาลเบ้ืองตน้
- พยาบาลต้งั แต่ระดบั พยาบาลเทคนิคข้ึนไปไวป้ ระจาอยา่ งนอ้ ยหน่ึงคนตลอดเวลาทางาน
- แพทยแ์ ผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึงอยา่ งนอ้ ยหน่ึงคน เพื่อตรวจรักษาพยาบาลไม่นอ้ ยกวา่ สัปดาห์ละสองคร้ัง
และเมื่อรวมเวลาแลว้ ตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่ สปั ดาหล์ ะหกชว่ั โมงในเวลาทางาน
(๓) สถานที่ทางานที่มีลูกจา้ งทางานในขณะเดียวกนั ต้งั แต่หน่ึงพนั คนข้ึนไป ตอ้ งจดั ใหม้ ี
-เวชภณั ฑแ์ ละยาเพื่อใชใ้ นการปฐมพยาบาล
- หอ้ งรักษาพยาบาลพร้อมเตียงพกั คนไขอ้ ยา่ งนอ้ ยสองเตียงเวชภณั ฑแ์ ละยานอกจากที่ระบุไวใ้ น
ตามความจาเป็นและเพยี งพอแก่การรักษาพยาบาลเบ้ืองตน้
- พยาบาลต้งั แตร่ ะดบั พยาบาลเทคนิคข้ึนไปไวป้ ระจาอยา่ งนอ้ ยสองคนตลอดเวลาทางาน
- แพทยแ์ ผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึงอยา่ งนอ้ ยหน่ึงคน เพอื่ ตรวจรักษาพยาบาลไมน่ อ้ ยกวา่ สปั ดาห์ละสาม
คร้ัง และเมื่อรวมเวลาแลว้ ตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่ สัปดาหล์ ะสิบสองชว่ั โมงในเวลาทางาน
- ยานพาหนะซ่ึงพร้อมที่จะนาลกู จา้ งส่งสถานพยาบาลเพอ่ื ใหก้ ารรักษาพยาบาล
ขอ้ ๓ นายจา้ งอาจทาความตกลงเพื่อส่งลูกจา้ งเขา้ รับการรักษาพยาบาลกบั สถานพยาบาล ท่ี
เปิ ดบริการตลอดย่ีสิบส่ีช่ัวโมงและเป็ นสถานพยาบาลที่นายจ้างอาจนาลูกจ้างส่ง เข้ารับการ
รักษาพยาบาล ไดโ้ ดยความสะดวกและรวดเร็ว แทนการจดั ใหม้ ีแพทยต์ ามขอ้ ๒ หรือ ขอ้ ๓ ไดโ้ ดย
ต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีหรื อผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมาย การให้นายจ้างจัดสวัสดิการตามท่ี
กฎกระทรวงดังกล่าวกาหนดถือเป็ นภารกิจของกรมต้องมีการตรวจติดตามโดยเจ้าหน้าที่ของ
สานักงานสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน และสานักงานสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงานพ้ืนที่
นอกเหนือจากการดาเนินการดงั กลา่ ว การส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั สวสั ดิการนอกเหนือกฎหมาย
ยงั เป็นการที่ เจา้ หนา้ ที่จะตอ้ งเขา้ ไปในสถานประกอบกิจการเพ่ือแนะนารูปแบบของสวสั ดิการต่างๆ
ที่กฎหมายไม่ไดก้ าหนดไว้ แต่หากสถานประกอบกิจการใดมีความพร้อมเพียงพอก็สามารถจดั ให้
เป็นไปตามความตอ้ งการของลกู จา้ งได้
ส่วนท่ี ๒ คือส่วนที่เกี่ยวกับคณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานโดยสืบเนื่องจากการที่ทุกสถาน
ประกอบกิจการมีการจดั สวสั ดิการแก่ลูกจา้ งทุกแห่ง แต่รูปแบบหรือวิธีการจดั จะแตกต่างกนั ไป
ตามลกั ษณะวิธีการทางาน หรือประเภทกิจการ ฯลฯ ของสถานประกอบกิจการน้ันและถึงแมจ้ ะมี
การจดั สวสั ดิการให้กบั ลูกจา้ งแลว้ ก็ตามแต่ปัญหาความขดั แยง้ ระหว่างนายจา้ งและลูกจา้ งยงั คง
ปรากฏเป็นระยะๆ อนั ก่อใหเ้ กิดผลเสียตอ่ สถานประกอบกิจการสภาพเศรษฐกิจ และการลงทุนของ
ประเทศ
ด้วยเหตุดังกล่าวพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ จึงได้มีการบัญญัติให้จัดต้ัง
คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานข้ึนตามมาตรา ๙๒ ในการให้คาแนะนาการจดั สวสั ดิการเพื่อให้
ความขดั แยง้ ต่างๆ ในสถานประกอบกิจการลดลง และเพื่อให้ลูกจา้ งมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ท้งั น้ี ได้
บญั ญตั ิให้มีคณะกรรมการสวสั ดิการแรงงาน ประกอบดว้ ย ปลดั กระทรวงแรงงานเป็ นประธาน
กรรมการ กรรมการผแู้ ทนฝ่ ายรัฐบาล ๔ คน กรรมการ ผแู้ ทนฝ่ ายนายจา้ งและกรรมการผแู้ ทนฝ่ าย
ลูกจา้ ง ฝ่ ายละ ๕ คน ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้งั เป็ นกรรมการ และขา้ ราชการกรมสวสั ดิการและคุม้ ครอง
แรงงาน ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้งั เป็ นเลขานุการคณะกรรมการดงั กล่าว มีอานาจหนา้ ท่ีตามท่ีกาหนดไว้
ใน มาตรา ๙๓ ดงั ต่อไปน้ี
๑. เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเก่ียวกบั นโยบาย แนวทาง และมาตรการดา้ นสวสั ดิการ
แรงงาน
๒. เสนอความเห็นตอ่ รัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงประกาศ หรือระเบียบเกี่ยวกบั
การจดั สวสั ดิการแรงงานในสถานประกอบกิจการ
๓. ใหค้ าแนะนาในการจดั สวสั ดิการแรงงานสาหรับสถานประกอบกิจการแต่ละประเภท
๔. ติดตามประเมินผล และรายงานผลการดาเนินการต่อรัฐมนตรี
๕. ออกคาสง่ั ใหน้ ายจา้ งจ่ายเงินคา่ ชดเชยพิเศษหรือคา่ ชดเชยพเิ ศษแทนการบอกกล่าว
ลว่ งหนา้ ตามมาตรา ๑๒๐
๖. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามท่ีพระราชบญั ญตั ิน้ีหรือกฎหมายอื่นบญั ญตั ิใหเ้ ป็นอานาจหนา้ ท่ี
ของคณะกรรมการสวสั ดิการแรงงาน หรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย
ส่วนท่ี ๓ นอกจากการบญั ญตั ิให้มีการจดั ต้งั คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานแลว้
เพ่ือเป็ นการส่งเสริมสนับสนุนและดาเนินการให้มีการจดั สวสั ดิการ โดยพระราชบญั ญตั ิ
คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ กาหนดไวใ้ นมาตรา ๙๖ ให้นายจา้ งของสถานประกอบ
กิจการท่ีมีลูกจ้างต้งั แต่ ๕๐ คนข้ึนไป ต้องจดั ให้มีคณะกรรมการสวสั ดิการ ในสถาน
ประกอบกิจการ ประกอบด้วยผู้แทนลูกจ้างอย่างน้อยห้าคน โดยท่ีคณะกรรมการ
สวสั ดิการในสถานประกอบกิจการให้มาจากการเลือกต้งั ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการท่ี
อธิบดีกาหนดและในกรณีท่ีสถานประกอบกิจการใด ของนายจา้ งมีคณะกรรมการลูกจา้ ง
ตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์แล้ว คณะกรรมการลูกจ้าง ทาหน้าที่เป็ น
คณะกรรมการสวสั ดิการในสถานประกอบกิจการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
เจตนารมณ์ของการจดั ต้งั คณะกรรมการสวสั ดิการในสถานประกอบกิจการเป็ น
การส่งเสริมระบบทวิภาคีเพื่อเปิ ดโอกาสให้ลูกจา้ งไดม้ ีการหารือกบั นายจา้ งในการจัด
สวสั ดิการอื่นๆ ซ่ึงนอกเหนือจากท่ีกฎหมายกาหนดไดอ้ ย่างเหมาะสมแก่สถานประกอบ
กิจการ และเป็ นสวสั ดิการที่ลูกจา้ งเองก็ตอ้ งการ มิใช่นายจา้ งจดั การแต่ฝ่ ายเดียวแต่ไม่เป็น
ท่ีสนใจของลูกจา้ ง การท่ีเปิ ดโอกาสให้ลูกจา้ งไดแ้ สดงความตอ้ งการ และไดร้ ับฟังความ
คิดเห็นขอ้ มูลจากนายจา้ งว่าสามารถจดั สวสั ดิการที่เสนอไดห้ รือไม่ เป็ นการส่งเสริมการ
แรงงานสัมพนั ธ์ และยตุ ิปัญหาขอ้ เรียกร้องขอ้ พิพาทแรงงานแตเ่ บ้ืองตน้
ท้งั น้ี คณะกรรมการฯ ดงั กลา่ ว กฎหมายไดก้ าหนดหนา้ ที่ไวต้ าม มาตรา ๙๗ ดงั น้ี
(๑) ร่วมหารือกบั นายจา้ งเพ่อื จดั สวสั ดิการแก่ลูกจา้ ง
(๒) ใหค้ าปรึกษาหารือและเสนอแนะความเห็นแก่นายจา้ งในการจดั สวสั ดิการสาหรับลกู จา้ ง
(๓) ตรวจตรา ควบคุม ดูแล การจดั สวสั ดิการท่ีนายจา้ งจดั ใหแ้ ก่ลูกจา้ ง
(๔) เสนอขอ้ คิดเห็น และแนวทางในการจัดสวสั ดิการที่เป็ นประโยชน์สาหรับลูกจ้างต่อ
คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงาน
ดงั น้นั คณะกรรมการสวสั ดิการในสถานประกอบกิจการ จึงเป็นเสมือนสื่อกลางท่ีจะถ่ายทอด
ความตอ้ งการ ดา้ นสวสั ดิการของลูกจา้ งให้นายจา้ งทราบ และร่วมปรึกษาหารือให้ขอ้ เสนอแนะ
ตลอดจนตรวจสอบ ดูแลการจดั สวสั ดิการภายในสถานประกอบกิจการ เพราะกฎหมาย (มาตรา 98) ยงั
ไดก้ าหนดไวว้ ่านายจา้ งตอ้ งจดั ใหม้ ีการประชุมหารือกบั คณะกรรมการสวสั ดิการในสถานประกอบ
กิจการอยา่ งนอ้ ยสามเดือนต่อหน่ึงคร้ัง หรือเม่ือกรรมการสวสั ดิการในสถานประกอบกิจการเกินก่ึง
หน่ึงของกรรมการท้งั หมดหรือสหภาพแรงงานร้องขอ โดยมีเหตุผลสมควร
การท่ีกฎหมายกาหนดไวเ้ ช่นวา่ น้นั เท่ากบั เป็ นการส่งเสริม สนบั สนุนและดาเนินการใหม้ ีการ
จดั สวสั ดิการแรงงานข้ึนในสถานประกอบกิจการ ซ่ึงหากสถานประกอบกิจการใดไม่ดาเนินการจะมี
บทลงโทษท้งั จาคุกและปรับ
ส่วนที่ ๔ นอกเหนือจากการบัญญัติให้มีคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน รวมท้ังการบัญญัติให้มี
คณะกรรมการสวสั ดิการในสถานประกอบกิจการ เพ่ือดาเนินกิจกรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การจดั สวสั ดิการแรงงาน ใน
สถานประกอบกิจการแลว้ พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ยงั มีบทบญั ญตั ิที่ให้ความสาคญั กบั คุณภาพ
ชีวิตของลูกจา้ งอนั เน่ืองมาจากการยา้ ยสถานประกอบกิจการ โดยกาหนดไวใ้ นมาตรา ๑๒๐ แห่ง พ.ร.บ.คุม้ ครอง
แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ แกไ้ ขเพม่ิ เติม โดย พ.ร.บ.คุม้ ครองแรงงาน (ฉบบั ที่ ๒) ๒๕๕๑
ในกรณีที่นายจา้ งยา้ ยสถานประกอบกิจการไปต้งั ณ สถานท่ีอื่นอนั มีผลกระทบ สาคญั ต่อการดารงชีวิตตามปกติของ
ลูกจา้ งหรือครอบครัว นายจา้ งตอ้ งแจง้ ให้ลูกจา้ งทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวนั ก่อนวนั ยา้ ยสถานประกอบ
กิจการในการน้ี ถา้ ลูกจา้ งไม่ประสงค์ไปทางานดว้ ยให้ลูกจา้ งมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจา้ งไดภ้ ายใน สามสิบวนั นับแต่
วนั ท่ีไดร้ ับแจง้ จากนายจา้ งหรือวนั ที่นายจา้ งยา้ ยสถานประกอบกิจการแลว้ แต่กรณี โดยลูกจา้ งมีสิทธิไดร้ ับค่าชดเชย
พิเศษไมน่ อ้ ยกวา่ อตั ราค่าชดเชยท่ีลกู จา้ งพงึ มีสิทธิไดร้ ับตามมาตรา ๑๑๘
ในกรณีที่นายจา้ งไม่แจง้ ใหล้ ูกจา้ งทราบการยา้ ยสถานประกอบกิจการล่วงหนา้ ตามวรรคหน่ึง ให้นายจา้ งจ่ายคา่ ชดเชย
พิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าเท่ากบั ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ยสามสิบวนั หรือเท่ากบั ค่าจา้ ง ของการทางานสามสิบวนั
สุดทา้ ยสาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย ให้นายจา้ งจ่าย ค่าชดเชยพิเศษหรือค่าชดเชย
พิเศษแทนการบอกกลา่ วลว่ งหนา้ ใหแ้ ก่ลูกจา้ งภายในเจ็ดวนั นบั แตว่ นั ที่ลูกจา้ ง บอกเลิกสญั ญา
ในกรณีที่นายจา้ งไม่จ่ายค่าชดเชยพเิ ศษหรือค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ ตามวรรคสามใหล้ ูกจา้ งมีสิทธิ
ย่ืนคาร้องต่อคณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานภายในสามสิบวนั นับแต่วนั ครบกาหนดการจ่ายค่าชดเชยพิเศษหรือ
ค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ ใหค้ ณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานพิจารณา และมีคาส่ังภายในหกสิบวนั
นับแต่วนั ที่ไดร้ ับคาร้อง เม่ือคณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานพิจารณาแลว้ ปรากฏว่าลูกจา้ งมีสิทธิไดร้ ับค่าชดเชย
พิเศษหรือค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ให้คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานมีคาส่ังเป็ นหนังสือให้
นายจา้ งจ่ายค่าชดเชยพิเศษหรือค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ แลว้ แตก่ รณี ให้แก่ลูกจา้ งภายในสามสิบวนั
นบั แต่วนั ที่ทราบ หรือถือวา่ ทราบคาสงั่
ในกรณีท่ีคณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานพิจารณาแลว้ ปรากฏว่าลูกจา้ งไม่มีสิทธิไดร้ ับค่าชดเชยพิเศษหรือ
ค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ แลว้ แต่กรณี ให้คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานมีคาส่ัง เป็ นหนงั สือและ
แจง้ ให้นายจา้ ง และลูกจา้ งทราบ คาสั่งคณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานให้เป็ นท่ีสุด เวน้ แต่นายจา้ งหรือลูกจา้ ง จะ
อทุ ธรณ์คาส่งั ตอ่ ศาลภายในสามสิบวนั นบั แตว่ นั ท่ีไดท้ ราบคาสั่ง ในกรณีท่ีนายจา้ งเป็ นฝ่ ายนาคดี ไปสู่ศาลนายจา้ งตอ้ ง
วางหลกั ประกนั ต่อศาลตามจานวนท่ีตอ้ งจ่ายตามคาสงั่ น้นั จึงจะฟ้องคดีได้
ในการพิจารณาดาเนินการตามคาร้องของลูกจา้ งตามมาตรา 120 เพ่ือใหก้ ารดาเนินการตามอานาจหนา้ ที่เป็ นไปอย่าง
เหมาะสม มีประสิทธิภาพ เป็นธรรมและภายในกาหนดระยะเวลาตามกฎหมาย คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานจึงได้
มีคาสงั่ แตง่ ต้งั คณะอนุกรรมการสอบขอ้ เทจ็ จริงและกลนั่ กรองงานข้ึน โดยมีอานาจหนา้ ที่ ดงั ต่อไปน้ี
๒. สวสั ดิการแรงงานนอกเหนือกฎหมาย สวสั ดิการนอกเหนือกฎหมายท่ี
กรมสวสั ดิการ และคุม้ ครองแรงงานนาเสนอเป็ นทางเลือกสาหรับสถานประกอบ
กิจการจดั เพ่มิ เติม แบ่งออกไดเ้ ป็นหมวดใหญๆ่ ดงั น้ี
๑. สวสั ดิการท่ีมุ่งพฒั นาลกู จา้ ง เช่น
- การส่งเสริมการศึกษาท้งั ในและนอกเวลาทางาน
- การจดั ต้งั โรงเรียนในโรงงาน
- การอบรมความรู้เกี่ยวกบั การทางานท้งั ในและนอกสถานที่ทางาน
- การจดั ใหม้ ีหอ้ งสมดุ หรือมมุ อา่ นหนงั สือ ฯลฯ เป็นตน้
๒. สวสั ดิการที่ช่วยเหลือในเร่ืองค่าครองชีพ
- การจดั ต้งั ร้านคา้ สวสั ดิการหรือสหกรณ์ร้านคา้
- การใหเ้ งินช่วยเหลือต่างๆ เช่น งานแต่งงาน งานอุปสมบท งานศพ
- การจดั ชุดทางาน
- การจดั หอพกั
- การจดั ใหม้ ีรถรับ-ส่ง ๕. สวสั ดิการท่ีส่งเสริมความมนั่ คงในอนาคต เช่น
- เงินโบนสั ค่าครองชีพ เบ้ียขยนั คา่ เขา้ กะ - เงินบาเหน็จ
๓. สวสั ดิการที่ช่วยเหลือการออมของลูกจา้ ง เช่น - เงินรางวลั ทางานนาน
- สหกรณ์ออมทรัพย์ - ใหล้ ูกจา้ งซ้ือหุน้ ของบริษทั
- กองทุนสารองเล้ียงชีพ - กองทนุ ฌาปนกิจ
๔. สวสั ดิการที่พฒั นาสถาบนั ครอบครัวของลูกจา้ ง เช่น - เงินกูเ้ พื่อสวสั ดิการท่ีพกั อาศยั
- การจดั สถานเล้ียงดูบตุ รของลกู จา้ ง ๖. สวสั ดิการนนั ทนาการ เช่น
- การช่วยค่ารักษาพยาบาลบุคคลในครอบครัว - การจดั ทศั นศึกษา
- การช่วยเหลือค่าเลา่ เรียนบุตรของลกู จา้ ง - การแขง่ ขนั กีฬา
- การประกนั ชีวติ ใหก้ บั ลูกจา้ ง - การจดั งานเล้ียงสงั สรรคพ์ นกั งาน
๗.สวสั ดิการดา้ นสุขภาพอนามยั
- การใหค้ วามรู้เรื่องสุขภาพอนามยั
- การตรวจสุขภาพประจาปี
- การจดั สวสั ดิการดา้ นสุขภาพแบบครบวงจร
การพกั งาน
การพกั งานมี ๒ กรณี คือ การพกั งานระหวา่ งสอบสวน กบั การลงโทษโดยการพกั งาน
การพกั งานในระหวา่ งสอบสวน
การพกั งานในระหวา่ งสอบสวนความผดิ ลูกจา้ งมีกาหนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน
พ.ศ.๒๕๔๑ ในมาตรา ๑๑๖ และ มาตรา ๑๑๗ โดยมีหลกั เกณฑด์ งั น้ี
- ลกู จา้ งน้นั ไดถ้ ูกกลา่ วหาวา่ กระทาความผดิ (วนิ ยั ในการทางานตามขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางาน)
- นายจา้ งประสงคท์ าการสอบสวนลูกจา้ งและประสงคพ์ กั งานลกู จา้ งน้นั
- มีขอ้ บงั คบั เกี่ยวกบั การทางานหรือขอ้ ตกลงเกี่ยวกบั สภาพการจา้ งระบวุ า่ นายจา้ งมีอานาจสั่งพกั งานลูกจา้ งได้
- นายจา้ งไดม้ ีคาส่งั พกั งานเป็นหนงั สือระบคุ วามผดิ และกาหนดระยะเวลาพกั งานซ่ึงตอ้ งไมเ่ กิน 7 วนั และ
- นายจา้ งไดแ้ จง้ ใหล้ กู จา้ งทราบก่อนการพกั งานน้นั แลว้
- นายจา้ งตอ้ งจ่ายค่าจา้ งใหแ้ ก่ลกู จา้ งในระหวา่ งพกั งานไม่นอ้ ยกวา่ 50% ของคา่ จา้ งปกติ
การลงโทษโดยการพกั งาน
การลงโทษลูกจา้ งดว้ ยการพกั งานน้นั ไม่ตอ้ งจ่ายค่าจา้ ง แต่ก็ตอ้ งมีหลกั เกณฑเ์ ช่นเดียวกนั กบั หลกั เกณฑก์ ารพกั งาน
ในระหวา่ งสอบสวน คือ ตอ้ งมีขอ้ บงั คบั กาหนดโทษพกั งานไวด้ ว้ ย , ตอ้ งกาหนดระยะเวลาการพกั งาน และ ตอ้ งแจง้ ให้
ลกู จา้ งทราบล่วงหนา้ ก่อนการลงโทษ
พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงานพ.ศ.๒๕๔๑ ในมาตรา ๑๑๖ และ มาตรา ๑๑๗ มีดงั น้ี
มาตรา ๑๑๖ ในกรณีที่นายจา้ งทาการสอบสวนลกู จา้ งซ่ึงถูกกล่าวหาวา่ กระทาความผิด ห้ามมิใหน้ ายจา้ งสั่งพกั งาน
ลูกจา้ งในระหว่างการสอบสวนดงั กล่าว เวน้ แต่จะมีขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางานหรือขอ้ ตกลงเกี่ยวกบั สภาพการจา้ งให้
อานาจนายจา้ งส่ังพกั งานลูกจา้ งได้ ท้งั น้ี นายจา้ งจะตอ้ งมีคาส่ังพกั งานเป็ นหนงั สือระบุความผิดและกาหนดระยะเวลา
พกั งานไดไ้ มเ่ กินเจ็ดวนั โดยตอ้ งแจง้ ใหล้ กู จา้ งทราบก่อนการพกั งาน
ในระหวา่ งการพกั งานตามวรรคหน่ึง ใหน้ ายจา้ งจ่ายเงินใหแ้ ก่ลกู จา้ งตามอตั ราท่ีกาหนดไวใ้ นขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การ
ทางานหรือตามท่ีนายจา้ งและลูกจา้ งไดต้ กลงกนั ไวใ้ นขอ้ ตกลงเกี่ยวกบั สภาพการจา้ ง ท้งั น้ี อตั ราดงั กล่าวตอ้ งไม่นอ้ ย
กวา่ ร้อยละหา้ สิบของค่าจา้ งในวนั ทางานที่ลูกจา้ งไดร้ ับก่อนถกู สง่ั พกั งาน
มาตรา ๑๑๗ เมื่อการสอบสวนเสร็จส้ินแลว้ ปรากฏว่าลูกจา้ งไม่มีความผิด ให้นายจา้ งจ่ายค่าจา้ งให้แก่ลูกจา้ งเท่ากบั
ค่าจา้ งในวนั ทางานนับแต่วนั ท่ีลูกจา้ งถูกสั่งพกั งานเป็ นตน้ ไป โดยให้คานวณเงินท่ีนายจา้ งจ่ายตามมาตรา ๑๑๖ เป็ น
ส่วนหน่ึงของคา่ จา้ งตามมาตราน้ีพร้อมดว้ ยดอกเบ้ียร้อยละสิบหา้ ตอ่ ปี
ค่าชดเชย และค่าชดเชยพิเศษ
๑. ลกู จา้ งมีสิทธิไดร้ ับคา่ ชดเชย หากนายจา้ งเลิกจา้ งโดยลูกจา้ งไมม่ ีความผิด ดงั น้ี
๑.๑ ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบ ๑๒๐ วนั แต่ไม่ครบ ๑ ปี มีสิทธิไดร้ ับค่าชดเชยเท่ากบั ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย
๓๐ วนั
๑.๒ ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบ ๑ ปี แต่ไม่ครบ ๓ ปี มีสิทธิไดร้ ับค่าชดเชยเท่ากบั ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย ๙๐
วนั
๑.๓ ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบ ๓ ปี แต่ไม่ครบ ๖ ปี มีสิทธิไดร้ ับค่าชดเชยเท่ากบั ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย ๑๘๐
วนั
๑.๔ ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบ ๖ ปี แต่ไม่ครบ ๑๐ ปี มีสิทธ์ิไดร้ ับค่าชดเชยเท่ากบั อตั ราค่าจา้ งสุดทา้ ย
๒๔๐ วนั
๑.๕ ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบ 10 ปี ข้ึนไป มีสิทธ์ิไดร้ ับคา่ ชดเชยเท่ากบั คา่ จา้ งอตั ราสุดทา้ ย ๓๐๐ วนั
๒. ในกรณีที่นายจา้ งจะเลิกจา้ งลูกจา้ งเพราะเหตุปรับปรุงหน่วยงาน กระบวนการผลิตการจาหน่าย หรือการบริการ
อนั เน่ืองมาจากการนาเคร่ืองจกั รมาใชห้ รือเปล่ียนแปลงเคร่ือง จกั รหรือเทคโนโลยี ซ่ึงเป็นเหตุให้ตอ้ งลดจานวน
ลกู จา้ งลง นายจา้ งตอ้ งปฏิบตั ิดงั น้ี
๒.๑ แจง้ วนั ที่จะเลิกจา้ ง เหตุผลของการเลิกจา้ ง และรายชื่อลกู จา้ งท่ีจะถูกเลิกจา้ ง ให้ลูกจา้ งและพนกั งานตรวจ
แรงงาน ทราบล่วงหนา้ ไม่ นอ้ ยกวา่ หกสิบวนั ก่อนวนั ที่จะเลิกจา้ ง
๒.๒ ถา้ ไมแ่ จง้ แก่ลูกจา้ งท่ีจะเลิกจา้ งทราบล่วงหนา้ หรือแจง้ ลว่ งหนา้ นอ้ ยกวา่ ระยะเวลาหกสิบวนั นายจา้ งตอ้ ง
จ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ แก่ลูกจา้ งเท่ากบั ค่า จา้ งอตั ราสุดทา้ ยหกสิบวนั หรือเท่ากบั ค่าจา้ ง
ของการทางานหกสิบวนั สุดทา้ ยสาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่า จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย
ค่าชดเชยแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ น้ี ใหถ้ ือว่านายจา้ งไดจ้ ่ายค่าสินจา้ งแทน การบอกกล่าวล่วงหนา้ ตาม
กฎหมายดว้ ยนายจา้ งตอ้ งจ่ายค่าชดเชยพิเศษเพมิ่ ข้ึนจากค่าชดเชยปกติดงั ต่อไปน้ี
๑. ลูกจา้ ง ทางานติดต่อกนั ครบหกปี ข้ึนไป นายจา้ งจะตอ้ งจ่ายคา่ ชดเชย พิเศษเพิ่มข้ึนจากค่าชดเชย
ปกติซ่ึงลูกจา้ งน้นั มีสิทธิไดร้ ับอยู่แลว้ ไม่น้อยกว่าค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ยสิบห้าวนั ต่อการทางานครบหน่ึงปี
หรือไม่นอ้ ยกว่าค่าจา้ งของการทางานสิบห้าวนั สุดทา้ ยต่อการทางาน ครบหน่ึงปี สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับ
คา่ จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย
๒. ค่าชดเชยพิเศษน้ีรวมแลว้ ตอ้ งไม่เกินค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ยสามร้อย หกสิบวนั หรือไม่เกินค่าจา้ ง
ของการทางานสามร้อยหกสิบวนั สุดทา้ ย สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย
แตร่ วมแลว้ ตอ้ งไม่เกินค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ยสามร้อยหกสิบวนั
๓. เพื่อประโยชน์ในการคานวณค่าชดเชยพิเศษ เศษของระยะเวลาทางานท่ีมากกว่าหน่ึงร้อยแปด
สิบวนั ใหน้ บั เป็นการทางานครบหน่ึงปี
๔. ในกรณีที่นายจา้ งยา้ ยสถานประกอบกิจการไปต้งั ณ สถานที่อื่นอนั มีผลกระทบ สาคญั ต่อการ
ดารงชีวติ ตามปกติของลกู จา้ งหรือครอบครัว
๕. นายจา้ งตอ้ งแจง้ ล่วงหนา้ ให้แก่ลูกจา้ งทราบล่วงหนา้ ไม่นอ้ ยกว่าสามสิบวนั ก่อน ยา้ ย ถา้ ลูกจา้ ง
ไม่ประสงคจ์ ะไปทางานดว้ ย ลูกจา้ งมีสิทธ์ิบอกเลิกสัญญาจา้ งไดโ้ ดยไดร้ ับค่าชดเชยพิเศษไม่น้อยกว่าร้อย ละหา้
สิบของอตั ราคา่ ชดเชยปกติที่ลกู จา้ งพึงมีสิทธ์ิไดร้ ับ
๖. ถ้านายจ้างไม่แจ้งให้ลูกจ้างทราบการยา้ ยสถานประกอบกิจการล่วงหน้า นายจ้างต้องจ่าย
ค่าชดเชยพเิ ศษ แทนการบอกกลา่ วล่วงหนา้ เท่ากบั คา่ จา้ งอตั ราสุดทา้ ยสามสิบวนั
ขอ้ ยกเวน้ ท่ีนายจา้ งไม่ตอ้ งจ่ายค่าชดเชย : ลกู จา้ งไมม่ ีสิทธิไดร้ ับค่าชดเชยในกรณีใดกรณีหน่ึง ดงั น้ี
๑. ลูกจา้ งลาออกเอง
๒. ทุจริตต่อหนา้ ที่หรือกระทาความผดิ อาญาโดยเจตนาแก่นายจา้ ง
๓. จงใจทาใหน้ ายจา้ งไดร้ ับความเสียหาย
๔. ประมาทเลินเลอ่ เป็นเหตใุ หน้ ายจา้ งไดร้ ับความเสียหายอยา่ งร้ายแรง
๕. ฝ่ าฝื นขอ้ บังคับเกี่ยวกับการทางาน หรือระเบียบ หรือคาสั่งของนายจ้างอันชอบด้วย
กฎหมายและเป็ นธรรม และนายจา้ งไดต้ กั เตือนเป็ นหนังสือแลว้ เวน้ แต่กรณีท่ีร้ายแรง นายจา้ งไม่
จาเป็นตอ้ งตกั เตือน ซ่ึงหนงั สือเตือนน้นั ใหม้ ีผลบงั คบั ไดไ้ ม่เกิน ๑ ปี นบั แตว่ นั ที่ลูกจา้ งไดก้ ระทาผิด
๖. ละทิ้งหนา้ ท่ีเป็ นเวลา ๓ วนั ทางานติดต่อกนั ไม่วา่ จะมีวนั หยดุ คนั่ หรือไม่ก็ตาม โดยไม่มี
เหตอุ นั สมควร
๗. ไดร้ ับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดใหจ้ าคุก
๘. กรณีการจา้ งท่ีมีกาหนดระยะเวลาการจา้ งไวแ้ น่นอน และนายจา้ งเลิกจา้ ง ตามกาหนด
ระยะเวลาน้นั ไดแ้ ก่งานดงั น้ี
๘.๑ การจา้ งงานในโครงการ เฉพาะท่ีมิใช่งานปกติของธุรกิจหรือ การคา้ ของนายจา้ งซ่ึง
ตอ้ งมีระยะเวลาเริ่มตน้ และส้ินสุดของงานที่แน่นอน
๘.๒ งานอนั มีลกั ษณะเป็นคร้ังคราว ที่มีกาหนดงานสิ้นสุดหรือความสาเร็จของงาน
๘.๓ งานท่ีเป็ นไปตามฤดูกาล และไดจ้ า้ งในช่วงเวลาของฤดูกาลน้นั ซ่ึงจะตอ้ งแลว้ เสร็จ
ภายในเวลาไม่เกิน ๒ ปี โดยนายจา้ งไดท้ าสญั ญาเป็นหนงั สือไวต้ ้งั แต่เม่ือเร่ิมจา้ ง
กองทนุ สงเคราะหล์ กู จา้ ง
พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ กาหนดใหม้ ีกองทนุ สงเคราะหล์ ูกจา้ งในกรมสวสั ดิการและ
คุม้ ครองแรงงาน เพ่ือสงเคราะห์ลูกจา้ ง กรณีออกจากงาน หรือตาย หรือในกรณีอ่ืนที่กาหนดโดยคณะกรรมการ
กองทุนสงเคราะห์ลกู จา้ ง
การบริหารกองทนุ
กองทุนสงเคราะห์ลูกจา้ งบริหารงานโดยคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ลูกจา้ ง ซ่ึงเป็นไตรภาคี จานวน
๑๕ คน ประกอบดว้ ยตวั แทนฝ่ ายนายจา้ ง ฝ่ ายลูกจา้ ง และฝ่ ายรัฐบาล ฝ่ ายละ ๕ คน โดยมี ปลดั กระทรวงแรงงาน
เป็ นประธานกรรมการ ผูแ้ ทนกระทรวงการคลงั ผูแ้ ทนสานกั งานคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ผแู้ ทนธนาคารแห่งประเทศไทยเป็ นกรรมการ อธิบดีกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน เป็นกรรมการ
และเลขานุการ คณะกรรมการกองทุนฯ มีอานาจหน้าที่กาหนดนโยบายในการบริหารและการจ่ายเงินกองทุน
สงเคราะห์ลูกจา้ ง รวมท้งั กาหนดระเบียบต่าง ๆ ในการดาเนินงาน โดยมีกลุ่มงานกองทุนสงเคราะห์ลูกจา้ งทา
หนา้ ที่ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการดาเนินงานต่าง ๆ เกี่ยวกบั การบริหารงานกองทนุ
การดาเนนิ งานของกองทุนสงเคราะห์ลกู จ้าง
ไดร้ ับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลในงบประมาณปี ๒๕๔๓ และ๒๕๔๕ รวม ๒๕๐ ลา้ นบาท เงินค่าปรับจาก
การลงโทษผกู้ ระทาความผิดตาม พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑เงินหรือทรัพยส์ ินท่ีมีผบู้ ริจาคให้
เงินดอกผลของกองทุน
กองทุนสงเคราะห์ลูกจา้ งมีหลกั เกณฑ์การจ่ายเงินสงเคราะห์ตามระเบียบที่กาหนด โดยคณะกรรมการ
กองทุนสงเคราะหล์ กู จา้ งซ่ึงเป็นไตรภาคี และเม่ือจ่ายเงินใหแ้ ก่ลกู จา้ งแลว้ กองทนุ มีสิทธ์ิเรียกใหน้ ายจา้ งชดใชเ้ งิน
ท่ีกองทุนไดจ้ ่ายไปพร้อมดอกเบ้ียในอตั ราร้อยละ ๑๕ ต่อปี โดยมีการจ่ายเงินสงเคราะห์ช่วยเหลือไปแลว้ ต้งั แต่
เดือนมกราคม ๒๕๔๓ ถึงพฤษภาคม ๒๕๕๐ จานวน ๒๓,๙๓๗ คน เป็นเงิน ๑๓๑,๕๗๐,๒๖๕.๑๕ บาท
เงินสงเคราะห์จ่ายให้ใคร
เงินสงเคราะห์ของกองทุนสงเคราะห์ลูกจา้ งจะจ่ายให้กบั ลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับความเดือดร้อน เน่ืองจากนายจา้ ง
ไม่จ่ายค่าชดเชย หรือนายจา้ งไม่สามารถจ่ายค่าจา้ ง หรือเงินอื่นตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
แต่ไม่รวมถึงทายาทโดยธรรมของลูกจา้ งซ่ึงถึงแก่ความตายท่ีไดย้ น่ื คาร้องทุกขไ์ ว้
เมื่อใดลกู จ้างมสี ิทธิย่ืนขอรับเงนิ สงเคราะห์
• เมื่อลูกจา้ งถูกเลิกจา้ งและนายจา้ งไม่จ่ายคา่ ชดเชย ลูกจา้ งยน่ื คาขอรับเงินสงเคราะห์ได้ เม่ือพนกั งานตรวจ
แรงงานไดม้ ีคาส่ังใหน้ ายจา้ งจ่ายค่าชดเชยและ นายจา้ ง มิไดจ้ ่ายเงินตามคาสัง่ ภายในกาหนด ซ่ึงนายจา้ งมิไดน้ าคดี
ไปสู่ศาล (พน้ ระยะ ๓๐ วนั นบั แต่วนั ทราบคาสง่ั )
• เมื่อนายจา้ งคา้ งจ่ายค่าจา้ งหรือเงินอ่ืนตามที่กาหนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
ลูกจา้ งย่ืนคาขอรับเงินสงเคราะห์ไดเ้ มื่อพนักงาน ตรวจแรงงาน ไดม้ ีคาส่ังให้นายจา้ งจ่ายเงินและนายจา้ งมิได้
จ่ายเงินตามคาสงั่ ภายในกาหนด
• การยื่นขอรับเงินกองทุนฯ ตอ้ งย่ืนคาขอภายในหน่ึงปี นับแต่วนั ที่พนักงานตรวจแรงงานไดม้ ีคาสั่งให้
นายจา้ งจ่ายเงิน
หลกั เกณฑ์การจ่ายเงินสงเคราะห์
กองทนุ สงเคราะหล์ กู จา้ งจะจ่ายเงินสงเคราะห์ ๒ กรณี
๑. เงินสงเคราะห์ในกรณีท่ีนายจา้ งไม่จ่ายค่าชดเชยให้ตามกฎหมาย โดยจะจ่ายเงินสงเคราะห์ให้
บางส่วน หรือไมเ่ ตม็ สิทธิตามที่กฎหมายกาหนด คือจ่ายให้ ลูกจา้ งผขู้ อรับเงินสงเคราะหใ์ นอตั ราดงั ต่อไปน้ี
๑.๑ สามสิบเท่าของอตั ราค่าจ้างข้นั ต่ารายวนั ที่ลูกจ้างพึงได้รับตามพระราชบัญญตั ิคุม้ ครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 สาหรับลกู จา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบ หน่ึงร้อยยส่ี ิบวนั แต่ไม่ครบหกปี
๑.๒ หกสิบเทา่ ของอตั ราคา่ จา้ งข้นั ต่ารายวนั ท่ีลูกจา้ งพงึ ไดร้ ับตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 สาหรับลกู จา้ งซ่ึงทางานติดตอ่ กนั ครบ หกปี ข้ึนไป
๒. เงินสงเคราะห์ในกรณีอ่ืนนอกจากค่าชดเชย เช่น ค่าจา้ งคา้ งจ่าย ฯลฯ จะใหก้ ารสงเคราะหเ์ ม่ือไดร้ ับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ ลูกจา้ ง สาหรับอตั ราเงินที่จะจ่ายให้แก่ลูกจา้ ง จะจ่ายในอตั รา
ไม่เกินหกสิบเท่าของอตั ราค่าจา้ งข้นั ต่ารายวนั ของลูกจา้ งท่ีพึงไดร้ ับตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครอง แรงงาน พ.ศ.
2541
หลกั ฐานทีต่ ้องใช้ในการย่ืนขอรับเงนิ สงเคราะห์
บตั รประจาตวั ประชาชน หรือหลกั ฐานอื่นท่ีทางราชการออกใหซ้ ่ึงแสดงไดว้ า่ ระบุถึงตวั ผนู้ ้นั พร้อม
สาเนา
สถานที่ย่ืนขอรับเงินสงเคราะห์
ย่ืนคาขอรับเงินสงเคราะห์ตามแบบที่อธิบดีกาหนด (แบบ สกล.1) ต่อพนกั งานตรวจแรงงานแห่ง
ทอ้ งที่ที่มีคาส่งั ใหน้ ายจา้ งจ่ายเงิน
• ส่วนกลาง ยน่ื ไดท้ ่ีกลมุ่ งานสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงานพ้นื ท่ี ทุกพ้นื ที่
• ส่วนภมู ิภาค ยนื ไดท้ ี่สานกั งานสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงานจงั หวดั ทกุ จงั หวดั
การรับเงินสงเคราะห์
ลูกจ้างมารับเงินด้วยตนเองภายใน ๖๐ วนั นับแต่วนั ท่ีได้รับหนังสือแจ้งผลการพิจารณาคาขอรับเงิน
สงเคราะห์พร้อมนาบตั รประจาตวั ประชาชนไปแสดงดว้ ย หากไม่สามารถมารับเงินดว้ ยตนเองได้ สามารถทา
หนังสือมอบอานาจให้บุคคลอ่ืนมารับเงินแทนได้ ผูร้ ับมอบอานาจต้องนาบตั รประจาตวั ประชาชนของผูม้ อบ
อานาจ และตนไปแสดงต่อพนักงานเจา้ หน้าท่ีเพ่ือขอรับเงิน หากไม่มารับเงินภายใน ๖๐ วนั นับแต่วนั ที่ไดร้ ับ
หนงั สือ หรือลูกจา้ งถึงแก่ความตาย สิทธิในการขอรับเงิน สงเคราะหเ์ ป็นอนั ระงบั ส้ินไป หากลกู จา้ งผถู้ ูกระงบั สิทธ์ิ
ไปแลว้ มีความประสงคจ์ ะรับเงินกองทุนฯ อีกตอ้ งยน่ื เร่ืองขอรับเงินสงเคราะห์ใหม่
พนกั งานตรวจแรงงาน
“พนักงานตรวจแรงงาน” หมายความว่า ผู้ซ่ึงรัฐมนตรี แต่งต้ังให้ปฏิบัติการตาม
พระราชบญั ญตั ิ คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม
“สถานประกอบกิจการ” หมายความว่า หน่วยงานแต่ละแห่งของนายจา้ งที่มีลูกจา้ งทางาน
อยใู่ นหน่วยงานและหมายความรวมถึงสานกั งานของนายจา้ งและสถานท่ีทางานของลูกจา้ ง
“การตรวจสถานประกอบกิจการ” หมายความว่า การท่ีพนักงานตรวจแรงงานเขา้ ไปใน
สถานประกอบกิจการ เพ่อื ตรวจสภาพการทางานของลูกจา้ งและสภาพการจา้ ง สอบถามขอ้ เท็จจริง
ถ่ายภาพ ถ่ายสาเนาเอกสารท่ีเกี่ยวกบั การจา้ ง การจ่ายค่าจา้ ง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยดุ ค่า
ลว่ งเวลาในวนั หยดุ และทะเบียนลูกจา้ ง เกบ็ ตวั อยา่ ง วสั ดุหรือผลิตภณั ฑเ์ พื่อวเิ คราะห์เก่ียวกบั ความ
ปลอดภยั ในการทางาน และกระทาการอยา่ งอื่นเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ เทจ็ จริงในอนั ที่จะปฏิบตั ิการใหเ้ ป็นไป
ตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
กรณีพนกั งานตรวจแรงงานดาเนินการตรวจแรงงานตามขา้ งตน้ แลว้ ปรากฏขอ้ เท็จจริงว่ามีการฝ่ าฝื นหรือไม่
ปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ในกรณีดงั ต่อไปน้ี ใหด้ าเนินคดีทางพนกั งานสอบสวนโดยเร็ว
โดยไมต่ อ้ งมีคาสั่งใหน้ ายจา้ งปฏิบตั ิ
๑. ความผดิ ที่มีพฤติการณ์พเิ ศษ หรือเกิดผลกระทบกบั ลกู จา้ งจานวนมาก
๒. ความผิดเก่ียวกบั การใชแ้ รงงานเด็กโดยมีการทารุณ หน่วงเหน่ียว กกั ขงั การบงั คบั ใชแ้ รงงานตาม
กฎหมายวา่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษยห์ รือมีการกระทาความผดิ อาญาฐานอื่นรวมอยดู่ ว้ ย
๓. ความผิดตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๔๔ มาตรา ๔๙ และ มาตรา ๕๐ แห่งพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๔๑
๔. ความผดิ ตามมาตรา ๑๓๙ (๒) แห่งพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
๕.ความผิดตามมาตรา ๑๕๐ หรือมาตรา ๑๕๑ วรรคหน่ึง แห1งพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ.
๒๕๔๑ เฉพาะความผิดท่ีกระทาต่อพนกั งานตรวจแรงงาน
๖.ความผดิ ตามมาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๓๙/๑ วรรคหน่ึง มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๗ หรือ
มาตรา ๔๘ แห่งพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงเป็นสาเหตุโดยตรงท่ีทาใหล้ กู จา้ งไดร้ ับอนั ตรายสาหัส
หรือถึงแก่ความตาย
การดาเนินคดี ให้เป็ นไปตามระเบียบกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงานว่าดว้ ยการดาเนินคดีอาญาและการ
เปรียบเทียบผูก้ ระทาความผิดตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการคุม้ ครองแรงงานและความปลอดภยั ในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔
และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เติม
วัตถปุ ระสงค์ของการตรวจแรงงาน
๑. เพื่อคุม้ ครองให้ลูกจา้ งไดร้ ับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายว่าดว้ ยการคุม้ ครองแรงงาน โดยให้
นายจา้ งปฏิบตั ิตามกฎหมายอยา่ งถูกตอ้ ง สม่าเสมอ และดว้ ยความสมคั รใจ
๒. เพอ่ื ส่งเสริมใหน้ ายจา้ งปรับปรุงสภาพการจา้ ง สภาพการทางาน และสวสั ดิการท่ีดีข้ึน
๓. เพ่ือใหค้ าแนะนาและใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั กฎหมาย แนวปฏิบตั ิและขา่ วสารที่เกี่ยวขอ้ ง
เพ่อื เขา้ ใจวตั ถุประสงคแ์ ละเห็นประโยชน์ท่ีท้งั นายจา้ ง ลกู จา้ ง จะไดร้ ับจากการปฏิบตั ิตามกฎหมาย
๔. ศึกษารวบรวมขอ้ มลู เกี่ยวกบั สภาพการทางาน สภาพการจา้ ง ปัญหาอุปสรรคตา่ งๆ ในการปฏิบตั ิ
ตามกฎหมายและมาตรฐานแรงงานต่างๆ เพ่ือประกอบการวิเคราะห์หาแนวทาง แกไ้ ขปรับปรุงกฎหมายวา่
ดว้ ยการคุม้ ครองแรงงาน และพฒั นาการคุม้ ครองแรงงานใหเ้ หมาะสมยง่ิ ข้ึน
๕. ส่งเสริมความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนายจา้ ง ลูกจา้ ง ใหเ้ กิดความร่วมมือร่วมใจในการ ทางาน ลดความ
ขดั แยง้ และมีความมน่ั คงในการทางานยงิ่ ข้ึน
บทกาหนดโทษตามพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑
มาตรา ๑๔๔๑ นายจา้ งผูใ้ ดฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามบทบญั ญตั ิดงั ต่อไปน้ี ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกินหก
เดือน หรือปรับไม่เกินหน่ึงแสนบาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ
ሺ๑ሻ๒ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๗/๑ มาตรา ๒๓ วรรคสอง มาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ มาตรา ๒๖ มาตรา ๓๗
มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๓๙/๑ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ มาตรา
๕๑ มาตรา ๕๗/๑ มาตรา ๖๑ มาตรา ๖๒ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๗ มาตรา ๗๐ มาตรา ๗๑ มาตรา ๗๒
มาตรา ๗๖ มาตรา ๙๐ วรรคหน่ึง มาตรา ๑๑๘ วรรคหน่ึง หรือมาตรา ๑๑๘/๑ วรรคสอง
ሺ๒ሻ๓มาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๒๐/๑ มาตรา ๑๒๑ หรือมาตรา ๑๒๒ ในส่วนที่เก่ียวกบั การไม่จ่ายค่าชดเชย
พิเศษแทนการบอกกล่าวลว่ งหนา้ หรือค่าชดเชยพิเศษ
(๓) กฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๒๒ ในส่วนที่เกี่ยวกบั การคุม้ ครองแรงงานในกรณีต่าง ๆ ที่ไม่เก่ียวกบั
การจา้ งเด็กอายุต่ากว่าท่ีกาหนดในกฎกระทรวงเป็นลูกจา้ งหรือการรับเด็กซ่ึงมีอายตุ ่ากว่าที่กาหนดในกฎกระทรวง
เขา้ ทางาน หรือการห้ามมิให้นายจา้ งให้ลูกจ้างซ่ึงเป็ นเด็กอายุต่ากว่าสิบแปดปี ทางานตามประเภทของงานและ
สถานท่ีที่กาหนดในกฎกระทรวง หรือกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๙๕
ในกรณีท่ีนายจา้ งฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๓๙/๑ มาตรา ๔๒
มาตรา ๔๗ หรือมาตรา ๔๘ เป็ นเหตุใหล้ ูกจา้ งไดร้ ับอนั ตรายแก่กายหรือจิตใจ หรือถึงแก่ความตาย ตอ้ งระวางโทษ
จาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับไมเ่ กินสองแสนบาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ
มาตรา ๑๔๔/๑๔ ผูป้ ระกอบกิจการผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๑/๑ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกินหน่ึงแสน
บาท
มาตรา ๑๔๕๕ นายจา้ งผใู้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๒๓ วรรคหน่ึงหรือวรรคสาม ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน
หา้ พนั บาท
มาตรา ๑๔๖๖ นายจา้ งผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๕ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ วรรค
หน่ึง มาตรา ๔๕ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๕๖ มาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙ มาตรา ๖๕ มาตรา ๖๖
มาตรา ๗๓ มาตรา ๗๔ มาตรา ๗๕ วรรคหน่ึง มาตรา ๗๗ มาตรา ๙๙ มาตรา ๑๐๘ มาตรา ๑๑๑ มาตรา ๑๑๒ มาตรา
๑๑๓ มาตรา ๑๑๔ มาตรา ๑๑๕ มาตรา ๑๑๗ หรือไม่บอกกล่าวล่วงหนา้ ตามมาตรา ๑๒๑ วรรคหน่ึง หรือมาตรา
๑๓๙ (๒) หรือ (๓) ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๑๔๗ ผใู้ ดฝ่าฝืนมาตรา ๑๖ ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินสองหม่ืนบาท
มาตรา ๑๔๘๗ นายจา้ งผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา ๓๑ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท
หรือท้งั จาท้งั ปรับ
มาตรา ๑๔๘๑๘ นายจา้ งผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา ๔๔ หรือกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๒๒ ในส่วนท่ีเก่ียวกบั
การจา้ งเดก็ อายตุ ่ากวา่ ที่กาหนดในกฎกระทรวงเป็ นลูกจา้ งหรือการรับเด็กซ่ึงมีอายตุ ่ากว่าท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
เขา้ ทางาน ตอ้ งระวางโทษปรับต้งั แตส่ ่ีแสนบาทถึงแปดแสนบาทตอ่ ลูกจา้ งหน่ึงคน หรือจาคุกไม่เกินสองปี หรือท้งั
ปรับท้งั จา
มาตรา ๑๔๘๒๙ นายจา้ งผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา ๔๙ หรือมาตรา ๕๐ หรือกฎกระทรวงที่ออก
ตามมาตรา ๒๒ ในส่วนที่เก่ียวกบั การห้ามมิให้นายจา้ งให้ลูกจา้ งซ่ึงเป็ นเด็กอายตุ ่ากว่าสิบแปดปี
ทางานตามประเภทของงานและสถานท่ีท่ีกาหนด ตอ้ งระวางโทษปรับต้งั แต่ส่ีแสนบาทถึงแปด
แสนบาทต่อลกู จา้ งหน่ึงคน หรือจาคุกไม่เกินสองปี หรือท้งั ปรับท้งั จา
ถา้ การกระทาความผิดตามวรรคหน่ึง เป็นเหตุให้ลูกจา้ งไดร้ ับอนั ตรายแก่กายหรือจิตใจ
หรือถึงแก่ความตาย ตอ้ งระวางโทษปรับต้งั แต่แปดแสนบาทถึงสองลา้ นบาทต่อลูกจา้ งหน่ึงคน
หรือจาคุกไม่เกินสี่ปี หรือท้งั ปรับท้งั จา
มาตรา ๑๔๙ นายจา้ งผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๕๒ มาตรา ๕๕ มาตรา ๗๕ วรรคสอง
มาตรา ๙๐ วรรคสอง มาตรา ๑๑๐ หรือมาตรา ๑๑๖ ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินหน่ึงหมื่นบาท
มาตรา ๑๕๐๑๐ ผูใ้ ดไม่อานวยความสะดวก ไม่มาให้ถอ้ ยคา ไม่ส่งเอกสารหรือวตั ถุใด ๆ ตามหนังสือ
เรียกของคณะกรรมการค่าจา้ ง คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงาน คณะอนุกรรมการของคณะกรรมการดงั กล่าว
หรือผูซ้ ่ึงคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการเช่นวา่ น้นั มอบหมาย แลว้ แต่กรณี หรือไม่อานวยความสะดวกแก่
พนกั งานตรวจแรงงาน หรือแพทย์ นกั สังคมสงเคราะห์ หรือผเู้ ช่ียวชาญตามมาตรา ๑๔๒ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่
เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไมเ่ กินสองพนั บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ
มาตรา ๑๕๐๑๑ ผใู้ ดขดั ขวางการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของคณะกรรมการคา่ จา้ ง คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงาน
คณะอนุกรรมการของคณะกรรมการดงั กล่าว หรือผซู้ ่ึงคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการเช่นวา่ น้นั มอบหมาย
แลว้ แต่กรณี หรือขดั ขวางการปฏิบตั ิหน้าท่ีของพนักงานตรวจแรงงาน หรือแพทย์ นักสังคมสงเคราะห์ หรือ
ผเู้ ชี่ยวชาญตามมาตรา ๑๔๒ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับไม่เกินสองหม่ืนบาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ
ผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามคาสั่งของพนักงานตรวจแรงงานท่ีส่ังตามมาตรา ๑๒๔ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกิน
หน่ึงปี หรือปรับไมเ่ กินสองหม่ืนบาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ๑๒
มาตรา ๑๕๒ นายจา้ งผใู้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๙๖ ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินหา้ หมื่นบาท
มาตรา ๑๕๓ นายจา้ งผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๙๘ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไม่
เกินสองพนั บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ
มาตรา ๑๕๔๑๓ (ยกเลิก)
มาตรา ๑๕๕๑๔ (ยกเลิก)
มาตรา ๑๕๕/๑๑๕ นายจา้ งผใู้ ดไม่ยนื่ หรือไม่แจง้ แบบแสดงสภาพการจา้ งและสภาพการทางานตาม
มาตรา ๑๑๕/๑ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๑๕๖ นายจา้ งผูใ้ ดไม่ยื่นแบบรายการหรือไม่แจง้ เป็ นหนังสือขอเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไข
เพ่ิมเติมรายการภายในกาหนดเวลาตามมาตรา ๑๓๐ หรื อย่ืนแบบรายการ หรื อแจ้งเป็ นหนังสือขอ
เปล่ียนแปลง หรือแกไ้ ขเพ่ิมเติมรายการตามมาตรา ๑๓๐ โดยกรอกขอ้ ความอนั เป็ นเทจ็ ตอ้ งระวางโทษจาคุก
ไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหน่ึงหมื่นบาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ
มาตรา ๑๕๗ พนักงานเจ้าหน้าท่ีผูใ้ ดเปิ ดเผยข้อเท็จจริงใดเกี่ยวกับกิจการของนายจ้างอันเป็ น
ขอ้ เท็จจริงตามที่ปกติวิสัยของนายจา้ งจะพึงสงวนไวไ้ ม่เปิ ดเผยซ่ึงตนไดม้ าหรือล่วงรู้เนื่องจากการปฏิบตั ิการ
ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไม่เกินสองพนั บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ
เวน้ แต่เป็ นการเปิ ดเผยในการปฏิบตั ิราชการเพื่อประโยชน์แห่งพระราชบญั ญตั ิน้ี หรือเพ่ือประโยชน์แก่การ
คุม้ ครองแรงงาน การแรงงานสมั พนั ธ์ หรือการสอบสวน หรือการพจิ ารณาคดี
มาตรา ๑๕๘ ในกรณีท่ีผกู้ ระทาความผดิ เป็นนิติบุคคล ถา้ การกระทาความผดิ ของนิติบุคคลน้นั เกิดจาก
การสงั่ การ หรือการกระทาของบคุ คลใด หรือไม่ส่งั การ หรือไม่กระทาการอนั เป็นหนา้ ที่ที่ตอ้ งกระทาของ
กรรมการผจู้ ดั การ หรือบุคคลใด ซ่ึงรับผิดชอบในการดาเนินงานของนิติบคุ คลน้นั ผนู้ ้นั ตอ้ งรับโทษตามที่
บญั ญตั ิไวส้ าหรับความผิดน้นั ๆ ดว้ ย
มาตรา ๑๕๙ บรรดาความผิดตามพระราชบญั ญตั ิน้ี เวน้ แต่ความผิดตามมาตรา ๑๕๗ ถา้ เจา้ พนกั งาน
ดงั ตอ่ ไปน้ี เห็นวา่ ผกู้ ระทาผดิ ไม่ควรไดร้ ับโทษจาคุกหรือไมค่ วรถูกฟ้องร้อง ใหม้ ีอานาจเปรียบเทียบดงั น้ี
(๑) อธิบดีหรือผซู้ ่ึงอธิบดีมอบหมาย สาหรับความผดิ ท่ีเกิดข้ึนในกรุงเทพมหานคร
(๒) ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั หรือผซู้ ่ึงผวู้ า่ ราชการจงั หวดั มอบหมาย สาหรับความผิดที่เกิดข้ึนในจงั หวดั อื่น
ในกรณีท่ีมีการสอบสวน ถา้ พนกั งานสอบสวนพบวา่ บคุ คลใดกระทาความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
และบคุ คลน้นั ยนิ ยอมใหเ้ ปรียบเทียบ ใหพ้ นกั งานสอบสวนส่งเรื่องใหอ้ ธิบดี หรือผวู้ า่ ราชการจงั หวดั แลว้ แต่
กรณี ภายในเจด็ วนั นบั แตว่ นั ท่ีบคุ คลน้นั แสดงความยนิ ยอมใหเ้ ปรียบเทียบ
เม่ือผกู้ ระทาผิดไดช้ าระเงินคา่ ปรับตามจานวนที่เปรียบเทียบภายในสามสิบวนั แลว้ ใหถ้ ือวา่ คดีเลิกกนั
ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญา
ถา้ ผกู้ ระทาผิดไมย่ นิ ยอมใหเ้ ปรียบเทียบ หรือเม่ือยนิ ยอมแลว้ ไมช่ าระเงินคา่ ปรับภายในกาหนดเวลา
ตามวรรคสาม ใหด้ าเนินคดีตอ่ ไป
นกั ศึกษาคิดว่า พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ.2541 มีความสาคญั ต่อ
ตนเองอยา่ งไร
มีความสาคัญ เม่ือเรามีการประกอบกิจการ หรือ ทางานจะช่วย
ให้ความสัมพนั ธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างน้ันเป็ นไปโดยดี และ ได้รับ
ประโยชน์ท่ีเหมาะสม
นายเกยี รตศิ ักด์ิ ทองสุก กล่มุ 1 เลขที่ 1
มีความสาคัญอย่างมากเนื่องลูกจ้างอาจจะถูกเอา
เปรียบได้จงึ ต้องมพี ระราชบญั ญัติให้คุ้มครอง
นาย ณัฐพงศ์ แสงงาม กล่มุ 1 เลขท7่ี
มคี วามสาคญั เพราะ หากไม่มพี ระราชบัญญัตคิ ุ้มครอง
ลกู จ้างอาจจะโดนโกงหรือเอาเปรียบได้
นาย ณัฐพนั ธ์ แสงงาม กล่มุ 1 เลขที่8
ค่อนข้างมีความสาคญอย่างมากต่อการทางานไม่ว่าเราจะเป็ น
เจ้าหรือเป็ นลูกจ้างเพราะสามารถให้ความเป็ นธรรมได้ท้ังนายจ้างและ
ลูกจ้างป้องกันการถูกเอาเปรียบจากฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งได้ เนื่องจากมีบท
กาหนดทุกอย่างชัดเจนเม่ือเกิดข้อพพิ าทขึน้ การสามาถจัดการได้อย่าง
ยุตธิ รรมทีส่ ุด
นางสาวรัตนาภรณ์ ชะโหมตะคุ กลุมท่ี 1 เลขที่ 12
พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานมีสาคัญเมื่อเราทางานจะช่ วยให้ เรามี
ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดีปราศจากอุบัติเหตุและโรค
เนื่องจากการทางาน
นายณฐั พล ใจดี กล่มุ 2 เลขท่ี 4
มีความสาคัญอย่ างมากเมื่อเราเข้ าไปทางานใน สถาน
ประกอบการหรือเปิ ดกจิ การบ้างอย่างที่ต้องการแรงงาน
นายสนองคุณ ภูมิถาวร กล่มุ ท่ี 2 เลขที่ 11