The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้แบบฝึกหัดพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BET-OBEC | สทศ.สพฐ., 2022-06-02 02:59:01

คู่มือการใช้แบบฝึกหัดพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA

คู่มือการใช้แบบฝึกหัดพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA

สถานการณ์ : โทรศพั ท์

ชุดคำ�ถามท่ี 1 :

กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ ใชห้ ลักการและกระบวนการทางคณิตศาสตรแ์ ก้ปัญหา

เจตนาของชุดคำ�ถาม อ่านและเชอ่ื มโยงข้อมลู และนำ�มาใชใ้ นการแกป้ ญั หา

แนวคดิ การหาคำ�ตอบ หาพนื้ ทว่ี ่างของหน่วยความจำ�ในตวั เคร่อื ง และ SD Card เพ่ือเปรยี บเทยี บกับพนื้ ท่ี
ที่ตอ้ งการในการเก็บ File ภาพยนตร์

คำ�ตอบ 1.1 7.55 GB
1.2 8 GB
1.3 พน้ื ทใ่ี นการเก็บ File ภาพยนตร์ ต้องมากกวา่ 7.05 GB
พน้ื ทหี่ นว่ ยความจำ�ในตวั เครื่องเหลือ 7.55 GB ซง่ึ มากกวา่ พื้นทีท่ ี่ตอ้ งการพนื้ ท่ี
หนว่ ยความจำ�ของ SD Card เหลือ 3.65 GB ดงั นั้น ควรเก็บลงในหน่วยความจำ�
ของเคร่ือง ซึ่งมีพื้นที่เหลือเพียงพอ
1.4 ตวั อย่างการนำ�เสนอข้อมลู
หลงั จากลงไฟล์ภาพยนตร ์
ในตวั เคร่อื ง

สถานการณ์ : วงล้อรางวัล

ชดุ คำ�ถามท่ี 1 :

กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ตีความและประเมนิ ผลลัพธท์ างคณติ ศาสตร์

เจตนาของชุดคำ�ถาม ใชแ้ นวคิดของความน่าจะเป็นและสัดสว่ นพืน้ ทใ่ี นการตคี วามและประเมนิ ข้อความ

แนวคิดการหาคำ�ตอบ พจิ ารณาข้อความเชือ่ มโยงกบั เง่ือนไขงานเล่น
1.1 หมุนแบบทหี่ นึ่ง 1 ครั้ง จะได้เลน่ 2 รอบ แตล่ ะรอบมโี อกาสได้เงนิ รางวลั
น้อยที่สุด 10 บาท ดงั นัน้ ในการเล่น 1 คร้ัง มีโอกาสได้เงินอย่างนอ้ ยทสี่ ดุ 20 แน่นอน
1.2 หมนุ แบบท่ีสอง 1 ครงั้ จะได้เล่น 2 รอบ แตล่ ะรอบมีโอกาสไดก้ ำ�ไรและขาดทุน
เท่า ๆ กนั

คมู่ ือการใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ 45

1.3 ในการเล่น 1 ครัง้ และหมุนทง้ั แบบทหี่ นึ่งและแบบทส่ี อง โอกาสท่ีจะได้กำ�ไร
จากการหมุนแบบที่หน่ึงเทา่ กับ และสอง โอกาสทจ่ี ะได้กำ�ไรจากการหมุนแบบทห่ี น่ึง
เทา่ กบั ดังนั้น ในการเลน่ 1 คร้ัง โอกาสขาดทนุ มากกวา่ ไดก้ ำ�ไร

คำ�ตอบ ใช่ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่

ชดุ คำ�ถามที่ 2 :

กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ตคี วามและประเมินผลลพั ธ์ทางคณติ ศาสตร์

เจตนาของชดุ คำ�ถาม ใช้แนวคดิ ของความน่าจะเป็นและสดั สว่ นพ้ืนที่ในการตีความและประเมินขอ้ ความ

แนวคดิ การหาคำ�ตอบ การได้รางวลั หมายถึง การท่ลี ูกศรหยุดบริเวณทีม่ ีตัวเลขรางวัลปรากฏอยู่ ดังน้ัน
- แบบท่ี 1 มโี อกาสไดร้ บั รางวัลแน่นอน
- แบบท่ี 2 วงกลมแบบออกเป็น 8 ส่วนเท่ากนั มี 2 สว่ นทไ่ี ม่ปรากฏตวั เลขรางวัล
และ 6 ส่วนมตี วั เลขรางวัล ดงั นน้ั มีโอกาสได้รับรางวัลรอ้ ยละ 75

คำ�ตอบ ไม่เห็นด้วย เพราะ การหมนุ แบบที่ 1 มโี อกาสได้รบั รางวลั แนน่ อน ส่วนการ
แบบที่ 2 มีโอกาสไดร้ ับรางวลั รอ้ ยละ 75 ซง่ึ น้อยกวา่ การหมนุ แบบท่ี 1

ชุดคำ�ถามท่ี 3 :

กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ ตีความและประเมินผลลัพธ์ทางคณติ ศาสตร์

เจตนาของชุดคำ�ถาม ใชแ้ นวคดิ ของความน่าจะเป็นและสัดส่วนพ้นื ที่ในการตีความและประเมินข้อความ

แนวคดิ การหาคำ�ตอบ หาความนา่ จะเป็นทจี่ ะได้เงินรางวลั จากการเล่น 1 คร้ัง เป็นเงิน 120 บาท
ของการหมุนทง้ั 3 แบบที่กำ�หนด จากตวั เลขรางวัลท่จี ะทำ�ให้การเล่นรอบท่ี 1
และรอบที่ 2 รวมกันได้ 120 คอื 80 และ 40

คำ�ตอบ ไมเ่ ห็นดว้ ย เน่อื งจากวธิ ีที่ 2 ไมม่ ีโอกาสไดเ้ งินรางวลั จากการหมนุ 2 รอบ เพราะไม่มี
ตัวเลขรางวัลใดรวมกนั ได้ 120 บาท
สว่ นวธิ ที ี่ 1 และ 3 มีโอกาสไดร้ บั รางวัลรวมเปน็ 120 บาท เมอ่ื การหมนุ รอบที่ 1
ลกู ศรหยดุ ท่ี 80 หรือ 40 และการหมุนรอบท่ี 2 ลกู ศรหยุดที่ 40 หรอื 80

46 คู่มือการใช้แบบฝึกพฒั นาทกั ษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ

แนวการตอบ : การรู้เรือ่ งวทิ ยาศาสตร์

สถานการณ์ : อาหารขยะ

ชุดคำ�ถามที่ 1 :

แนวทางการหาคำ�ตอบ คำ�ตอบของนักเรียนต้องบอกเพศ อายุ และเปรียบเทยี บกบั ตาราง แล้วจงึ เลอื ก
ตวั อย่างคำ�ตอบ อาหารท่เี หมาะสมกับนักเรยี น โดยนกั เรยี นสามารถเลือกรายการอาหารไดม้ ากกว่า
1 รายการ

นกั เรยี นเปน็ ผ้หู ญิงและมอี ายุ 15 ปี รบั ประทานอาหาร C จำ�นวน 1 หน่วยบริโภค
เปน็ หลกั และรับประทานอาหารเพอ่ื เพ่มิ เตมิ สารอาหารประเภทอื่นเพ่มิ เตมิ

ชุดคำ�ถามท่ี 2 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ใชค้ วามรูด้ า้ นการออกแบบการทดลอง ดา้ นการก�ำหนดตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม
ตวั อยา่ งคำ� ตอบ และตัวแปรควบคมุ ในการพิจารณาวา่ ตวั แปรทก่ี ำ� หนดเก่ยี วข้องกบั การทดลอง
เพื่อหาคำ� ตอบของสมมติฐานที่กำ� หนดหรอื ไม่

2.1 ขอ้ มูลทกุ ตวั ที่ก�ำหนดใหเ้ กย่ี วข้องกับการทดลอง
2.2 - ตวั แปรตน้ ได้แก่ น�้ำหนักของนักเรียนชายแต่ละคน
- ตวั แปรตาม ได้แก่ ปรมิ าณอาหารทีต่ อ้ งการในแตล่ ะมื้อ และระยะเวลา
ท่ีตอ้ งการอาหารในแต่ละมื้อ
- ตัวแปรควบคมุ ไดแ้ ก่ อายุของนักเรยี นชาย ประเภทของอาหารทีใ่ ห้
รบั ประทาน ความสูงของนกั เรยี นชายแตล่ ะคน และกจิ กรรมปฏิบตั ใิ นแตล่ ะวนั
2.3 ตัวอย่างสมมตฐิ าน
- นักเรียนชายอายุ 15 ปีท่ีมีนำ้� หนกั แตกต่างกนั ต้องการปริมาณอาหารในแตล่ ะมื้อ
แตกตา่ งกนั
- นักเรยี นชายอายุ 15 ปที ่ีมนี ำ�้ หนกั แตกต่างกนั มรี ะยะเวลาที่ต้องการอาหาร
ในแต่ละมอ้ื แตกต่างกัน

ชุดคำ�ถามท่ี 3 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ใช้ความรู้เกีย่ วกับการได้มาของความรู้ในการลงข้อสรปุ ทางวทิ ยาศาสตรจ์ ากข้อมลู
ตวั อย่างค�ำตอบ ผลการสังเกตทีก่ ำ� หนด และน�ำความร้ทู ี่เกย่ี วข้องมาใชใ้ นการอธบิ ายประกอบการตอบ

3.1 นำ้� หนกั และส่วนสงู โดยเด็กผชู้ ายอายุ 10 - 12 ปที ี่มีน้ำ� หนักและสว่ นสงู มากกวา่
มีความตอ้ งการพลังงานในแต่ละวันมากกวา่
3.2 (1) กจิ กรรมประจำ� วัน เดก็ ผู้ชายและหญิงอายุ 10 - 12 ปี เปน็ ช่วงวัยรนุ่ กิจกรรม
ของเดก็ ชายสว่ นใหญใ่ ช้พลงั งานมากกว่า (2) สภาพร่างกายคนทอี่ ้วนและคนผอม
มีความต้องการพลังงานท่ีแตกตา่ งกนั ในแต่ละวัน

คู่มือการใชแ้ บบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ 47

สถานการณ์ : สารอาหารจากแมลง

ชดุ คำ�ถามท่ี 1 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใชแ้ นวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์เกีย่ วกับสารอาหารทใี่ หพ้ ลังงาน ไดแ้ ก่ โปรตีน
ตวั อยา่ งค�ำตอบ คารโ์ บไฮเดรต และไขมัน เชือ่ มโยงกบั ขอ้ มลู ในตาราง ซ่ึงแสดงเฉพาะสารอาหาร
ประเภทโปรตีนและพลงั งานทั้งหมด แล้วอธบิ ายให้เห็นว่าพลังงานส่วนทเี่ หลอื
อาจมาจากพลังงานจากสารอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรตและไขมัน

สารอาหารท่ใี ห้พลังงานประกอบดว้ ย โปรตีน ไขมัน และคารโ์ บไฮเดรต ซงึ่ ในตาราง
ปรากฏขอ้ มูลโปรตนี เพียงอย่างเดยี ว ดังน้นั พลงั งานจากแมลงตบั เต่าอาจมาจาก
ไขมนั และคาร์โบไฮเดรตมากกวา่ จากโปรตีน

ชดุ คำ�ถามที่ 2 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใชค้ วามรู้เกยี่ วกับการตง้ั ค�ำถามหรอื สมมติฐานในการพิจารณาว่าคำ� ถามท่กี �ำหนดให้
ตัวอยา่ งค�ำตอบ สามารถตรวจสอบได้ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือไม่

2.1 ใช่ เพราะสามารถตรวจสอบได้ดว้ ยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยตรวจสอบ
ปรมิ าณของโปรตีนในห้องปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร ์
2.2 ไม่ใช่ เพราะสามารถสืบค้นแลว้ ตอบคำ� ถามไดท้ นั ทีจากความรูเ้ ดิมโดยไม่ตอ้ งใช้
วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์

ชุดคำ�ถามที่ 3 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ใชค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั การทดสอบสารอาหารมาใชใ้ นการตอบคำ� ถาม
ตวั อย่างค�ำตอบ

ชนิดของสารอาหาร วธิ ีการสำ� รวจตรวจสอบ
1. โปรตีน ทดสอบโดยใชไ้ บยเู รต
2. ไขมัน ทดสอบด้วยกระดาษขม้นิ
3. คารโ์ บไฮเดรต ทดสอบด้วยสารละลายเบเนดิกซ์ หรือทดสอบด้วยการ
เปลี่ยนสีของสารละลายไอโอดนี

ชุดคำ�ถามท่ี 4 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ คนท่คี วบคมุ นำ�้ หนักต้องรบั ประทานอาหารท่ีใหพ้ ลังงานจากไขมันนอ้ ยกวา่
ตัวอยา่ งคำ� ตอบ สารอาหารอ่นื ๆ ดังนั้น คำ� ตอบตอ้ งไดจ้ ากการเปรยี บเทียบข้อมูลดา้ นพลังงาน
ของแมลงแตล่ ะชนิด และเลอื กตอบแมลงที่ใหพ้ ลังงานประเภทไขมนั น้อยทส่ี ุด

แมลงกินนู เพราะ แมลงกนิ ูนมโี ปรตนี สงู ปริมาณไขมันต�่ำกวา่ แมลงอื่น ๆ และ
มคี าร์โบไฮเดรตในปรมิ าณน้อย

48 คมู่ ือการใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ

สถานการณ์ : วกิ ฤตขิ ยะในทะเลไทย

ชดุ คำ�ถามที่ 1 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ใชค้ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตรเ์ ก่ียวกับสมบัตขิ องถงุ พลาสติกทีย่ ่อยสลายยาก และ
ตวั อยา่ งค�ำตอบ เกิดการสะสม

ถุงพลาสตกิ ใชเ้ วลาหลายปใี นการยอ่ ยสลาย เมื่อมีการทิง้ ลงสแู่ มน่ ้�ำหรือบนบก
การยอ่ ยสลายโดยธรรมชาตติ อ้ งใช้เวลานาน จงึ เกดิ การสะสมท�ำใหพ้ บในปรมิ าณ
มากกว่าขยะอน่ื ๆ

ชุดคำ�ถามที่ 2 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใชค้ วามรูท้ างวิทยาศาสตรก์ ายภาพเกี่ยวกับวตั ถมุ าใชใ้ นการกำ� หนดเกณฑ์ในการ
จ�ำแนก พรอ้ มทง้ั จำ� แนกขยะตามเกณฑ์ทก่ี �ำหนด

ตวั อยา่ งคำ� ตอบ ค�ำตอบตามแนวคดิ ของนกั เรียน เช่น
- จ�ำแนกตามความหนาแน่นของวัตถทุ ี่ท�ำใหล้ อย/จม ได้ 2 ประเภท คอื ลอยน�้ำ
ได้แก่ ถุงพลาสตกิ หลอด/ทค่ี นเครื่องดื่ม ฝา/จุก เชือก บุหร่/ี ก้นกรองบหุ ร่ี ถ้วยโฟม/
กลอ่ งโฟม ขวดเคร่ืองด่ืมพลาสตกิ และจมน้�ำ ได้แก่ ขวดเครอ่ื งดมื่ แก้ว ถา่ นไฟฉาย
หลอดไฟ ถ้วย จาน ช้อน สอ้ ม มดี
- หรือคำ� ตอบอน่ื ๆ ท่นี ักเรียนใชค้ วามรเู้ ก่ยี วกับวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ในการอธบิ าย

ชดุ คำ�ถามท่ี 3 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใชค้ วามรู้เกยี่ วกบั การไดม้ าซ่ึงความรูว้ ทิ ยาศาสตร์ในการกำ� หนดกลมุ่ ตวั อยา่ ง การวิเคราะห์
แปลความหมาย และลงขอ้ สรุปจากขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการทดลอง เพือ่ ประเมินการทดลอง
และลงข้อสรปุ จากผลการทดลอง

ตวั อยา่ งคำ� ตอบ 3.1 ไมเ่ หมาะสม เนอื่ งจากพ้ืนที่ในการเก็บขอ้ มูลเป็นบริเวณเดยี วกัน อาจไมส่ ามารถ
ใชเ้ พือ่ อนมุ านปรมิ าณขยะในพืน้ ที่ท้ังหมดไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
3.2 (1) จ�ำนวน 4 ช้ิน ต่อ ตารางเมตร (2) โดยประมาณ 160 ชิ้น

ชดุ คำ�ถามที่ 4 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใชค้ วามสามารถในการตคี วาม แปลความ และลงขอ้ สรปุ จากข้อมูลหรอื หลักฐาน
ตวั อยา่ งคำ� ตอบ ทางวิทยาศาสตร์

- ปี 2557 และปี 2558 ในทะเลไทยพบขยะพลาสติกมากกวา่ ขยะประเภทอน่ื
- ปี 2558 พบขยะพลาสตกิ ในทะเลไทยมากกว่าปี 2557 ร้อยละ 5.83
- อ่ืน ๆ ทีเ่ ปน็ ข้อสรปุ ของนักเรยี นท่เี ปน็ ข้อสรปุ จากภาพทีก่ ำ� หนดให้ และถูกตอ้ ง

คมู่ ือการใช้แบบฝึกพัฒนาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมนิ ของ 49

สถานการณ์ : แผน่ ดนิ ไหว

ชุดคำ�ถามท่ี 1 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ พิจารณาข้อมูลจากกราฟมีแผน่ ดนิ ไหวทง้ั หมด 6 ครั้ง อาจอธิบายหรือจดั ล�ำดบั
ตัวอย่างค�ำตอบ ความรุนแรงของแผ่นดนิ ไหวที่เกดิ ขึ้น

มีแผน่ ดินไหวเกดิ ขึ้นทัง้ สนิ้ 6 ครั้ง โดยมีความรนุ แรงตง้ั แต่ 3.5 - 6.1 แมกนิจดู
ซงึ่ เปน็ ระดบั ที่มนษุ ย์รสู้ ึกได้

ชดุ คำ�ถามที่ 2 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ นกั เรียนน�ำความรเู้ รอ่ื งระดบั ความรนุ แรงของแผน่ ดินไหวมาอธบิ ายให้สอดคลอ้ งกบั
เหตแุ ผ่นดินไหวทง้ั 6 ครงั้

ตวั อย่างคำ� ตอบ - ครงั้ ที่ 1 และ 2 เรยี กว่า ฟอร์ชอ็ ค
- ครัง้ ท่ี 3 เรยี กว่า เมนช็อค
- คร้งั ที่ 4 5 และ 6 เรยี กวา่ อาฟเตอร์ชอ็ ค

ชุดคำ�ถามที่ 3 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใช้แนวคดิ วิทยาศาสตร์เก่ยี วกบั โลกและการเปลย่ี นแปลงท่ีท�ำให้เกดิ แผน่ ดินไหว และ
ตัวอย่างค�ำตอบ ความสมั พันธ์ของการรับรูถ้ ึงแรงสั่นสะเทือนของพ้ืนท่ที ่มี ีระยะหา่ งจากจุดศูนย์กลาง
ของการเกิดผ่านดนิ ไหวต่างกนั

สถานี ก จะตรวจวัดได้ก่อน และมคี วามรนุ แรงมากกวา่ สถานี ข เพราะอยู่ใกล้
จุดศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวมากกวา่ สถานี ข ทำ� ใหพ้ ลงั งานที่สง่ มาตามตัวกลาง
มคี วามรุนแรงมากกวา่

สถานการณ์ : กนิ ไขเ่ พ่มิ คอเลสเตอรอลจริงหรอื

ชดุ คำ�ถามที่ 1 :

แนวทางการหาค�ำตอบ นำ� ความรเู้ ร่อื งการได้รับคอเลสเตอรอลในปรมิ าณมากเกนิ ความตอ้ งการของร่างกาย

ตัวอย่างค�ำตอบ คอเลสเตอรอลจะอดุ ตนั ในเส้นเลือดซงึ่ อาจเปน็ หลอดเลือดเล้ียงหัวใจ สง่ ผลให้

กล้ามเน้อื หวั ใจขาดเลือด ท�ำให้มคี วามเส่ยี งต่อภาวะหัวใจล้มเหลว นอกจากนหี้ ากอดุ ตนั
ทอ่ี วัยวะอืน่ ก็จะทำ� ให้อวัยวะน้นั ขาดเลอื ดจนทำ� งานผิดปกตหิ รอื ไม่สามารถทำ� งานได้

ชุดคำ�ถามท่ี 2 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใชค้ วามรู้วิทยาศาสตรเ์ กี่ยวกับการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์ เกี่ยวกับกระบวนการทดลองเพื่อประเมนิ และปรบั ปรงุ กระบวนการ
ทดลองใหม้ ีความถกู ตอ้ งและน่าเช่อื ถือ

50 คมู่ ือการใช้แบบฝกึ พัฒนาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ

ตัวอยา่ งคำ� ตอบ สามารถเพ่ิมเตมิ ข้อมูลการควบคมุ ตัวแปรต่าง ๆ เช่น ระยะเวลา กิจกรรม
ในชวี ิตประจ�ำวนั สว่ นประกอบของอาหารกลางวนั ปกติ เพอื่ ความสมบูรณ ์
ในการออกแบบการทดลอง

ชุดคำ�ถามท่ี 3 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใช้ความรูว้ ทิ ยาศาสตร์เกี่ยวกบั การออกแบบกระบวนการสบื เสาะหาความรู้
ตัวอยา่ งค�ำตอบ ทางวทิ ยาศาสตร์ เก่ียวกบั กระบวนการทดลอง กำ� หนดตวั แปรตน้ และตัวแปรตามทีศ่ ึกษา

3.1 ประเภทของอาหารท่รี ับประทาน ไดแ้ ก่ อาหารปกติ/อาหารปกติ + ไข่
และรับประทานไขเ่ สริมสปั ดาห์ละ 1 - 2 ฟอง
3.2 ปรมิ าณคอเลสเตอรอล ชนดิ LDL-C และ HDL-C ในเลอื ด
3.3 การรบั ประทานไขส่ ัปดาห์ละ 1 - 2 ฟองเพ่มิ จากอาหารปกติ เป็นเวลา
12 สปั ดาห์ ส่งผลใหป้ ริมาณคอเลสเตอรอล LDL-C มีแนวโนม้ ลดลง
3.4 ปริมาณ HDL-C มแี นวโน้มคงที/่ เพิ่มขน้ึ เลก็ นอ้ ย หลังจากรบั ประทานไข่
สัปดาหล์ ะ 1 - 2 ฟองเพ่ิมจากอาหารปกติ เปน็ เวลา 12 สัปดาห์
3.5 หลงั จากรบั ประทานไข่สัปดาห์ละ 1 - 2 ฟองเพ่มิ จากอาหารปกติ เป็นเวลา
12 สัปดาห์ ปริมาณ LDL-C มีแนวโน้มลดลง และ HDL-C สงู ขน้ึ

สถานการณ์ : เห็ดระโงก

ชุดคำ�ถามท่ี 1 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใชเ้ น้อื หาความร้วู ทิ ยาศาสตร์เกยี่ วกบั ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตในระบบนเิ วศ
เพื่ออธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่างเห็ดระโงกกบั ไม้วงศ์ยาง

ตวั อย่างค�ำตอบ 1.1 พง่ึ พากนั
1.2 ไมใ่ ช่ ไม่ใช่ ใช่ ใช่

ชดุ คำ�ถามท่ี 2 :

แนวทางการหาค�ำตอบ การตง้ั สมมติฐานเพอื่ การทดลอง

ตวั อยา่ งค�ำตอบ 2.1 ตน้ กลา้ ของไม้วงศ์ยางท่ีปลกู พรอ้ มเห็ดระโงกกบั ตน้ กล้าของไมว้ งศ์ยางทีไ่ ม่ม ี
เหด็ ระโงกมีการเจรญิ เตบิ โตต่างกัน
2.2
ตวั แปรตน้ : การปลกู ตน้ กลา้ ไมว้ งศ์ยางพร้อมเห็ดระโงกและไม่มเี หด็ ระโงก
ตวั แปรตาม : การเจรญิ เตบิ โตของไมว้ งศ์ยาง
ตวั แปรควบคุม : ปจั จัยทีส่ ่งผลตอ่ การเจริญเตบิ โตของไม้วงศย์ าง เชน่ อณุ หภมู ิ
ความช้ืน อาหาร

คมู่ อื การใช้แบบฝกึ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ 51

2.3 การทดลองของ A
2.4 การทดลองของ A เพราะ การเพาะเห็ดระโงกของการะเกดได้ผลผลติ ดกี วา่
เพราะการน�ำดอกแก่มาขยแ้ี ละผสมกบั น้�ำเปลา่ แล้วน�ำไปรดบรเิ วณโคนตน้ ยาง
ส่งผลให้พืน้ ผิวดนิ มีความชุม่ ชื้นกว่า จึงเป็นปจั จยั ส่งผลต่อการเจรญิ เติบโตของ
เหด็ ระโงกได้ดีกวา่

ชุดคำ�ถามท่ี 3 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ความรวู้ ิทยาศาสตร์ ความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบนเิ วศ ขอ้ มูลจากตาราง
จะพบปัจจยั ท่ีเหมาะสมกบั การเจริญเติบโตของเห็ดระโงกกบั ไม้วงศย์ าง และหากจะ
ต้องปลกู ในฤดรู ้อนและฤดหู นาวจะมวี ิธีการใดบา้ งทจ่ี ะควบคุมอุณหภมู ิ ความชืน้
การโดนแสง เป็นต้น ซง่ึ ทัง้ สองฤดูนี้มวี ธิ ที ่แี ตกตา่ งกัน

ตวั อยา่ งค�ำตอบ เหตุผลประกอบ
เนอ่ื งจากฤดรู อ้ นอณุ หภมู ขิ องอากาศสูง
ฤดู วธิ กี ารจดั สภาพแวดลอ้ ม แดดรอ้ นจดั พ้นื ผวิ ดินจงึ แห้ง
เพ่ิมความช้ืนในดนิ ความช้ืนของอากาศ และลดอุณหภมู ขิ องอากาศ เน่ืองจากฤดูหนาวอุณหภมู จิ ะเย็น
อากาศแหง้
ฤดรู ้อน ให้สภาพแวดล้อมเหมาะสมตอ่ การเกดิ เหด็ ระโงกโดยรดนำ้� อยา่ งสมำ�่ เสมอ
ท�ำรม่ เงาใตโ้ คนตน้ ไมว้ งศย์ างติดเครอ่ื งพ่นฝอยนำ้� บรเิ วณรอบ ๆ โคนตน้
รักษาความชืน้ และอณุ หภมู ผิ วิ ดนิ ให้สภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิด

ฤดหู นาว เห็ดระโงกโดยรดนำ�้ อยา่ งสมำ่� เสมอ น�ำวัสดมุ าคลุมดนิ เช่น ฟางหรอื
หญา้ แห้ง

สถานการณ์ : “ฝุ่นมลพษิ พีเอ็ม 2.5”

ชดุ คำ�ถามที่ 1 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ผลกระทบของพีเอ็ม 2.5 ต่อสง่ิ มีชวี ติ
ตวั อย่างค�ำตอบ
1.1 มนษุ ย์/สัตว์ : ฝุน่ ละอองขนาดเล็กทีส่ ามารถเขา้ สรู่ า่ งกายผา่ นระบบ
ทางเดินหายใจ ซง่ึ เม่ือลงไปสถู่ ุงลมปอดจะสามารถซึมผา่ นเขา้ สกู่ ระแสเลอื ดไปสะสม
ตามบริเวณตา่ ง ๆ ของร่างกายได้ ทำ� ใหเ้ กิดโรคตา่ ง ๆ ตามอวยั วะทีส่ ะสม
พืช : ปิดกนั้ การหายใจของพืช
1.2 ปริมาณพเี อ็ม 2.5 เข้าสู่รา่ งกายไดม้ ากขึ้น จนท�ำให้เกดิ ปัญหากับอวัยวะต่าง ๆ
ที่สะสมเมอื่ มปี รมิ าณมากเกนิ ไป
1.3 หน้ากากอนามัยตามทอ้ งตลาดหลายเคร่อื งหมายการค้า ไม่สามารถกรอง
พเี อ็ม 2.5 ไดเ้ นือ่ งจากขนาดของรูบนหน้ากากใหญเ่ กินไป แตส่ ามารถลดโอกาส
ในการเข้าสู่ร่างกายของพีเอ็ม 2.5 ไดม้ ากกว่าการหายใจเขา้ โดยตรง
1.4 คำ� ตอบทแี่ สดงถงึ การใช้ความรูเ้ ชงิ วทิ ยาศาสตร์เก่ยี วกบั การป้องกันพีเอ็ม 2.5
เขา้ สรู่ ่างกาย

52 คมู่ อื การใชแ้ บบฝึกพัฒนาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ

ชุดคำ�ถามที่ 2 :

แนวทางการหาค�ำตอบ นำ� ความร้เู กย่ี วกับการป้องกนั ตัวเองจากมลพษิ ทางอากาศมาประยุกตใ์ นค�ำตอบ
ตวั อย่างค�ำตอบ ให้เหมาะสม

2.1 จังหวดั สระบรุ ี
2.2 จังหวดั สระบุรี มีสภาพอากาศแห้งแล้ง และมีการระเบดิ หินเพื่อผลิตปูนซเี มนต์
ดังนนั้ ค�ำตอบของนักเรยี นควรเป็นวธิ กี ารลดพเี อ็ม 2.5 ตามบริบทของจังหวัดสระบุรี
(คำ� ตอบตามแนวคดิ ของนกั เรยี น) เชน่
- ใชร้ ะบบสปริงเกิล หรอื ปลกู ตน้ ไม้เพิม่ เติม เพือ่ ลดปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
- รณรงคใ์ ห้ชมุ ชนลดการเผาไหม้เพือ่ ลดปริมาณการสร้างพเี อ็ม 2.5 ภายในชมุ ชน
- ก�ำหนดชว่ งเวลาในการการระเบดิ หินเปน็ ตอนเช้าท่ีมคี วามชืน้ สงู เพื่อลดการฟุ้งของ
พเี อม็ 2.5

สถานการณ์ : ดาวเคราะห์

ชุดคำ�ถามที่ 1 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใชว้ ธิ ีการแปลความหมายของขอ้ มลู จากกราฟ

ตัวอย่างคำ� ตอบ 1.1 เส้นสนี �ำ้ เงนิ ที่แสดงความรอ้ นของวัตถุ A เมื่อเวลาผ่านไปทุก ๆ 10 นาที
อณุ หภมู ิกจ็ ะเพิม่ ขึ้น
1.2 อยู่ใกลแ้ หลง่ ความรอ้ น

ชุดคำ�ถามท่ี 2 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ อ่านและแปลความ ตคี วามจากกราฟ
ตวั อยา่ งคำ� ตอบ
2.1 จากกราฟเส้นทแี่ สดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งเวลากับอุณหภูมวิ ัตถุ B กบั C ไม่ตา่ งกนั
ซง่ึ B อยูห่ า่ งจากหลอดไฟ 100 เซนติเมตร ส่วน C อยู่ห่างจากหลอดไฟ 150 เซนตเิ มตร
2.2 (1) ระยะห่างระหวา่ งแหล่งกำ� เนิดความร้อนของทง้ั 3 วตั ถตุ อ้ งไม่เทา่ กนั
(2) วตั ถตุ อ้ งไม่อยใู่ นระนาบเดียวกนั

สถานการณ์ : เต่าทะเล

ชดุ คำ�ถามที่ 1 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ พิจารณาจากบทความมกี ารกล่าวถงึ อุณหภมู ิทีส่ มั พันธต์ ่อการเกดิ เพศ
ตวั อย่างค�ำตอบ
อณุ หภมู ิตำ่� กวา่ 27.7 ํC เป็นเต่าจะฟกั ออกมาเปน็ ตวั ผู้ อณุ หภมู ิมากกวา่
31 องศาเปน็ เพศเมีย
อุณหภูมริ ะหว่าง 28 - 31 ํC ทง้ั 2 เพศสัดสว่ นใกล้เคียงกนั

คู่มอื การใชแ้ บบฝึกพฒั นาทักษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 53

ชดุ คำ�ถามที่ 2 :

แนวทางการหาค�ำตอบ พิจารณาจากข้อความขา้ งตน้ น�ำค�ำตอบให้สัมพันธก์ บั ค�ำถาม

ตวั อย่างคำ� ตอบ เพื่อลดอุณหภูมิชายหาด อตั ราการฟกั ออกเป็นเต่าตวั ผจู้ ะมีมากขนึ้

ชุดคำ�ถามท่ี 3 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใช้ความร้เู ก่ยี วกบั ความสมั พันธ์ระหวา่ งอณุ หภูมิกับการฟกั ออกเปน็ เพศผู้และเมยี ของเตา่
ตัวอย่างคำ� ตอบ
3.1 อณุ หภูมิประมาณ 31 - 33 ํC หรอื มากกว่า 31 ํC
3.2 อาจสูญพนั ธ์ุเพราะไม่มเี พศผู้

สถานการณ์ : การนอนเพือ่ สขุ ภาพ

ชดุ คำ�ถามท่ี 1 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ใช้ความรู้เกยี่ วกบั การนอนหลบั พักผอ่ นทเ่ี พยี งพออธิบายเช่อื มโยงกบั ประสิทธภิ าพ
การทำ� งานของสมอง

ตวั อยา่ งคำ� ตอบ สมองมีหน้าทีค่ วบคมุ สั่งการระบบการท�ำงานและอวัยวะต่าง ๆ ขณะทนี่ อนหลบั
สมองจะไดห้ ยดุ และพักการท�ำงาน การนอนหลับอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพจะส่งผลให้
สมองหยดุ การทำ� งาน เมื่อตน่ื ขึน้ ดว้ ยความสดชนื่ จะท�ำให้สมองท�ำงานดว้ ยความ
กระตอื รือร้น

ชดุ คำ�ถามท่ี 2 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใช้ความร้วู ทิ ยาศาสตรด์ า้ นการออกแบบการทดลองในการกำ� หนดตัวแปรตน้
ตวั อย่างคำ� ตอบ ตวั แปรตาม และตัวแปรควบคุม เพอ่ื ทำ� การศึกษาทดลองด้วยวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์

2.1

ตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม ตัวแปรความคุม
จำ� นวนชั่วโมง น�ำ้ หนักตัว เพศ
การนอนหลบั การรบั ประทานอาหารชนดิ อาหาร
การออกกำ� ลงั กายอน่ื ๆ ทม่ี ผี ลต่อ
การนอนหลบั

2.2 เพศ จำ� เป็น เพราะเปน็ ตวั แปรควบคมุ เพศต่างกนั อาจมผี ลตอ่ การนอนหลบั
นำ�้ หนกั ตัว จำ� เปน็ เพราะเป็นตวั แปรตามท่ตี อ้ งการศึกษา
จ�ำนวนม้ืออาหาร จ�ำเป็น เพราะเป็นตวั แปรควบคุม
จำ� นวนชวั่ โมงการนอนหลบั จำ� เปน็ เพราะเปน็ ตวั แปรตน้
จ�ำนวนสมาชิกในห้องเรียน ไมจ่ �ำเปน็ เพราะไม่มคี วามเก่ยี วขอ้ งกบั การนอน

54 คมู่ ือการใชแ้ บบฝกึ พัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ

สถานการณ์ : อนั ตรายน�้ำมันทอดซำ�้

ชดุ คำ�ถามท่ี 1 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ใชค้ วามรู้เชิงวทิ ยาศาสตรเ์ กีย่ วกับนำ�้ มันทใ่ี ช้ในการปรงุ อาหาร ซึง่ เมือ่ ไดร้ ับความร้อน
ตัวอยา่ งคำ� ตอบ จะทำ� ให้เกดิ การเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางกายภาพและเส่ือมสภาพเกิดเปน็
สารโพลาร์ ซ่งึ เป็นสาเหตขุ องการเกดิ โรคตา่ ง ๆ

- การกนิ อาหารทปี่ รงุ ด้วยน้ำ� มนั ทอดซ้�ำเปน็ การกนิ น�้ำมนั เสอ่ื มสภาพทม่ี สี ารโพลาร ์
เข้าสรู่ ่างกายจึงเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ
- เปน็ การกินสารโพลารท์ เ่ี ป็นสาเหตุของการเกิดโรค
- คำ� ตอบอ่ืน ๆ ท่ีสอดคล้องกบั แนวทางการหาคำ� ตอบ

ชดุ คำ�ถามที่ 2 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ใชค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั การได้มาซึง่ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างคำ� ตอบ
การใชน้ ้ำ� มันทอดอาหารเกิน 1 คร้ัง เป็นปัจจัยท่ที ำ� ใหเ้ กิดสารโพลาร์ ซ่ึงจากการทดลอง
จะเหน็ ว่าพบสารโพลาร์ในนำ้� มันทใี่ ชเ้ กิน 1 คร้ัง ถึงรอ้ ยละ 25 โดยน�ำ้ หนัก

ชุดคำ�ถามที่ 3 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ใช้ความรู้เกย่ี วกบั การสรุปความร้ทู างวทิ ยาศาสตรท์ ี่ตอ้ งไดม้ าจากการทดลองหรือ

มีหลักฐานในการยืนยันข้อสรุป

ตวั อยา่ งคำ� ตอบ ไม่สามารถสรปุ ได้ เพราะอาจเปน็ กลิ่นทม่ี าจากส่วนผสมอยา่ งอน่ื ของปาทอ่ งโก๋

สถานการณ์ : ไฮโดรพอนกิ ส์ (Hydroponics)

ชดุ คำ�ถามท่ี 1 :

แนวทางการหาค�ำตอบ ใช้ความรู้เนื้อหาวทิ ยาศาสตร์เกีย่ วกบั การลำ� เลียงอาหารและแร่ธาตุของพืช
ตัวอย่างคำ� ตอบ
สารไนเตรตทีพ่ บในพชื สามารถเขา้ สพู่ ืชผ่านกระบวนการดูดน�้ำและแร่ธาตุของราก
แล้วสะสมในส่วนต่าง ๆ ของพชื

ชุดคำ�ถามท่ี 2 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ พิจารณาจากขอ้ ความแสดงให้เหน็ ถงึ ความสัมพันธค์ วามเข้มแสงกบั การปรมิ าณปยุ๋
ตัวอยา่ งค�ำตอบ ไนโตรเจนที่เหมาะสมในช่วงฤดรู อ้ นและฤดหู นาว

ในฤดูหนาวซ่งึ เปน็ สภาพทค่ี วามเขม้ แสงนอ้ ยควรใส่ปุ๋ยไนเตรตนอ้ ยกวา่ ฤดรู อ้ น
เพื่อลดการสะสมของไนเตรต

คมู่ อื การใช้แบบฝกึ พัฒนาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ 55

ชดุ คำ�ถามท่ี 3 :

แนวทางการหาค�ำตอบ พจิ ารณาจากข้อความในชุดค�ำถามที่ 2 ท่ีแสดงให้เหน็ ถึงความสมั พนั ธ์ระหว่าง
ความเขม้ แสงกบั ปรมิ าณปุ๋ยไนโตรเจนทีเ่ หมาะสม ในชว่ งฤดูร้อนและฤดหู นาว
แต่ในชดุ ค�ำถามที่ 3 อยู่ในสถานทีเ่ ดียวกันคืออยูใ่ นสภาพปิดภายในโรงเรือน
จึงไดร้ บั แสงในปริมาณท่ีเทา่ กนั จึงสง่ ผลถงึ ปรมิ าณทตี่ อ้ งใส่ปุย๋ ไนเตรต

ตวั อย่างคำ� ตอบ ไม่แตกต่างกนั เนอื่ งจากในโรงเรยี นมหี ลอดไฟเปน็ แหล่งกำ� เนิดแสง ซง่ึ ไมม่ ีความ
แตกต่างกันในฤดูร้อนและฤดูหนาว ดงั นนั้ จงึ ใสป่ ยุ๋ ไนเตรตได้ในปรมิ าณทเี่ ทา่ กัน
ทง้ั สองฤดู

สถานการณ์ : สารกนั บดู ในเสน้ ก๋วยเตยี๋ ว

ชุดคำ�ถามที่ 1 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ความรวู้ ิทยาศาสตรเ์ กีย่ วกบั การถนอมอาหาร/วิธีการท�ำงานของกรดเบนโซอกิ ที่อย่ใู น
ตัวอย่างค�ำตอบ สารกนั บูด

กรดเบนโซอกิ ถนอมอาหารด้วยการยับยง้ั จลุ นิ ทรีย์ในสารอาหาร

ชุดคำ�ถามที่ 2 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ความร้เู ก่ยี วกบั การลงข้อสรปุ ความร้วู ทิ ยาศาสตรจ์ ากข้อมลู ทางวทิ ยาศาสตร์
ตัวอยา่ งคำ� ตอบ
2.1 พบสารกันบูดในเส้นก๋วยเตย๋ี วท่ีมีวัตถุดบิ หลกั ในการผลิตเสน้ เปน็ แป้งข้าวเจ้า
2.2 ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่
2.3 มขี นาดของเสน้ ใหญแ่ ละต้องการเก็บไวเ้ ปน็ ระยะเวลานานกว่า

ชดุ คำ�ถามที่ 3 :

แนวทางการหาคำ� ตอบ ความร้เู กี่ยวกบั การออกแบบการทดลองด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ตวั อยา่ งคำ� ตอบ
ตวั แปรควบคมุ ตวั แปรควบคมุ ตัวแปรควบคมุ ตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม
ตัวแปรควบคุม ตามล�ำดับ

56 ค่มู ือการใช้แบบฝกึ พฒั นาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมนิ ของ

เอกสารอ้างองิ

สุนีย์ คล้ายนิล. (2547). ความรู้และทักษะของเยาวชนไทยส�ำหรับโลกวันพรุ่งนี้ : รายงานการวิจัยโครงการ
ประเมินผลนักเรียนนานาชาติ PISA 2000 และ PISA Plus. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั เซเวน่ พริน้ ติง้
กรุ๊ป จำ� กัด.

PISA Thailand สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2550). รายงานผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล
เบื้องต้น โครงการ PISA 2006. กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลย.ี

PISA Thailand. (2554). ผลการประเมนิ PISA 2009 การอา่ น คณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร.์ กรงุ เทพมหานคร :
ห้างหนุ้ ส่วนจำ� กดั อรุณการพมิ พ์.

PISA Thailand. (2555). ตัวอยา่ งข้อสอบประเมินผลนกั เรียนนานาชาติ : การอา่ น. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน
สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี

PISA Thailand. (2555). ตัวอย่างข้อสอบการประเมินนานาชาติ PISA และ TIMSS. กรุงเทพมหานคร :
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี.

PISA Thailand. (2556). ผลการประเมิน PISA 2012 คณิตศาสตร์ การอา่ น และวิทยาศาสตร์ นักเรยี นรอู้ ะไร
และทำ� อะไรได.้ กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำ� กดั อรุณการพิมพ.์

PISA Thailand. (2557). ตัวอย่างข้อสอบคณิตศาสตร์ PISA 2012. กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสริม
การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี

PISA Thailand. (2561). ผลการประเมิน PISA 2015 วิทยาศาสตร์ การอา่ น และคณติ ศาสตร์ ความเปน็ เลิศ
และความเทา่ เทยี มทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ซัคเซส พบั ลเิ คชน่ั จ�ำกัด.

ค่มู ือการใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ 57

คณะท�ำ งาน

ทปี่ รึกษา

1. ดร.บุญรกั ษ์ ยอดเพชร เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. นางสุกัญญา งามบรรจง รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

3. ดร.วิษณุ ทรพั ย์สมบตั ิ ผู้อ�ำนวยการสำ� นักทดสอบทางการศึกษา

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ

1. ดร.ณฐั า เพชรธน ู ผอู้ ำ� นวยการศนู ย์ PISA สพฐ.
2. นางสาวจรญู ศรี แจบไธสง รองผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ PISA สพฐ.

เจ้าหนา้ ที่ศูนย์ PISA สพฐ. สำ�นกั ทดสอบทางการศกึ ษา

1. นางสาวสุดารตั น์ เวชพนั ธ์ นกั วชิ าการศกึ ษา
2. นางสาวพิณพโิ ส เสียงดัง นกั วชิ าการศกึ ษา

3. นางสาวณัฐพร เผือดจันทกึ นกั วชิ าการศึกษา
4. นางสาววาทนิ ี ศรีวิชยั นักวชิ าการศึกษา
5. นางสาวขวญั จริ า ด�ำเนนิ งาม นกั วิชาการศึกษา

6. นางสาวอญั ชลกี ร เสยี งดัง นกั วิชาการศกึ ษา
7. นางสาวกุลพัชร คล้ายจนิ ดา นักวิชาการศึกษา

ผเู้ ขียน

1. นางพรรณภา พลู บวั ขา้ ราชการบ�ำนาญ

2. นายเอกสิทธิ ปยิ ะแสงทอง นกั วชิ าการศกึ ษา สำ� นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
3. นางสาวไลรัตน์ ใจนอ้ ม ครูโรงเรียนหนองจอกพิทยานุสรณ์
สำ� นกั งานเขตหนองจอก กรงุ เทพมหานคร

4. นางสาวจรญู ศรี แจบไธสง รองผ้อู �ำนวยการศนู ย์ PISA สพฐ.

คณะบรรณาธิการกิจ

1. ดร.ณฐั า เพชรธนู ผู้อ�ำนวยการศนู ย์ PISA สพฐ.
2. นางสาวจรูญศรี แจบไธสง รองผ้อู �ำนวยการศูนย์ PISA สพฐ.

58 คู่มือการใชแ้ บบฝกึ พัฒนาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ

คูม่ ือการใชแ้ บบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 59


Click to View FlipBook Version