The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายละเอียดและประโยชน์ของปลาตอดเท้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สวนตาสรรค์, 2024-03-15 03:38:10

รายละเอียดและประโยชน์ของปลาตอดเท้า

รายละเอียดและประโยชน์ของปลาตอดเท้า

มีลักษณะโดยรวมคือ มีแถบสีดําพาดตามความยาวของลําตัวตั ้ งแต่เหนือช่องเหงือกไปสิ้ นสุดที่ ก ึ่งกลางของปลายครีบหางอาศัยเป็ นฝูงใหญ่บริเวณที่นํ้ าไหลช้าและท้องนํ้ าเป็ นโคลนหรือทราย กิน สาหร่าย ตะไคร่นํ้ า แพลงกตอนพืช เป็ นอาหาร ์ ในสวนตาสรรค์พบขนาดประมาณ 6-8 ซม.ขนาดพบใหญ่สุด 18-20 ซม. (ที่เขื่อนบางลาง จ.ยะลา) นํ้าที่ไหลผ่านสวนตาสรรค์เป็ นนํ้ าผุดจากใต้ดิน อยู่ วงศ์เดียวกับ “ปลาตะเพียน” อยู่ สกุลเดียวกับ “ปลาสร้อยนกเขา” ภาคใต้เรียกสกุลนี้วา ่ “ปลาขี้ขม” ภาคเหนือเรียกสกุลนี้วา่“ซ่า” ภาคอีสานเรียกสกุลนี้วา่ “ขาวอิไท” ชื่อเฉพาะว่า “ปลาร่องไม้ตับใหญ่” The overall characteristics. It is a black stripe running along the length of the body from above the gill slit to the middle of the tip of the caudal fin. It lives in large groups in areas where the water flow is slow and the water area is muddy or sandy. It feeds on algae, moss, and phytoplankton. In Suan Ta San. The average size was about 6-8 cm. The largest was 18-20cm. (at Bang Lang Dam, Yala Province). Water flowing through Suan Ta San. It's water springing from underground. Family : Cyprinidae, Carp Genus : Osteochilus Species: Osteochilus waandersii


ปรกติจะกินพืชนํ้า ตะไคร่ ตามรากไม้ ตามพื้น และสัตว์ขนาดเล็กเป็ นอาหาร โดยที่ริมฝี ปาก จะมีปุ่ มเล็ก ๆ ไว้ดึงตะไคร่ไม่ใช่ปลากินเนื้อ จึงจะไม่มีฟันที่ เป็ นเขี้ยว ทําให้ไม่สามารถทําให้เกิดแผลที่ผิวหนังแต่ถ้ามีสะเก็ ดแผลมาก่อน อาจจะทําให้เกิดแผลขยายเพิ่ มได้ หรืออาจจะทําให้เลือดออกได้ สิ่งที่เราจะได้จากการให้ปลาตอดเท้า 1. ที่ฝ่ าเท้า เป็ นศูนย์รวมของปลายประสาท ปกติจะมีการนวด หรือ การแช่นํ้ าร้อนเพื่อกระตุ้นปลายประสาท หรือการกดจุดเพื่อรักษาโรค การที่เราให้ปลาตอดเท้า ก็ เป็ นการกระตุ้นปลายประสาทเช่นเดียวกนั 2. ชั้นนอกของผิวหนัง จะเป็ นชั้ นของหนังกาพร้า ซึ่งจะมีการหลุดใน ํ รูปของขี้ไคล และชั้นนอกสุดของหนังกาพร้าประกอบด้วยชั ํ้นเซลล์ที่ ตายแล้วถึง 25 - 30 ชั้ น เมื่อปลาใช้ริมฝี ปาก ซึ่งเป็ นปุ่ มเล็ก ๆ ตอดที่ ฝ่ าเท้าเรา จะทําให้เซลล์ที่ตายหลุดออก What we will get from giving fish foot nibbles 1. The sole of the foot is the center of nerve endings. usually have a massage or hot water to stimulate nerve endings or acupressure to cure disease. That we give fish nibble feet It also stimulates the nerve endings. 2. Outer layer of skin will be the layer of the epidermis which will be dropped in the form of scurf and the outermost layer of the epidermis consists of 25 - 30 layers of dead cells. Which is a small button that nibbles at the soles of our feet will cause the dead cells to fall off. ชั้นของหนังกําพร้า layer of the epidermis It usually eats aquatic plants, algae that live in the roots and on the ground and small animals as food. By the lip there is a small button to pull the lichen. Not a carnivorous fish. So there will be no canine teeth. Making it unable to cause skin wounds. But if there was a scab before It may cause the wound to expand further.


- มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ� งเป็ นแกนคํ�าจุนหรือพยุงกายเกิดขึ�น ในระยะใด ระยะหนึ� งของชีวิต หรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์ชั� นสูงมีกระดูกอ ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโน โตคอร์ด - มีไขสันหลังเป็ นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (Dorsal hollow nerve tube) เหลือทางเดินอาหารซึ� งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ� งมี ระบบประสาทอยู ่ทางด้านท้อง (Ventral nerve cord) ใต้ทางเดินอาหารและเป็ นเส้น ตัน - มีช่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนึ� งของชีวิต หรือตลอดชีวิตในพว กสัตว์มี กระดูกสันหลังชั� นสูง เช ่น สัตว์ปี ก สัตว์เลี�ยงลูกด้วยนํ�านมจะมีช ่องเห งือกตอนเป็ นตัวอ ่อน เท่านั�น เมื�อโตขึ�นช ่องเหงือกจะปิ ดส่วนปลามีช ่องเหงือกตลอดชีวิต - มีหางเป็ นกล้ามเนื�อ (Muscular post anal tail)


ปลากระดูกแข็ง (Osteichthyes) พบทั� งในนํ�าจืดและนํ�าเค็ม โครงร่างภายใน เป็ นกระดูกแข็งทั�งหมด ก้านครีบอาจเป็ นกระดูกอ ่อนหรือกระดูกแข็งก็ได้ มีกระดูกสันหลัง ปากอยู ่ปลายสุดด้านหน้า มีฟัน ตาขนาดใหญ่ ไม่มีหนังตา ขากรรไกรเจริญดี ห ายใจด้วย เหงือก มีฝาปิ ดเหงือก หัวใจมี 2 ห้อง เม็ดเลือดแดงมีนิวเคลียส เส้นประสาทสมองมี 10คู่ มีถุงรับกลิ� น 1คู่ แยกเพศ ปฏิสนธิภายนอก ออกลูกเป็ นไข่ มีบางชนิดที�ออก ลูกเป็ นตัว อันดับปลาตะเพียน หรืออันดับปลากินพืช (ชื�อวิทยาศาสตร์: Cypriniformes, อังกฤษ: Carp, Barb, Loach, Minnow, Chinese suckerfish, Garra) เป็ นอันดับของปลาจําพวกหนึ� ง ซึ� งประกอบด้วย ปลา ตะเพียน, ปลาทอง, ปลาคาร์ป, ปลาซิว เป็ นต้น


มีลักษณะโดยรวมคือ ลําตัวมีเกล็ด ส่วนใหญ่แบนข้าง สันท้องกลมหรือเป็นสันคม ไม่มีหนามที�สันท้อง ตาไม่มีหนังคลุม ปากมีหลายตําแหน่งทั�งอยู่ตรงด้านหน้า เฉียงขึ�น หรืออยู่ทางด้านล่าง บางชนิดยืดหดได้เล็กน้อย บางชนิดมีลักษณะคล้าย ปากดูด ส่วนใหญ่ไม่มีฟันบนขากรรไกรหรือบางชนิดที�มีก็มีไม่เกิน 8 ซี� รอยต่อ ส่วนปลายของขากรรไกรล่างมีปมยื�นออกมาเรียกว่า ซิมไซซีลนอบ ริมฝีปากบาง อาจมีหรือไม่มีติ�งเนื� อ บางชนิดไม่มีริมฝี ปาก ไม่มีหนามใต้ตา หรือหน้าตา ช่อง เปิ ดเหงือกกว้างกระดูกโอเพอร์เคิล เจริญดี มีหนวด 1-2 คู่ หรือไม่มี ก้านครีบเดี�ยว ก้านสุดท้ายของครีบหลังอาจแข็ง หรือไม่แข็ง อาจมีหยักด้านในหรือไม่มี ไม่มี ครีบไขมัน มีฟันที�หลอดคอ 1-3 แถว ขอบปากเป็นกระดูกพรีแมคซิลลา ขากรรไกรบนยืดหดได้ บางชนิดครีบหลังมีก้านครีบเดี�ยว มีครีบหลังตอนเดียว ถุง ลมมีขนาดค่อนข้างใหญ่ส่วนใหญ่แบ่งออกเป็นสองตอน ไม่ถูกแผ่นกระดูกปก คลุมไว้ วงศ์ปลาตะเพียน(ชื�อวิทยาศาสตร์: Cyprinidae, อังกฤษ: barb, carp, minnow, goldfish) โดยคําว่า Cyprinidae มาจากคําว่า kyprînos ใน ภาษากรีกโบราณ (κυπρῖνος แปลว่า "ปลาทอง") ประกอบด้วยปลาจําพวก ปลาไน , ปลาตะเพียน, ปลาทอง และปลาซิว


มีลักษณะโดยรวมคือ ไม่มีฟันที�ริมฝี ปาก แต่มีฟันซี�ใหญ่อยู่ในลําคอ เกล็ดเป็ นแบบขอบเรียบและ บาง ครีบเป็ นก้านครีบอ่อน ครีบหางส่วนมากเป็ นเว้าแฉกลึก ครีบท้องอยู่ ค่อนมาทางตอนกลางของลําตัวด้านท้อง ซึ�งลักษณะสําคัญของปลาในวงศ์นี� ก็คือ 1. มีฟันเฉพาะที�ลําคอ เกิดจากกระดูกลําคอด้านล่างอันสุดท้าย มีอยู่ประมาณ 1-3 แถว และมีแผ่นกระดูกที�ฐานบนกระดูกลําคอ ช่วยในการบดย่อย อาหาร 2. มีเกล็ดแบบขอบเรียบบนลําตัว มีหัวไม่มีเกล็ดและไม่มีครีบไขมัน 3.ถุงลมแบ่งออกเป็ น 2 ตอน ตอนแรกไม่ติดกับกระดูกสันหลัง ตอนหลังมี ขนาดเล็กฝังอยู่แน่นกับกระดูกสันหลัง วงศ์ย่อยปลาเลียหิน (Algae eater, Stone lapping)เป็น วงศ์ย่อยของวงศ์Cyprinidae หรือวงศ์ปลาตะเพียนใช้ชื�อวงศ์ว่า Labeoninae (/ลา-เบ-โอ-นี-เน/)


มีลักษณะโดยรวมคือ ปลาในวงศ์ย่อยนี� มีรูปร่างเรียวยาว ลําตัวทรงกระบอกครีบหลัง ยกสูงและไม่มีก้านครีบแข็ง ลักษณะสําคัญ คือ ปากจะงุ้มลงด้านล่าง มี ริมฝี ปากบนหนาและแข็ง ในบางสกุลจะมีตุ่มเล็ก ๆ คล้ายสิวกระจายอยู่ บนนั � น ในหลายชนิดมีหนวดอยู่ 1 คู่ โดยเป็ นปลาที�ใช้ปากในการดูดกิน ตะไคร่นํ� า, สาหร่ายและแพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็ก บริเวณพื� นนํ � าหรือ โขดหิน, ตอไม้ ใต้นํ� า เป็ นอาหาร มักพบกระจายพันธุ์ทั� งในลําธารนํ � าเชี�ยว และแหล่งนํ � าขนาด ใหญ่ มักอาศัยอยู่รวมเป็ นฝูง


ปลาสร้อยนกเขานํ�าจืด หรือ ปลาสร้อยนกเขา เป็นสกุลของปลานํ� าจืดสกุล หนึ�ง ในวงศ์ปลาตะเพียน(Cyprinidae)โดยใช้ชื�อสกุลว่า Osteochilus (/อ็อสแตโอคิลุส/) ปลาสร้อยนกเขานํ�าจืด ปลาร่องไม้ตับวานเดิร์ส ปลาสร้อยหน้าหมอง ปลาพรหมหัวเหม็น ปลาร่องไม้ตับ ปลาสร้อยพรุ


มีลักษณะโดยรวมคือ ปลาในสกุลนี �มีลักษณะเด่นคือ ลักษณะปากที�ริมฝี ปากบนและ ล่างหยักเป็ นชายครุย ริมฝี ปากล่างแผ่กว้างติดต่อกับคาง ส่วนหน้า ขากรรไกรล่างเป็ นแผ่นกระดูกมีขอบเป็ นสัน ครีบหลังมีก้านครีบเดี�ยวที� ขอบเรียบไม่เป็ นหนามแข็ง มีก้านครีบแขนง 10-18 ก้าน ในบางชนิดมี หนวด 2 คู่ เป็ นที�ริมฝี ปากบน 1 คู่ และริมฝี ปากล่าง 1 คู่ ในชนิดที�มี หนวดคู่เดียวจะอยู่เฉพาะที�มุมปาก ในหลายชนิดมีรูเล็ก ๆ บนปลาย จะงอยปาก มีขนาดตั � งแต่ 20-40เซนติเมตรเป็ นปลาที�อาศัยอยู่รวมเป็ น ฝูงใหญ่ พบได้ทัวไปในภูมิภาค � เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงจีนตอนล่าง ถือเป็ นปลาที�หาได้ง่าย


มีลักษณะโดยรวมคือ มีขนาดและลักษณะทัวไปคล้ายกับ � ปลาร่องไม้ตับ(O. microcephalus) ซึ�งอยู่สกุลเดียวกันแต่ที�ต่างกันคือ มีแถบสีดําพาดตาม ความยาวของลําตัวตั�งแต่เหนือช่องเหงือกไปสิ�นสุดที�กึ�งกลางของปลายครีบหาง และมีถิ�นอาศัยเฉพาะแหล่งนํ� าที�ติดต่อกับแม่นํ� าโขงเท่านั�น เป็นปลาที�ไม่พบบ่อย มากนัก นอกจากนี�แล้วยังพบได้ที�กว๊านพะเยา อาศัยในลําธารและแม่นํ� าสายหลัก กินตะไคร่นํ� า หรือพืชนํ� า หรือ อินทรียสาร ต่าง ๆ เป็นอาหาร ขนาดพบใหญ่สุด 20 เซนติเมตร ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงจีนตอนล่าง ถือเป็นปลาที�หาได้ง่าย


มีแถบสีดําขนาดค่อนข้างใหญ่พาดผ่าน นัยน์ตาตามความยาวลําตัวไปสิ� นสุดที� โคนครีบหาง ยังมีชื�อเรียกอื�น ๆ อีก เช่น "ขี � ขม", "ซ่า", "นกเขา" หรือ "ขาวอีไท" ในภาษาเหนือ เป็ นปลาที�อาศัยอยู่รวมตัวกันเป็ นฝูงใน แหล่งนํ� าทุกภาคของประเทศไทย


สนใจติดต่อสอบถามได้ครับ กอล์ฟ โทร 0861073815 Line : golf_ 2522 (ดูปลาได้แถวสะพานพระราม5 ท่านํ�านนท์ครับ ส่งได้ตามตกลงครับ )


Click to View FlipBook Version