The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nong boonha, 2021-07-01 21:51:08

หน่วย 8 การปรับแต่งภาพและการใช้ฟิลเตอร์

หน่วย 8 หน้าหลัง

หนวยการเรย� นรูที่ 8

8.1 การปรับแตงภาพอัตโนมตั ิ
8.2 การปรับแกส เี พี้ยนดวย Eyedropper
8.3 การปรับแตงสีดวย Color Balance
8.4 การปรับแตงสดี วย Hue/Saturation
8.5 การเปล่ยี นภาพสีเปน ภาพขาวดำ
8.6 การเปล่ยี นสวี ตั ถุในภาพดวย Replace Color
8.7 การปรับน้ำหนกั ของสีระหวา ง Channel
8.8 การสรางภาพลกั ษณะพเิ ศษดว ย Gradient Map
8.9 การปรบั แสงเงาดว ย Shadow/Highlight
8.10 การปรับแสงเงาดว ย Variations
8.11 การใชคำสงั่ Filter

สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ รุ กจิ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาปต ตานี
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั วิชา 20204-2007 276

โปรแกรม Adobe Photoshop มีคำสั่งสำหรับปรับแต่งรูปภาพเป็นจำนวนมาก โดยหลายๆ
คำสั่งจะทำหน้าที่อย่างเดียวกัน แต่มีวิธีใช้แตกต่างกันออกไปเพื่อความเหมาะสมในกรณีต่าง ๆ
นอกจากจะใช้ปรับแต่งรูปภาพทั่ว ๆ ไปแล้ว ยังสามารถใช้ลักษณะพิเศษต่าง ๆ ได้อีกด้วย เช่น การ
สร้างภาพที่มีสีสันแปลก ๆ หรือเหนือจริง สร้างภาพที่มีความแตกต่างสีจากเดิมสูง และกลับสีภาพ
ตรงกันข้าม เป็นตน้

8.1 การปรบั แตง่ ภาพอตั โนมตั ิ

การปรับแต่งภาพอัตโนมัติประกอบด้วยคำสั่ง Auto Tone Auto Contrast และ Auto
Color คำสั่งการปรับแต่งภาพอัตโนมัติจะสามารถปรับค่า เพื่อทำการปรับแต่งภาพได้อย่างง่าย ๆ
และรวดเรว็

8.1.1 การใช้คำสั่ง Auto Tone
การปรับโทนสีของภาพด้วยการคำนวณและเปลี่ยนแปลงภาพให้โดยอัตโนมัติ ภาพจะถูก
ปรบั แต่งอยา่ งอตั โนมตั ิ

ข้นั ตอนการใช้คำสั่ง Auto Tone มีดงั นี้
1) เปิดไฟลภ์ าพ

ภาพท่ี 8.1 การเปิดไฟล์

หนว่ ยที่ 8 การปรบั แต่งภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัสวชิ า 20204-2007 277
2) เลือกเมนคู ำส่งั Image > Auto Tone ปรากฏภาพปรับความคมชัดอตั โนมตั ิ

ภาพที่ 8.2 การเลือกเมนูคำสั่ง Auto Tone

ภาพท่ี 8.3 ผลลพั ธ์การใช้คำสั่ง Auto Tone
8.1.2 การใช้คำส่งั Auto Contrast
ใช้สำหรับเพิ่มความคมชัดภาพโปรแกรมจะตัด Pixel ที่มืดที่สุดและสว่างที่สุดใน Channel
สรี วมออกไปบางสว่ นแล้วกระจาย Pixel ทเ่ี หลือใหม่ เน่อื งจากคำสง่ั น้จี ะปรบั ภาพในแตล่ ะ Channel
อยา่ งเทา่ ๆ กัน ดังน้นั จึงไมท่ ำใหส้ ีของภาพเพี้ยน

ขนั้ ตอนการใช้คำสง่ั Auto Contrast มดี ังนี้
1) เปิดไฟล์ภาพ

ภาพท่ี 8.4 การเปดิ ไฟล์

หนว่ ยที่ 8 การปรับแต่งภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัสวิชา 20204-2007 278

2) เลอื กเมนูคำสั่ง Image > Auto Contrast ปรากฏภาพปรับความคมชดั

อตั โนมัติ

ภาพท่ี 8.5 การเลือกเมนูคำส่ัง Auto Contrast

ภาพที่ 8.6 ผลลัพธ์การใช้คำส่ัง Auto Contrast
8.1.3 การใช้คำสัง่ Auto Color
ใช้สำหรับแก้ไขภาพที่มีเพี้ยน โดยโปรแกรมจะปรับสมดุลสีทั้งโทนสี และส่วนมืด – สว่าง
ภายในภาพไปพร้อม ๆ กัน รวมทั้งในส่วนของ Shadows ส่วนที่ได้รับแสง สว่างน้อย หรือไม่สว่าง
เลยทำให้ภาพเกดิ ความมดื Midtones ส่วนในบรเิ วณทม่ี ีความสว่างไม่มากแตก่ ม็ ีความสวา่ งมากเพียง
พอที่จะทำให้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน และ Highlight บริเวณที่มีความสว่างมากกว่าที่อื่น

ขนั้ ตอนการใช้คำสงั่ Auto Color มีดังตอ่ ไปนี้
1) เปดิ ไฟลภ์ าพ

ภาพท่ี 8.7 การเปดิ ไฟล์

หน่วยท่ี 8 การปรับแตง่ ภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหัสวิชา 20204-2007 279

2) เลอื กเมนคู ำสงั่ Image > Auto Color หรือสามารถกดแป้นพมิ พ์ Shift +

Ctrl +B

ภาพท่ี 8.8 การเลือกเมนูคำสั่ง Auto Color

ภาพท่ี 8.9 ผลลพั ธ์การใช้คำส่งั Auto Color
8.1.4 การใช้คำส่งั Brightness / Contrast
เปน็ การปรบั ความสวา่ งและความคมชัดให้กับภาพ การถ่ายรูปในที่มืดหรือในสถานท่ีท่ีมีแสง
สว่างไม่เพยี งพอ อาจทำใหร้ ูปภาพที่ถา่ ยออกมานน้ั มืดเกนิ ไป สามารถทำการปรบั สขี องภาพให้สวา่ ง
ขนั้ ตอนการใช้คำสัง่ Brightness / Contrast

ข้ันตอนการใช้คำสัง่ Brightness / Contrast มีดงั นี้
1) เปิดไฟล์ภาพ

ภาพท่ี 8.10 การเปดิ ไฟล์

หนว่ ยท่ี 8 การปรับแตง่ ภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหัสวิชา 20204-2007 280
2) คลกิ เมนูคำสงั่ Image > Adjustments > Brightness / Contrast

ภาพท่ี 8.11 การเลือกเมนูคำส่ัง Brightness / Contrast
3) ปรากฏหนา้ Brightness / Contrast คลกิ ปรบั แต่งค่าอยู่ 2 สว่ น ดังน้ี

- Brightness การปรบั ความมดื -ความสว่างให้กบั เมด็ สี
- Contrast การปรับความคมชดั ใหก้ บั ภาพ
คลิกเลื่อนทางซ้ายจะเป็นค่าลบ หรือทางขวาจะเป็นค่าบวก ขณะปรับแต่ง
สามารถมองภาพตัวอยา่ งดกู ารเปล่ียนแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ ได้ โดยกดเครอ่ื งหมาย ✓ในช่อง Preview

ภาพท่ี 8.12 การกำหนดค่าแถบ Brightness / Contrast

ภาพที่ 8.13 ผลลพั ธ์การใช้คำส่งั Brightness / Contrast

หน่วยท่ี 8 การปรบั แต่งภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัสวิชา 20204-2007 281

8.2 การปรับแก้สเี พ้ยี นดว้ ย Eyedropper

โปรแกรม Adobe Photoshop มีหลายวิธีที่ใช้หรับแก้ภาพที่สีเพี้ยนได้ สำหรับการใช้
เครื่องมือ Eyedropper จากหน้าต่างของคำสั่ง Levels และ Curves นี้ เหมาะสำหรับภาพซึ่งมี
บริเวณทีเ่ ป็นสีเทากลาง (Neutral) อยูด่ ้วย ซ่ึงจะช่วยให้แก้สไี ดอ้ ย่างรวดเรว็

ข้นั ตอนการปรับแกส้ เี พยี้ นด้วย Eyedropper มดี งั นี้
1) เปิดไฟล์ภาพ

ภาพที่ 8.14 การเปดิ ไฟล์
2) เลอื กคำสงั่ Image > Adjustments > Curves

ภาพที่ 8.15 การเลอื กเมนูคำสั่ง Curves
3) ปรากฏ Tab คลิกเครือ่ งมือ Gray Point

- คลิกเครอ่ื งมือ Black Point ถ้าต้องการใหเ้ ปน็ จุดท่ีมืดทีส่ ุด
- คลิกเครอ่ื งมอื White Point ถา้ ตอ้ งการใหเ้ ป็นจดุ ทีส่ วา่ งท่สี ุด
- คลกิ เคร่ืองมอื อน่ื ๆ ของคำสง่ั Levels หรอื Curves ปรบั ค่า กด OK

หน่วยที่ 8 การปรบั แต่งภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั วชิ า 20204-2007 282

ภาพที่ 8.16 การกำหนดค่าแถบ Curves

ภาพท่ี 8.17 ผลลพั ธ์การใช้คำสัง่ Curves

8.3 การปรบั แตง่ สีดว้ ย Color Balance

การปรับแตง่ สภี าพ เชน่ เพอื่ แก้ปญั หาสีเพี้ยน โดยการเพิม่ หรอื ลดสดั สว่ นของสีหลกั ต่าง ๆ
ข้ันตอนการปรับแต่งสดี ้วย Color Balance มีดงั น้ี
1) เปิดไฟล์ภาพ

ภาพที่ 8.18 การเปดิ ไฟล์

หน่วยท่ี 8 การปรับแตง่ ภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัสวชิ า 20204-2007 283
2) คลิกเลือกคำสั่ง Image > Adjustments > Color Balance

ภาพท่ี 8.19 การเลอื กเมนูคำส่งั Color Balance
3) เลอื กชว่ งของสีทีต่ ้องการปรับ

- Shadows บรเิ วณทคี่ ่อนข้างมดื ในภาพ
- Midtones บรเิ วณท่ีสว่างปานกลางในภาพ
- Highlights บรเิ วณท่สี วา่ งมากในภาพ
คลกิ เลอ่ื นเพ่ือเพ่ิมหรือลดสัดส่วนสหี ลกั ที่อย่ใู นชว่ งแสงเงา เลอื กตามตอ้ งการคลิก OK

ภาพที่ 8.20 การกำหนดคา่ แถบ Color Balance

ภาพที่ 8.21 ผลลัพธ์การใช้คำสงั่ Color Balance

หน่วยท่ี 8 การปรับแต่งภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัสวชิ า 20204-2007 284

8.4 การปรบั แต่งสีด้วย Hue/Saturation

ใชส้ ำหรบั เปล่ยี นโทนสขี องภาพ รวมท้ังปรบั ความสดและความสว่างของสี โดยสามารถเลอื ก
ปรับสีให้กับภาพโดยรวม หรือปรับเฉพาะช่วงของสีใดสีหนึ่ง นอกจากนี้ยังใช้สร้างภาพแบบโทนสี
เดียวได้เช่นกัน

8.4.1 การใช้คำส่ัง Hue/Saturation การแตง่ สีภาพทงั้ ภาพ
ข้นั ตอนการปรับแตง่ สีด้วย Hue/Saturation การแต่งสที งั้ ภาพ มีดงั นี้
1) เปิดไฟล์ภาพ

ภาพท่ี 8.22 การเปดิ ไฟล์
2) คลิกเลือกคำส่ัง Image > Adjustments > Hue/Saturation

ภาพที่ 8.23 การเลือกเมนูคำสัง่ Hue/Saturation
3) คลิกเล่ือนหรือป้อนตัวเลขเพ่ือปรบั สภี าพ กด OK

ภาพที่ 8.24 การกำหนดค่าแถบ Hue/saturation

หนว่ ยที่ 8 การปรบั แตง่ ภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหัสวิชา 20204-2007 285

ภาพท่ี 8.25 ผลลัพธ์การแตง่ สีภาพทั้งภาพ
8.4.2 การใชค้ ำสงั่ Hue/Saturation เปล่ียนภาพเปน็ ภาพโทนสเี ดียว

ขัน้ ตอนการใชค้ ำส่ัง Hue/Saturation เปล่ียนภาพเปน็ ภาพโทนสเี ดยี ว มีดงั น้ี
1) เปิดไฟล์ภาพ

ภาพท่ี 8.26 การเปิดไฟล์
2) คลิกเลือกคำส่งั Image > Adjustments > Hue/Saturation

ภาพที่ 8.27 การเลือกเมนูคำสง่ั Hue/Saturation
3) คลิกเลือก Colorize คลิกเล่ือนหรือป้อนตัวเลขเพื่อปรับสภี าพ คลกิ OK

ภาพที่ 8.28 การกำหนดค่าแถบ Hue/Saturation

หนว่ ยท่ี 8 การปรับแตง่ ภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหัสวชิ า 20204-2007 286

ภาพที่ 8.29 ผลลัพธ์เปลี่ยนภาพเป็นภาพโทนสีเดยี ว
8.4.3 การใช้คำสั่ง Hue/Saturation เลือกปรบั แต่งเฉพาะสเี ป้าหมาย
ขั้นตอนการใช้คำส่งั Hue/Saturation เลือกปรับแต่งเฉพาะสีเปา้ หมาย มีดังน้ี

1) เปิดไฟลภ์ าพ

ภาพท่ี 8.30 การเปิดไฟล์
2) คลกิ เลือกคำส่ัง Image > Adjustments > Hue/Saturation

ภาพท่ี 8.31 การเลอื กเมนูคำส่งั Hue/Saturation

หน่วยท่ี 8 การปรับแต่งภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหัสวชิ า 20204-2007 287
3) คลิกเลือกช่วงสีที่จะปรบั คลกิ เพ่มิ หรือลดขอบเขตของสีท่จี ะถูกปรบั คลกิ เล่ือนหรือป้อน
ตัวเลขเพ่อื ปรับสภี าพ กด OK

ภาพท่ี 8.32 การกำหนดค่าแถบ Hue/Saturation

ภาพที่ 8.33 ผลลัพธ์การปรับแต่งสีเฉพาะเปา้ หมาย

8.5 การเปลีย่ นภาพสีเปน็ ภาพขาวดำ

คำสงั่ ทใ่ี ชส้ ำหรับเปลยี่ นภาพสใี หเ้ ปน็ ภาพขาวดำแบบ Gray scale อยา่ งงา่ ย ๆ โดยคงระดับ
ความสว่างของภาพไว้ เหมาะจะใช้เพอื่ นำผลลพั ธ์ไปสรา้ งลักษณะพเิ ศษต่าง ๆ

ขัน้ ตอนการเปลยี่ นภาพสเี ปน็ ภาพขาวดำ มดี งั ตอ่ ไปน้ี
1) เปิดไฟลภ์ าพ

ภาพท่ี 8.34 เปิดไฟล์

หนว่ ยที่ 8 การปรับแตง่ ภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหัสวิชา 20204-2007 288
2) คลิกเลือกคำส่ัง Image > Adjustments > Desaturate เปล่ียนเป็นภาพ ขาวดำให้
อัตโนมัติ

ภาพท่ี 8.35 การเลือกเมนูคำสัง่ Desaturate

ภาพที่ 8.36 ผลลพั ธ์การเปลี่ยนภาพสีเป็นภาพขาวดำ

8.6 การเปลี่ยนสวี ตั ถใุ นภาพด้วย Replace Color

ใช้สำหรับเปลี่ยนสีของวัตถุในภาพ โดยเลือกจากค่าสีที่ใกล้เคียงกันแล้วปรับให้เป็นสีอื่น ๆ
ตามต้องการ คำสั่งนี้เป็นการผสมวิธีการสร้าง Selection ด้วยคำสั่ง Color Range กับการปรับแต่ง
สีภาพดว้ ยคำสง่ั Hue/Saturation

ข้ันตอนการเปล่ียนสีวัตถุในภาพด้วย Replace Color มีดงั น้ี
1) เปิดไฟล์ภาพ

ภาพที่ 8.37 การเปิดไฟล์

หนว่ ยท่ี 8 การปรบั แต่งภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัสวชิ า 20204-2007 289
2) คลกิ เมาส์ทภ่ี าพเพอื่ เลือกตำแหนง่ ภาพท่ตี ้องการปรบั แลว้ เลอื กคำสง่ั Image >
Adjustments > Replace Color

ภาพท่ี 8.38 การเลอื กเมนูคำสงั่ Replace Color
3) ปรากฏแถบ Replace Color ภาพตัวอย่างในส่วนท่ีได้คลิกเมาส์เลือกจะเป็นสีขาว นำ
เมาส์คลิกเลือกสี เล่ือนแถบเลือ่ นเพ่ือปรับสีเพม่ิ หรือลดสี เมอื่ ได้สตี ามตอ้ งการ กด OK

ภาพที่ 8.39 การกำหนดค่าแถบ Replace Color

หน่วยท่ี 8 การปรับแตง่ ภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั วิชา 20204-2007 290

ภาพที่ 8.40 ผลลัพธก์ ารใชค้ ำสง่ั Replace color

8.7 การปรับนำ้ หนกั ของสรี ะหว่าง Channel

ใช้สำหรับรับเพิ่มหรือลดน้ำหนักของสีหลักใน Channel ต่าง ๆ รวมทั้งการผสมน้ำหนักสี
จาก Channel อ่ืน ๆ เข้าไปยงั Channel ทีต่ อ้ งการ นอกจากนั้น คำสง่ั น้ยี ังสามารถใชส้ ร้างภาพขาว
ดำแบบ Gray scale ทม่ี ีคุณภาพสงู ได้ คล้ายคำสั่ง Black & White

ข้ันตอนปรบั นำ้ หนักของสรี ะหว่าง Channel มดี งั ต่อไปนี้
1) เปิดไฟลภ์ าพ

ภาพที่ 8.41 การเปดิ ไฟล์
2) คลิกเลือกคำสง่ั Image > Adjustments > Channel Mixer

ภาพที่ 8.42 การเลือกเมนูคำสั่ง Channel Mixer

หน่วยท่ี 8 การปรับแตง่ ภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหัสวชิ า 20204-2007 291
3) คลิกเลือก Channel ผลลัพธ์ (กรณีปรับสีภาพ) คลิกปรับภาพขาวดำให้เลือกตัวเลือก
Monochrome คลิกปรับคา่ Source Channels กด OK

ภาพที่ 8.43 การกำหนดค่าแถบ Channel Mixer

ภาพที่ 8.44 ผลลัพธก์ ารใช้คำสงั่ Channel Mixer

8.8 การสร้างภาพลกั ษณะพิเศษดว้ ย Gradient Map

การสร้างภาพลกั ษณะพเิ ศษด้วย Gradient Map ใชส้ รา้ งภาพลักษณะพิเศษ โดยใช้การ
แทนทร่ี ะดบั ความสว่างของ Pixel ตา่ ง ๆ ในภาพ

ขัน้ ตอนการสรา้ งภาพลกั ษณะพเิ ศษด้วย Gradient Map มดี งั น้ี
1) เปิดไฟลภ์ าพ

ภาพท่ี 8.45 การเปิดไฟล์

หน่วยท่ี 8 การปรับแตง่ ภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหัสวิชา 20204-2007 292
2) เลือกคำสั่ง Image > Adjustments > Gradient Map

ภาพท่ี 8.46 การเลอื กเมนูคำส่ัง Gradient Map
3) คลกิ เลือกไลร่ ะดบั สีทต่ี ้องการ กด OK

ภาพที่ 8.47 การกำหนดค่าแถบ Gradient Map

ภาพที่ 8.48 ผลลพั ธก์ ารใชค้ ำสง่ั Gradient Map

หนว่ ยที่ 8 การปรบั แตง่ ภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหสั วชิ า 20204-2007 293

8.9 การปรบั แสงเงาด้วย Shadow/Highlight

ใช้สำหรับปรับภาพทีมีบริเวณของแสงและเงาต่างกันมากเกินไปโดยการเพิ่มความสว่าง
ให้กบั บริเวณทมี ดื และลดความสวา่ งของบริเวณท่แี สงจา้ ลง ซงึ จะทำให้เห็นรายละเอยี ดของภาพมาก
ขึ้น

ขน้ั ตอนการปรบั แสงเงาดว้ ย Shadow/Highlight มดี ังน้ี
1) เปิดไฟลภ์ าพ

ภาพที่ 8.49 การเปดิ ไฟล์
2) เลอื กคำส่ัง Image > Adjustments > Shadow/Highlight

ภาพท่ี 8.50 การเลอื กเมนูคำสงั่ Shadows/Highlights

หนว่ ยท่ี 8 การปรับแต่งภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัสวิชา 20204-2007 294
3) คลกิ เล่ือนเพ่ือปรับแสงเงา กด OK

ภาพท่ี 8.51 การกำหนดคา่ แถบ Shadows/Highlights

ภาพท่ี 8.52 ผลลัพธ์การใชค้ ำส่ัง Shadows/Highlights

8.10 การปรับแสงเงาดว้ ย Variations

เปน็ คำส่งั ใช้สำหรับปรับสีและสีแสงเงาของภาพ ด้วยวิธีคลิกเลอื กโทนสี ซ่งึ จะมีการเปล่ียนสี
และแสงเงาไปทีละระดับ โดยคลิกไปเรอื่ ย ๆ จนไดภ้ าพทีมีและแสงเงาตามตอ้ งการ

ข้นั ตอนการปรบั แสงเงาดว้ ย Shadow/Highlight มดี ังนี้
1) เปิดไฟล์ภาพ

ภาพที่ 8.53 การเปิดไฟล์

หน่วยท่ี 8 การปรับแตง่ ภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั วชิ า 20204-2007 295
2) เลอื กคำสั่ง Image > Adjustments > Shadow/Highlight

ภาพท่ี 8.54 การเลอื กเมนูคำสง่ั Variations
3) คลิกเลื่อนเพ่ือปรับแสงเงา ตา่ ง ๆ ตามต้องการ กด OK

ภาพท่ี 8.55 ผลลัพธก์ ารใช้คำสั่ง Variations

หน่วยที่ 8 การปรบั แตง่ ภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหสั วชิ า 20204-2007 296

8.11 การใช้คำสงั่ Filter

เป็นคำสั่งที่ใช้ปรับ แสง และรูปแบบอัตโนมัติ โดยมีลักษณะให้เลือกใช้ หลายรูปแบบ
สามารถปรบั รายละเอียดบางสว่ นไดต้ ามประเภทของรูปแบบทใี่ ช้ มีดังน้ี

8.11.1 ลักษณะ Filter Gallery ตา่ ง ๆ
ตารางที่ 8.1 Filter Gallery

หน่วยท่ี 8 การปรบั แตง่ ภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหัสวชิ า 20204-2007 297

ข้ันตอนการใชค้ ำส่งั Filter มดี งั น้ี
1) เปิดไฟลภ์ าพ

ภาพท่ี 8.56 การเปิดไฟล์
2) คลกิ เมนู Filter > Filter Gallery…

ภาพท่ี 8.57 การเลือกเมนูคำสง่ั Filter Gallery
3) ปรากฏหนา้ ตา่ ง Filter Gallery เช่น คลิกเลอื ก Texture ปรบั กำหนดค่าตา่ ง ๆ กด OK

ภาพท่ี 8.58 การกำหนดค่าแถบ Filter Gallery

หน่วยท่ี 8 การปรบั แต่งภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาโปรแกรมกราฟิก รหสั วิชา 20204-2007 298
ภาพท่ี 8.59 ผลลัพธ์การใช้คำสงั่ Filter Gallery

หนว่ ยท่ี 8 การปรับแตง่ ภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั วชิ า 20204-2007 299

โปรแกรม Adobe Photoshop มคี ำสงั่ สำหรับปรับแต่งรูปภาพเป็นจำนวนมาก โดยหลาย ๆ
คำสั่งจะทำหน้าที่อย่างเดียวกัน แต่มีวิธีใช้แตกต่างกันออกไปเพื่อความเหมาะสมในกรณีต่าง ๆ
นอกจากจะใช้ปรับแต่งรูปภาพทั่ว ๆ ไปแล้ว ยังสามารถใช้ลักษณะพิเศษต่างๆ ได้อีกด้วย เช่น การ
สร้างภาพที่มีสีสันแปลก ๆ หรือเหนือจริง สร้างภาพที่มีความแตกต่างสีจากเดิมสูง และกลับสีภาพ
ตรงกนั ขา้ ม เปน็ ต้น
1. การปรับแต่งภาพอตั โนมตั ิ

การปรับแต่งภาพอัตโนมัติประกอบด้วยคำสั่ง Auto Tone Auto Contrast และ Auto
Color คำสั่งการปรับแต่งภาพอัตโนมัติจะสามารถปรับค่า เพื่อทำการปรับแต่งภาพได้อย่างง่าย ๆ
และรวดเร็ว

1.1 การใชค้ ำสงั่ Auto Tone
การปรับโทนสีของภาพด้วยการคำนวณและเปลี่ยนแปลงภาพให้โดยอัตโนมัติภาพจะออกมา
ดี แตก่ ็จะมภี าพบางลักษณะท่ี Auto levels จะทำให้สขี องภาพผดิ เพ้ียน
1.2 การใช้คำส่งั Auto Contrast
ใช้สำหรับเพิ่มความคมชัดให้ภาพ โปรแกรมจะตัด Pixel ที่มืดที่สุดและสว่างที่สุดใน
Channel สรี วมออกไปบางส่วนแลว้ กระจาย Pixel ท่ีเหลอื ใหม่ เนอื่ งจากคำสั่งน้ีจะปรบั ภาพในแต่ ละ
Channel อย่างเทา่ ๆ กัน ดงั นั้นจึงไม่ทำใหส้ ีของภาพเพ้ยี นและไม่ช่วยแก้ปัญหาสเี พีย้ น
1.3 การใชค้ ำสงั่ Auto Color
ใช้สำหรับแก้ไขภาพที่มีเพี้ยน โดยโปรแกรมจะปรับสมดุลสี ทั้งโทนสี และส่วนมืด – สว่าง
ภายในภาพไปพรอ้ ม ๆ กนั รวมทัง้ ในสว่ นของ Shadows สว่ นที่ไดร้ ับแสง สว่างนอ้ ย หรอื ไม่แสงสว่าง
เลย ทำใหเ้ กดิ ความมืด Midtone สว่ นทม่ี คี วามสว่างไม่มาก แต่ก็มคี วามสว่างมากเพียงพอที่ จะทำให้
มองเหน็ ส่ิงตา่ ง ๆ ได้อย่างชัดเจนและ Highlight บริเวณทีม่ คี วามสว่างมากกว่าทีอ่ ่ืน
2. การปรับแก้สเี พี้ยนด้วย Eyedropper
ในโปรแกรม Adobe Photoshop มีหลายวิธีที่ใช้หรับแก้ภาพที่สีเพี้ยนได้ สำหรับการใช้
เครื่องมือ Eyedropper จากหน้าต่างของคำสั่ง Levels และ Curves นี้ เหมาะสำหรับภาพซึ่งมี
บรเิ วณท่เี ปน็ สเี ทากลาง (Neutral) อยู่ดว้ ย ซง่ึ จะช่วยให้แก้สีได้อยา่ งรวดเรว็
3. การปรับแต่งสีด้วย Color Balance
ใช้สำหรบั ปรับแตง่ สีภาพ เชน่ เพอ่ื แกป้ ัญหาสเี พี้ยนโดยการเพ่มิ ลดสัดส่วนของสหี ลกั ตา่ ง ๆ
4. การปรบั แตง่ สดี ว้ ย Hue/Saturation
ใช้สำหรับเปลี่ยนโทนสีของภาพรวมทั้งปรับความสดและความสว่างของสี โดยสามารถเลือก
ปรบั สใี ห้กับภาพโดยรวม หรอื ปรบั เฉพาะช่วงของสีใดสีหนง่ึ และยังใช้สร้างภาพแบบโทนสีเดียวได้
4.1 การใชค้ ำสัง่ Hue/Saturation การแตง่ สีภาพทง้ั ภาพ
4.2 การใชค้ ำสง่ั Hue/Saturation เปล่ยี นภาพเป็นภาพโทนสีเดียว
4.3 การใชค้ ำส่งั Hue/Saturation เลอื กปรบั แต่งเฉพาะสีเป้าหมาย

หน่วยที่ 8 การปรับแต่งภาพและการใช้ฟิลเตอร์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั วชิ า 20204-2007 300

5. การเปล่ียนภาพสีเปน็ ภาพขาวดำ
คำสั่งที่ใช้สำหรับเปลี่ยนภาพสีให้เป็นภาพขาวดำแบบ Grayscale อย่างง่าย ๆ โดยคงระดับ

ความสว่างของภาพไว เหมาะจะใช้เพื่อนำผลลัพธ์ไปสร้างลักษณะพิเศษต่าง ๆ แต่ไม่เหมาะสมจะใช้
สร้างภาพขาวดำทตี่ อ้ งการคุณภาพสงู
6. การเปลย่ี นสีวตั ถุในภาพด้วย Replace Color

ใช้สำหรับเปลี่ยนสีของวัตถุในภาพ โดยเลือกจากค่าสีที่ใกล้เคียงกันแล้วปรับให้เป็นสีอื่นตาม
ตอ้ งการ คำส่ังน้เี ป็นการผสมวธิ ีการสร้าง Selection ดว้ ยคำส่ัง Color Range กบั การปรับแต่งสีภาพ
ด้วยคำส่ัง Hue/Saturation
7. ปรับน้ำหนกั ของสีระหว่าง Channel

ใชส้ ำหรับรับเพมิ่ หรือลดนำ้ หนักของสหี ลักใน Channel ตา่ ง ๆ รวมท้งั การผสมนำ้ หนักสีจาก
Channel อื่น ๆ เข้าไปยัง Channel ที่ต้องการ นอกจากนั้น คำสั่งนี้ยังสามารถใช้สร้างภาพขาวดำ
แบบ Grayscale ทม่ี คี ุณภาพสงู ได้ คลา้ ยคำสั่ง Black & White
8. การสรา้ งภาพลกั ษณะพเิ ศษ

การสร้างภาพลักษณะพิเศษด้วย Gradient Map ใชส้ ำหรบั สรา้ งภาพลักษณะพิเศษ โดยการ
แทนที่ระดับความสวา่ งของ Pixel ต่าง ๆ ในภาพ
9. การปรับแสงเงาดว้ ย Shadow/Highlight

ใชส้ ำหรับปรบั ภาพทีมบี ริเวณของแสงและเงาต่างกันมากเกนิ ไปโดยการเพิ่มความสว่างให้กับ
บริเวณทีมืด และลดความสว่างของบรเิ วณทีแ่ สงจ้าลง ซงึ จะทำให้เหน็ รายละเอียดของภาพมากข้ึน
10. การปรบั แสงเงาดว้ ย Variations

เป็นคำสั่งใช้สำหรับปรับสี และแสงเงาของภาพ ด้วยวิธีคลิกเลือกภาพตัวอย่างที่โปรแกรม
แสดงออกมา ซึ่งจะมีการเปลี่ยนสีและแสงเงาไปทีละระดับ โดยคลิกไปเรื่อย ๆ จนได้ภาพทีมีสีและ
แสงเงาตามตอ้ งการ
11. การใชค้ ำส่ัง Filter

คำสั่ง Filter เป็นคำสั่งที่ใช้ปรับแสงและรูปแบบอัตโนมัติ โดยมีลักษณะให้เลือกใช้ หลาย
รปู แบบ สามารถปรบั รายละเอียดบางสว่ นไดต้ ามประเภทของรปู แบบทใี่ ช้

หน่วยที่ 8 การปรบั แต่งภาพและการใชฟ้ ิลเตอร์


Click to View FlipBook Version