The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โรงเรียนวัชรวิทยา สพม.41

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kunkrupeem, 2019-12-16 00:29:39

กำแพงเพชร SAVE BAG

โรงเรียนวัชรวิทยา สพม.41

กำแพงเพชร Save Bag ลดรบั ลดใช้ ถงุ พลำสตกิ
ทำควำมดีด้วยหัวใจ เฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จพระเจำ้ อยหู่ วั

Kamphaeng Phet Save Bag; Reject, Reduce using
Plastic Bags. Do Good with Heart for the King.

ผ้รู ับผดิ ชอบโครงงำน

1. นางสาวกาญจนาภรณ์ จันพุฒ มัธยมศึกษาปที ่ี 5

2. นางสาวนภสร แจง้ อ่มิ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5

3. นางสาวชลธชิ า ชว่ ยไธสง มัธยมศึกษาปที ่ี 5

4. นางสาวสุธารีรตั น์ ชาตไิ กรบญั ชา มัธยมศกึ ษาปีที่ 5

5. นางสาวณัฐณิชา มะโน มธั ยมศึกษาปีท่ี 5

โรงเรียนวัชรวทิ ยำ
สังกัดสำนกั งำนเขตพ้ืนทก่ี ำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำ เขต 41

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน
กระทรวงศึกษำธิกำร

กำแพงเพชร Save Bag ลดรบั ลดใช้ ถุงพลำสติก
ทำควำมดดี ้วยหัวใจ เฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระเจ้ำอยหู่ วั

Kamphaeng Phet Save Bag; Reject, Reduce using Plastic Bags.
Do Good with Heart for the King.

ผู้รับผิดชอบโครงงำน

1. นางสาวกาญจนาภรณ์ จันพุฒ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5

2. นางสาวนภสร แจ้งอ่มิ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5

3. นางสาวชลธิชา ช่วยไธสง มัธยมศึกษาปที ่ี 5

4. นางสาวสธุ ารรี ตั น์ ชาติไกรบัญชา มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5

5. นางสาวณฐั ณชิ า มะโน มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5

พระอำจำรยท์ ่ปี รกึ ษำ
พระอาจารย์ทะนง รติโก
ตาแหน่ง รกั ษาการเจ้าอาวาส วัดเกาะนาโจน

ทีป่ รึกษำโครงงำน
นายไพชยนต์ ศรีม่วง
ตาแหน่งผอู้ านวยการโรงเรยี นวชั รวทิ ยา
นายภมี พล เหมภูมิ
ตาแหน่ง ครู คศ. 3
เบอร์โทร : 0816887368
นางพรทพิ ย์ นิลาภรณ์
ตาแหน่ง ครู คศ. 3
เบอรโ์ ทร : 0836267137

โรงเรียนวชั รวิทยา
ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จงั หวดั กาแพงเพชร
โทรศพั ท์ 055711901 Website : http://www.wr.ac.th/



กิตติกรรมประกาศ

โครงงานคณุ ธรรม เรือ่ ง “กาเเพงเพชร Save Bag ลดรับ ลดใช้ถุงพลาสติก ทาความดีด้วย
หัวใจ เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว” สาเร็จลุลว่ งได้ดว้ ยความกรณุ าและความชว่ ยเหลอื อย่างสงู
ยิ่งจาก นายไพชยนต์ ศรีมว่ ง ผอู้ านวยการโรงเรยี นวชั รวิทยา พระอาจารย์ทะนง รตโิ ก อบต.วิชัย ไทย
พาท นายกฤษฎา คาแดง นางสาวสมุ ติ ตา มณีนก นายภีมพล เหมภมู ิ นางพรทพิ ย์ นิลาภรณ์ ที่ปรกึ ษา
โครงงานคณุ ธรรม สานกั งานเทศบาลเมอื งกาแพงเพชร และสานกั งานทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ ม
จงั หวดั กาแพงเพชร ทไี่ ดก้ รณุ าให้คาปรึกษาแนะนา และตรวจสอบ แกไ้ ข ข้อพกพร่องทกุ ขน้ั ตอนของ
การจัดทาโครงงาน คณะผจู้ ัดทาโครงงานขอขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสงู

ขอขอบพระคณุ บดิ า มารดา เพ่อื นนกั เรียน ตลอดจนผู้ทีเ่ กี่ยวข้องทุกทา่ นท่ีไม่ได้กล่าวนามไว้
ณ ที่น้ี ที่ได้ใหก้ าลังใจและมสี ว่ นช่วยเหลือใหโ้ ครงงานฉบับน้สี าเร็จลุลว่ งได้ด้วยดี

ทา้ ยท่สี ุด คณะผู้จัดทาโครงงานหวงั วา่ โครงงานฉบับนี้จะเปน็ ประโยชนก์ บั ผูส้ นใจไม่มากก็นอ้ ย

คณะผู้จัดทา
นกั เรยี นโรงเรยี นวชั รวิทยา



บทคัดย่อ

ช่อื โครงงาน กาเเพงเพชร Save Bag ลดรบั ลดใชถ้ ุงพลาสตกิ ทาความดีด้วยหวั ใจ
เฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
ผรู้ ายงาน นกั เรยี นโรงเรียนวชั รวิทยา
ปี 2562

โครงงานคณุ ธรรม เรื่อง “กาเเพงเพชร Save Bag ลดรับ ลดใชถ้ ุงพลาสตกิ ทาความดดี ้วยหวั ใจ
เฉลิมพระเกียรตสิ มเด็จพระเจ้าอยู่หวั ” โดยศึกษาการสร้างความตระหนักในการลดการใชถ้ งุ พลาสติกใน
ครอบครัวของนักเรียนโรงเรียนวชั รวิทยา ปลกู ฝังคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ในการลดรับ ลดใช้ถุงพลาสตกิ ให้สมาชิก
กาแพงเพชร Save Bag และสร้างเครือข่ายในการลดใช้ถงุ พลาสตกิ ในจงั หวัดกาแพงเพชรโดยมีครัวเรอื น
ทงั้ หมด 1,572 ครัวเรือน ระยะเวลาในการศึกษา ระหวา่ งวนั ที่ 1 กรกฎาคม – 12 กนั ยายน พ.ศ. 2562
สถานท่ีท่ีใช้ในการศกึ ษา คอื ครวั เรอื นของนกั เรยี นโรงเรียนวัชรวิทยา จงั หวัดกาแพงเพชร สถิติท่ีใช้ในการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ รอ้ ยละ, คา่ เฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษาปรากฏดังน้ี
1. การสรา้ งความรเู้ กี่ยวกับสถานการณ์การใช้ถุงพลาสติกในครอบครัวของนกั เรยี นโรงเรยี น
วัชรวิทยา พบว่า โดยภาพรวมความพึงพอใจ มคี า่ เฉลยี่ 4.76 อยู่ในระดับ “ดีมาก”
2. กิจกรรมสร้างความตระหนกั ในการลดการใชถ้ ุงพลาสติกในครัวเรอื นของนกั เรียน
โรงเรียนวัชรวิทยา พบวา่ โดยภาพรวมความพงึ พอใจ มีค่าเฉลี่ย 4.59 อยูใ่ นระดับ “ดมี าก”
3. การนาคณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ไปปฏิบตั ิสามารถสง่ เสริมกิจกรรมการลดรบั ลดใช้ ถงุ พลาสตกิ
พบวา่ โดยภาพรวมความพงึ พอใจ มีคา่ เฉลยี่ 4.54 อยใู่ นระดบั “ดีมาก”
4. กจิ กรรมสง่ เสริมการสรา้ งเครอื ขา่ ยในการลดรับ ลดใช้ ถุงพลาสตกิ พบว่า โดยภาพรวม
ความพงึ พอใจ มีค่าเฉลี่ย 4.65 อยใู่ นระดบั “ดมี าก”



แผนผงั มโนทศั น์
โครงงานคณุ ธรรม โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

1. ปญั หา
หลกั ธรรมพัฒนา อุเบกขา
พฤติกรรมบง่ ชี้ ลดรับ ลดใช้ถงุ พลาสติก
โดยใช้วัสดอุ ยา่ งอืน่ ทดแทน

2. วางแผนการดาเนนิ งาน (P) คุณธรรมอตั ลักษณ์ (สาหรับผู้จดั ทา)
วางแผนโดยใช้ บวร เปน็ ฐาน อทิ ธบิ าท 4 ได้แก่ ฉนั ทะ วิรยิ ะ
ประสานกบั หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
จิตตะ วิมังสา

3. ปฏบิ ตั ติ ามแผน (P) กาแพงเพชร คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ (สาหรบั สมาชกิ )
1. สรา้ งนวัตกรรม Save Bag พรหมวิหาร 4 ได้แก่ เมตตา กรุณา
2. รับสมัครสมาชกิ
3. บันทึกออนไลน์ มทุ ิตา อเุ บกขา
4. จดั กจิ กรรมใน Page Facebook
5. ปรับปรุงผล (A)
4. ตรวจสอบ (C) - รายงานผลการดาเนินงาน
1. รบั สมัครสมาชกิ สมทบ - เผยแพรผ่ ลงาน
2. ทาแบบสอบถาม ออนไลน์
3. จดั ทาเกยี รตบิ ตั รออนไลน์ให้กับนกั เรยี น
ทีป่ ฏิบตั ิหนา้ ทคี่ รบถว้ น



สารบัญ

หน้า
กติ ตกิ รรมประกาศ................................................................................................................................ ก
บทคดั ย่อ……………................................................................................................................................ ข
ผังมโนทัศน.์ ......................................................................................................................................... ค
สารบัญ.................................................................................................................................................. ง

บทที่ 1 บทนา
1. ท่ีมาและความสาคญั ......................................................................................................... 1
2. วตั ถปุ ระสงค์...................................................................................................................... 2
3. ขอบเขตของการศกึ ษาค้นคว้า........................................................................................... 3

บทที่ 2 วธิ ีดาเนนิ การโครงงาน
1. วธิ ีการดาเนนิ งาน.......…………………………………………………………………………………............... 4
2. งบประมาณ……………......................................................................................................... 7
3. แหล่งทม่ี าของงบประมาณ…………….................................................................................. 7
4. อุปสรรคและขอ้ ผิดพลาด...............................…………………................................................. 7
5. สรุปบทเรยี น....................................................................................................................... 7

บทที่ 3 ผลการดาเนินโครงงาน
ระยะที่ 1 เข้าใจ......................................................................................................................... 8
ระยะท่ี 2 เขา้ ถงึ ......................................................................................................................... 9
ระยะที่ 3 พฒั นา....................................................................................................................... 14

บทท่ี 4 การศึกษาวิเคราะห์
1. ปัญหาสาเหตุ.................................................................................................................. 13
2. เป้าหมาย....................................................................................................................... 13
3. หลกั การและหลกั ธรรมที่นามาใช้.................................................................................. 14
4. การประเมนิ ผล.............................................................................................................. 19
5. การประเมนิ ตนเอง......................................................................................................... 19
6. ข้อเสนอแนะ

บทที่ 5 สรปุ และข้อเสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการดาเนินโครงงาน............................................................................................ 20
5.2 แผนการดาเนนิ งานในอนาคต และขอ้ เสนอแนะ........................................................... 20

1

บทท่ี 1

บทนำ

1. ทมี่ ำและควำมสำคญั
การนาถงุ พลาสติก (Plastic Bag) มาใช้ในโลกเกิดขึน้ เมอื่ ประมาณ 40 กวา่ ปที ่ีผา่ นมา1 ถุงพลาสตกิ

เปน็ ส่งิ ประดษิ ฐ์ทกี่ าเนิดข้ึนมาเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคและยังมีต้นทุนในการผลิตท่ตี ่า
นอกจากนีถ้ ุงพลาสติกยงั เปน็ สง่ิ ท่ีทาให้เกิดความสะดวกสบายขึน้ ในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน โดยเฉพาะ
เม่ือต้องไปจับจา่ ยใช้สอยสนิ ค้าต่างๆ แต่หากมองในอีกมมุ หนึง่ จะพบวา่ ย่งิ มีการใช้ถงุ พลาสตกิ มากข้ึน
เท่าไหร่ ก็เท่ากับการไดส้ รา้ งขยะให้แก่โลกมากขนึ้ เทา่ น้นั

สาหรบั ประเทศไทย ถุงพลาสตกิ เป็นอีกหน่ึงภาชนะทีน่ ยิ มใชส้ าหรบั บรรจอุ าหารและส่ิงของ
เครือ่ งใช้ เน่อื งจากความสะดวกสบายในการใชแ้ ละจดั หาเพ่อื การดาเนินชีวิตประจาวันเมอื่ ต้องไปจับจ่าย
ใช้สอย สินค้าตา่ งๆ อีกท้ังยังมตี ้นทนุ ในการผลติ ที่ต่า ทงั้ นี้เนอ่ื งจากพลาสตกิ มีนา้ หนักเบา ทนทาน และมี
ความยืดหุยน่ ทาให้พลาสติก มีขอ้ ดเี หนือกวา่ วัสดุอนื่ นอกจากนีย้ งั ประหยัดคา่ ใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า
ด้วยเหตผุ ลดงั กล่าวทาให้มีการใช้พลาสติกเพมิ่ ขึ้น2 โดยถงุ พลาสตกิ ท่ใี ชท้ วั่ ไป ในปัจจุบนั เป็นถุงพลาสตกิ
บรรจอุ าหาร ทงั้ ร้อนและเยน็

นโยบายการลดการใช้ถงุ พลาสติกในประเทศไทยน้ัน แมจ้ ะยงั ไม่มกี ฎหมายควบคุมการใช้
ถงุ พลาสตกิ อย่างเข้มงวดเหมอื นหลายๆ ประเทศ แต่ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดคุณธรรมจริยธรรมทดี่ ี และ
จติ สานกึ ท่ีดถี งึ แม้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องก็พยายามผลกั ดนั โครงการรณรงค์เสริมสร้างจิตสานกึ การรับร้ถู งึ
ปัญหาขยะจากถุงพลาสตกิ มาอยา่ งตอ่ เน่ือง มีหลายๆ องค์กรท่อี อกมารณรงค์เร่อื งของการลดการใช้
ถงุ พลาสตกิ อย่างมากมายแต่ยังไม่มีการรณรงคไ์ หนที่นาไปุส่การลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริงและเหน็ เปน็ รูปธรรม จะ
พบเพียงแค่การจดั เป็นแคมเปญในระยะสั้นๆ เทา่ นนั้ ทาให้ปริมาณการใช้ไม่ได้ลดลงจากปกี อ่ น ๆ มิหนาซ้า
ยังมแี นวโนม้ วา่ อาจจะเพิ่มขึ้นจากเดิมอกี ด้วย3

การขาดความรู้ด้านการจดั การขยะจากถุงพลาสติกจะเหน็ ได้วา่ ประชาชนทอี่ าศัยอยูน่ อกเขตเมอื ง
มรี ปู แบบการจดั การขยะจากพลาสติกโดยการเผา ซึ่งกอ่ ให้เกิดมลภาวะทเ่ี ปน็ พษิ และเป็นอันตรายต่อ
สขุ ภาพ โดยสารเคมีจากถงุ พลาสติกเขาสูร่ า่ งกายทาให้เกิดโรคภัยไขเ้ จบ็ ต่างๆ ทั้งนปี้ ญั หาในเรอื่ งของ

1 ทีม่ า : “ประวัตคิ วำมเปน็ มำของพลำสติก” {ออนไลน์} เวปไซด์ http://www.telepart.net/index.php?lay=
boardshow&ac=webboard_show&WBntype=1&No=1579551 (สบื ค้นข้อมลู : 27 พฤษภาคม 2562)

2 กรมควบคุมมลพิษ “กำรคัดแยกขยะ” [ออนไลน์] เวปไซด์ http://www.pcd.go.th/count/lawdl.cfm?FileName
=Draft_Criteria54.pdf&BookName= (สบื คน้ ขอ้ มูล : 27 พฤษภาคม 2562)

3 สถาบนั ธุรกจิ เพ่ือสังคม “มำตรกำรนโยบำยเพอ่ื ลดกำรใชถ้ งุ พลำสติก” [ออนไลน์] เวปไซด์
http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/viewFile/28088/24136 (สบื ค้นข้อมลู :
27 พฤษภาคม 2562)

2

การขาดความรู้ของประชาชนอาจเนือ่ งมาจากในการให้ความรูโ้ ดยการรณรงค์ยังเข้าไม่ถึงกลมุ่ เป้าหมาย
การท่จี ะปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมของประชาชน ในการแกป้ ญั หาสิ่งแวดล้อมนั้น วธิ กี ารหนึง่ ทีน่ ิยมใชก้ ันคือ
การให้ความรแู้ กป่ ระชาชน เพอ่ื ใหเ้ กิดความตระหนกั และเกดิ จติ สานกึ ทีด่ ีในการแกป้ ญั หาส่ิงแวดล้อม
ซง่ึ การจะเปล่ยี นรูปแบบวถิ ชี ีวิต ใหมไ่ ดน้ ้ัน ต้องอาศัยการปลูกฝงั จากครอบครัวเน่ืองจากเปน็ หนว่ ยย่อยท่ีทา
หนา้ ท่ีผลิตทรัพยากรมนษุ ย์

ขอ้ มลู จากกรมควบคุมมลพิษระบวุ า่ มปี รมิ าณขยะท่เี กดิ ขึ้นท้ังหมดในปี 2560 จานวน 27.4 ล้าน
ตนั และมีการประมาณการว่าเปน็ ขยะพลาสตกิ จานวนร้อยละ 12 ของปรมิ าณขยะที่เกิดข้ึนท้ังหมด หรือ
ประมาณ 2 ล้านตัน แตม่ กี ารนาขยะพลาสตกิ กลับไปใชป้ ระโยชน์เฉลย่ี เพียง 0.5 ล้านตัน อกี 1.5 ล้านตัน
ถกู นาไปกาจดั และบางสว่ นตกค้างในสิง่ แวดล้อม ขยะพลาสตกิ ที่ไม่ไดน้ ากลับเข้าสรู่ ะบบการรีไซเคิล
สว่ นใหญเ่ ปน็ เศษขยะถุงพลาสตกิ ทป่ี นเปอ้ื น อาทิ ถงุ ร้อน ถุงเย็นบรรจอุ าหาร ถุงห้วิ (ประมาณ 1.2 ล้านตนั )
ขยะจากพลาสตกิ เหล่านี้ สง่ ผลต่อสุขภาพอนามยั ของประชาชน และคุณภาพสง่ิ แวดล้อม อีกทัง้ ยงั เป็น
สาเหตุหนึง่ ทท่ี าให้เกดิ ภาวะโลกร้อนด้วย

จากขอ้ มูลของสานักงานทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มจงั หวดั กาแพงเพชร พบวา่ การรณรงค์
เกี่ยวกบั การลดใช้ถงุ พลาสติกในจังหวดั กาแพงเพชรยงั ไม่เปน็ รูปธรรม เนอ่ื งจากเปน็ เรือ่ งยากท่จี ะ
ปรับเปลี่ยนวิถีชวี ิตของประชาชนในจังหวัดกาแพงเพชร การท่จี ะแกป้ ญั หาเร่อื งถงุ พลาสตกิ ได้ผลดีที่สุดใน
การแกไ้ ขปญั หาคือ การเริ่มจากโรงเรยี นให้นักเรียนรณรงค์สมาชกิ สรา้ งเครอื ข่ายในครวั เรือนของตนเองจะ
ประสบผลดที สี่ ุด4

โรงเรยี นวัชรวิทยาเล็งเห็นความสาคัญของ ปัญหาถุงพลาสตกิ ในจังหวัดกาแพงเพชร จงึ ได้ให้ความรู้
สร้างความตระหนักและปลูกฝงั คณุ ธรรมอันเปน็ อตั ลกั ษณ์ ตลอดจนเสริมสร้างเครือข่ายในการลดรับ ลดใช้
ถงุ พลาสติกในจงั หวัดกาแพงเพชร ซ่ึงมคี วามคาดหวงั วา่ จะช่วยลดจานวนถุงพลาสติกในโรงเรยี นและชุมชน
ส่งผลให้สภาพแวดลอ้ มและสุขภาวะในโรงเรียน ชมุ ชนและครวั เรอื นของนกั เรียนโรงเรียนวชั รวิทยาดขี ึ้น

2. วตั ถปุ ระสงค์
2.1 เพ่อื สรา้ งความตระหนกั ในการลดการใช้ถุงพลาสติกในโรงเรยี นและครอบครัวของนกั เรียน

โรงเรยี นวชั รวิทยา
2.2 เพอ่ื ปลูกฝงั คุณธรรมอตั ลักษณ์ในการลดรับ ลดใชถ้ งุ พลาสติก ให้สมาชกิ กาแพงเพชร Save Bag
2.3 เพอื่ สรา้ งเครอื ขา่ ยในการลดใช้ถงุ พลาสตกิ

3. ขอบเขตกำรศึกษำเรียนรู้
3.1 กลมุ่ เป้าหมายในการศึกษาคร้ังน้ี ไดแ้ ก่
3.1.1 ประชากรในการดาเนินโครงงาน คอื ครัวเรอื นของนักเรยี นท่ีกาลงั ศกึ ษาอยูใ่ น

โรงเรยี นวชั รวิทยา ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 1,745 ครวั เรอื น

4 บทสมั ภาษณ์ หวั หน้างานสง่ิ แวดล้อม ลานักงานทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมจงั หวัดกาแพงเพชร

3

3.1.2 ประชากรกลุ่มตวั อย่าง สุม่ เเบบเจาะจงโดยใชต้ ารางของเครซี่เเละมอรเ์ เกน ไดก้ ล่มุ
ตวั อย่างจานวน 317 คน

3.2 ระยะเวลาในการดาเนินงาน
ระหวา่ งวนั ที่ 1 กรกฎาคม ถึง 9 ธันวาคม พ.ศ. 2562

3.3 สถานที่ดาเนินโครงการ
3.3.1 โรงเรยี นวชั รวิทยา
3.3.2 ชุมชนของนกั เรียนทกี่ าลงั ศกึ ษาอย่ใู นโรงเรยี นวชั รวทิ ยา

4

บทท่ี 2
วธิ กี ำรดำเนนิ โครงงำน

การศึกษาเร่ือง “Save Bag” ครอบครวั วชั รร่วมใจ ลดรับ ลดใชถ้ งุ พลาสติก ทาความดีดว้ ยหวั ใจ
เฉลิมพระเกยี รตสิ มเด็จพระเจ้าอยู่หัว” โดยนกั เรยี นโรงเรียนวัชรวทิ ยา อาเภอเมือง จังหวดั กาแพงเพชร
ผูศ้ กึ ษาไดด้ าเนินการศกึ ษา ดงั นี้

1. วธิ กี ำรดำเนนิ งำน
ผู้ศึกษาไดด้ าเนินงานโครงงานคุณธรรมโดยยึดหลักศาสตรพ์ ระราชา ใน 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 เขา้ ใจ (Understanding)
ระยะท่ี 2 เข้าถึง (Connecting)
ระยะท่ี 3 พฒั นา (Development)

ระยะที่ 1 เข้ำใจ ประชุมที่ปรกึ ษา บา้ น วดั โรงเรยี น
เพือ่ กาหนดประเด็นปญั หา
ยุทธศำสตรท์ ่ี 1 โดยใช้ “บวร.เป็นฐาน”
ระเบดิ จากข้างใน
(สมาชิกสอบถามจากครอบครัว)

วิเคราะห์ประเดน็ ปญั หา ไมผ่ า่ น
โดยใช้ เทคนิค “อริยสัจ 4”

ร่วมกับชมุ ชน

ผา่ น
ศกึ ษาจากเอกสารต่างๆ

ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 2 ขอคาแนะนาหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง
ร่วมใจรวมพลงั
ถอดบทเรยี น
กาหนดกรอบการดาเนินงาน

ภำพที่ 2.1 ผงั งำน (Flowchart) ระยะที่ 1 เขำ้ ใจ

5

ยทุ ธศำสตร์ท่ี 1 ระเบิดจำกข้ำงใน
1. ประชุมทป่ี รึกษา บา้ น วดั โรงเรียน เพ่อื กาหนดประเดน็ ปญั หาโดยใช้ “บวร.เป็นฐาน”
2. วเิ คราะหป์ ระเดน็ ปัญหาโดยใช้ เทคนิค “อริยสัจ 4” รวมกบั ท่ีปรึกษา บ้าน วัด โรงเรยี น
3. คัดเลอื กประเดน็ ปญั หา
4. ผู้จัดทาโครงงานคณุ ธรรมฯ ศกึ ษาเอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง
ยุทธศำสตร์ที่ 2 รว่ มใจรวมพลงั
1. ผจู้ ัดทาโครงงานคุณธรรมฯ ปรึกษาหน่วยงานภายนอกที่เกีย่ วข้อง เพือ่ ขอความรว่ มมือ
ทางด้านข้อมูล และอุปกรณก์ ารดาเนินงาน
2. ผจู้ ัดทาโครงงานคุณธรรมฯ ร่วมกนั ถอดบทเรยี นเพ่อื ปรับปรงุ กรอบการดาเนนิ งาน

ระยะที่ 2 เขำ้ ถงึ

ยุทธศำสตรท์ ี่ 1 สรา้ งนวตั กรรม
ริเริม่ นวัตกรรม ท่ีสามารถเข้าถงึ กลุ่มเป้าหมายได้

ยทุ ธศำสตร์ที่ 2 ให้ความรเู้ กี่ยวกบั ปัญหาและ
นานกั เรียนเป็นฐาน การจดั การถุงพลาสตกิ แก่นกั เรียน

รับสมัครสมาชิกครวั เรือน
และร่วมกนั บันทกึ การลดใชถ้ ุงพลาสติก

ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 3 รณรงค์ปลกู ฝงั จติ สานึกของการลดรบั
กระตกุ จิตสานกึ ลดใชถ้ ุงพลาสติกในสถานท่ีตา่ งๆ

ยทุ ธศำสตร์ท่ี 4 ติดตามการบันทึกของสมาชิก
ผนกึ พลังเยาวชน อยา่ งต่อเนอ่ื ง 21 วัน

ให้ความรใู้ นเพจ กาแพงเพชร SaveBag
ภำพที่ 2.2 ผงั งำน (Flowchart) ระยะที่ 2 เขำ้ ถึง

6

ยทุ ธศำสตร์ที่ 1 ริเริม่ นวัตกรรม
สรา้ งนวัตกรรมท่สี ามารถเข้าถงึ กลุ่มเปา้ หมายได้ เพือ่ เผยแพร่ ความรเู้ กีย่ วกบั กจิ กรรม
กาแพงเพชร Save bag ลดรับ ลดใช้ถุงพลาสตกิ
ยุทธศำสตรท์ ่ี 2 นานักเรยี นเป็นฐาน
1. เผยแพร่ความรู้ให้กบั นกั เรียนโรงเรียนวชั รวทิ ยา ในกจิ กรรมกาแพงเพชร Save bag
ลดรบั ลดใช้ถุงพลาสติก
2. เปิดรับสมคั รสมาชิกครวั เรือน กาแพงเพชร Save bag ลดรับ ลดใช้ถงุ พลาสตกิ โดยใช้
ยทุ ธศำสตร์ที่ 3 กระตุกจิตสานึก
รณรงคป์ ลกู ฝงั จติ สานึกของการลดรบั ลดใชถ้ ุงพลาสตกิ ในสถานทตี่ า่ งๆ

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ผนกึ พลงั เยาวชน

1. ติดตามการบันทึกของสมาชิกอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 21 วัน
2. ให้ความร้ใู นกจิ กรรม กาแพงเพชร Save bag ลดรับ ลดใชถ้ งุ พลาสติก อย่างตอ่ เน่อื ง

ระยะที่ 3 พัฒนำ นกั เรียนชวนครัวเรอื นในชุมชน
ของตนเอง มาสมัครสมาชิกใหม่
ยทุ ธศำสตร์ท่ี 1
สร้างเครอื ข่ายสมาชกิ ใหม่

ยุทธศำสตร์ที่ 2 นกั เรียนและครอบครัวทผ่ี ่านเกณฑ์รับ
ช่นื ชมความสาเรจ็ เกยี รตบิ ัตรในการเข้าร่วมกิจกรรม

ให้นักเรยี นและครอบครัวทาแบบสอบถามการดาเนิน
กิจกรรม กาแพงเพชร Save bag ลดรบั ลดใช้ถงุ พลาสติก

ยทุ ธศำสตร์ที่ 3 ออกแบบถุงผ้า และนาถงุ ผ้าให้บรกิ าร
ตอ่ ยอดความสาเร็จ แก่นักเรียน และครูในโรงเรยี น

เผยแพรน่ วัตกรรมแกโ่ รงเรียน
ที่มีความสนใจ

สรุปผลการดาเนินกจิ กรรม

เผยแพร่ผลการดาเนนิ งาน
ภำพที่ 2.3 ผงั งำน (Flowchart) ระยะท่ี 3 พัฒนำ

7

ยุทธศำสตร์ท่ี 1 สรำ้ งเครอื ขำ่ ยสมำชิกใหม่
นักเรยี นชวนครัวเรือนในชุมชนของตนเอง มาสมัครสมาชิกใหม่

ยุทธศำสตร์ท่ี 2 ชืน่ ชมควำมสำเรจ็
1. นักเรยี นทผ่ี ่านเกณฑ์รบั เกยี รติบตั รในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2. ให้นักเรยี นทาแบบสอบถามการดาเนนิ กจิ กรม กาแพงเพชร Save bag
3. เผยแพร่ผลการดาเนินงาน

2. งบประมำณ 1,200 บาท
1. ป้ายประชาสัมพนั ธ์ 6 ปา้ ย 500 บาท
2. กระเป๋าผา้ 10 ใบ 1,700 บาท

รวมเป็นเงินท้งั สน้ิ

3. แหลง่ ทมี่ ำของงบประมำณ 1,200 บาท
1. งบประมาณจากโรงเรยี น 2,385 บาท
2. งบประมาณขายของ 3,585 บาท
1,885 บาท
รวมเป็นเงนิ ทั้งสน้ิ
คงเหลอื

4. อุปสรรคและข้อผิดพลำด และกำรแกไ้ ขปญั หำ

อปุ สรรค กำรแก้ไขปัญหำ
การบนั ทึกการปฏบิ ตั ิตนตามหลกั 3 R 1. สรา้ งความตระหนกั ในความซอ่ื สัตย์
ลดรับ ลดใช้ถุงพลาสติก ในโปรแกรม 2. ใหน้ กั เรียนร่วมกบั ผปู้ กครองส่งรปู การปฏบิ ตั ิตน
Google form อาจจะเปน็ ข้อมูลเทจ็ ได้ ตามหลัก 3 R ลดรบั ลดใช้ถุงพลาสติก มากบั แบบบนั ทึก
ประจาวัน อยา่ งนอ้ ยอาทติ ยล์ ะรปู
3. ตดิ ตามสถิติการลดของถงุ พลาสตกิ ทั้งในโรงเรียน และ
ในชมุ ชน โดยสอบถามจากเจา้ หนา้ ทจ่ี ัดการขยะ
4. มอบเกียรติบตั รใหก้ ับนักเรยี นท่สี ามารถปฏิบัติภาระกิจ
สาเรจ็

5. สรปุ บทเรยี น
ในการดาเนินกิจกรรมลดรบั ลดใช้ถุงพลาสติกการตรวจสอบการการบนั ทกึ ข้อมูลในโปรแกรม

Google form สมาชกิ อาจจะให้ขอ้ มูลเป็นเท็จ เพราะไมไ่ ดเ้ ห็นพฤติกรรมจรงิ แตเ่ มอื่ เราพดู ใหเ้ ข้าใจ และ

8

ใหส้ ่งรปู ทไ่ี ดป้ ฏบิ ัติมาอย่างน้อยอาทิตยล์ ะรปู สามารถแกไ้ ขอุปสรรคไดใ้ นระดับหน่งึ แตเ่ มื่อสอบถามกับ
เจา้ หนา้ ที่จดั การขยะของโรงเรียน และชุมชน จงึ ทราบวา่ สถิตถิ ุงพลาสตกิ ลดได้จรงิ ซงึ่ เปน็ สง่ิ ทีผ่ จู้ ัดทา
มีความภาคภูมิใจเป็นอย่างย่งิ

บทที่3
ผลกำรดำเนินโครงงำน

โครงงานคณุ ธรรม “ กาเเพงเพชร Save Bag ทาความดดี ้วยหวั ใจ เฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระ
เจา้ อยูห่ วั ” มผี ลการดาเนินงาน 3 ระยะ ดงั น้ี

ระยะท1ี่ เข้ำใจ (Understanding)

ยุทธศำสตรท์ ่ี 1 ระเบิดจำกข้ำงใน

1. ข้นั วางแผน
1.1 นักเรียน ตวั แทนชมุ ชน และตวั แทนคณะสงฆ์ โครงงานคุณธรรมฯ ศกึ ษาปัญหา

ที่เกดิ ข้นึ ในปัจจุบัน เพ่อื กาหนดโครงงานคณุ ธรรม โดยใช้ “บวรเป็นฐาน”
1.2 เลอื กประเด็นปัญหา คือ “การจัดการการใช้ถุงพลาสตกิ ”
1.3 นาปัญหาท่ีคัดเลอื ก วเิ คราะห์โดยใช้เทคนิคการแก้ปญั หาดว้ ย “อรยิ สัจ4”
1.4 จัดทากรอบการดาเนนิ โครงงานคณุ ธรรม
1.5 กาหนดหลกั ธรรม และคุณธรรมอัตลกั ษณท์ ี่ใชใ้ นการดาเนินโครงงานคุณธรรม

2. นกั เรยี นถอดบทเรียนจากคาแนะนาที่ได้จากท่ีปรกึ ษาโครงงานคุณธรรม

3. ศึกษาเอกสารท่ีเก่ยี วข้องทงั้ เอกสารทเ่ี ปน็ บทความ เอกสารในสอ่ื ออนไลน์ และวีดีโอ
ในโปรแกรม Youtube

ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 2 ร่วมใจรวมพลัง ผ้จู ัดทาไดเ้ ดินทางไปปรึกษากับหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง ดงั น้ี

9

2.1 เทศบาลเมอื งกาแพงเพชร ในกิจกรรม สานกั งานปลอดโฟมและพลาสติก รวมทง้ั ขอข้อมูลใน
การจดั การขยะพลาสตกิ ในเทศบาลเมอื งกาแพงเพชร

2.2 สานกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ในกิจกรรม ลดรบั ลดให้ ลดใช้ถงุ พลาสตกิ
ส่ิงทไี่ ด้จากการให้คาแนะนา การลดใช้ถุงควรเร่มิ จากนักเรียนแลว้ ลงไปสู่ผ้ปู กครอง

2.3 ถอดบทเรยี นเพอ่ื นามาวางกรอบการดาเนินโครงงานคุณธรรมฯ
สิง่ ที่ได้จำกกำรสอบถำมจำกหนว่ ยงำนทเ่ี กี่ยวข้อง คอื
1) การเผยแพรค่ วามรู้ควรเรมิ่ จากนกั เรยี นสู่ผปู้ กครองจะไดผ้ ลดที สี่ ุด
2) การเผยแพรท่ างสอื่ โซลเชียลจะทาให้ถงึ กลุ่มเปา้ หมายไดด้ ีทีส่ ุด
3) การเดินถอื ป้ายอย่างเดียวไม่ได้ผล ควรแม่แผ่นพบั และถา่ ยภาพคนที่เป็นแบบอยา่ ง

แลว้ นาไปลงโซลเชยี ลจะได้ผลดีทีส่ ดุ
ระยะท่ี 2 เข้ำถงึ

ยุทธศำสตร์ท่ี 1 ริเริ่มนวัตกรรม
1.1 สร้างเพจ “ กาเเพงเพชร Save Bag” เพื่อเปน็ ส่ือกลางในการแจ้งขอ้ มลู ข่าวสารต่างๆ ใน
ระดับจงั หวัดกาแพงเพชร และบคุ คลผู้สนใจ

10

1.2 สร้างหลักสูตร “กาแพงเพชร Save Bag ลดรบั ลดใชถ้ งุ พลาสตกิ ” ประกอบด้วย
แผนการจัดกิจกรรม และสอ่ื สามารถดาวนโ์ หลดในเพจได้

ยุทธศำสตร์ท่ี 2 นำนกั เรยี นเปน็ ฐำน
2.1 เผยแพร่ในระดบั โรงเรยี น (คาบประชุม) ของนักเรียนทั้ง ม.ต้น และ ม.ปลาย โดยกาหนด
หลกั สตู รการลดใช้ถงุ พลาสติกในครวั เรือน

11

2.2 รับสมคั รสมาชกิ ครอบครวั กาแพงเพชร Savebag ลดรับ ลดใช้ถุงพลาสตกิ โดยใช้
Google Forms ในการรับสมคั ร โดยนักเรยี นโรงเรยี นวัชรวทิ ยา ตกลงกับผู้ปกครองใหเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม

2.3 นกั เรียนทีเ่ ปน็ สมาชกิ บันทกึ การลดใชถ้ ุงในครวั เรอื นทุกวัน ถงุ พลาสติก โดยใช้
Google Forms เป็นเวลา 21 วัน

ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 3 กระตกุ จิตสำนึก
การกระตุกจิตสานึกของชาวกาแพงเพชรให้รว่ มกนั ลดรับ ลดใช้ถุงพลาสตกิ ซึ่งเป็นเร่อื งที่

12

ทกุ คนทราบอย่แู ลว้ แต่บางคร้ังอาจหลงลืม บางครง้ั ถือความสะดวกส่วนตน จึงทาให้ปรมิ าณถงุ พลาสตกิ
เพิ่มข้นึ ดังน้ผี ู้จัดทาจงึ ทาการกระตกุ จติ สานึกโดยการเข้าไบรณรงค์แจกแผน่ พับใบปลวิ และ
ตามหา Idol การลดรบั ลดใชถ้ ุงพลาสตกิ

รณรงค์กับประชาชนทั่วไป ณ ตน้ กาเนดิ ถุงพลาสตกิ 3 ตลาด 1 วัด 1 โรงเรียน คอื
1. เดินรณรงค์ ณ ตลาดประชารฐั (ตลาดเกษตร)

2. เดินรณรงค์ ณ ตลาดศูนยก์ าแพงเพชร

3. เดินรณรงค์ ณ ตลาดย้อนยคุ นครชมุ

4. จดั กจิ กรรมรณรงค์ ณ โรงอาหารโรงเรียนวัชรวิทยา โดยติดปา้ ยและใชเ้ สียงประชา
สัมพนั ธ์ ตามสายของสภานักเรียนในการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ อยา่ งต่อเนือ่ ง

13

5. นิมนตเ์ จ้าอาวาธช่วยรณรงค์การลดรับ ลดใช้ ถงุ พลาสสติก ณ วัดเกาะน้าโจน โดย
นมิ นตพ์ ระเทศนส์ อดแทรกความตระหนกั เรือ่ ง การลดรบั ลดใช้ถุงพลาตกิ ในวนั พระใหก้ ับญาตโยมฟัง

ยุทธศำสตร์ท่ี 4 ผนกึ พลงั เยำวชน
1. นักเรียนนา กระบวนการ 3 R ลดรบั ลดใชถ้ งุ พลาสตกิ กระตนุ้ ในครอบครัวของนกั เรียน

และนามาบนั ทึกใน app อยา่ งต่อเน่อื งเป็นเวลา 21 วัน

2. ให้ความรใู้ นเพจอย่างต่อเนือ่ ง

14

3. จดั กจิ กรรมในเพจ
3.1 กจิ กรรมตามหาตน้ แบบลดรบั ลดใช้ ถงุ พลาสติก

3.1 กิจกรรมสมั ภาษณต์ ้นแบบลดรบั ลดใช้ ถุงพลาสตกิ

15

4.3.2 กจิ กรรม plastic bags Challenge เปน็ การทากจิ กรรมใหส้ มาชิกและผู้ท่สี นใจได้ แสดง
ความคิดเหน็ เก่ยี วกบั วิธกี ารลดใช้ถุงพลาสตกิ

ระยะที่ 3 พฒั นำ
ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 1 สรำ้ งเครือขำ่ ยสมำชิกใหม่

1. นักเรียนชวนครัวเรอื นในชมุ ชนของตนเอง มาสมคั รสมาชิก กาแพงเพชร Save bag ลดรับ
ลดใชถ้ ุงพลาสตกิ มสี มาชกิ เพ่ิมเตมิ 132 คน

ยุทธศำสตร์ท่ี 2 ช่ืนชมความสาเรจ็

16

1. นกั เรยี นที่บันทึกอย่างสมา่ เสมอ สามารถเขา้ ไปดาวน์โหลดเกยี รตบิ ัตรในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมใน
ครงั้ น้ีได้ (เกียรตบิ ตั รออนไลน์) เพอื่ เปน็ การเรา้ ให้ทากิจกรรม

2. ให้นกั เรียนทาแบบสอบถามการดาเนินกจิ กรม กาแพงเพชร Save bag ลดรบั ลดใช้
ถงุ พลาสติก

2. สรุปผลการดาเนินกิจกรรม
3. เผยแพรผ่ ลการดาเนนิ งาน

บทท่ี 4
กำรศึกษำวิเครำะห์

1. ปญั หำและสำเหตุ
จากข้อมลู ของสานกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มจงั หวัดกาแพงเพชร พบวา่ การรณรงค์

เก่ียวกบั การลดใช้ถงุ พลาสติกในจังหวดั กาแพงเพชรยงั ไม่เปน็ รูปธรรม เนือ่ งจากเป็นเร่อื งยากท่ีจะ
ปรบั เปลยี่ นวิถีชวี ติ ของประชาชนในจงั หวัดกาแพงเพชร การทีจ่ ะแก้ปญั หาเรื่องถงุ พลาสตกิ ได้ผลดีท่ีสดุ ใน

17

การแก้ไขปัญหาคือ การเริ่มจากโรงเรียนใหน้ ักเรียนรณรงคส์ มาชกิ สรา้ งเครอื ข่ายในครัวเรือนของตนเองจะ
ประสบผลดีท่ีสุด5

โรงเรยี นวัชรวิทยาเล็งเห็นความสาคัญของ ปัญหาถุงพลาสตกิ ในจงั หวดั กาแพงเพชร จึงได้ให้ความรู้
ความตระหนักและปลูกฝงั คุณธรรมอนั เป็นอัตลักษณต์ ลอดจนเสรมิ สร้างเครอื ข่ายในการลดรับ ลดใช้
ถงุ พลาสตกิ ตลอดจนเสริมสรา้ งเครอื ข่ายในการลดรับ ลดใชถ้ ุงพลาสตกิ ในจงั หวัดกาแพงเพชร ซึง่ มี
ความคาดหวงั ว่าจะช่วยลดจานวนถุงพลาสติกในโรงเรียนและชุมชน สง่ ผลให้สภาพแวดลอ้ มและสขุ ภาวะ
ดีขน้ึ

ตำรำงแสดงกำรวเิ ครำะห์ปัญหำและสำเหตขุ องปัญหำ ดว้ ยเทคนคิ คดิ แกป้ ญั หำ “อรยิ สจั 4”

สภำพปัญหำ อริยสัจ 4 สำเหตุ
ทกุ ข์ การจัดการขยะถุงพลาสติกไม่ทนั กับจานวนที่เพม่ิ ขน้ึ
กำรจดั กำรขยะ ทาให้ตกค้างในสิง่ แวดลอ้ มจานวนมาก ซ่ึงใชเ้ วลายอ่ ยสลาย 450 ปี
ถงุ พลำสติก สมุทัย ถงุ พลาสติกราคาถกู หาง่าย ใชง้ า่ ย
ไมท่ ันกบั จำนวน นโิ รธ ลดปริมาณการใช้ถุงพลาสตกิ ให้น้อยลงในสังคม
ทเี่ พิ่มขึน้ มรรค ลดรับ ลดใช้ ถงุ พลาสตกิ

2. เปำ้ หมำย
2.1 เชงิ ปรมิ ำณ
2.1.1 มคี รวั เรอื นของนกั เรียนโรงเรยี นวชั รวทิ ยา เขา้ รว่ มโครงานคุณธรรม รอ้ ยละ 80
2.1.2 มีนวัตกรรมเกีย่ วกับ ลดรบั ลดใช้ถงุ พลาสตกิ อยา่ งนอ้ ย 1 อยา่ ง
2.1.3 มเี ครอื ข่ายในการลดใชถ้ งุ พลาสติกในจังหวัดกาแพงเพชร
2.2 เชงิ คณุ ภำพ
2.2.1 ครัวเรือนของนกั เรียนมีความตระหนกั ในการลดการใช้ถงุ พลาสตกิ ในครอบครวั ของ

นกั เรยี นโรงเรียนวัชรวทิ ยา
2.2.2 ครัวเรือนของนกั เรยี นตระหนักคุณธรรมอตั ลักษณใ์ นการลดรับ ลดใช้ถุงพลาสตกิ

3. หลักกำรและหลักธรรมทีน่ ำมำใช้
3.1 แนวพระรำชดำริ
“…ปัญหาต่างๆ เกยี่ วกับสภาวะแวดลอ้ ม อันเน่อื งมาจากมลพษิ หรือความเส่ือมโทรมของ

ทรพั ยากรธรรมชาติ ไมว่ า่ จะเกิดข้นึ ในทหี่ น่ึงท่ีใดก็ตาม ยอ่ มสง่ ผลกระทบตอ่ เน่ืองไปถงึ ท่อี ื่นๆ ดว้ ยเหตนุ ที้ กุ คน
ทกุ ประเทศในโลกจงึ ย่อมมีส่วนรับผดิ ชอบอยู่ดว้ ยกัน ทง้ั ในการแกไ้ ข ลดปัญหา และปรับปรงุ สร้างเสริมสภาวะ
แวดลอ้ ม ให้กลับคืนมาสู่สภาพอนั จะเอ้อื ตอ่ การมชี วี ิตอยอู่ ย่างเป็นสุขของตนเองและเพ่อื นมนษุ ย์…”

พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวรัชกาลท่ี 9 เมอื่ วนั พุธที่ 20 พฤศจกิ ายน

5 บทสัมภาษณ์ หัวหนา้ งานส่งิ แวดลอ้ ม ลานกั งานทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อมจงั หวดั กาแพงเพชร

18

พทุ ธศักราช 2539

“การเป็นพลเมอื งทีด่ ี คอื “ เหน็ อะไรทีจ่ ะทาเพ่อื บา้ นเมอื งได้กต็ ้องทา เช่น งานอาสาสมคั ร งาน
บาเพญ็ ประโยชนง์ านสาธารณกุศลให้ทาด้วยความมีนา้ ใจ และความเออื้ อาทร”

พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 10

3.2 หลักกำรทนี่ ำมำใช้ : บรหิ ำรงำนอยำ่ งมีคณุ ภำพ PDCA

หลักกำร พฤติกรรมบ่งชี้

กำรวำงแผน P ระยะท่ี 1 เข้ำใจ

วางแผนโดยใชช้ ุมชนเป็นฐาน ประสานกบั หนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง

กำรนำไปปฏบิ ตั ิ D ระยะที่ 2 เข้ำถงึ

1. สรา้ งนวตั กรรม นาความรู้ 3R ลดรบั ลดใช้ถุงพลาสติก เขา้ สโู่ รงเรียน

ครัวเรอื น ชมุ ชน และวัด โดยผา่ นทาง Page Facebook

2. รับสมัครสมาชิก กาแพงเพชร Save Bag ออนไลน์

3. บันทกึ ออนไลน์ ติดตามตรวจสอบอยา่ งต่อเน่อื งเปน็ เวลา 21 วนั

4. จดั กจิ กรรมใน Page Facebook อย่างต่อเนอ่ื ง

กำรติดตำม C ระยะท่ี 3 พัฒนำ

1. รบั สมัครสมาชกิ สมทบ

2. ทาแบบสอบถาม ออนไลน์

3. จดั ทาเกยี รติบตั รออนไลนใ์ หก้ บั นักเรยี นทปี่ ฏิบตั หิ นา้ ทีค่ รบถว้ น

กำรดำเนนิ กำร A ระยะท่ี 3 พัฒนำ (ต่อ)

1. สรปุ ผลการดาเนินงาน

2. เผยแพรผ่ ลการดาเนินงาน

3.3 หลกั ธรรมท่ีนำมำใชก้ บั ผูจ้ ดั ทำโครงงำน : อิทธิบำท 4

หลกั กำร พฤติกรรมบ่งช้ี

ฉันทะ ผจู้ ัดทาโครงงานมจี ติ อาสาทางานอย่างมีความตง้ั ใจสม่าเสมอ มีความรกั ในกิจกรรม

โครงงานคณุ ธรรม

วริ ิยะ ผจู้ ดั ทาโครงงานมีการวางแผนอย่างชดั เจนและทางานอยา่ งเป็นระบบ มุ่งมนั่

ดาเนนิ งานอยา่ งต้ังใจ

จติ ตะ ผ้จู ดั ทาโครงงานมีความเอาใจใส่และรบั ผดิ ชอบในหนา้ ที่อยา่ งชดั เจน

19

วมิ งั สำ ในการดาเนินโครงงานผ้จู ัดทาโครงงานมีการพินจิ พเิ คราะหแ์ ละใช้ปัญญาในการ
ตรวจสอบงานทกุ ครัง้ เพอื่ ให้บรรลุตามวตั ถุประสงค์

3.4 หลักธรรมทีน่ ำมำใช้กับสมำชกิ : พรหมวิหำร 4 (คณุ ธรรมอตั ลักษณ)์

หลกั กำร พฤตกิ รรมบ่งช้ี

เมตตำ ชกั ชวนครัวเรือน ลดรับ ลดใช้ ถุงพลาสตกิ

กรุณำ ปรารถนาดี แนะนากระบวนการ 3 R ลดรับ ลดใช้ ถุงพลาสติก ใหก้ บั คนทเ่ี รารกั

มุทติ ำ ยนิ ดกี บั บุคคลที่ ลดรับ ลดใช้ ถุงพลาสติก แม้ไมใ่ ชส่ มาชกิ ก็ตาม

อุเบกขำ ลดรบั ลดใช้ถงุ พลาสติกโดยใชว้ ัสดุอย่างอืน่ ทดแทน

3.5 ควำมสอดคล้องกับหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยี ง

หลกั กำร พฤตกิ รรมบ่งชี้

พอประมำณ ลดรบั ลดใชถ้ ุงพลาสตกิ โดยใช้ ถุงผ้า ปน่ิ โต แกว้ ส่วนตวั และตะกรา้ ทดแทน

มเี หตุผล การลดรบั ลดใช้เปน็ วิธจี ดั การถุงพลาสตกิ ทด่ี ีท่ีสดุ

มภี มู คิ ้มุ กนั มีสขุ ภาวะที่ดี ไมเ่ สียงบประมาณในการจดั การถุงพลาสตกิ

ควำมรู้ ศึกษาเอกสาร และปรกึ ษาหน่วยงานที่เกยี่ วชอ้ ง

คณุ ธรรม พรมวิหาร 4 คอื เมตตา กรณุ า มทุ ิตา และอุเบกขา

4. กำรประเมนิ ผลงำน
จากแบบสอบถามความพงึ พอใจเมอ่ื ดาเนนิ งานเสร็จส้นิ พบว่า
1. การสร้างความรู้เกย่ี วกบั สถานการณ์ถงุ พลาสติกในครอบครวั ของนักเรียนโรงเรียน

วชั รวทิ ยา พบว่า โดยภาพรวมความพึงพอใจ มีค่าเฉล่ีย 4.76 อยู่ในระดบั “ดีมาก”
2. กจิ กรรมสร้างความตระหนักในการลดการใชถ้ งุ พลาสติกในครวั เรือนของนกั เรียน

โรงเรยี นวชั รวทิ ยา พบว่า โดยภาพรวมความพงึ พอใจ มคี ่าเฉลย่ี 4.59 อย่ใู นระดับ “ดมี าก”
3. การนาคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ไปปฏบิ ัตสิ ามารถส่งเสริมกิจกรรมการลดรบั ลดใช้ถุงพลาสติก

พบวา่ โดยภาพรวมความพงึ พอใจ มคี ่าเฉลี่ย 4.54 อยูใ่ นระดับ “ดีมาก”
4. กิจกรรมสง่ เสริมการสร้างเครอื ข่ายในการลดรับ ลดใช้ ถุงพลาสติก พบว่า โดยภาพรวม

ความพึงพอใจ มีค่าเฉลย่ี 4.65 อยใู่ นระดบั “ดีมาก”

5. กำรประเมินตนเอง
จากการถอดบทเรียนของสมาชกิ โครงงานเมื่อดาเนินงานเสรจ็ สิ้น พบวา่
1. นกั เรียนมคี วามภาคภมู ใิ จในโครงงานท่ตี นเองทา ท่ีลดถงุ พลาสตกิ ถึงแมจ้ ะเล็กน้อย แตก่ ็เปน็

จุดเริ่มตน้ ทีด่ ีในการชว่ ยเหลอื สังคม

20

2. นกั เรยี นไดร้ บั ความชมเชยจากครู เพอื่ นนักเรียน และชมุ ชนทีม่ คี วามกลา้ ในการดาเนินกจิ กรรม
อยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงให้เห็นถงึ การนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินโครงการได้
เป็นอยา่ งดี

3. นกั เรียนได้แสดงถงึ การคานึงถงึ ประโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ สว่ นตวั
4. นักเรยี นได้แสดงถงึ การทางานอย่างเป็นระบบ สามารถสรา้ งนวตั กรรมในการลดรบั ลดใช้
ถงุ พลาสติกได้
6. ข้อเสนอแนะ
6.1 พระสงฆท์ ่ีปรึกษำ พระอาจารย์ทนง รตโิ ก
โครงงานน้ีเปน็ โครงการทีด่ ี ควรมกี ารดาเนินงานต่อยอด ใหก้ ว้างขวางยงิ่ ข้ึน ทางวัดยนิ ดีให้
การสนับสนุน และรว่ มกจิ กรรม
6.2 ผ้บู ริหำรทปี่ รึกษำ นายไพชยนต์ ศรมี ่วง ผอู้ านวยการโรงเรยี นวชั รวิทยา
โครงการบรรลุผลสาเรจ็ ได้ดว้ ยความมีระเบยี บวนิ ัยใฝ่รู้ และความพอเพียง ส่งผลถึงประโยชนแ์ ก่
ตัวนักเรยี นและครอบครวั นกั เรยี นได้
6.3 อำจำรย์ท่ปี รกึ ษำ นายภีมพล เหมภมู ิ ครูโรงเรยี นวชั รวิทยา
การดาเนนิ งาน ตอ้ งใชค้ ุณธรรมหลายข้อ ต้องมาบูรณาการเพ่อื นาไปส่คู วามสาเรจ็ และตอ้ งมี
ความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ ซ่งึ นาไปประยุกต์ใชไ้ ด้ ทางานสาเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี
6.4 ควำมคิดเหน็ ของผปู้ กครองนักเรยี น นางสาวสมุ ิตตา มณีนก ตัวแทนชุมชน
คนในชมุ ชนใหค้ วามรว่ มมอื ในการลดรับ ลดใช้ถงุ พลาสติก เป็นอย่างดี และเริ่มใช้ถงุ ผ้า
มาซื้อของท่ีรา้ นค้ามากยง่ิ ขนึ้
6.5 ควำมคิดเหน็ ของเพ่ือนนกั เรยี นทเี่ ขำ้ ชมโครงงำน นำงสำวจริ นนั ท์ เทยี นสู
นกั เรยี นชนั้ ม.5 โรงเรยี นวัชรวทิ ยำ
เมือ่ เขา้ ร่วมโครงงานแลว้ ตอนแรกดูเหมือนวา่ ทายากไมส่ ะดวกแต่เมือ่ ทาไปซกั พกั กไ็ มไ่ ด้ลาบาก
ในการลดรบั ลดใช้ถุงพลาสติก

21

บทท่ี 5
บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ

1. สรปุ ผลกำรดำเนินโครงงำน
การศึกษาเรื่อง “กาเเพงเพชร Save Bag ลดรบั ลดใชถ้ งุ พลาสตกิ ทาความดีดว้ ยหวั ใจ

เฉลิมพระเกยี รตสิ มเด็จพระเจ้าอยู่หวั ” โดยนักเรียนโรงเรยี นวัชรวิทยา อ.เมอื ง จ.กาแพงเพชร สรปุ ผล ไดน้ ี้
1. โครงงานคณุ ธรรม เกดิ จากความร่วมมือของ บา้ น วัด โรงเรยี น เปน็ ฐานในการกาหนดปัญหา

ซ่งึ การไดม้ าซง่ึ ปัญหาและสาเหตุ ใช้วธิ ีคิดแกป้ ัญหา “อรยิ สัจ 4”
2. ประเดน็ ปญั หาของโครงงานเกิดจากขาดคุณธรรม พรหมวหิ าร 4 คือ “การไม่ลด ไมล่ ะใช้

ถงุ พลาสตกิ ” ดังนัน้ จงึ ได้กาหนดคณุ ธรรมอัตลักษณ์ คือ พรหมวหิ าร 4 คอื เมตตา (ชักชวนลดรบั ลดใช)้ กรณุ า
(แนะนา 3R) มุทิตา (ยินดีกับบุคคลตวั อยา่ ง) อเุ บกขา (ลดรบั ลดใช้)

3. ในการดาเนนิ งานโครงงานไดน้ าหลักเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกตใ์ ช้ ครบท้งั 3 หว่ ง 2 เง่อื นไข
4. คณะผู้จัดทาได้จัดทา Page Facebook “กาแพงเพชร Save Bag” เพื่อเป็นการสือ่ สารกบั
สมาชกิ และบุคคลทั่วๆ ไป และมกี ารดาเนินงานของ Page Facebook อย่างต่อเน่ือง ทาให้มสี มาชิกครัวเรอื น
เข้าร่วมโครงงานจานวน 1,572 ครัวเรอื น มีนกั เรยี นท่ีทาครบ 21 วัน (สร้างนสิ ัย) ติดตอ่ กัน
จานวน 678 คน และมีสมาชิกสมทบ จานวน 132 คน มีจานวนถุงพลาสตกิ ทล่ี ดได้ทัง้ หมด 84,667 ใบ
5. จากแบบสอบถามความพงึ พอใจเมือ่ ดาเนนิ งานเสรจ็ สนิ้ พบว่า ความถงึ พอใจโดยภาพรวมอยู่
ในระดบั “ดีมาก”

2. แผนกำรดำเนินงำนในอนำคต และขอ้ เสนอแนะ
แผนกำรดำเนนิ งำนในอนำคต
1) นาความร้ทู ่ีได้ทาเปน็ อนิ โฟกราฟฟคิ ของตนเอง
2) เผยแพร่ข้อมูลขา่ วสารไปยงั สอ่ื ของจงั หวัดกาแพงเพชร
3) ทาโครงการร่วมกับสานกั งานเทศบาล โรงเรียนปลอดถงุ พลาสตกิ เพ่ือของบประมาณ
4) นาเสนอนโยบายโรงเรยี นปลอดถงุ พลาสติก กับผู้อานวยการโรงเรียนวชั รวิทยา
ขอ้ เสนอแนะ
1) ควรสรา้ ง app ทีเ่ ขา้ ไปใชง้ านง่ายโหลดใน Play Store ได้
2) ควรขยายไปเรอื่ งกลอ่ งโฟม และหลอดพลาสติก


Click to View FlipBook Version