The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือครู วิทยาการคำนวณ ม.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นิชารี ผิวจันทร์, 2019-06-14 06:13:48

คู่มือครู วิทยาการคำนวณ ม.1

คู่มือครู วิทยาการคำนวณ ม.1

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 2 | การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี 45

3. ทักษะและกระบวนการท่เี ปน็ จดุ เนน้

3.1 ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
3.2 ทกั ษะการสื่อสาร
3.3 ทกั ษะความคดิ สร้างสรรค์
3.4 ทกั ษะการทำ�งานร่วมกับผ้อู ่ืน

4. ความรู้เดิมทผ่ี ้เู รียนต้องมี

เทคโนโลยี เปน็ ส่ิงทม่ี นุษยส์ รา้ งหรือพฒั นาข้ึน ซึง่ อาจเป็นไดท้ งั้ ชน้ิ งานหรือวธิ ีการ เพื่อใช้แกป้ ญั หา สนองความต้องการ
หรอื เพมิ่ ความสามารถในการทำ�งานของมนษุ ย์

5. สาระสำ�คญั

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี มสี าเหตหุ รอื ปจั จยั มาจากหลายดา้ น เชน่ ปญั หา ความตอ้ งการ ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์
ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม โดยอาจเป็นการปรับปรุงกระบวนการผลิต ลักษณะทางกายภาพ วัสดุ หน้าที่ใช้สอย ระบบกลไก
การท�ำ งาน การใชง้ าน รวมถงึ ประสิทธภิ าพของวธิ กี าร สิ่งของเคร่อื งใช้หรอื ผลติ ภัณฑ์

6. ส่ือและอปุ กรณ์ เรอ่ื ง เวลา (นาท)ี
15
6.1 ใบกจิ กรรม การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีการซกั ผา้ 10
เครื่องซักผ้าในอนาคต 20
ใบกิจกรรม การวเิ คราะห์สาเหตแุ ละผลการเปล่ียนแปลง 50
กิจกรรมเสนอแนะที่ 1 ของเทคโนโลยี 20
กิจกรรมเสนอแนะท่ี 2 อะไรหนอคอื การเกษตรแนวด่ิง
การวิเคราะห์สาเหตุหรอื ปจั จยั ท่ีส่งผลตอ่
กิจกรรมท่ี 2.1 การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี

กจิ กรรมท้าทายความคิด

กิจกรรมทา้ ยบท

6.2 สื่ออื่น ๆ
รปู ภาพหรืออุปกรณท์ ่ใี ชเ้ ขยี น เชน่ พกู่ นั ปากกาหมึกซมึ ปากกาลูกลื่น ปากกาแสง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

46 แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 2 | การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

7. แนวทางการจัดการเรยี นรู้

1) ผเู้ รยี นและผสู้ อนรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื ทบทวนความรู้ เรอ่ื ง ความหมายและประโยชนข์ องเทคโนโลยี โดยผเู้ รยี นยกตวั อยา่ ง
เทคโนโลยีท่ีอยูร่ อบตัว
แนวค�ำ ตอบ เทคโนโลยี เปน็ สง่ิ ทม่ี นุษย์สรา้ งหรือพฒั นาขึน้ ซึ่งอาจเปน็ ได้ทัง้ ช้ินงานหรือวธิ กี าร เพ่อื ใช้แกป้ ญั หา สนอง
ความตอ้ งการ หรอื เพ่ิมความสามารถในการทำ�งานของมนษุ ย์ ซึง่ เทคโนโลยีท่ีอยรู่ อบตัวเรา เชน่ เสอื้ ผา้ โตะ๊ เกา้ อี้ สมุด ปากกา
ดินสอ ไม้บรรทดั ยางลบ กระเปา๋ ถ้วย ชาม เปน็ สิง่ ท่ชี ว่ ยอ�ำ นวยความสะดวกในการดำ�เนนิ ชวี ิต ช่วยแก้ปัญหาหรือสนองความ
ตอ้ งการ เพ่ิมความสามารถในการทำ�งานของมนุษย์ ทำ�ให้มนุษย์ทำ�งานไดด้ ีข้นึ รวดเร็วขนึ้ และมีค่าใช้จา่ ยถูกลง
2) ผสู้ อนหยบิ ภาพอปุ กรณท์ ใี่ ช้เขียน ให้ผ้เู รียนดทู ีละภาพ ดังต่อไปนี้

พ่กู นั ปากกาหมกึ ซมึ ปากกาลกู ลนื่ ปากกาแสง
(light pen)

รปู 2.1 อุปกรณท์ ใ่ี ช้เขียน

แลว้ รว่ มกนั อภิปรายในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
2.1) ประโยชน์ของอุปกรณ์ทใ่ี ชเ้ ขยี น
แนวค�ำ ตอบ เปน็ เครอ่ื งมอื ท่ใี ชส้ ำ�หรับการเขยี นเพ่ือบนั ทึกหรือส่ือสารกัน
2.2) อุปกรณ์ในการเขยี นเป็นเทคโนโลยีหรือไม่ เพราะเหตุใด
แนวค�ำ ตอบ เปน็ เทคโนโลยี เพราะ เปน็ อปุ กรณห์ รอื เครอื่ งใชท้ ม่ี นษุ ยค์ ดิ คน้ ขน้ึ เพอ่ื แกป้ ญั หาหรอื สนองความตอ้ งการ
เชน่ บนั ทึกขอ้ ความเพือ่ เตือนความทรงจำ� ใช้เขียนสิ่งท่ีต้องการส่ือสารใหผ้ ู้อน่ื ได้รบั รู้
2.3) ผู้เรยี นคิดว่าเหตใุ ดเทคโนโลยอี ุปกรณ์การเขียนจงึ มีการเปลยี่ นแปลงไปจากอดตี จนถึงปจั จบุ นั
แนวคำ�ตอบ มนุษยต์ ้องการความสะดวกในการเขยี น จงึ เกดิ การปรบั ปรงุ แก้ไข พัฒนาอปุ กรณ์ท่ใี ช้เขยี น ใหใ้ ช้งาน
ไดส้ ะดวกยง่ิ ขน้ึ รวมทงั้ มีความสวยงามนา่ ใชง้ าน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 | การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี 47

รายการ พ่กู นั ปากกาหมึกซึม ปากกาลูกลืน่ ปากกาแสง
(light pen)
ลักษณะ ในอดตี หวั พูก่ ันทำ�จาก มหี มึกในตัว ใชห้ มกึ แบบแหง้ เรว็
ทั่วไป ขนสตั ว์ พกู่ ันไม่มีหมึก สว่ นปากทำ�จากโลหะ มลี กู บอลโลหะที่ ใชเ้ ซลลแ์ บบ Photo-
ในตวั ดงั นัน้ ต้องจมุ่ และมีรอยผา่ กลาง หวั ปากกา ท�ำ ให้ electric ท่ีมคี วามไว
หมกึ ก่อนใช้วาดหรือ จึงไมต่ อ้ งจ่มุ หมึก เส้นหมกึ สมำ�่ เสมอ ตอ่ แสงเปน็ ตวั กำ�หนด
เขียนทกุ คร้ัง ทุกคร้งั ท่เี ขียน เขียนไดส้ ะดวก ต�ำ แหนง่ บนจอภาพ

ต้องจมุ่ หมึกก่อน เสน้ หมกึ ไม่สม่ำ�เสมอ ลบหมึกยาก ปากกายงั ต้องใช้
การเขยี น รวมท้ัง หมกึ แหง้ ช้า ทำ�ให้ เมอ่ื หมึกหมด แบตเตอรีใ่ นการ
หัวพกู่ นั มีความอ่อน เปรอะเปื้อนได้งา่ ย จะไม่สามารถใช้ ทำ�งาน
ทำ�ใหใ้ ชเ้ ขยี นไม่ เขียนต่อได้
จดุ ด้อย สะดวก
หมึกเลอะได้งา่ ย

อ้างอิงจาก http://www.lib.ru.ac.th/journal/penc.html
http://www.material.chula.ac.th/RADIO44/september/RADIO9-8.HTM

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

48 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 2 | การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

3) ผู้สอนกระตุ้นผู้เรียนในคำ�ถามท่ีว่าใครเคยซักผ้าบ้าง ผู้สอนกล่าวช่ืนชมผู้เรียนท่ีเคยซักผ้า แล้วถามต่อว่า ผู้เรียนคิดว่า
จดุ ประสงคข์ องการซกั ผา้ คอื อะไร และเราซกั ผ้าอย่างไร ใชอ้ ปุ กรณ์หรือเคร่ืองมอื อะไรในการซกั ผ้าบา้ ง

แนวค�ำ ตอบ จดุ ประสงคข์ องการซกั ผา้ คอื ท�ำ ใหผ้ า้ สะอาด ขจดั คราบสกปรก ก�ำ จดั เชอ้ื โรค กลนิ่ โดยใชม้ อื ขยี้ ใชอ้ ปุ กรณ์
หรือเครื่องมือในการซักผา้ เชน่ แปรงถู เครือ่ งซกั ผ้า
4) ผเู้ รียนท�ำ กจิ กรรม ดังนี้
4.1) ศึกษาหนังสอื เรียน หวั ขอ้ 2.1 เรือ่ ง การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี แล้วตอบค�ำ ถามในใบกจิ กรรมเสนอแนะท่ี 1
เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารซกั ผา้ ซงึ่ ใหผ้ เู้ รยี นระบสุ าเหตทุ ท่ี �ำ ใหเ้ กดิ เทคโนโลยกี ารซกั ผา้ และวเิ คราะหส์ าเหตหุ รอื
ปจั จัยทท่ี ำ�ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีการซักผ้า
4.2) น�ำ เสนอใบกจิ กรรมเสนอแนะท่ี 1 เรอื่ ง การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยซี กั ผา้ โดยผสู้ อนเลอื กผเู้ รยี นทจ่ี ะมาน�ำ เสนอ
4.3) ร่วมกันอภปิ รายและสรุปสาเหตกุ ารเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารซกั ผ้า
แนวค�ำ ตอบ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารซกั ผา้ มสี าเหตหุ รอื ปจั จยั มาจากความตอ้ งการของมนษุ ยท์ ต่ี อ้ งการ
ความสะดวกสบายในการซักผ้า จึงเกิดการสร้าง ปรับปรุง และพัฒนาเครื่องช่วยซักผ้า ให้มีระบบการทำ�งาน ลักษณะรูปทรง
ทใ่ี ชง้ านไดส้ ะดวกสบายยิ่งข้นึ และตอบสนองกบั ความต้องการของผู้ใชม้ ากข้ึน
5) ผู้เรียนและผูส้ อนร่วมกันอภิปรายในประเดน็ คำ�ถามชวนคดิ ในหนังสอื เรยี นต่อไปน้ี
5.1) ผู้เรียนคิดว่า ถ้าในปัจจุบันเราไม่มีเคร่ืองซักผ้า แต่เรายังคงใช้กระดานซักผ้ากันอยู่ การดำ�เนินชีวิตของเราจะเป็น
อยา่ งไร
แนวคำ�ตอบ ใชเ้ วลาซกั ผ้านาน เกดิ ความเหนือ่ ยลา้ จากการออกแรงขย้ีผ้า ส่งผลให้ภาระหน้าที่บางอยา่ งอาจลา่ ช้าไป
ทำ�ใหเ้ สียโอกาสในการทำ�งานหรอื หารายได้
5.2) ผู้เรยี นคดิ ว่า เคร่ืองซกั ผ้าฝาบนและฝาหนา้ ท�ำ งานแตกต่างกนั อย่างไร
แนวค�ำ ตอบ

รายการ

ลักษณะการวางฝาถังซัก เครอ่ื งซกั ผา้ ฝาบน เคร่อื งซักผ้าฝาหน้า
ฟงั ก์ชันการท�ำ งาน
ผงซักฟอก ด้านบน ด้านหน้า
ราคา กลไกไม่ซับซ้อน กลไกซับซ้อน
การท�ำ งาน ชนดิ ใดกไ็ ด้ เฉพาะฝาหน้า
ปรมิ าณน้�ำ ไม่แพง แพงกว่า
การถนอมผา้ ถังขยับหมุนไป-มา และใบพัดหมุนสลบั ใชถ้ ังเปน็ ตัวหมุนให้ผา้ ตกลงกลับไปมา
การพนั กันของผา้ ใชน้ �ำ้ มาก ใชน้ �ำ้ นอ้ ย
ไม่ถนอมผา้ ผ้าจะมีรอยถลอกหรอื เป็นขุย ถนอมผ้า ผ้าไม่ถลอก
มกี ารพันของผ้า ผา้ ไม่พนั กัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 | การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี 49

6) ผเู้ รยี นทำ�กิจกรรมเสนอแนะที่ 2 เร่อื ง เครือ่ งซักผา้ ในอนาคต โดยใหผ้ ูเ้ รยี นออกแบบเคร่อื งซักผ้าในอนาคต ตามความคิด
ของผเู้ รยี น สามารถน�ำ เสนอเปน็ รปู วาด หรอื การอธบิ าย เพอ่ื เสรมิ สรา้ งทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรคข์ องผเู้ รยี น แตไ่ มน่ �ำ มาประเมนิ
ดา้ นทักษะความคิดสร้างสรรค์
ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ผูเ้ รยี นอาจท�ำ กิจกรรมเสนอแนะที่ 2 เรือ่ ง เครื่องซักผา้ ในอนาคต นอกเวลาเรียน
7) ผูเ้ รียนและผ้สู อนรว่ มกนั อภปิ รายในหวั ขอ้ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการเพาะเหด็ และ
เกร็ดความรูเ้ รอื่ งฟารม์ อัจฉริยะ (smart farm) ในประเด็นตอ่ ไปน้ี
สาเหตุที่ทำ�ใหเ้ กิดเทคโนโลยกี ารเพาะเหด็
ลกั ษณะของเทคโนโลยี จดุ เด่น จุดด้อยของแต่ละวิธกี าร
สาเหตหุ รือปัจจัยทท่ี ำ�ให้เทคโนโลยกี ารเพาะเหด็ เกิดการเปล่ียนแปลง
แนวคำ�ตอบ
มนษุ ยต์ ้องการมเี ห็ดไว้บรโิ ภคไดต้ ลอดท้ังปี จึงเกดิ เทคโนโลยที ่ีเป็นวธิ กี ารเพาะเหด็
ลักษณะของเทคโนโลยี จุดเด่น จุดด้อยของแต่ละวิธีการ แสดงดังตารางวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
การเพาะเห็ดต่อไปนี้

เทคโนโลยี ลักษณะของเทคโนโลยี จดุ เดน่ จุดดอ้ ย

1. การเกบ็ เห็ด มนษุ ยเ์ กบ็ เห็ดทเ่ี จรญิ ตามฤดูกาล ไมต่ ้องลงทนุ สภาพฤดกู าลมกี าร
ทีเ่ จรญิ เอง ซึง่ ตอ้ งอาศยั ปจั จัยความอุดมสมบรู ณ์ อาศยั ปจั จยั ทาง เปลีย่ นแปลงตลอดเวลา
ตามธรรมชาติ ของอาหารและความช้ืนทเี่ หมาะสมท่ี ธรรมชาติ เชน่ ความชืน้ ซ่งึ อาจไม่เอื้อต่อสภาวะ
ช่วยใหเ้ ห็ดเจริญเติบโตตามธรรมชาติ ที่เหมาะสมทที่ �ำ ใหเ้ ห็ด ทเี่ หมาะสมท่ที �ำ ใหเ้ หด็
เจรญิ เตบิ โต ความสมบรู ณ์ เจริญเติบโตตามตอ้ งการ
ของธรรมชาติ

2. การเพาะเห็ด การจัดสภาวะแวดลอ้ มเลยี นแบบ สามารถสรา้ งสภาวะที่ การใชแ้ รงงานคน
แบบโรงเรือน ธรรมชาติ มีการตรวจสอบ อณุ หภมู ิ เหมาะสมสำ�หรับการ ควบคมุ ความชืน้ หรอื
ความชน้ื ในโรงเรอื น โดยใชแ้ รงงาน เจริญเตบิ โตของเหด็ เชน่ อณุ หภมู ิ อาจเกดิ ความ
คนในการฉดี นำ�้ เพอ่ื ปรบั อณุ หภมู ิ ความชน้ื อุณหภูมิ ภายใน ผดิ พลาด ไมแ่ มน่ ยำ�
และความชื้นใหอ้ ย่ใู นสภาวะที่เห็ด โรงเรอื น
แตล่ ะชนดิ ตอ้ งการ

3. การเพาะเหด็ เป็นการนำ�ระบบอเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละ สามารถควบคมุ อณุ หภมู ิ การลงทนุ ท่สี ูงข้ึนในการ
แบบฟารม์ อจั ฉรยิ ะ การเชอื่ มโยงการทำ�งานผ่าน ความชื้นในโรงเพาะได้ สรา้ งระบบควบคมุ
อนิ เทอร์เน็ตและแอปพลเิ คชนั บน อยา่ งแมน่ ย�ำ และท�ำ งาน อตั โนมตั ทิ ่ีต้องอาศยั การ
สมาร์ตโฟน เข้ามาควบคมุ ดแู ล อตั โนมตั ิ เขียนโปรแกรมและการใช้
สภาวะแวดลอ้ มในโรงเพาะให้เออื้ ต่อ ดแู ลและตรวจสอบสภาวะ อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์
การเจริญเตบิ โตของเหด็ ในโรงเพาะเหด็ ได้ตลอด ต่าง ๆ
เวลา ไมว่ า่ จะอย่ทู ใ่ี ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

50 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 | การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

สาเหตหุ รอื ปจั จยั ทที่ �ำ ใหเ้ ทคโนโลยกี ารเพาะเหด็ เกดิ การเปลย่ี นแปลง เนอื่ งจากความตอ้ งการเพาะเหด็ ใหเ้ จรญิ เตบิ โต
ไดด้ ี ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยดี า้ นต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื ต่าง ๆ ท่เี กิดขนึ้ ระบบสญั ญาณอินเทอรเ์ นต็ อุปกรณ์
ท่ีใชใ้ นการสง่ สัญญาณ ตรวจจบั สญั ญาณ การค้นพบความรู้ทเ่ี กยี่ วข้องกับการเจรญิ เตบิ โตของเหด็ แต่ละชนดิ ปัจจยั ต่าง ๆ เหล่าน้ี
ถูกนำ�มาปรับใช้เพือ่ ควบคมุ และปรบั สภาวะแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกับการเจริญเติบโตของเห็ด
8) ผ้เู รยี นและผู้สอนร่วมกันอภิปรายค�ำ ถามชวนคิด ในหนังสอื เรยี นทีว่ ่า มสี ง่ิ ของเคร่อื งใชร้ อบตัวอะไรบ้าง ทเี่ ปลี่ยนแปลงไป
จากอดีตอย่างเห็นได้ชัด และทำ�ไมจงึ มีการเปลยี่ นแปลง
แนวคำ�ตอบ
โทรศัพท์มือถือ จากท่ีมีขนาดใหญ่ ใช้ได้เพียงรับสายโทรเข้าและโทรออก ได้รับการ
พฒั นาใหม้ ขี นาดเลก็ ลง ท�ำ ใหส้ ามารถพกพาไดส้ ะดวก มฟี งั กช์ นั การท�ำ งานทหี่ ลากหลาย เชน่
คำ�นวณเลข ส่งข้อความ เป็นนาฬิกาปลุก ต่อมาเมื่อความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีมีความกา้ วหน้ามากยิ่งขึ้น จึงเกดิ การพฒั นามือถือเป็นระบบหนา้ จอสัมผสั แทน
การใชป้ มุ่ กด สามารถเช่ือมต่อสญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู มีฟงั กช์ นั การท�ำ งานที่ตอบ
สนองความตอ้ งการของผู้ใชง้ านมากยงิ่ ขึน้
หลอดไฟ มีการเปล่ียนแปลงจากสมัยก่อนท่ีผู้คนใช้เทียนไขและตะเกียงในการจุดไฟ
เพือ่ ใหแ้ สงสวา่ ง แต่การใชง้ านยงั ไมส่ ะดวก มีเปลวไฟ ซ่ึงก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายและเกดิ อัคคีภยั ไดง้ ่าย
ตอ่ มานกั วทิ ยาศาสตรไ์ ดใ้ ชค้ วามรใู้ นการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ และพฒั นาแหลง่ ก�ำ เนดิ แสงสวา่ งโดยใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ จงึ เกดิ เปน็ หลอดไส้
แต่ขณะใช้งานจะเกิดความร้อนท่ีตัวหลอด จึงไม่ทนทานในการใช้งาน อีกท้ังต้องใช้พลังงานสูง เม่ือความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
ก้าวหนา้ มากข้ึน จงึ เกดิ การคดิ ค้นและประดษิ ฐ์หลอดฟลูออเรสเซนต์ ท่ีใหค้ วามสว่างมากกว่าหลอดไส้ แตย่ งั มคี วามร้อนเกดิ ท่ตี วั
หลอด ใชพ้ ลงั งานสงู และอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ มนษุ ย์ เนอื่ งจากมสี ารปรอทอยภู่ ายในหลอด นอกจากนนั้ ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์
ถูกนำ�ไปใช้ในการพัฒนาหลอดไฟ LED ให้มีประสิทธิภาพการใช้งานท่ีสูงข้ึน อายุการใช้งานยาวนาน ประหยัดพลังงาน ไม่เกิด
ความร้อนที่ตัวหลอด จะเห็นได้ว่าหลอดไฟ LED สามารถแก้ปัญหาการใช้งาน และตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้มากกว่า
หลอดฟลูออเรสเซนต์
9) แบ่งผูเ้ รยี นเป็นกลมุ่ กลุ่มละ 4 คน แต่ละกลมุ่ ศกึ ษาหนังสือเรยี นหัวขอ้ 2.2 การวเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี
และจับสลากศึกษาตวั อยา่ งการเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยีกลมุ่ ละ 1 เรื่อง ดังนี้
เรือ่ งที่ 1 ศึกษาเร่ือง การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเตา
เรอื่ งท่ี 2 ศึกษาเรือ่ ง การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีเครอ่ื งมือเตรียมดินเพอื่ ทำ�นา
เรื่องที่ 3 ศกึ ษาเร่อื ง การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยกี ารถนอมอาหารประเภทนมโดยใช้ความรอ้ น
เรอ่ื งท่ี 4 ศึกษาเร่อื ง การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยกี ารขยายพนั ธ์ุกลว้ ย

จากน้ัน ผู้เรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์และสรุปสาเหตุหรือปัจจัยท่ีทำ�ให้เกิดการเปล่ียนแปลงและผลการเปล่ียนแปลง
ของเทคโนโลยที ก่ี ลมุ่ ไดร้ บั มอบหมาย ลงในใบกจิ กรรมท่ี 2.1 เรอื่ ง การวเิ คราะหส์ าเหตแุ ละผลการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี หรอื
ในกระดาษปรูฟ๊ เสร็จแลว้ แต่ละกลมุ่ นำ�ผลงานไปติดข้างฝา โดยตดิ ท่จี ุดทเี่ ป็นเร่อื งเดยี วกัน และน�ำ เสนอโดยเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี น
กลุ่มอนื่ ไดร้ ว่ มซกั ถาม
10) ผเู้ รยี นและผสู้ อนรว่ มกนั สรปุ วา่ เทคโนโลยมี กี ารเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา ซง่ึ สาเหตหุ รอื ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลง
ของเทคโนโลยีเกดิ จาก ปัญหา ความตอ้ งการ ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์ตา่ ง ๆ เศรษฐกจิ สังคม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 | การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 51

11) ผู้เรียนรว่ มกันอภปิ รายว่าในการสร้างหรอื เลือกใช้เทคโนโลยี เราควรคำ�นึงถงึ สิ่งใดบ้าง
แนวคำ�ตอบ ในการสร้างหรือเลือกใช้เทคโนโลยี ควรคำ�นึงถึงผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีนั้น ๆ
เช่น ความปลอดภัยต่อชีวิต สังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังตัวอย่างการใช้เทคโนโลยี
ท่ีส่งผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อม เช่น
เตาก้อนเส้า เตาฟืน เตาอ้ังโล่ ใช้เชื้อเพลิงท่ีมาจากไม้หรือฟืน ทำ�ให้มีการตัดไม้ทำ�ลายป่า และเขม่าควันดำ�จากการ
เผาไม้หรอื ฟืนก่อให้เกดิ มลพิษทางอากาศ
รถไถนาเดินตาม รถไถนาน่ังขับ รถไถอเนกประสงค์ ใช้น�้ำ มันเชื้อเพลิงในการขับเคล่ือนเคร่ืองยนต์ ในขณะเคร่ืองยนต์
ทำ�งานได้ปลอ่ ยควนั จากการเผาไหม้ ซ่งึ เป็นมลพษิ ทางอากาศ
12) ผเู้ รียนทำ�กิจกรรมทา้ ทายความคิด เรอื่ ง อะไรหนอคือ การเกษตรแนวดิ่ง โดยใหผ้ ู้เรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นและศึกษาข้อมูล
ในเวบ็ ไซต์ทเี่ กีย่ วข้องกบั การทำ�เกษตรแนวด่งิ แล้วตอบคำ�ถามในกจิ กรรม

ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม ควรเปน็ กลมุ่ เดิมกับที่ทำ�กิจกรรมท้าทายความคดิ ในบทที่ 1

13) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน ทำ�กิจกรรมท้ายบท เรื่อง การวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง
ของเทคโนโลยี โดยแต่ละกล่มุ ยกตัวอยา่ งผลติ ภัณฑ์ 1 ประเภท หรอื วธิ กี าร 1 เร่อื ง ท่สี นใจ จากนน้ั สบื คน้ การเปลย่ี นแปลง และ
วิเคราะห์สาเหตุหรอื ปจั จยั ทีท่ �ำ ใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงของผลิตภณั ฑห์ รอื วธิ ีการตง้ั แตอ่ ดีตจนถงึ ปัจจุบนั ในประเด็นต่อไปน้ี
เทคโนโลยี (ผลติ ภัณฑ์หรอื วธิ ีการ) ทีเ่ ปลี่ยนแปลงตามลำ�ดับ
ลักษณะหรือการทำ�งาน จดุ เด่น จุดดอ้ ย ของเทคโนโลยี
สาเหตหุ รอื ปจั จัยท่ที �ำ ให้เทคโนโลยีเกิดการเปล่ยี นแปลง
โดยนำ�เสนอดว้ ยวธิ ตี า่ ง ๆ เช่น แผนภาพ พร้อมระบุแหล่งท่ีมาของข้อมลู

8. การวัดและประเมินผล

รายการประเมิน วธิ ีการวดั เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้วดั เกณฑ์การประเมนิ การผ่าน

1. การวเิ คราะห์สาเหตุหรอื ตรวจกจิ กรรมท้ายบท กจิ กรรมทา้ ยบท เรอ่ื ง คะแนน 5-6 หมายถึง ดี
ปจั จยั ที่ส่งผลตอ่ การ การวเิ คราะห์สาเหตหุ รือ คะแนน 3-4 หมายถึง พอใช้
เปล่ียนแปลงของ ปัจจัยท่สี ่งผลตอ่ การ คะแนน 1-2 หมายถงึ ปรบั ปรงุ
เทคโนโลยี เปล่ียนแปลงของ ผเู้ รยี นไดร้ ะดบั คณุ ภาพ พอใช้
เทคโนโลยี ถอื วา่ ผา่ น

2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผเู้ รียนไดร้ ะดบั คุณภาพ
แบบสังเกตพฤติกรรม พอใช้ ข้นึ ไปถอื ว่าผ่าน
3. ทกั ษะการสอื่ สาร สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม (ดเู กณฑก์ ารประเมินใน
ภาคผนวก)
4. ทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรค์ สังเกตพฤตกิ รรม

5. ทักษะการทำ�งานร่วมกับ สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม
ผู้อนื่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

52 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 2 | การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

เกณฑ์การประเมิน

ประเดน็ การประเมิน 3 ระดบั คะแนน 1
2

1. การวเิ คราะห์สาเหตุ อธบิ ายประเด็นตอ่ ไปน้ี อธิบายประเด็นต่อไปนี้ อธบิ ายประเดน็ ต่อไปนี้
หรือปจั จยั ที่สง่ ผลต่อ 1. ลักษณะหรอื การทำ�งาน 1. ลกั ษณะหรอื การทำ�งาน 1. ลักษณะหรอื การทำ�งาน
การเปล่ียนแปลงของ
เทคโนโลยี ของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี
2. จดุ เดน่ ของเทคโนโลยี 2. จุดเด่นของเทคโนโลยี 2. จดุ เดน่ ของเทคโนโลยี
1.1 การอธิบายลกั ษณะ 3. จดุ ดอ้ ยของเทคโนโลยี 3. จุดด้อยของเทคโนโลยี 3. จดุ ดอ้ ยของเทคโนโลยี
หรอื การท�ำ งาน จดุ เดน่ ไดค้ รบและถกู ตอ้ งทง้ั 3 ได้ถูกตอ้ ง 2 ประเดน็ ไดถ้ กู ตอ้ งเพยี ง 1 ประเดน็
จดุ ดอ้ ยของเทคโนโลยี ประเดน็

1.2 การวเิ คราะห์ แจกแจงสาเหตุหรือปัจจยั ที่ แจกแจงสาเหตุหรอื ปจั จยั ท่ี แจกแจงสาเหตหุ รือปัจจัยท่ี
สาเหตุหรือปจั จยั ท่ี ส่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลง สง่ ผลต่อการเปล่ยี นแปลง สง่ ผลต่อการเปลยี่ นแปลง
ส่งผลตอ่ การ ของเทคโนโลยีไดอ้ ยา่ งถูก ของเทคโนโลยี ไมส่ มเหตุ ของเทคโนโลยีไดน้ อ้ ย
เปล่ยี นแปลงของ ต้องและสมเหตุสมผล ใน สมผลในบางขอ้ ไม่สมเหตุสมผล
เทคโนโลยี ทุกล�ำ ดับการเปล่ยี นแปลง

เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดบั คุณภาพ
คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ดี
คะแนน 3 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคณุ ภาพ พอใช้
คะแนน 1 - 2 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง
** เกณฑ์การวดั และประเมินผลสามารถปรับเปลยี่ นไดต้ ามความเหมาะสม

9. แหล่งเรียนรู้

วิวฒั นาการของเทคโนโลยี
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558). หนังสือเสริมการเรียนรู้ การออกแบบและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551,
(พิมพ์ครัง้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.

10. ข้อเสนอแนะ

10.1 ผู้สอนนำ�วสั ดจุ รงิ ในท้องถ่ินมาน�ำ เข้าสู่บทเรียน แล้วซักถามวา่ วัสดใุ ดเปน็ เทคโนโลยีบ้าง
10.2 ผู้สอนน�ำ ภาพจากหนงั สือเรียนมาสรา้ งเกมเสริมทักษะการจัดกลมุ่ เทคโนโลยี และบอกเหตุผล
10.3 ผู้สอนแจ้งการนำ�เสนอของแต่ละกลุ่ม ว่าจะทำ�การสุ่มผู้นำ�เสนอในแต่ละกลุ่มเพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนกระตือรือร้น
ในการทำ�งานกลมุ่ มากข้ึน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 | การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 53

10.4 ผู้สอนเพ่ิมเติมประเด็นท่ีเกี่ยวกับข้อควรคำ�นึงในการเลือกใช้เทคโนโลยีว่าการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเกิดขึ้น
อยู่ตลอดเวลา และกลายมาเป็นส่ิงจำ�เป็นสำ�หรับมนุษย์ ดังน้ันผู้เรียนต้องเลือกใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมบนพ้ืนฐานของความ
พอเพียง ผ้เู รยี นคิดว่าเราควรค�ำ นึงถึงอะไรบา้ งในการเลอื กใช้เทคโนโลยีใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของผูเ้ รียน
10.5 ในกรณที ผี่ สู้ อนไมส่ ามารถจัดกจิ กรรมไดต้ ่อเนอ่ื ง 2 คาบเรยี น อาจแบง่ เน้ือหาและกจิ กรรมในหนงั สอื เรียนดังนี้
คาบเรียนที่ 1 หัวข้อ 2.1 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 2.2 การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
และกิจกรรมท่ี 2.1 เร่ือง การวิเคราะหส์ าเหตแุ ละผลการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี
คาบเรียนท่ี 2 กิจกรรมท้าทายความคิด เรื่อง อะไรหนอคือ การเกษตรแนวด่ิง และกิจกรรมท้ายบท เร่ือง
การวิเคราะหส์ าเหตุหรอื ปจั จยั ที่สง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
10.6 กจิ กรรมเสนอแนะ เปน็ กิจกรรมเสริมท่ีใหผ้ เู้ รียนฝึกปฏิบัตเิ พอ่ื ให้เกิดความเขา้ ในเนือ้ หาท่ีเรยี นมากยิ่งขน้ึ ซึ่งผู้สอน
อาจจดั กจิ กรรมเสนอแนะนอกเวลาเรยี นหรือพจิ ารณาตามความเหมาะสมของเวลา

11. แนวคำ�ตอบกจิ กรรม

กิจกรรม เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีการซักผา้
เสนอแนะท่ี 1

ผเู้ รยี นบนั ทึกผลการศกึ ษาดงั นี้
1. สาเหตุทีท่ �ำ ใหเ้ กิดเทคโนโลยกี ารซักผา้
แนวค�ำ ตอบ มนษุ ยต์ อ้ งการท�ำ ความสะอาดเสอ้ื ผา้ จงึ เกดิ เทคโนโลยที เ่ี ปน็ วธิ กี ารและเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชท้ �ำ ความสะอาดเสอ้ื ผา้
2. การวิเคราะห์การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยกี ารซักผา้
แนวค�ำ ตอบ

ตารางวเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีการซักผา้

เทคโนโลยี ลกั ษณะของเทคโนโลยี จดุ เด่น จุดดอ้ ย
1. การตผี ้ากับก้อนหนิ
การตผี า้ กับกอ้ นหนิ ใช้ก้อนหนิ หรอื ไมช้ ว่ ยใน การขจดั คราบ
ใชไ้ มต้ ีหรอื ขยีด้ ว้ ยมือ การขยผี้ า้ แทนมอื สกปรกออกไมห่ มด
ใช้แรงงานคน เกดิ ความเมื่อยลา้
นำ�ไปซกั ทแ่ี หล่งน�้ำ

2. กระดานซกั ผา้ เลียนแบบการซกั ผ้าด้วยมอื ลดเวลาในการซกั ผา้ ใช้แรงงานคน
กระดานไมเ้ ป็นลูกคลื่นเพอ่ื ใชไ้ ด้กบั ทุกสถานท่ี
ช่วยขจับคราบสกปรกในการ มีภาชนะบรรจนุ �้ำ
ขยผี้ า้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

54

เทคโนโลยี ลักษณะของเทคโนโลยี จดุ เดน่ จุดด้อย
3. เครอ่ื งซกั ผา้ แบบมกี า้ นโยก ใช้แรงคนโยก
เลียนแบบการซกั ผา้ ด้วยมือ ใชแ้ รงคนโยกกา้ นแทน
โดยใช้กา้ นโยก การขยดี้ ้วยมือ
ชว่ ยลดเวลาการซักผา้
ใช้ก้อนหนิ ท�ำ หนา้ ท่ขี ยี้
ผา้ ตามจงั หวะของการโยก

4. เครอ่ื งซกั ผา้ แบบมกี ลไก มกี ลไกในการปนั่ ผา้ และบีบผา้ ใช้แรงคนหมนุ กลไก ใช้แรงคนหมนุ กลไก
ให้แหง้ ป่นั ผา้ และบบี ผา้ ให้แห้ง
ดว้ ยกลไก

5. เครอ่ื งซกั ผา้ มอเตอรไ์ ฟฟา้ นำ�ระบบไฟฟ้ามาขับเคลอ่ื น ใชไ้ ฟฟา้ ขบั เคลื่อนกลไก ใช้แรงคนทำ�ใหผ้ า้
กลไกในการซักผา้ แตบ่ บี ผ้า หรือมอเตอร์ แห้งและควบคุมการ
แทนแรงคน ช่วยลดเวลาในการ ท�ำ งานของเคร่อื งและ
ซกั ผา้ การตกั น�้ำ ใส่เคร่อื ง

6. เครื่องซักผ้าแบบมที อ่ มีท่อป๊มั นำ้�เขา้ สภู่ ายในเครื่อง เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการซกั ใช้คนควบคุมการ
ปัม๊ น�ำ้ และถงั ปนั่ แห้ง และสร้างถงั ป่นั แห้ง มถี ังซักและถงั ปนั่ แห้ง ท�ำ งานของเครอ่ื ง
การต่อท่ีปมั๊ น�ำ้ เขา้ สู่ ซกั ผ้า
เครอื่ งซกั ผา้ เคร่ืองซกั ผ้ามีขนาด
ใช้ไฟฟา้ ขับกลไกหรือ ใหญเ่ นอ่ื งจากมี 2 ถงั
มอเตอร์

7. เครอ่ื งซกั ผา้ แบบถงั เดยี ว มรี ะบบควบคุมการทำ�งาน ถงั ซักผ้าและถงั ปั่นแหง้ ปริมาณความจผุ า้
อัตโนมตั ิในการซกั -ปั่นแห้ง อยภู่ ายในถงั เดียวกัน ในถังนอ้ ย
ในถงั เดยี ว มีระบบควบคุมการ
ทำ�งานอัตโนมตั ิ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

55

เทคโนโลยี ลกั ษณะของเทคโนโลยี จดุ เดน่ จดุ ด้อย

8. เครือ่ งซักผา้ ท่ใี ช้ระบบ มกี ารเพิม่ ความจขุ องถงั ผา้ ระบบการทำ�งานของ ข้อสงั เกต
ควบคมุ ซับซอ้ นข้ึน จุดด้อยในข้อน้จี ะรวมถึง
สามารถปรับโปรแกรมการซกั เคร่ืองซักผา้ มปี ระสิทธผิ ล จดุ ท่ีสามารถพัฒนาใหด้ ี
ย่ิงขึ้นกวา่ เดิม เช่น
ใหเ้ หมาะสมกบั ชนดิ ของเนอ้ื ผา้ มากข้ึน แหล่งพลังงานที่

ถงั ซกั ทำ�จากวสั ดเุ บาและ ปรับวิธีการซกั ให้ สามารถทดแทน
พลังงานไฟฟา้
แข็งแรง เหมาะสมกบั ชนิดผา้ ได้ น้ำ�หนกั ตวั เครื่อง
เสยี งในขณะทำ�งาน
รูปทรงสวยงาม น่าใช้ ผลิตมาจากวสั ดทุ ่มี ี ฟังกช์ นั การท�ำ งาน

น้�ำ หนกั เบาและแขง็ แรง

รูปทรงและสสี นั ของ

เครอ่ื งซักผ้าน่าใช้งาน

ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม นอกจากการสรุปเป็นตารางวิเคราะห์ดังตัวอย่างแล้ว ผู้สอนสามารถสรุปในลักษณะอื่นได้ เช่น
ผงั ความคดิ ผังภาพ

3. สาเหตุหรอื ปจั จยั ท่ีทำ�ใหเ้ ทคโนโลยีการซกั ผ้าเกดิ การเปล่ียนแปลง
แนวค�ำ ตอบ จากตารางวเิ คราะหข์ า้ งตน้ สาเหตหุ รอื ปจั จยั ทที่ �ำ ใหเ้ ทคโนโลยกี ารซกั ผา้ เกดิ การเปลย่ี นแปลงคอื ความตอ้ งการ
ของมนุษย์ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ สภาพสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป โดยมีการสร้าง ปรับปรุง และพัฒนาเครื่องช่วยซักผ้า
ในดา้ นระบบการท�ำ งาน ลักษณะรูปทรงให้ใชง้ านไดส้ ะดวกสบายยงิ่ ขึน้ และตอบสนองกับความต้องการของผู้ใชม้ ากขึน้

กิจกรรม เร่อื ง เครอ่ื งซกั ผ้าในอนาคต
เสนอแนะท่ี 2

ผ้เู รียนคิดว่า ในอนาคตเครอื่ งซกั ผ้าจะเป็นอย่างไร ลองออกแบบโดยวาดรปู หรอื อธบิ ายเครื่องซักผา้ ในอนาคต ตามความคิด
ของผู้เรยี น
แนวคำ�ตอบ 1. เคร่ืองซักผ้าพรอ้ มรีดผ้าได้ในเคร่อื งเดียว
2. เคร่ืองซกั ผา้ แบบไม่ใช้น้�ำ แต่ใชพ้ ลังงานลม
3. เครื่องซกั ผา้ พลังงานโซลาเซลล์
4. เครื่องซักผา้ สัง่ การทำ�งานผา่ นสมารต์ โฟน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

56

กิจกรรมที่ 2.1 การวเิ คราะห์สาเหตแุ ละผลการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

จากเน้อื หาในบทเรยี นเรือ่ งการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยเี ตา เครอ่ื งมือเตรียมดินเพื่อท�ำ นา การถนอมอาหารประเภทนมโดยใช้
ความร้อน การขยายพันธุ์กลว้ ย ให้นกั เรยี นเลอื กมา 1 เร่อื ง แล้ววเิ คราะหใ์ นประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
1. ปญั หาหรอื ความต้องการทีท่ �ำ ใหเ้ กดิ เทคโนโลยใี นเรอื่ งนั้น
2. การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีน้ัน เป็นสง่ิ ของเครอ่ื งใช้หรอื วธิ ีการ
3. สาเหตหุ รอื ปัจจยั ใดบา้ งท่ที ำ�ใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลง และผลการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีนน้ั

4. นกั เรียนเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีใดทเี่ หมาะสมกับบรบิ ทของตนเอง เพราะเหตใุ ด

การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยเี ตา

1. ปัญหาหรอื ความตอ้ งการคอื
แนวคำ�ตอบ มนษุ ย์ใชค้ วามรอ้ นในการประกอบอาหาร จงึ เกดิ ความต้องการอปุ กรณห์ รือเครอื่ งมอื สร้าง
ความร้อนทีเ่ หมาะส�ำ หรับการใชง้ าน เชน่ ต้งั ภาชนะได้ จุดไฟงา่ ย
2. การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยนี ัน้ เป็นสงิ่ ของเครอ่ื งใชห้ รือวิธกี าร
แนวค�ำ ตอบ ส่งิ ของเครือ่ งใช้
3. ตารางวิเคราะห์สาเหตหุ รือปจั จยั ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงและผลการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยเี ตา

เทคโนโลยี สาเหตุหรอื ปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดการเปล่ียนแปลง ผลการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
ของเทคโนโลยี

เตา ความตอ้ งการในการใชง้ านท่สี ะดวกมากยง่ิ ขึ้น เชน่ รูปรา่ งทางกายภาพของเตาถกู ปรับเปลย่ี น

การเคลอ่ื นย้าย การปรบั ความรอ้ น ใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านมากยง่ิ ขน้ึ มขี นาดเลก็ ลง

ท�ำ ใหเ้ คล่ือนยา้ ยสะดวก รวมทง้ั มีกลไกหรือ

ฟงั ก์ชนั การท�ำ งานที่หลากหลายมากยง่ิ ขน้ึ

เชน่ สามารถปรบั ระดบั ความรอ้ นไดห้ ลายระดบั

การคน้ พบแหล่งผลิตความร้อนและความกา้ วหนา้ เกดิ เปน็ เตาหลายประเภท เชน่ เตาแกส๊

ของความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ในเรื่องการเปลย่ี น เตาไฟฟ้า เตาแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ท�ำ ใหผ้ ู้ใช้งาน

พลงั งานไฟฟา้ เป็นพลงั งานความร้อนโดยใช้ขดลวด สามารถเลือกใช้เตาได้อย่างหลากหลาย

ไฟฟ้า การเหนี่ยวน�ำ ของสนามแมเ่ หล็กไฟฟ้าทำ�ให้ เหมาะสมกับบริบทของตนเอง

เกดิ ความรอ้ นที่ภาชนะทเ่ี ป็นเหล็ก

ลกั ษณะสงั คมท่เี ปลยี่ นไปและขอ้ จำ�กัดในการอยู่ ผพู้ ักอาศยั ในคอนโดมิเนียมตอ้ งใช้เตาไฟฟา้

ร่วมกันทางสังคม เชน่ ผ้พู ักอาศัยในคอนโดมิเนยี ม หรอื เตาแม่เหล็กไฟฟา้ ทำ�ให้เกิดการพัฒนา

ไมส่ ามารถใช้เตาแก๊สได้ เตาประเภทนี้

สภาวะทางเศรษฐกจิ และกำ�ลังทรัพย์ของผู้บรโิ ภค มีเตาหลากหลายราคา แปรตามคุณภาพและ

มผี ลตอ่ การออกแบบและผลติ เตาเพื่อจำ�หน่าย ฟังก์ชันการใชง้ าน ผ้ใู ชง้ านสามารถเลือกใช้

ออกสู่ตลาด เตาได้ตามกำ�ลงั ทรัพย์ของตนเอง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

57

4. ผู้เรียนเลือกใชเ้ ตาแบบใดทีเ่ หมาะสมกับบริบทตนเอง เพราะเหตใุ ด
แนวค�ำ ตอบ ขน้ึ อยกู่ บั เหตผุ ลของผเู้ รยี น เชน่ เลอื กเตาองั้ โล่ เพราะใชเ้ ชอ้ื เพลงิ จากวสั ดธุ รรมชาติ ชว่ ยประหยดั เงนิ ในสว่ น
ของแหล่งพลังงานท่ีใช้กับเตาอ้ังโล่

ตารางวิเคราะห์การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยเี ตาเพ่ิมเตมิ ส�ำ หรบั ผู้สอน

เทคโนโลยี ลกั ษณะของเทคโนโลยี จุดเดน่ จุดด้อย สาเหตุท่ีนำ�ไปสู่
การเปล่ียนแปลง

เทคโนโลยี

เตากอ้ นเสา้ ใช้กอ้ นหนิ สามกอ้ น เพ่อื ให้ ใชว้ สั ดุธรรมชาติ ความรอ้ นของการเผา ความตอ้ งการในการ
สามารถตั้งภาชนะและมี สรา้ งเตาให้ความ ไหมก้ ระจัดกระจาย ควบคุมความร้อนไมใ่ ห้
ช่องส�ำ หรบั ใส่ไมห้ รือฟืน รอ้ น ก่อกองไฟบนพ้นื ดิน กระจาย
เท่านัน้

เตาฟืน เตาฟืน อาศยั ความร้กู ารคมุ ควบคมุ ความรอ้ น เตาฟนื ไม่สามารถ ความตอ้ งการเคล่อื นยา้ ย
เตาอั้งโล่ เคลอ่ื นย้ายระหวา่ ง ในการใช้งาน
ความรอ้ นและเครอ่ื งปน้ั ไม่ให้กระจายออก การใช้งานได้

ดินเผา น�ำ ไปสู่การประดษิ ฐ์ ไปรอบ ๆ

เตาฟืนครอบกองไฟ มคี วามสวยงามกวา่

เตาก้อนเสา้

มีรูปทรงท่ีใชง้ านไดส้ ะดวก ขนาดเลก็ ใชฟ้ นื เปน็ เชอ้ื เพลงิ ความก้าวหน้าในการนำ�
ใชเ้ วลานานในการกอ่ ไฟ แก๊สมาเปน็ เชอื้ เพลิง
เช่น วางภาชนะท่ใี ชใ้ น มรี ูปทรงที่ท�ำ ใหใ้ ช้ เกดิ เขมา่ ดำ�ทมี่ าจาก การประกอบอาชพี ทำ�
การเผาไหม้ของถ่าน อาหารท่ีใช้แก๊สเปน็
การประกอบอาหารได้ งานสะดวก และฟนื เชอ้ื เพลิงมีความสะดวก
ใชฟ้ นื จ�ำ นวนมากและ ประหยัดเวลา ส่งผลถงึ
สะดวก มีช่องใหอ้ ากาศ เคลอ่ื นยา้ ยระหวา่ ง หายากข้นึ เรอ่ื ย ๆ รายได้ท่ีเพมิ่ มากขึน้

ไหลเข้า มรี ังผ้ึงทม่ี ีลักษณะ การใช้งานได้

เป็นรู ซึง่ ชว่ ยระบายอากาศ

และขเี้ ถา้ ร่วงลงไปกน้ เตาได้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

58

เทคโนโลยี ลักษณะของเทคโนโลยี จุดเด่น จุดดอ้ ย สาเหตทุ ี่นำ�ไปสู่
เตาแกส๊ การเปลีย่ นแปลง
มกี ารน�ำ แก๊สมาใช้เป็น ใชง้ านงา่ ย ต้องระมัดระวงั ในการใช้
เชอ้ื เพลงิ เตาแกส๊ รูปรา่ ง สามารถควบคุม งานและดแู ลรักษา เทคโนโลยี
กะทัดรดั ใช้งานงา่ ย สร้าง ความร้อนไดต้ าม อุปกรณ์ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เพอื่
ความร้อนไดเ้ รว็ กวา่ การ ตอ้ งการ ไม่ใหเ้ กดิ การรัว่ ไหลของ การนำ�พลังงานไฟฟ้ามา
กอ่ ไฟ ปรบั ระดับและ จดุ ไฟติดง่าย แกส๊ เปลย่ี นเป็นพลงั งาน
ควบคมุ ความรอ้ นได้ ความรอ้ น
ตามท่ตี ้องการ ขอ้ จ�ำ กดั ทางสงั คมใน
ส่วนของท่ีอยอู่ าศยั เช่น
หอพกั หรือคอนโดไม่
สามารถใช้เตาแกส๊ ได้

เตาไฟฟา้ เปล่ียนพลงั งานไฟฟา้ เป็น ไมม่ เี ปลวไฟ ระหว่างการใชง้ านจะเกดิ การใช้ความรูใ้ นเร่ืองการ
พลังงานความรอ้ น โดยใช้
เตาแมเ่ หล็ก ขดลวดนำ�ไฟฟ้า ใชง้ านง่าย สะดวก ความร้อนทีพ่ ื้นผิวเตา เหน่ยี วนำ�สนามแมเ่ หล็ก
ไฟฟ้า
การเหน่ยี วน�ำ ของสนาม สวยงาม กะทัดรดั อาจก่อใหเ้ กิดอันตราย ท�ำ ใหเ้ กิดความรอ้ นที่
แมเ่ หล็ก ทำ�ให้เกิดความ
รอ้ นทภี่ าชนะเท่านัน้ ทันสมยั ภาชนะทีเ่ ปน็ เหล็กเท่านน้ั

เหมาะกบั ทีอ่ ยู่

อาศยั ทม่ี พี น้ื ทน่ี อ้ ย

ไม่มคี วามรอ้ น ราคาสูงกว่าเตา
บรเิ วณพ้ืนผวิ ชนดิ อนื่
ของเตา ต้องใชก้ ับภาชนะทใ่ี ช้
มีความปลอดภัย
ในการใช้งาน กับเตาแม่เหลก็ ไฟฟ้า
ทำ�ความร้อน เท่าน้ัน

ได้เร็ว
กนิ ไฟนอ้ ย
ใช้งานง่าย สะดวก

สวยงาม กะทดั รดั
ทันสมัย น่าใชง้ าน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

59

การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
เคร่อื งมอื เตรียมดนิ เพอื่ ทำ�นา

1. ปัญหาหรือความต้องการคอื
แนวคำ�ตอบ ในการทำ�นาต้องมีการเตรียมดินก่อนการเพาะปลูกข้าว ดังนั้นมนุษย์ต้องการเคร่ืองมือท่ีช่วยในการ
เตรยี มดินเพื่อทำ�นา ทีใ่ ช้งานสะดวก ประหยดั แรง
2. การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยนี นั้ เป็นส่ิงของเครอื่ งใชห้ รือวธิ กี าร
แนวคำ�ตอบ สิ่งของเคร่อื งใช้
3. ตารางวิเคราะหส์ าเหตหุ รือปจั จยั ท่ที ำ�ใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลง และผลการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยเี ครอื่ งมือ
เตรยี มดนิ เพือ่ ท�ำ นา

เทคโนโลยี สาเหตหุ รือปจั จยั ทีท่ �ำ ให้เกิด ผลการเปลยี่ นแปลง
การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี
เครอื่ งมือ
เตรยี มดิน ความกา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละวศิ วกรรมศาสตร์ ระบบกลไกและเครอื่ งยนต์ทช่ี ่วยลดการใช้
เพอ่ื ท�ำ นา ในการออกแบบและสรา้ งพาหนะ แรงงานคน
ความต้องการเครื่องมอื เตรยี มดนิ เพอ่ื ท�ำ นาทีท่ นุ่ การ เทคโนโลยที เี่ กดิ ขนึ้ ตอบสนองความต้องการ
ใชแ้ รงงานคน ใชง้ านสะดวกและลดเวลาการทำ�งาน ของผใู้ ชง้ านไดม้ ากขน้ึ เรอ่ื ย ๆ เชน่ ลดแรงงานคน
ลงได้ เพม่ิ ความสะดวกสบายในการทำ�งาน ใช้งาน
ได้หลากหลายมากยิ่งข้ึน

4. ผ้เู รยี นเลือกใช้เทคโนโลยีใดทเ่ี หมาะสมกับบริบทของตนเอง เพราะเหตุใด
แนวค�ำ ตอบ ตวั อยา่ งเชน่ รถไถเอนกประสงค์ เพราะสามารถท�ำ หนา้ ทไ่ี ดห้ ลายอยา่ ง ทง้ั ไถ คราด ยกรอ่ ง พรวนดนิ ดนั ดนิ ได้

ตารางวเิ คราะห์การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยเี ครือ่ งมือเตรียมดินเพอ่ื ท�ำ นาเพิ่มเติมสำ�หรบั ผู้สอน

เทคโนโลยี ลักษณะของเทคโนโลยี จุดเด่น จุดดอ้ ย สาเหตุท่ีน�ำ ไปสู่
การเปลี่ยนแปลง
ไถ ใชพ้ ลิกหนา้ ดินและ ไม่ใช้เช้ือเพลงิ ใช้เวลานานเพอื่
กลบวชั พชื เป็นการ เตรียมดินในพืน้ ท่มี าก เทคโนโลยี
เตรียมดนิ เพาะปลูก ซึง่ ใช้แรงคนเดนิ ตาม
ชว่ ยทนุ่ การใชแ้ รงงานคน การปรับระดบั การน�ำ เครอื่ งยนตม์ า
โดยใช้แรงงานสตั ว์ใน ความลึกของจานไถ สร้างรถไถเดนิ ตามแทน
การลากไถ การใชแ้ รงงานสัตว์
ไมส่ มำ่�เสมอ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

60

เทคโนโลยี ลักษณะของเทคโนโลยี จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย สาเหตุที่น�ำ ไปสู่
รถไถนา การเปลยี่ นแปลง
เดนิ ตาม ใชเ้ คร่อื งยนต์ในการ ประหยัดแรงและเวลา ใช้แรงงานคนใน
ขับเคลื่อน แทนการใช้ ในการเตรยี มดนิ การเดนิ ตามรถไถ เทคโนโลยี
รถไถนา แรงงานสตั ว์ ซง่ึ ใชน้ �ำ้ มนั สามารถทำ�งานได้ เพือ่ ควบคุมการ การพฒั นารถไถนาท่ีคน
น่งั ขบั เป็นเช้อื เพลิงส�ำ หรบั ตลอดเวลาตราบเท่าท่ี เคลอื่ นที่ สามารถน่งั ควบคมุ รถ
รถไถนาเดนิ ตาม มนี �ำ้ มันเชอื้ เพลงิ ชาวนาเกิดความ ไถนาแทนการเดินตาม
รถไถเอนก เมอื่ ยล้าจากการ รถไถ
ประสงค์ คนน่งั ควบคุมบนรถ ท�ำ ให้สะดวกสบาย เดนิ และบงั คบั รถไถ
ไถนาแทนการเดินตาม มากขึ้น การปรบั ระดบั จากความกา้ วหนา้ ทาง
รถไถ ทำ�งานได้เรว็ ขน้ึ ความลึกของจาน ดา้ นวศิ วกรรมศาสตร์
ลดการใชแ้ รงงานคน ไถไม่สมำ�่ เสมอ ในการออกแบบ วจิ ยั
พาหนะทส่ี ามารถทุ่น ในการควบคมุ รถไถ สน้ิ เปลอื งคา่ น�ำ้ มนั และพัฒนาพาหนะที่
แรงในการเตรยี มดนิ ลดความเมอ่ื ยลา้ ตอบสนองกบั ความ
เพาะปลกู ทง้ั หมด ตง้ั แต่ ระดับความลกึ ของ พลกิ หน้าดนิ เพ่อื ต้องการ รวมทงั้ เพม่ิ
การไถคราด ยกรอ่ ง จานไถสม�ำ่ เสมอ เตรยี มการเพาะปลูก ขีดความสามารถของ
พรวนดนิ ดนั ดนิ ซง่ึ ชว่ ย ชว่ ยทนุ่ แรงมนุษย์ใน ไดอ้ ยา่ งเดยี ว การท�ำ งานใหม้ ากขนึ้
ประหยดั แรงและเวลา งานด้านเตรียมดิน
ในการท�ำ งานมากยิ่งข้ึน เพาะปลกู ทง้ั หมดตง้ั แต่ ใชค้ นในการ
การไถ คราด ยกรอ่ ง ควบคุมรถไถ
พรวนดนิ ดนั ดนิ การแจง้ เตือนขอ้
ประหยดั แรงและเวลา บกพรอ่ งของ
ในการท�ำ งานมากยง่ิ ขน้ึ ระบบเคร่ืองยนต์
เพื่อการใชง้ าน
คา่ ใชจ้ า่ ยสงู ในการ
ดแู ลรกั ษารถไถและ
คา่ นำ�้ มันเช้ือเพลงิ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

61

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
การถนอมอาหารประเภทนมโดยใชค้ วามรอ้ น

1. ปัญหาหรอื ความต้องการคอื
แนวค�ำ ตอบ มนุษย์ตอ้ งการเก็บรกั ษานมไวบ้ ริโภคใหน้ านขน้ึ
2. การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยนี ้นั เปน็ สง่ิ ของเครอื่ งใชห้ รือวิธีการ
แนวค�ำ ตอบ วธิ กี าร

3. ตารางวเิ คราะห์สาเหตหุ รือปัจจยั ท่ที าํ ใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลง และผลการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี การถนอมอาหาร
ประเภทนมโดยใชค้ วามรอ้ น

เทคโนโลยี สาเหตุหรือปัจจัยท่ีทำ�ใหเ้ กิด ผลการเปล่ียนแปลง
การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี
การถนอมอาหาร
ประเภทนมโดย การค้นพบวิธกี ารฆ่าเชอื้ จลุ นิ ทรีย์ทที่ �ำ ให้อาหารเนา่ การปรบั เปล่ียนอณุ หภูมแิ ละเวลา
ใช้ความรอ้ น เสยี โดยใช้ความร้อน ซ่งึ ถกู นำ�มาใชก้ ับการถนอม ในกระบวนการถนอมอาหาร
อาหารประเภทนม ประเภทนม
ความต้องการยดื อายกุ ารเก็บรกั ษานมให้ยาวนาน อายกุ ารเก็บรกั ษานมท่ียาวนาน
ยิง่ ข้นึ มากย่ิงขน้ึ
ความก้าวหน้าของความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์และ ทางเลือกที่หลากหลายของ
เทคโนโลยถี กู นำ�มาปรบั ใชใ้ นกระบวนการ ผ้บู รโิ ภค

4. ผ้เู รยี นเลอื กใช้เทคโนโลยใี ดท่ีเหมาะสมกับบรบิ ทของตนเอง เพราะเหตใุ ด
แนวคำ�ตอบ ตัวอยา่ งเชน่ การต้ม เพราะท�ำ ไดง้ า่ ย ไม่ตอ้ งลงทนุ สงู

ตารางวเิ คราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีการถนอมอาหารประเภทนมโดยใชค้ วามร้อนเพิ่มเติมสำ�หรับผู้สอน

เทคโนโลยี ลกั ษณะของเทคโนโลยี จดุ เด่น จุดด้อย สาเหตุที่นำ�ไปสู่
การเปล่ยี นแปลง
การตม้ การฆา่ เช้ือจลุ ินทรยี ์ เป็นวธิ กี ารอยา่ งง่าย ไม่สามารถเกบ็ รักษา
โดยใชค้ วามร้อน ในการฆา่ เช้อื จลุ นิ ทรยี ์ นมไวไ้ ด้นาน เทคโนโลยี
ในนมด้วยความรอ้ น
เพือ่ เก็บรกั ษานม ความต้องการท่จี ะ
ถนอมสารอาหารในนม
รักษารสชาติของนม
และยดื อายุการเก็บ
รกั ษาให้ยาวนานข้ึน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

62

เทคโนโลยี ลักษณะของเทคโนโลยี จดุ เดน่ จุดดอ้ ย สาเหตุทน่ี ำ�ไปสู่
การเปลย่ี นแปลง

เทคโนโลยี

พาสเจอร์ไรส์ ใช้อณุ หภูมิไม่ต�ำ่ กวา่ ไม่ท�ำ ลายสารอาหาร วธิ ีนีย้ ังคงมีเชอื้ ความต้องการในการ
สเตอริไรส์ 63 °C เปน็ เวลาไม่น้อย รวมถงึ รสชาตคิ วามสด จุลินทรยี ห์ ลงเหลอื อยู่ เก็บรักษาทน่ี านข้นึ
กวา่ 30 นาที หรอื ใช้ ใหมข่ องนม เน่อื งจากใช้ ดังน้นั นมพาสเจอร์
ยเู อชที อุณหภูมิไม่ตา่ํ กวา่ อุณหภมู ไิ มส่ ูงมากนกั ไรสจ์ ึงมอี ายุการเกบ็ ความตอ้ งการคงสาร
72 °C เปน็ เวลาไมน่ อ้ ย สามารถลดปรมิ าณเช้ือ รักษาประมาณ 7-10 อาหาร สแี ละกล่นิ ของ
กวา่ 15 วนิ าที แลว้ ทาํ ให้ จุลนิ ทรยี ใ์ หอ้ ยู่ในระดบั วนั และต้องเกบ็ ในตู้ นม โดยมีอายุการเกบ็
เย็นลงทันทที อ่ี ุณหภูมิ ทปี่ ลอดภยั ตอ่ ผู้บริโภค เยน็ ถ้าเก็บไวน้ าน รักษาที่ยาวนาน
ต่ํากว่า 5°C เกินก�ำ หนด เชื้อ
จุลินทรียท์ ีเ่ หลอื อย่จู ะ
ใช้อุณหภูมไิ มต่ ำ�่ กว่า เช้อื จุลนิ ทรียแ์ ละ เพิ่มจ�ำ นวน และท�ำ ให้
100°C เปน็ เวลานาน เอนไซม์ต่าง ๆ ท่ที �ำ ให้ นมเสียได้
นมเสียสภาพถกู ท�ำ ลาย
ไดท้ ้ังหมด การใชค้ วามร้อนสงู
เกบ็ รกั ษาไดน้ านถึง เปน็ เวลานานทำ�ให้
12 เดอื นโดยไม่ตอ้ งเกบ็ เกดิ การสญู เสยี
ในตเู้ ย็น วิตามนิ บางชนดิ และ
เกิดการเปลีย่ นสแี ละ
ใช้อณุ หภูมไิ ม่ต่ำ�กว่า การสญู เสียวติ ามนิ การ กลนิ่ ของนม โดยนม
133 °C เป็นเวลา เปลี่ยนสีและกล่นิ ของ จะเปล่ยี นเปน็ สี
ประมาณ 2-3 วนิ าที นมน้อยกว่าวธิ กี าร เหลอื งเลก็ นอ้ ยและ
สเตอรร์ ไิ รส์ มีกลิน่ เฉพาะตัว
ฆ่าเช้ือจุลนิ ทรยี แ์ ละ
เอนไซมต์ ่าง ๆ ท่ีทำ�ให้ ไมส่ ะดวกในการขนส่ง
นมเสียสภาพไดท้ ้ังหมด และการเกบ็ รักษา
นมยูเอชทมี ีอายุการเกบ็
รักษาประมาณ 6-8
เดอื นโดยไม่ตอ้ งเกบ็ ไว้
ในตเู้ ย็น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

63

เทคโนโลยี ลักษณะของเทคโนโลยี จุดเด่น จดุ ด้อย สาเหตุที่นำ�ไปสู่
การเปลย่ี นแปลง

เทคโนโลยี

การท�ำ แหง้ ใช้อณุ หภูมปิ ระมาณ วธิ นี ้ไี ม่ท�ำ ใหน้ มสญู เสีย ความชน้ื อาจทำ�ให้
แบบพน่ ฝอย 150-300 °C นมจะถกู คุณคา่ ทางโภชนาการ คณุ ภาพของนมผง
พ่นออกมาเป็นละออง แตอ่ าจมีการสูญเสยี ลดลง
ขนาดเล็กและสมั ผสั กบั กล่นิ เฉพาะตวั ของนม
ความร้อนท่ไี หลผา่ น ระหว่าง
ท�ำ ใหน้ ้ำ�ในนมระเหย เป็นอีกทางเลอื กหนง่ึ
ออกไปหมดอยา่ งรวดเร็ว ท่ีได้รับความนยิ ม
กลายเปน็ นมผง เนอ่ื งจากเกบ็ ไวไ้ ดน้ าน
ง่ายในการขนส่งและ
การเก็บรกั ษา

การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี
การขยายพันธกุ์ ลว้ ย

1. ปญั หาหรือความตอ้ งการคอื
แนวคำ�ตอบ เกษตรกรตอ้ งการต้นอ่อนกลว้ ย เพื่อนําไปปลกู ให้ไดผ้ ลผลติ จาํ นวนมาก
2. การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยนี ัน้ เปน็ สงิ่ ของเครื่องใช้หรอื วิธีการ
แนวคำ�ตอบ วิธีการ

3. ตารางวเิ คราะหส์ าเหตหุ รือปจั จยั ท่ที าํ ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงและผลการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี การขยายพันธุ์กลว้ ย

เทคโนโลยี สาเหตหุ รอื ปัจจัยทท่ี �ำ ให้เกดิ ผลการเปล่ียนแปลง
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี

การขยายพนั ธุก์ ลว้ ย ปญั หาการขยายพันธ์ุกล้วยโดยวธิ ธี รรมชาติ เกิดวิธกี ารขยายพนั ธ์กุ ลว้ ยทม่ี า
ได้ต้นออ่ นจ�ำ นวนน้อย จากการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรทู้ างดา้ น
วทิ ยาศาสตร์ ท�ำ ใหไ้ ดต้ น้ ออ่ นมากขน้ึ
ความตอ้ งการบริโภคกลว้ ย จ�ำ นวนผลผลิตของกลว้ ยเพ่มิ
ของผูค้ นเพิ่มมากข้นึ มากขน้ึ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

64

เทคโนโลยี สาเหตุหรอื ปัจจยั ท่ที ำ�ใหเ้ กิด ผลการเปลยี่ นแปลง
การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี

เกษตรกรหรอื ผู้ปลูกต้องการเพิ่มผลผลิตของกลว้ ย เกษตรกรหรอื ผู้ปลกู มีรายได้
และเก็บเกี่ยวผลผลติ ได้พรอ้ มกนั หลาย ๆ ตน้ เพอ่ื ให้ เพ่ิมขนึ้
พอกบั ความตอ้ งการของตลาด
ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์และการนำ�ความรู้ ไดต้ น้ พนั ธแุ์ ละผลผลติ ทีม่ ลี ักษณะ
มาประยกุ ต์ใช้ในการขยายพนั ธกุ์ ลว้ ย ตามทต่ี อ้ งการ

4. ผเู้ รยี นเลอื กใช้เทคโนโลยใี ดท่เี หมาะสมกบั บรบิ ทของตนเอง เพราะเหตใุ ด
แนวคำ�ตอบ ตัวอย่างเช่น การผ่าหน่อ เพราะต้องการขยายพันธ์ุกล้วยเพ่ือปลูกไว้รับประทานภายในครอบครัว
เป็นวิธที ไ่ี ม่ต้องใชเ้ งินลงทุนสงู สามารถทําไดเ้ องทบี่ ้าน

ตารางวิเคราะห์การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารขยายพันธ์ุกลว้ ยเพิ่มเตมิ ส�ำ หรับผ้สู อน

เทคโนโลยี ลกั ษณะของเทคโนโลยี จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย สาเหตทุ ี่นำ�ไปสู่
การเปล่ยี นแปลง
การเพาะ
เมล็ดและ เทคโนโลยี
การแยก
การเพาะเมลด็ เหมาะ เป็นวิธกี ารตามธรรมชาติ การเพาะเมลด็ ใช้เวลานาน ความตอ้ งการ
หน่อ ส�ำ หรับกล้วยพันธุท์ ่ี ต้นทุนในการขยายพนั ธตุ์ ่�ำ ในการเจรญิ เปน็ ตน้ อ่อน ขยายพันธุ์กล้วย
สามารถเพาะเมล็ด เนอ่ื งจากเมล็ดของกล้วยมี ให้ได้จ�ำ นวนมาก
การขยายพนั ธ์โุ ดยใช้ เปลือกหุ้มที่หนาและแข็ง
หน่อทเ่ี กิดจากตน้ แม่ การแยกหนอ่ จะได้ต้นใหม่
จ�ำ นวนนอ้ ย ข้นึ กบั จ�ำ นวน
หนอ่ ทเ่ี กดิ จากตน้ แม่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

65

เทคโนโลยี ลกั ษณะของเทคโนโลยี จุดเด่น จดุ ด้อย สาเหตุท่นี �ำ ไปสู่
การผ่าหนอ่ การเปลี่ยนแปลง
การน�ำ เอาหน่อกล้วย
การเพาะ มาผ่าแบง่ เป็นช้ิน โดย เทคโนโลยี
เลยี้ งเนื้อเยือ้ ให้มีสว่ นตาติดอยู่ แล้ว
น�ำ ไปชำ�ใหเ้ กิดรากและ การปลูกวธิ นี ้ีท�ำ ใหไ้ ดต้ น้ จำ�นวนหน่อของกลว้ ย ความตอ้ งการ
เพาะปลูกต่อไป อ่อนเจริญเรว็ และ แต่ละต้นมีจำ�กัด ทำ�ใหไ้ ม่ ขยายพันธ์ุ
สามารถขยายพนั ธุ์ได้ สามารถขยายพันธ์กุ ล้วยได้ กล้วยใหไ้ ด้
ใชเ้ นอ้ื เยอ่ื จากหนอ่ มากกวา่ หน่ึงต้น จำ�นวนมากตามทต่ี ้องการ จำ�นวนมาก
กลว้ ยนำ�มาเพาะเล้ียง ตน้ ทนุ ในการขยาย หน่อพันธุท์ ่ขี ุดมาจากตน้ ตามที่ต้องการ
ในอาหารสงั เคราะห์ พันธุต์ ำ�่ อาจจะมโี รคและแมลงท่ี การกลายพนั ธุ์
ระบาดติดมาดว้ ย สง่ ผล ของต้นกลว้ ย
ไดต้ ้นอ่อนจ�ำ นวนมาก ใหก้ ารเจรญิ ของหน่อชะงกั การติดโรค
ตามทต่ี อ้ งการ หรอื เจริญได้ไม่เตม็ ท่ี และ หรอื แมลงของ
ได้ต้นพันธ์ทุ ่สี ะอาด อาจเกิดการแพรร่ ะบาดไป ต้นกล้วย
ปราศจากโรคและแมลง ยงั ตน้ พนั ธ์ุอ่นื ได้อีกด้วย
ได้ตน้ พนั ธ์ุที่มีลกั ษณะ
เหมอื นตน้ แมพ่ นั ธุ์ การลงทนุ ในการขยาย
ได้ตน้ ปลูกทม่ี ีขนาด พนั ธ์ุสงู
สมำ่�เสมอจำ�นวนมาก การขยายพันธต์ุ อ้ งทำ�
และเก็บเกี่ยวผลจำ�นวน ในห้องปฏิบตั กิ าร
มากไดพ้ รอ้ มกนั จงึ เหมาะ
สำ�หรบั การลงทนุ ปลูก
เพ่อื การค้าและสง่ ออก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

66

กิจกรรมท้าทายความคิด

เรอ่ื ง อะไรหนอคอื การเกษตรแนวด่ิง

ใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาขอ้ มลู ในเวบ็ ไซตท์ ก่ี าํ หนดให้ แลว้ ตอบคาํ ถามตอ่ ไปน้ี

http://www.scimath.org/weblink/7764.php

http://www.scimath.org/weblink/7765.php

http://www.scimath.org/weblink/7766.php

1. การเกษตรแนวด่งิ (vertical farm) มคี วามแตกต่างจากการท�ำ การเกษตรทีเ่ ราเคยเห็นอย่างไร
แนวคำ�ตอบ การเกษตรที่เคยเห็นจะปลูกพืชผักแนวราบไปกับพื้นดิน แต่การทำ�เกษตรแนวด่ิงเป็นการ

ปลกู พชื ผลในแปลงทตี่ อ่ กนั ขนึ้ ไปเปน็ ชนั้ ๆ ตามแนวดง่ิ หรอื ปลกู พชื ตามแนวดง่ิ ซง่ึ ไดป้ รมิ าณผกั มากกวา่
ปลกู ในแนวราบในพ้นื ทเี่ ทา่ กัน
2. การทำ�เกษตรแนวดง่ิ เป็นประโยชน์ตอ่ การดำ�รงชวี ติ ของคนในยคุ ปัจจุบันอยา่ งไร
แนวคำ�ตอบ ผู้คนในยุคปัจจุบันอาศัยอยู่ในอาคาร คอนโดมิเนียม หอพัก ซ่ึงมีพ้ืนท่ีอยู่อาศัยท่ีจำ�กัด
การทำ�เกษตรแนวด่งิ ช่วยให้ผู้คนสามารถปลกู ผกั ไวร้ ับประทานได้ในพ้นื ทจี่ �ำ กัด
3. ยกตัวอย่างความรู้ แนวคิด หรืออุปกรณ์ที่จำ�เป็นในการทำ�เกษตรแนวด่ิงที่ต่างจากการทำ�การเกษตร
แนวเดิมมา 3 ขอ้
แนวค�ำ ตอบ 1. ชนิดของพชื ผกั ท่สี ามารถปลกู ได้ในพนื้ ท่ีทม่ี อี ยู่
2. ระบบรดน�ำ้ แปลงผกั
3. ขนาดและโครงสร้างของแปลงผักทจี่ ะสร้างในแนวดิ่ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

67

4. ความรู้ แนวคดิ หรืออปุ กรณท์ ่ผี ูเ้ รียนยกตวั อยา่ งในขอ้ 3 มคี วามเก่ียวขอ้ งกบั ความรวู้ ทิ ยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ทผ่ี เู้ รียนเคยเรยี นมาแล้วหรอื ไม่ ถา้ ใช่ มีความเกยี่ วขอ้ งกบั ความรูเ้ ร่อื งใด
แนวคำ�ตอบ 1. ชนิดของพืชที่เหมาะสมกับพื้นที่ ชนิดของดินท่ีเหมาะสมสำ�หรับพืชแต่ละชนิด

การล�ำ เลยี งนำ้�ของพชื การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช ปริมาณน�ำ้ และแสงแดดทพ่ี ืช
แต่ละชนิดต้องการ
2. สมบัติของสาร ในท่ีนี้คือนำ้�มีสถานะเป็นของเหลว สามารถไหลหรือเปล่ียนแปลง

รปู รา่ งไดต้ ามภาชนะที่บรรจุ
3. วัสดทุ จ่ี ะใชท้ ำ�แปลงผักควรเปน็ ไม้ หรือพลาสติก ซ่ึงมีความแข็งแรง ทนทาน ตัดให้มี

ขนาดตามท่ีต้องการได้ง่าย และการคำ�นวณขนาดของแปลงผักให้เหมาะสมกับพื้นที่
ทต่ี ้องการปลูกผัก

ชวนคิด ช่วยโปลศิ ออกแบบแปลงผักแนวดงิ่

ใหผ้ เู้ รยี นพจิ ารณาแปลงผกั ของโปลศิ ทผ่ี เู้ รยี นชว่ ยออกแบบในบทท่ี 1 ผเู้ รยี นจะน�ำ ความรเู้ รอื่ งการเกษตร
แนวดงิ่ ไปชว่ ยพฒั นาแปลงผกั นน้ั อยา่ งไร ใหเ้ ขยี นภาพรา่ งของโครงสรา้ งแปลงผกั ทนี่ กั เรยี นจะพฒั นาใหโ้ ปลศิ
แนวค�ำ ตอบ 1. พชื ทป่ี ลกู เปน็ ผกั สวนครวั เชน่ ผกั สลดั ผกั ชี ตน้ หอม สามารถปลกู ไดใ้ นดนิ รว่ นทร่ี ะบายน�ำ้

ได้ดี ใช้เน้ือที่ในการเจริญเติบโตไม่มากจึงสามารถปลูกได้ในพื้นท่ีท่ีจำ�กัด และควรให้
แสงแดดสอ่ งอย่างทัว่ ถงึ ผักทุกต้น
2. ระบบรดนำ้� ใช้สายยางเจาะรูเพื่อต่อทอ่ พลาสติกใหน้ ้ำ�ไหลไปยงั ผักทป่ี ลกู
3. ใช้วสั ดปุ ระเภทไม้ เปน็ โครงแปลงผัก ซงึ่ แปลงผักมขี นาดความกวา้ งไมเ่ กนิ
1 เมตร x 3 เมตร และมีพน้ื ทส่ี �ำ หรับเดนิ ได้รอบแปลงผัก

ภาพร่างแปลงผัก วาลว์ น�้ำ
ควบคมุ การเปดิ -ปดิ
วงจรวดั ความชน้ื

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

68

กิจกรรมทา้ ยบท การวเิ คราะหส์ าเหตหุ รอื ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี

ยกตัวอย่างเทคโนโลยีที่เป็นส่ิงของเคร่ืองใช้ 1 ประเภท หรือวิธีการ 1 วิธี ท่ีสนใจ จากนั้นสืบค้นการเปล่ียนแปลง และ
วเิ คราะหส์ าเหตหุ รอื ปจั จยั ทที่ �ำ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงของผลติ ภณั ฑห์ รอื วธิ กี ารตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี

เทคโนโลยี (สงิ่ ของเครอ่ื งใช้หรอื วิธกี าร) ทเี่ ปลี่ยนแปลงตามล�ำ ดับ
ลกั ษณะหรอื การทำ�งาน จดุ เด่น จดุ ด้อย ของเทคโนโลยี
สาเหตุหรือปัจจยั ท่ีทำ�ใหเ้ ทคโนโลยีเกดิ การเปล่ียนแปลง
โดยน�ำ เสนอด้วยวธิ ีตา่ ง ๆ เช่น แผนภาพ พรอ้ มระบุแหล่งทม่ี าของข้อมูล

แนวคำ�ตอบ
ตัวอยา่ งการวิเคราะห์สาเหตุหรอื ปจั จยั ท่ีทำ�ให้เทคโนโลยีอปุ กรณท์ �ำ ความสะอาดพน้ื เกดิ การเปลีย่ นแปลง
แสดงดังตารางต่อไปนี้

เทคโนโลยี ลกั ษณะและการใช้งาน จดุ เด่น จดุ ด้อย สาเหตหุ รือปัจจัยที่
ทำ�ใหเ้ ทคโนโลยีเกดิ การ

เปลย่ี นแปลง

ไม้กวาด ท�ำ จากดอกหญา้ มขี น สามารถกวาดฝนุ่ ทม่ี ี มฝี นุ่ ฟงุ้ กระจายขณะ ความตอ้ งการในการ
ดอกหญา้ ออ่ น สามารถเข้าถึง ขนาดเลก็ กวาด ท�ำ ความสะอาดพน้ื ท่ี
พืน้ ท่ีได้หลายรูปแบบ ท�ำ ความสะอาดบรเิ วณ เปยี กและท�ำ ความ
ไม้กวาด เช่น ซอก มุมตา่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ มมุ ไดไ้ มด่ ี สะอาดมมุ ไดด้ ี
มุมเฉียง ใต้ตู้ ใตโ้ ตะ๊ และเหมาะ ขณะกวาด ดอกหญา้ การแกป้ ญั หาการหลดุ
ส�ำ หรบั ฝุ่นทีม่ ีขนาดเล็ก หลดุ รว่ ง รว่ งของดอกหญา้
เมอ่ื เปยี กน�ำ้ จะท�ำ ใหก้ วาด
ทำ�จากวัสดสุ งั เคราะห์ ท�ำ ความสะอาดบรเิ วณ ความตอ้ งการไมใ่ หฝ้ นุ่
มลี กั ษณะแบน ปลาย ไดไ้ มด่ ี ฟงุ้ กระจายขณะกวาด
ไมก้ วาดตดั เฉยี ง สามารถ ทเ่ี ปน็ มมุ และซอกไดด้ ี ใชแ้ รงคนในการกวาด ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์
ท�ำ ความสะอาดบริเวณ มคี วามคงทน และเทคโนโลยใี นการ
ที่เป็นมุมและซอกตา่ ง ๆ ไมก้ วาดทนน�ำ้ มฝี นุ่ ฟงุ้ กระจายขณะ สรา้ งเครอ่ื งมอื หรอื
ได้ดี กวาด อปุ กรณ์
ใชแ้ รงคนในการกวาด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

69

เทคโนโลยี ลักษณะและการใชง้ าน จุดเดน่ จดุ ด้อย สาเหตหุ รอื ปัจจยั ท่ี
ทำ�ให้เทคโนโลยเี กดิ การ
เครอื่ งดดู ใช้กลไกการดดู วสั ดหุ รือ ใชไ้ ฟฟา้ เปน็ แหลง่ ใชค้ นควบคมุ การใชง้ าน
ฝุน่ ฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ พลงั งาน เปล่ียนแปลง
ตามพน้ื ไมม่ ฝี นุ่ ฟงุ้ กระจายขณะ
ท�ำ ความสะอาด การใชค้ วามรทู้ าง
วทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เครือ่ งดดู การท�ำ งานของเครอ่ื ง ท�ำ งานอตั โนมตั ิ ระยะเวลาในการใชง้ าน เทคโนโลยี ในการ
ฝุ่นอัตโนมตั ิ ควบคุมดว้ ยระบบ ลดการใชแ้ รงคน แตล่ ะครง้ั จ�ำ กดั ประดษิ ฐค์ ดิ คน้ และ
อิเล็กทรอนิกส์และ ไมม่ สี ายไฟ เนอ่ื งจากใช้ พฒั นาเครอ่ื งชว่ ย
ไรส้ าย เซ็นเซอร์ควบคุมการ ท�ำ ความสะอาดพน้ื
ท�ำ งาน ใชแ้ บตเตอรี่ แบตเตอร่ี ความตอ้ งการความ
เป็นแหลง่ พลังงาน ตง้ั เวลาในการท�ำ ความ สะดวกสบายในการ
ท�ำ ความสะอาดและ
สะอาดได้ ประหยดั แรงผใู้ ช้
ขนาดเลก็ กะทดั รดั
งา่ ยตอ่ การดแู ลรกั ษา ตอ้ งการเพม่ิ เวลาการ
ใชง้ าน ให้นานขึ้น
และท�ำ ความสะอาด

แหล่งทม่ี าของขอ้ มลู
1. อุตสาหกรรมในครอบครัว กรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม.
เอกสารแนะแนวการประกอบอาชีพ อุตสาหกรรมในครอบครวั
และหตั ถกรรม เรอ่ื ง การทำ�ไมก้ วาดดอกหญา้
http://library.dip.go.th/multim1/ebook/IH%20
%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%AD10%20
%E0%B8%811%E0%B8%A1.pdf
2. https://www.thairath.co.th/content/306411

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี



แผนการจดั 3 ระบบทางเทคโนโลยี
การเรยี นรทู้ ่ี
ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ทกั ษะและกระบวนการท่เี ปน็ จุดเนน้
ความร้เู ดิมท่ผี เู้ รยี นต้องมี
สาระสำ�คัญ
สื่อและอปุ กรณ์
แนวทางการจัดการเรียนรู้
การวดั และประเมนิ ผล
ข้อเสนอแนะ

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลา 2 ช่วั โมง

72

ตวั ปอ้ น กระบวนการ ผลผลติ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3
(input) (process) (output) ระบบทางเทคโนโลยี

ข้อมูลย้อนกลับ
(feedback)

1. ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้

1.1 ตวั ช้วี ัด
อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำ�วันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี

1.2 สาระการเรยี นรู้
ระบบทางเทคโนโลยี เปน็ กลุ่มของส่วนตา่ ง ๆ ตงั้ แตส่ องส่วนขน้ึ ไปประกอบเข้าด้วยกันและทำ�งานร่วมกนั เพ่ือใหบ้ รรลุ
วตั ถปุ ระสงค์ โดยในการท�ำ งานของระบบทางเทคโนโลยจี ะประกอบไปดว้ ย ตวั ปอ้ น (input) กระบวนการ (process) และผลผลติ
(output) ท่ีสัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทำ�งานได้
ตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงการวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบและการทำ�งานของเทคโนโลยี รวมถึงสามารถ
ปรับปรุงใหเ้ ทคโนโลยที �ำ งานไดต้ ามตอ้ งการ

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

2.1 วเิ คราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยขี องชนิ้ งานหรอื วธิ ีการในชวี ิตประจำ�วัน
2.2 ประยุกต์ใชแ้ นวคดิ ระบบทางเทคโนโลยีเพอ่ื การดแู ลรักษาเทคโนโลยไี ดอ้ ย่างเหมาะสม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 3 | ระบบทางเทคโนโลยี 73

3. ทักษะและกระบวนการทีเ่ ปน็ จุดเน้น

3.1 ทกั ษะการคิดวิเคราะห์
3.2 ทกั ษะการคิดเชิงระบบ
3.3 ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
3.4 ทกั ษะการส่อื สาร

4. ความร้เู ดมิ ทผ่ี เู้ รยี นตอ้ งมี

เทคโนโลยีเป็นส่ิงท่ีมนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจเป็นได้
ทง้ั ชิ้นงานหรือวธิ ีการ เพอื่ ใช้แกป้ ญั หา สนองความต้องการ หรอื เพ่มิ ความ
สามารถในการทำ�งานของมนุษย์ และเทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา
ซงึ่ การเปลย่ี นแปลงนน้ั สง่ ผลใหเ้ ทคโนโลยมี สี ว่ นประกอบและการท�ำ งานทแี่ ตกตา่ งกนั ดงั นน้ั การน�ำ เทคโนโลยมี าใชจ้ ะตอ้ งทราบ
ถึงระบบการท�ำ งาน หากพบขอ้ บกพรอ่ ง หรือท�ำ งานไมไ่ ด้ ก็จะสามารถแกไ้ ขให้กลับมาทำ�งานไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์

5. สาระส�ำ คญั

ระบบ (system) คือ กลุ่มของส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่สองส่วนข้ึนไปประกอบเข้าด้วยกันและทำ�งานร่วมกันเพ่ือให้บรรลุ
วตั ถปุ ระสงคเ์ ดยี วกนั มนษุ ยป์ ระดษิ ฐห์ รอื สรา้ งเทคโนโลยขี น้ึ มาเพอ่ื ใชใ้ นกระบวนการแกป้ ญั หา หรอื สนองความตอ้ งการ ซง่ึ เรยี กวา่
ระบบทางเทคโนโลยี (technological system) ระบบทางเทคโนโลยจี ะประกอบไปดว้ ย ตวั ปอ้ น (input) กระบวนการ (process)
และผลผลติ (output) ทสี่ มั พนั ธก์ นั นอกจากนร้ี ะบบทางเทคโนโลยอี าจมขี อ้ มลู ยอ้ นกลบั (feedback) เพอื่ ใชป้ รบั ปรงุ การท�ำ งาน
ไดต้ ามวตั ถุประสงค์

6. ส่ือและอุปกรณ์ เร่อื ง เวลา (นาที)

6.1 ใบกจิ กรรม ระบบท่ีเกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติและระบบทีม่ นษุ ยส์ ร้างข้ึน 10
ใบกิจกรรม 30
เอะ๊ ! แปลงผักของโปลศิ เป็นระบบหรอื ไม่ 15
กจิ กรรมที่ 3.1 10
กิจกรรมท้าทายความคดิ การวเิ คราะห์ระบบทางเทคโนโลยี 10
กจิ กรรมที่ 3.2
ตอนท่ี 1 ระบบทางเทคโนโลยีในชวี ิตประจ�ำ วัน
กจิ กรรมท้ายบท ตอนท่ี 2 การประยุกต์ใช้แนวคิดระบบทางเทคโนโลยเี พ่อื การ

ดแู ลรกั ษา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

74 แแผผนนกการาจรจดั ัดกการาเรรเียรยีนนรทู้ร้ทูี่ 3่ี 1||ระเทบคบโทนาโงลเยทีรคอโบนตโลวั ยี คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

6.2 สอื่ อ่ืน ๆ
กระดาษปรู๊ฟ
ปากกาเมจิก

7. แนวทางการจดั การเรยี นรู้

1) ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปรายในประเด็นคำ�ถามชวนคิดในหนังสือเรียนที่ว่า ในชีวิตประจำ�วันผู้เรียนรู้จักระบบ
อะไรบ้าง และระบบนน้ั มกี ารทำ�งานอย่างไร
แนวค�ำ ตอบ ระบบการย่อยอาหารของมนุษย์ เกิดจากการทำ�งานร่วมกันของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร
ตง้ั แตก่ ารเคยี้ วอาหารใหม้ ขี นาดเลก็ ลง กระเพาะอาหารและล�ำ ไสม้ เี อนไซมห์ ลายชนดิ ชว่ ยในการยอ่ ยใหเ้ ปน็ สารอาหารทรี่ า่ งกาย
ดดู ซึมไปใชเ้ พือ่ ใหร้ า่ งกายด�ำ รงชวี ิตอยู่
ระบบการหายใจของมนุษย์ เกิดจากการทำ�งานร่วมกันของอวัยวะหลายอย่าง โดยเราหายใจเข้าและ
ออกทางจมูก อากาศท่ีหายใจเข้าไปจะผ่านหลอดลมลงไปยังปอด เพ่ือแลกเปลี่ยนออกซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ให้ออกมากบั ลมหายใจ ท�ำ ใหร้ า่ งกายดำ�รงชวี ติ อยู่
ระบบการทำ�งานของคอมพวิ เตอร์ ประกอบดว้ ยหลายสว่ น ไดแ้ ก่ หนว่ ยรบั ขอ้ มูล เชน่ เมาส์ คียบ์ อร์ด
หน่วยเก็บข้อมูลหรือหนว่ ยความจ�ำ หลัก เช่น แรม ฮาร์ดดิสก์ หน่วยประมวลผลขอ้ มูล คอื ซีพียู และหน่วยแสดงผล เช่น หนา้ จอ
ซ่งึ แตล่ ะหน่วยท�ำ งานรว่ มกันเพ่อื ชว่ ยในการท�ำ งานของมนุษย์
ระบบการทำ�งานของเครื่องปรับอากาศ ประกอบด้วยหลายส่วน เช่น คอยล์เย็นอยู่ภายในเครื่องปรับ
อากาศ คอมเพรสเซอรแ์ ละคอยลร์ อ้ นอยดู่ า้ นนอกหอ้ ง ซงึ่ ท�ำ งานรว่ มกนั เพอื่ ปรบั อณุ หภมู ภิ ายในหอ้ งใหเ้ ยน็ หรอื รอ้ นตามทต่ี อ้ งการ

2) ผเู้ รยี นศกึ ษาหวั ขอ้ 3.1 ระบบ ในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ จะกลา่ วถงึ ระบบทเ่ี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ และระบบทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ
เพอื่ อ�ำ นวยความสะดวกหรอื เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการท�ำ งานของมนุษย์
3) ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายร่วมกันและสรุปว่าระบบท่ีพบในธรรมชาติ คือ ระบบที่ธรรมชาติสร้างข้ึนหรือเป็นไปตาม
ธรรมชาติ และระบบท่ีมนุษย์สร้างขึ้น คือ ระบบท่ีมนุษย์สร้างขึ้นเพ่ืออำ�นวยความสะดวกหรือเพ่ิมประสิทธิภาพการทำ�งาน
ของมนษุ ย์
4) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน โดยคละความรู้ความสามารถร่วมกัน ให้แต่ละคนคิดวิเคราะห์ ระบบท่ีผู้เรียนเคย
รู้จักในชวี ิตประจ�ำ วัน ทง้ั ระบบทีเ่ กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ และระบบทีม่ นษุ ยส์ รา้ งข้ึน น�ำ มาอภิปรายในกล่มุ แล้วเขียนสรุปเปน็
ความรู้ของกลุ่มลงในใบกิจกรรมที่ 3.1 เรอื่ ง ระบบทเี่ กดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติและระบบทม่ี นษุ ย์สรา้ งข้ึน
5) ผเู้ รยี นและผสู้ อนรว่ มกนั อภปิ รายค�ำ ถามชวนคดิ ในหนงั สอื เรยี นทว่ี า่ ระบบทางเทคโนโลยเี ปน็ ระบบทพ่ี บในธรรมชาติ
หรอื ระบบท่มี นุษย์สรา้ งขนึ้ โดยกระต้นุ ให้ผเู้ รยี นแตล่ ะคนไดแ้ สดงความคิดทห่ี ลากหลาย
แนวคำ�ตอบ เทคโนโลยีเป็นสงิ่ ที่มนษุ ย์สรา้ งหรอื พฒั นาขนึ้ เพอ่ื แก้ปัญหา ตอบสนองความตอ้ งการ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ
การทำ�งานของมนุษย์ ดังน้ันระบบทางเทคโนโลยีจึงเปน็ ระบบทมี่ นุษย์สรา้ งข้ึน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 | ระบบทางเทคโนโลยี 75

6) ผู้เรียนทุกคนศึกษาเนื้อหาในหัวข้อ 3.2 ระบบทางเทคโนโลยี ในหนังสือเรียน จากน้ันร่วมกันอภิปรายเช่ือมโยงกับ
เนอ้ื หาทไ่ี ดศ้ กึ ษาจากหนงั สอื เรยี น โดยผสู้ อนน�ำ เสนอรปู ตวั อยา่ งทแี่ สดงองคป์ ระกอบของระบบทางเทคโนโลยี เชน่ จกั รยาน เตา
แกส๊ ระบบบ�ำ บัดน้ำ�เสียโดยท่ัวไป ในหนงั สอื เรยี นและเขยี นสรปุ เป็นแผนผังระบบทางเทคโนโลยีลงบนกระดาน ดังน้ี

ตัวป้อน องค์ประกอบของเทคโนโลยี ผลผลิต
(input) (output)
กระบวนการ
(process)

ข้อมลู ยอ้ นกลบั
(feedback)

ขอ้ สังเกต

ระบบทางเทคโนโลยีที่ต้องมีการควบคุมเพื่อให้ระบบทำ�งานบรรลุวัตถุประสงค์ จะมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback)
เพอ่ื ใชใ้ นการควบคมุ การท�ำ งานของระบบ เชน่ ขณะทเ่ี ราขบั รถยนต์ เราออกแรงเหยยี บคนั เรง่ (ตวั ปอ้ น) ท�ำ ใหเ้ ครอื่ งยนต์
ทำ�งาน (กระบวนการ) เพ่อื ใหร้ ถยนตเ์ คล่ือนที่ (ผลผลติ ) ความเรว็ ที่แสดงบนหนา้ ปัดรถยนต์คอื ข้อมลู ยอ้ นกลับ ทช่ี ่วย
ทำ�ให้เราควบคุมความเร็วของรถยนตไ์ ด้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

76 แแผผนนกการาจรจัดัดกการาเรรเยีรียนนรู้ทร้ทูี่ 3่ี 1||ระเทบคบโทนาโงลเยทีรคอโบนตโลัวยี คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

7) ผู้สอนต้ังประเด็นคำ�ถามเกี่ยวกับระบบทางเทคโนโลยีท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เช่น ระบบทางเทคโนโลยี คืออะไรและ
ประกอบด้วยอะไรบ้าง จากนั้นให้ผู้เรียนร่วมกันยกตัวอย่างช้ินงานที่สนใจ พร้อมระบุองค์ประกอบของระบบทางเทคโนโลยี
โดยผู้สอนกระตุ้นให้ผเู้ รียนฝึกการสังเกตและแยกแยะองค์ประกอบในสว่ นต่าง ๆ อยา่ งเป็นขน้ั ตอน
แนวค�ำ ตอบ ระบบทางเทคโนโลยเี ปน็ กลมุ่ ของสว่ นตา่ ง ๆ ตง้ั แตส่ องสว่ นขนึ้ ไปประกอบเขา้ ดว้ ยกนั และท�ำ งานรว่ มกนั
เพ่ือใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ โดยในการท�ำ งานของระบบทางเทคโนโลยีประกอบด้วย ตวั ปอ้ น คือสง่ิ ทเี่ ขา้ สรู่ ะบบ ซ่ึงอาจมีมากกวา่
1 อย่างก็ได้ โดยตัวป้อนจะเข้าสู่กระบวนการคือ กิจกรรมหรือการดำ�เนินการที่เกิดข้ึนในระบบ เพ่ือทำ�ให้เกิดผลผลิตตาม
วัตถปุ ระสงค์ โดยมขี ้อมลู ยอ้ นกลบั ที่ใชใ้ นการควบคมุ ใหร้ ะบบทำ�งานบรรลุตามวตั ถุประสงค์
8) ผู้เรียนทำ�กิจกรรมท้าทายความคิด เร่ือง เอ๊ะ! แปลงผักของโปลิศเป็นระบบหรือไม่ โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนกลุ่มเดิมตาม
กิจกรรมท้าทายความคิดในบทท่ี 1 และ 2 ให้แต่ละกลุ่มพิจารณาแปลงผักที่ได้ช่วยกันออกแบบในกิจกรรมท้าทายความคิด
บทท่ี 2 และตอบคำ�ถามในกิจกรรม
9) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน ศึกษาหัวข้อ 3.3 การวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยี ในหนังสือเรียนตามที่ได้รับ
มอบหมาย ใหแ้ ต่ละกลุม่ ส่มุ หัวข้อ 3 เร่อื ง ดังนี้

เรอ่ื งที่ 1 การวเิ คราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยขี องกระตกิ น้ำ�รอ้ นไฟฟ้า
เร่อื งท่ี 2 การวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยขี องตู้อบพลงั งานแสงอาทิตย์
เร่ืองท่ี 3 การวเิ คราะห์ระบบทางเทคโนโลยขี องการรดน้ำ�อตั โนมัติแบบวดั ความช้ืนของดิน
แล้วรว่ มกันอภปิ รายและทำ�ใบกิจกรรมท่ี 3.2 เรอ่ื ง การวเิ คราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยี โดยเขยี นอธบิ ายองคป์ ระกอบ
และการทำ�งานของระบบทางเทคโนโลยีในรูปแบบของไดอะแกรมและประยุกต์ใช้ระบบทางเทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาหรือ
ขอ้ บกพร่องท่อี าจเกดิ ขนึ้ และแนวทางการดแู ลรกั ษาเทคโนโลยลี งในกระดาษปร๊ฟู เพอ่ื อธิบายและสอ่ื สารให้ผู้อน่ื เขา้ ใจได้ตรงกัน

ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ผสู้ อนตง้ั ประเดน็ ค�ำ ถามสอดแทรกเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นไดค้ ดิ วเิ คราะหต์ าม ท�ำ ใหเ้ กดิ การเชอ่ื มโยง
ความรู้และเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจมากย่ิงขึ้น เช่น ผู้เรียนคิดว่าเพราะเหตุใดระบบทางเทคโนโลยีของตู้อบพลังงาน
แสงอาทิตยจ์ งึ ไมม่ ีข้อมลู ยอ้ นกลับ

แนวค�ำ ตอบ เนอ่ื งจากในระบบทางเทคโนโลยขี องตอู้ บพลงั งานแสงอาทติ ย์ กระบวนการอบแหง้ ภายในตอู้ บจะด�ำ เนนิ
ไปเรือ่ ย ๆ จนกระทั่งได้อาหารอบแห้งตามทผ่ี ู้ผลิตต้องการ ซ่งึ ไมต่ ้องอาศัยข้อมูลใด ๆ ในการควบคุมการท�ำ งานของระบบ

10) ตัวแทนกล่มุ ไปร่วมตรวจสอบความรูก้ บั กล่มุ ท่ีได้รบั เรอื่ งเดียวกนั และเลือกผลงานทีด่ ที ี่สุดไปนำ�เสนอ
11) ผเู้ รยี นและผสู้ อนรว่ มกนั สรปุ สาระส�ำ คญั ของระบบทางเทคโนโลยี โดยเนน้ ประเดน็ ระบบทางเทคโนโลยี มอี งคป์ ระกอบ
คือ ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) ผลผลติ (output) และบางระบบมีข้อมลู ยอ้ นกลบั (feedback) ทท่ี �ำ งานสัมพนั ธ์
กันเพื่อให้เทคโนโลยีน้ันทำ�งานสำ�เร็จตามวัตถุประสงค์ ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งขาดหายไปหรือชำ�รุดเสียหาย จะส่งผลให้ระบบ
ไม่สามารถทำ�งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้ การทำ�ความเข้าใจในระบบเทคโนโลยีช่วยให้เราสามารถแก้ไขข้อบกพร่อง รวมทั้ง
ดูแลรักษาเทคโนโลยีใหท้ ำ�งานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและมีอายกุ ารใช้งานยาวนาน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 | ระบบทางเทคโนโลยี 77

12) ผู้สอนยกตัวอย่างพัดลม และร่วมกันอภิปรายกับผู้เรียนว่า มีองค์ประกอบของระบบทางเทคโนโลยีอะไรบ้าง และ
ยกตัวอย่างสถานการณ์ของปัญหาท่ีพัดลมไม่สามารถทำ�งานบรรลุวัตถุประสงค์ และให้ผู้เรียนร่วมกันประยุกต์ใช้แนวคิดระบบ
ทางเทคโนโลยี โดยพิจารณาสาเหตุของปัญหาว่าเกิดจากองค์ประกอบใดของระบบทางเทคโนโลยี และมีแนวทางแก้ไขอย่างไร
รวมทัง้ เสนอแนะแนวทางในการดแู ลรักษาพัดลม ให้ใช้งานได้นานและเกิดประสิทธภิ าพสูงสดุ
แนวค�ำ ตอบ ระบบทางเทคโนโลยขี องพดั ลม ประกอบดว้ ย ตวั ปอ้ น (input) คอื ไฟฟา้ และการกดสวติ ช์ กระบวนการ
(process) คอื ไฟฟา้ ท�ำ ใหม้ อเตอรพ์ ดั ลมท�ำ งาน สง่ ผลใหแ้ กนเพลาและใบพดั เกดิ การหมนุ ท�ำ ใหเ้ กดิ ลม นนั่ คอื ผลผลติ (output)
ของระบบ

สถานการณ์ของปญั หา สาเหตขุ องปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา แนวทางการดูแลรักษา

เม่ือเสยี บปลั๊กและกด 1. ปล๊กั เสียบไมส่ นทิ (เกดิ จาก 1. เสียบปล๊กั ให้สนิท 1. เมื่อไมใ่ ช้ ควรกดสวติ ช์
สวติ ชเ์ ปดิ พดั ลมหมนุ ตวั ปอ้ น) 2. ซ่อมแซมหรอื เปลย่ี น ปดิ และถอดปลัก๊ เพอื่
ช้าหรือไม่หมุนเลย พักการท�ำ งานของ
2. สายไฟชำ�รุด (เกิดจาก สายไฟใหม่ มอเตอร์
ตวั ป้อน) 3. ถอดแกนหมุนออกมา
2. ทำ�ความสะอาดชนิ้ ส่วน
3. แกนหมุนมคี ราบสกปรก ลา้ งหรือท�ำ ความสะอาด ของพดั ลมสม�ำ่ เสมอ
(เกิดจากกระบวนการ) 4. ส่งใหช้ า่ งซอ่ ม และเชด็ ใหแ้ หง้ หลงั ล้าง
ทำ�ความสะอาด
4. มอเตอร์ และ ตัวเก็บประจุ
เสื่อมหรือเสยี (เกิดจาก
กระบวนการ)

13) ผู้เรียนทุกคนทำ�กิจกรรมท้ายบท ตอนที่ 1 เร่ือง ระบบทางเทคโนโลยีในชีวิตประจำ�วัน โดยพิจารณาแยกแยะ
องค์ประกอบระบบทางเทคโนโลยีของเครื่องปั่นนำ้�ผลไม้และอธิบายความสัมพันธ์การทำ�งานร่วมกันขององค์ประกอบในระบบ
ทางเทคโนโลยี และกิจกรรมท้ายบท ตอนที่ 2 เรื่อง การประยุกต์ใช้แนวคิดระบบทางเทคโนโลยีเพ่ือการดูแลรักษา โดยผู้เรียน
วิเคราะหว์ ่าหากผลผลติ ของระบบทางเทคโนโลยเี ครื่องปั่นน�ำ้ ผลไมไ้ ม่เป็นไปตามวตั ถุประสงคท์ ตี่ ้องการ นา่ จะเกิดจากสาเหตใุ ด
และมีแนวทางแก้ไขอย่างไร รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการดูแลรักษาเคร่ืองป่ันนำ้�ผลไม้ ให้ใช้งานได้นานและเกิดประสิทธิภาพ
ทีส่ ุด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

78 แแผผนนกการาจรจดั ดักการาเรรเยีรียนนรู้ทรูท้ี่ 3ี่ 1||ระเทบคบโทนาโงลเยทีรคอโบนตโลวั ยี คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

ความรเู้ พ่ิมเติมสำ� หรับครผู สู้ อน

ระบบทางเทคโนโลยีโดยท่ัวไปจะมีระบบย่อย (subsystems) อยู่ภายในระบบใหญ่ เช่น ระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย
เมอื่ พจิ ารณาระบบใหญจ่ ะพบวา่ ตวั ปอ้ น (input) คอื น�้ำ เสยี กระบวนการ (process) คอื น�ำ้ เสยี ผา่ นขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ภายใน
กระบวนการ ซึ่งไดผ้ ลผลติ (output) คือ นำ�้ สะอาด ดงั ตัวอยา่ งองคป์ ระกอบระบบทางเทคโนโลยีของการบำ�บดั น�้ำ เสยี
โดยทั่วไปในหนังสือเรียน แต่ถ้าพิจารณาโดยละเอียดจะพบว่าในองค์ประกอบกระบวนการมีระบบย่อยอยู่ภายใน เช่น
ระบบการกรอง ระบบการตกตะกอน ระบบการเตมิ อากาศ โดยผลผลิตของระบบกอ่ นหน้าจะเปน็ ตวั ปอ้ นของระบบถดั ไป
เช่น นำ้�ทผี่ ่านระบบการกรองจะไหลเข้าสูถ่ ังตกตะกอนตามล�ำ ดบั หรอื ระบบทางเทคโนโลยขี องจกั รยาน จะมีระบบเกียร์
ระบบเบรคเปน็ ระบบยอ่ ยอยภู่ ายในดว้ ย อยา่ งไรกต็ ามการพจิ ารณาระบบทางเทคโนโลยสี ามารถพจิ ารณาไดห้ ลายมมุ มอง
และมีความหลากหลาย แต่องค์ประกอบของระบบทางเทคโนโลยีที่พิจารณาจะต้องมีการทำ�งานร่วมกันและสัมพันธ์กัน
อย่างถูกต้อง สำ�หรับการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะเน้นให้ผู้เรียนมองระบบใหญ่ในชีวิตประจำ�วัน เพ่ือให้
ผู้เรียนสามารถแยกแยะองค์ประกอบของระบบทางเทคโนโลยีและเห็นถึงการทำ�งานท่ีสัมพันธ์กันขององค์ประกอบ
โดยยงั ไม่พิจารณาระบบย่อยท่อี ยู่ภายในระบบใหญ่

8. การวัดและประเมินผล

รายการประเมนิ วธิ ีการวัด เครื่องมือที่ใช้วดั เกณฑก์ ารประเมินการผ่าน
ตรวจกจิ กรรม
1. การวิเคราะหร์ ะบบทาง ทา้ ยบท ตอนท่ี 1 กจิ กรรมทา้ ยบท ตอนที่ 1 คะแนน 9-12 หมายถึง ดี
เทคโนโลยีของชิน้ งานหรอื เรือ่ ง ระบบทางเทคโนโลยี คะแนน 5-8 หมายถึง พอใช้
วิธีการในชวี ิตประจ�ำ วัน ตรวจกจิ กรรม ในชีวติ ประจำ�วัน คะแนน 1-4 หมายถงึ ปรบั ปรงุ
ทา้ ยบท ตอนที่ 2
2. การประยุกต์ใช้แนวคดิ กิจกรรมท้ายบท ตอนท่ี 2 ผเู้ รยี นไดร้ ะดบั คณุ ภาพ พอใช้
ระบบทางเทคโนโลยเี พอื่ การ สงั เกตพฤตกิ รรม เรอื่ ง การประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ ถอื วา่ ผา่ น
ดูแลรกั ษาเทคโนโลยไี ด้อยา่ ง สงั เกตพฤติกรรม ระบบทางเทคโนโลยเี พอ่ื
เหมาะสม สังเกตพฤติกรรม การดูแลรักษา

3. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม

4. ทักษะการคดิ เชิงระบบ แบบสงั เกตพฤติกรรม ผูเ้ รียนได้ระดับคุณภาพ พอใช้
แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ขึน้ ไปถอื วา่ ผ่าน
5. ทักษะการคิดอยา่ งมี (ดเู กณฑก์ ารประเมนิ
วิจารณญาณ แบบสงั เกตพฤติกรรม ในภาคผนวก)

6. ทักษะการสื่อสาร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 | ระบบทางเทคโนโลยี 79

เกณฑ์การประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1
2
ประเดน็ การประเมนิ แยกแยะองค์ประกอบ
ของระบบทางเทคโนโลยี แยกแยะองคป์ ระกอบของ แยกแยะองค์ประกอบ
1. การวิเคราะหร์ ะบบทาง ถกู ต้องทุกองค์ประกอบ ระบบทางเทคโนโลยี ของระบบทางเทคโนโลยี
เทคโนโลยีของช้นิ งานหรือ อธิบายความสมั พนั ธ์ ถูกตอ้ ง 2 องค์ประกอบ ถูกต้องเพยี ง 1 องคป์ ระกอบ
วิธกี ารในชีวติ ประจำ�วนั การทำ�งานรว่ มกันของ
1.1 การแยกแยะองค์ องค์ประกอบระบบทาง อธบิ ายความสมั พนั ธก์ าร อธบิ ายการท�ำ งานรว่ มกันของ
ประกอบของระบบทาง เทคโนโลยีไดค้ รบและ ทำ�งานรว่ มกันขององค์ องค์ประกอบระบบทาง
เทคโนโลยี ถกู ตอ้ งทง้ั 3 องคป์ ระกอบ ประกอบระบบทาง เทคโนโลยีไดแ้ ต่ไม่สมั พันธก์ ัน
เทคโนโลยีไดถ้ กู ตอ้ ง 2
1.2 การอธิบายความ ระบุสาเหตขุ องปัญหา องค์ประกอบ
สัมพนั ธ์การท�ำ งานรว่ มกัน หรอื ข้อบกพรอ่ งและ
ขององค์ประกอบระบบทาง แนวทางการแกไ้ ขจากตัว ระบสุ าเหตขุ องปญั หาหรอื ระบุสาเหตุของปัญหาหรอื ข้อ
เทคโนโลยี ปอ้ นและกระบวนการได้ ข้อบกพรอ่ งและแนวทาง บกพรอ่ ง แตแ่ นวทางการ
ถกู ตอ้ งชดั เจน การแก้ไขไดถ้ ูกต้องชดั เจน แก้ไขไมส่ อดคล้องกับสาเหตุ
2. การประยกุ ต์ใช้แนวคิด ระบแุ นวทางการดูแล เฉพาะจากตวั ป้อนหรือ ของปัญหาหรือข้อบกพรอ่ ง
ระบบทางเทคโนโลยีเพ่ือ รกั ษาเทคโนโลยีได้ กระบวนการเพยี งอยา่ งเดยี ว
การดแู ลรกั ษาเทคโนโลยไี ด้ ถกู ตอ้ งชดั เจนทง้ั ตวั ปอ้ น ระบุแนวทางการดแู ลรักษา
อยา่ งเหมาะสม และกระบวนการ ระบแุ นวทางการดแู ลรกั ษา เทคโนโลยไี มส่ อดคลอ้ งกับ
2.1 การระบสุ าเหตขุ อง เทคโนโลยไี ดถ้ กู ตอ้ งชดั เจน องคป์ ระกอบของระบบ
ปัญหาหรือขอ้ บกพร่องที่ เฉพาะตวั ปอ้ นหรอื กระบวนการ ทางเทคโนโลยี
อาจเกิดข้ึนกบั เทคโนโลยี เพียงอย่างเดียว
และแนวทางการแกไ้ ข

2.2 แนวทางการดแู ล
รกั ษาเทคโนโลยี

เกณฑก์ ารตดั สินระดับคุณภาพ
คะแนน 9-12 คะแนน หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ ดี
คะแนน 5-8 คะแนน หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ พอใช้
คะแนน 1-4 คะแนน หมายถึง ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง
** เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลสามารถปรบั เปลยี่ นไดต้ ามความเหมาะสม

9. แหล่งเรยี นรู้

Technology system
Thompson, E. (2004). Technology Today and Tomorrow, Teacher Annotated Edition (5th ed).
Glencoe/McGraw-Hill.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

80 แแผผนนกการาจรจัดัดกการาเรรเยีรียนนรู้ทรู้ท่ี 3ี่ 1||ระเทบคบโทนาโงลเยทรี คอโบนตโลวั ยี คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

10. ขอ้ เสนอแนะ

10.1 ผู้สอนควรนำ�ช้ินงานมาใหผ้ ูเ้ รียนได้ศึกษาเรือ่ งระบบทางเทคโนโลยี เพือ่ ทผี่ ูเ้ รยี นจะได้เข้าใจได้รวดเร็วยง่ิ ข้นึ
10.2 นำ�ผู้เรียนไปศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ โดยเฉพาะระบบทางเทคโนโลยีท่ีเป็นวิธีการ ผู้เรียนจะได้ศึกษาระบบทาง
เทคโนโลยไี ด้อยา่ งถกู ตอ้ งและไมส่ ับสน
10.3 ผู้สอนอาจจะแนะน�ำ ให้ผเู้ รยี นน�ำ ระบบทางเทคโนโลยไี ปแกป้ ัญหาท่ีพบในชีวิตประจำ�วนั โดยอาจจะเป็นการหาวิธี
การในการแก้ปญั หา หรือการสรา้ งโมเดลเลก็ ๆ จากวัสดุท่หี าไดใ้ กล้ตวั เพื่อแกป้ ญั หาในชีวติ ประจำ�วัน เชน่ การสร้างเครอ่ื งกรอง
นำ�้ ในตูเ้ ลีย้ งปลาสวยงาม การวางระบบเปดิ /ปดิ ไฟอัตโนมตั ิตามรวั้ บา้ นหรือตามสวนหย่อมในบ้าน
10.4 ในกรณีท่ีผสู้ อนไม่สามารถจดั กิจกรรมได้ตอ่ เนือ่ ง 2 คาบเรยี น อาจแบ่งเน้ือหาและกจิ กรรมในหนังสือเรยี นดังน้ี
คาบเรยี นที่ 1 หัวขอ้ 3.1 ระบบ กิจกรรมท่ี 3.1 เรื่อง ระบบทเ่ี กิดขึ้นเองตามธรรมชาติและระบบที่มนษุ ย์สร้างขึ้น
และ 3.2 ระบบทางเทคโนโลยี และกิจกรรมทา้ ทายความคิด เรื่อง เอะ๊ ! แปลงผักของโปลศิ เป็นระบบหรอื ไม่
คาบเรียนท่ี 2 หัวขอ้ 3.3 การวิเคราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยี กิจกรรม 3.2 เร่อื ง การวเิ คราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยี
และกิจกรรมท้ายบท ตอนที่ 1 เรอ่ื ง ระบบทางเทคโนโลยใี นชีวิตประจ�ำ วนั และตอนที่ 2 เรอื่ ง การประยุกต์ใชแ้ นวคดิ ระบบทาง
เทคโนโลยีเพอ่ื การดูแลรักษา
10.5 กิจกรรมเสนอแนะ เปน็ กจิ กรรมเสริมท่ใี หผ้ ้เู รียนฝกึ ปฏบิ ัตเิ พ่ือให้เกดิ ความเขา้ ใจเนือ้ หาท่ีเรยี นมากย่ิงขนึ้ ซึ่งผ้สู อน
อาจจดั กจิ กรรมเสนอแนะนอกเวลาเรยี นหรือพิจารณาตามความเหมาะสมของเวลา

11. แนวคำ�ตอบกิจกรรม

กจิ กรรมที่ เรือ่ ง ระบบที่เกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ
3.1 และระบบทีม่ นษุ ยส์ ร้างขึ้น

เขียนตวั อยา่ งของระบบที่เกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาตแิ ละระบบทม่ี นษุ ย์สรา้ งขนึ้

ลำ�ดับที่ ระบบทีเ่ กดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ ระบบทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขึน้

1 การย่อยอาหารของมนษุ ย์ ไดร์เปา่ ผม
2 การหายใจของมนษุ ย์ นาฬิกา
3 การหมนุ เวียนเลือดในรา่ งกายมนุษย์ เครือ่ งซักผา้
4 การสังเคราะห์แสงของพชื เตาแมเ่ หลก็ ไฟฟา้
5 การล�ำ เลียงน้ำ�และอาหารของพืช เคร่ืองปนั่ น้ำ�ผลไม้
6 การขับถา่ ยของเสียของมนุษย์ รถยนต์
7 การยอ่ ยอาหารของสตั ว์กนิ พืช การเปดิ -ปดิ ไฟอตั โนมตั ิแบบใช้เซ็นเซอร์
8 การย่อยอาหารของสตั วก์ ินเน้ือ การท�ำ ป๋ยุ หมกั
9 การหายใจทางเหงือกของปลา การทำ�ฝนเทยี ม
10 การคายน�้ำ ของใบไม้ การท�ำ นาเกลอื

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

81

กิจกรรมท้าทายความคิด

เรอื่ ง เอ๊ะ! แปลงผกั ของโปลิศเป็นระบบหรอื ไม่

พจิ ารณาแบบรา่ งแปลงผกั ทน่ี กั เรยี นออกแบบในบทท่ี 2 แลว้ ตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี

1. แปลงผักของโปลิศที่นกั เรียนช่วยออกแบบเปน็ ระบบหรือไม่ ถ้าเปน็ ใหเ้ ขยี นแผนภาพแสดง
ระบบทางเทคโนโลยแี ปลงผกั ของโปลิศ

แนวคำ�ตอบ แปลงผกั ของโปลิศเปน็ ระบบทางเทคโนโลยี

ตัวปอ้ น (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)

น�ำ้ เมลด็ ใหน้ �ำ้ อยา่ งสมำ�่ เสมอ และใสป่ ยุ๋ ผกั ท่ีเจรญิ เตบิ โต และ
ดนิ ปุ๋ย แสงแดด ในปริมาณท่เี หมาะสมกับ พร้อมนำ�ไปบริโภค

ผักแต่ละชนิด จดั วางแปลงผัก
ในทศิ ทางท่ีเหมาะสม
กับแสงแดดที่ส่องถึง

ขอ้ มูลย้อนกลับ (feedback) (ถา้ ม)ี

-

2. ในระบบแปลงผักของโปลิศ สิ่งใดหรือเหตุการณ์ใดบ้างท่ีสามารถบอกเราได้ว่าระบบกำ�ลังมีปัญหาและ
ตอ้ งแก้ไข
แนวคำ�ตอบ ตัวอย่างเช่น ไม่มีนำ้�ไหลออกจากท่อพลาสติกที่ต่อจากสายยางไปยังผักแต่ละต้น ซึ่งสาเหตุ
อาจเกิดจากไม่มีนำ้�ไหลมาจากแหล่งนำ้� หรือสายยางรั่วระหว่างการส่งนำ้� ต้นอ่อนของผักไม่ค่อยเจริญเติบโต
สาเหตอุ าจเกดิ จากไมไ่ ด้รบั น�้ำ หรอื แสงทเ่ี พียงพอ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

82

กิจกรรมท่ี เร่ือง การวเิ คราะห์ระบบทางเทคโนโลยี
3.2

จากตัวอย่างการวิเคราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยใี นบทเรยี นต่อไปนี้
1. การวิเคราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยีของกระตกิ นำ�้ ร้อนไฟฟ้า
2. การวิเคราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยีของตูอ้ บพลงั งานแสงอาทิตย์
3. การวเิ คราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยีของการรดน�้ำ อัตโนมตั แิ บบวดั ความชน้ื ของดนิ

ให้ผู้เรยี น
1. อธิบายองค์ประกอบและการทำ�งานของระบบทางเทคโนโลยีในรปู แบบไดอะแกรม

2. เสนอแนวทางในการแกไ้ ขหากเทคโนโลยเี กิดปญั หาหรอื ขอ้ บกพร่อง รวมทัง้ แนวทางในการดูแลรักษาเทคโนโลยี

ระบบทางเทคโนโลยีของ กระติกนำ�้ ร้อนไฟฟา้

ตวั ปอ้ น (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)
ไฟฟา้ นํ้า นาํ้ รอ้ น
ไฟฟ้าทําใหล้ วดความรอ้ นภายใน
กระตกิ เกดิ ความร้อนและถา่ ยเทไป
ยงั นาํ้ เมอ่ื อณุ หภมู ขิ องน้ําถงึ จดุ เดอื ด
เทอรโ์ มสตทั จะตดั วงจร กระแสไฟฟา้

จึงผา่ นไปยังลวดความรอ้ นชดุ
รกั ษาอณุ หภูมิของนํ้า ใหร้ อ้ นคงที่

ตลอดเวลา

ข้อมูลยอ้ นกลับ (feedback) (ถ้าม)ี
อณุ หภมู ขิ องนํ้า

ปญั หาหรือขอ้ บกพรอ่ งทีอ่ าจเกิดขึ้น : นำ�้ ในกระติกไมร่ อ้ น แนวทางการดแู ลรกั ษา :
สาเหตุของปญั หา : 1. ไมไ่ ด้เสียบปล๊กั ไฟ 1. ตรวจสอบขว้ั ปลัก๊ ไฟก่อนใชง้ าน
2. ขวั้ ปลก๊ั ไฟทต่ี อ่ กบั กระตกิ เสยี หาย 2. ในการท�ำ ความสะอาดควรใช้ผา้ ชบุ น�ำ้ เช็ดท่ี
ตัวเครือ่ งและฝากระตกิ ไม่ควรใช้น�้ำ ฉดี ล้าง
3. เทอร์โมสตทั เสียหาย เพราะนำ้�อาจทำ�ให้เกิดการลัดวงจรและท�ำ ให้
แนวทางการแก้ไขปญั หา : 1. เสยี บปลั๊กไฟ ข้ัวปลก๊ั ตอ่ เกดิ สนมิ เปน็ สาเหตใุ ห้เกดิ ไฟฟ้า
2. ซ่อมหรือเปลย่ี นขั้วปล๊กั ไฟ ลดั วงจรได้
3. ซ่อมหรือเปล่ียนเทอร์โมสตัท

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

83

ระบบทางเทคโนโลยีของ ตอู้ บพลังงานแสงอาทติ ย์

ตวั ปอ้ น (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)
อาหารอบแหง้
แสงอาทติ ย์ อาหารท่ี เม่อื แสงอาทติ ยส์ อ่ งผา่ นตอู้ บ วัสดสุ ี
ตอ้ งการอบแหง้ ดำ�ภายในตอู้ บจะดูดกลืนความรอ้ น
สะสมไว้ ทำ�ใหอ้ ณุ หภูมภิ ายในตูอ้ บ
สูงขนึ้ ส่งผลใหน้ ำ้�หรอื ความชื้นใน
อาหารระเหยออกมาและลอยตัวสงู
ขน้ึ ออกไปทางชอ่ งลมด้านบนตู้อบ
อากาศทเ่ี ย็นกว่าจากภายนอกจะ
ไหลเขา้ ทางชอ่ งลมทอี่ ยูส่ ว่ นลา่ งของ
ตู้อบ ท�ำ ใหเ้ กิดการหมุนเวยี นถ่ายเท
ความชนื้ ออกจากอาหารตลอดเวลา

ขอ้ มูลย้อนกลับ (feedback) (ถา้ มี)
-

ปัญหาหรือขอ้ บกพร่องท่ีอาจเกดิ ขน้ึ : อาหารไมแ่ หง้ แนวทางการดแู ลรกั ษา :
สาเหตขุ องปัญหา : 1. แสงอาทติ ย์ไมเ่ พยี งพอ หรอื 1. ระวังการกระแทกทีท่ �ำ ใหก้ ระจกตูอ้ บแตก
สภาพอากาศฝนตก 2. เช็ดท�ำ ความสะอาดตูอ้ บอยเู่ สมอ
2. ทศิ ทต่ี ง้ั ของตอู้ บไมเ่ หมาะสมกบั 3. ตรวจสอบวัสดภุ ายในตอู้ บกอ่ นและ
การรับแสงอาทิตย์ หลังการใชง้ าน
3. อากาศภายในตู้อบไมไ่ หลเวยี น
แนวทางการแก้ไขปญั หา : 1. อบอาหารในช่วงเวลาทม่ี ี (อา้ งอิงกระบวนการท�ำ งานและ
แสงอาทติ ย์และฝนไมต่ ก การใช้งานตู้อบพลังงานแสงอาทติ ย์จาก
2. หันดา้ นกระจกของตู้อบให้ http://www3.egat.co.th/re/egat_business/
รบั แสงอาทิตย์
3. ตรวจสอบช่องลมระบายอากาศ egat_dryer/dryer_system.htm)
ว่าเกิดการอดุ ตันหรอื ไม่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

84

ระบบทางเทคโนโลยีของ
การรดน้�ำ อัตโนมตั แิ บบวัดความชน้ื ของดนิ

ตัวปอ้ น (input) กระบวนการ (process) ผลผลติ (output)

ค่าความชืน้ ในดิน เม่ือค่าความชื้นในดินตำ่�กว่าที่ ละอองนำ�้
น้�ำ กำ�หนด เซน็ เซอรเ์ คร่ืองตรวจวัด จากหวั สปรงิ เกอร์
ความชืน้ ส่งสัญญาณใหป้ ๊ัมน�้ำ ท�ำ งาน
น้ำ�จึงถูกสง่ ผ่านทางท่อไปยงั หวั

สปรงิ เกอร์

ข้อมูลย้อนกลบั (feedback) (ถา้ มี)
คา่ ความชน้ื ในดนิ

ปญั หาหรอื ข้อบกพรอ่ งทีอ่ าจเกิดขน้ึ : ละอองน้�ำ ไม่ออก แนวทางการดแู ลรักษา :
จากหัวสปรงิ เกอร์ ตรวจสอบอปุ กรณท์ ีเ่ กย่ี วข้องในระบบอยูเ่ สมอ
สาเหตขุ องปญั หา : 1. แหลง่ น�้ำ มปี รมิ าณน�้ำ ไมเ่ พยี งพอ เช่น เครือ่ งตรวจวดั ความชื้น ปัม๊ น้ำ�
2. เครอื่ งตรวจวดั ความชน้ื เสยี หาย
3. ปม๊ั น�ำ้ เสียหาย
แนวทางการแกไ้ ขปัญหา : 1. เพ่ิมปรมิ าณน้ำ�ในแหลง่ นำ�้
2. เปลยี่ นเคร่อื งตรวจวัดความชืน้
3. ซ่อมป๊ัมน้ำ�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

85

กิจกรรมทา้ ยบท เรื่อง ระบบทางเทคโนโลยใี นชวี ิตประจำ�วนั
ตอนที่ 1

พิจารณาแยกแยะองค์ประกอบระบบทางเทคโนโลยีของเคร่ืองปั่นน้ำ�ผลไม้ และอธิบายความสัมพันธ์การทำ�งาน
รว่ มกันขององคป์ ระกอบในระบบทางเทคโนโลยี

ระบบทางเทคโนโลยขี อง เครอ่ื งปนั่ นำ้�ผลไม้

ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) ผลผลติ (output)
นำ�้ ผลไมป้ ั่น
1. กระแสไฟฟ้า มอเตอร์ขับเคลื่อนใบมดี ภายใน
2. สิง่ ทีต่ ้องการปั่น เช่น เครื่องป่นั หมุน เกดิ การตัดและป่ัน
ผลไม้ น�้ำ แข็ง นำ้�เชือ่ ม สงิ่ ท่ีอยู่ในเครอ่ื งป่ันให้มีขนาดเลก็ ลง
3. การกดสวติ ช์เปดิ /ปิด

ข้อมลู ยอ้ นกลบั (feedback) (ถ้าม)ี
-

ความสมั พนั ธก์ ารท�ำ งานรว่ มกนั ขององคป์ ระกอบในระบบทางเทคโนโลยี
การท�ำ งานรว่ มกนั ขององคป์ ระกอบในระบบทางเทคโนโลยี เครอ่ื งปนั่ น�้ำ ผลไม้ สงิ่ ทป่ี อ้ นเขา้ สรู่ ะบบคอื กระแสไฟฟา้
ส่ิงท่ีต้องการป่ัน เช่น ผลไม้ นำ้�แข็ง น้ำ�เช่ือม เม่ือเรากดสวิตช์เปิดให้เคร่ืองป่ันทำ�งาน ไฟฟ้าจะทำ�ให้มอเตอร์ขับเคลื่อน
ใบมีดในเคร่อื งปัน่ หมุน เกดิ การตดั และปนั่ ผลไม้ น้ำ�แข็ง ให้มขี นาดเลก็ ลงมาก จนไดผ้ ลผลิตออกมาเปน็ น้ำ�ผลไมป้ ่ัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

86

กิจกรรมทา้ ยบท เร่อื ง การประยกุ ตใ์ ช้แนวคดิ ระบบทาง เทคโนโลยี
ตอนที่ 2 เพ่ือการดแู ลรกั ษา

ผู้เรียนต้องการทำ�น้ำ�ผลไม้ปั่นโดยใช้เคร่ืองปั่น แต่เมื่อกดสวิตช์ส่ังให้เคร่ืองทำ�งานแล้วพบว่าใบมีดหมุนช้ามากจน
ไมส่ ามารถปนั่ ผลไมใ้ หล้ ะเอยี ดไดต้ ามทตี่ อ้ งการ ใหผ้ เู้ รยี นวเิ คราะหป์ ญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ วา่ นา่ จะเกดิ จากสาเหตใุ ด และมแี นวทาง
การแกไ้ ขอย่างไร รวมท้ังเสนอแนะการดูแลรักษาเครอื่ งปน่ั นำ�้ ผลไม้ ให้ใชง้ านไดน้ านและเกิดประสิทธภิ าพสงู สดุ

ระบบทางเทคโนโลยขี อง เคร่ืองป่ันนำ้�ผลไม้

ระบบทางเทคโนโลยขี อง เครอ่ื งป่ันน้ำ�ผลไม้

สาเหตขุ องปัญหา
1. ห่ันผลไมช้ น้ิ ใหญ่เกินไป (เกิดจากตัวปอ้ น)
2. ใสผ่ ลไมม้ ากเกนิ ไป (เกดิ จากตวั ป้อน)
3. ใสน่ �้ำ เช่อื มหรอื น้�ำ แข็งนอ้ ยเกนิ ไป (เกดิ จากตวั ป้อน)
4. เลือกใบมดี ท่ใี ชใ้ นการป่ันไมเ่ หมาะสม (เกดิ จากกระบวนการ)
5. ประกอบโถปั่นและตัวมอเตอร์ไม่เขา้ ลอ็ กทำ�ใหต้ ัวมอเตอรท์ ำ�งานไมส่ ะดวก (เกิดจากกระบวนการ)
6. มอเตอรเ์ ส่ือมหรอื ช�ำ รดุ (เกิดจากกระบวนการ)

การแก้ไข
1. ห่นั ผลไม้ขนาดพอดีกับขนาดของใบมีดและโถป่ัน
2. ใสผ่ ลไมจ้ �ำ นวนพอดีไม่มากจนเครื่องปนั่ รบั น้ำ�หนกั ไม่ไหว
3. ใสน่ �้ำ เชอ่ื มหรือนำ�้ แขง็ ในปรมิ าณที่เหมาะสมไมม่ ากหรือน้อยจนเกนิ ไป
4. เลอื กใบมดี ทีใ่ ช้ในการปนั่ ให้เหมาะสม
5. ประกอบโถปัน่ และตัวมอเตอรเ์ ข้าลอ็ กใหส้ นิท
6. ซ่อมหรือเปล่ียนมอเตอรใ์ หม่

การดูแลรักษา

1. หลังการใช้ ต้องลา้ งทำ�ความสะอาดเคร่ืองปัน่ ใหเ้ รียบรอ้ ย

2. ใช้ใบมดี ใหเ้ หมาะสมกับงาน

3. การปน่ั แต่ละครงั้ ไม่ใส่วตั ถดุ บิ ลงไปในโถปน่ั ใหแ้ นน่ เกินไปเพราะจะทำ�ให้มอเตอรเ์ สียเรว็ ข้ึน

4. ไมค่ วรป่ันตดิ ต่อกนั เปน็ เวลานาน ๆ อาจตง้ั เวลาปั่นและหยดุ เป็นชว่ ง ๆ เพื่อมอเตอร์จะไดไ้ ม่ร้อน

หรอื เสอื่ มสภาพเร็ว

5. หลงั การลา้ งท�ำ ความสะอาดไมค่ วรน�ำ เครอื่ งปนั่ ไปตากแดดเนอ่ื งจากแผน่ ยางทรี่ องรอยตอ่

ของอปุ กรณแ์ ตล่ ะชิ้นอาจจะเสื่อมหรอื ชำ�รุดได้ง่าย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการจดั 4 วสั ดแุ ละเครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน
การเรยี นรทู้ ่ี
SLOOT
ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ FLESRUOY TI OD

ทักษะและกระบวนการทเี่ ปน็ จุดเนน้

ความร้เู ดิมทผ่ี ู้เรยี นต้องมี

สาระส�ำ คญั

ส่ือและอปุ กรณ์

แนวทางการจัดการเรยี นรู้

SLOOT การวดั และประเมนิ ผล
ข้อเสนอแนะ
FLESRUOY TI OD
เวลา 2 ช่ัวโมง
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

88

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4
วัสดุและเครอ่ื งมอื ชา่ งพ้นื ฐาน

1. ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรู้

1.1 ตวั ชวี้ ัด
ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าหรืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสมและปลอดภัย
1.2 สาระการเรียนรู้
1) วสั ดแุ ตล่ ะประเภทมสี มบตั แิ ตกตา่ งกนั เชน่ ไม้ โลหะ พลาสตกิ จงึ ตอ้ งมกี ารวเิ คราะหส์ มบตั ิ เพอื่ เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสม
กบั ลกั ษณะของงาน
2) อุปกรณ์และเคร่ืองมือในการสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม
และปลอดภยั รวมท้ังรจู้ กั เก็บรกั ษา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 4 | วัสดุและเคร่อื งมอื ชา่ งพนื้ ฐาน 89

2. จุดประสงค์การเรียนรู้

2.1 วเิ คราะหส์ มบตั ขิ องวัสดุและเครื่องมือชา่ งท่ใี ชใ้ นการสร้างช้นิ งาน
2.2 เลอื กใชว้ ัสดุและเครือ่ งมือชา่ งในการสร้างชิ้นงานไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ลักษณะของงานและค�ำ นงึ ถงึ ความปลอดภยั

3. ทักษะและกระบวนการท่ีเป็นจุดเน้น

3.1 ทักษะการคดิ วิเคราะห์
3.2 ทักษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ
3.3 ทักษะการสือ่ สาร
3.4 ทกั ษะการท�ำ งานร่วมกบั ผู้อ่ืน

4. ความรู้เดมิ ที่ผ้เู รียนตอ้ งมี

วัสดุมีหลายประเภท แต่ละประเภทมีสมบัติที่เหมือนและแตกต่างกัน เช่น ความแข็ง ความเหนียว สภาพยืดหยุ่น
การนำ�ความรอ้ น การน�ำ ไฟฟา้

5. สาระสำ�คญั

การเลอื กใชว้ สั ดใุ หเ้ หมาะสมกบั งานจะตอ้ งใชค้ วามรเู้ รอื่ งสมบตั ขิ องวสั ดุ และในการลงมอื สรา้ งชนิ้ งานตอ้ งเลอื กใชอ้ ปุ กรณ์
หรอื เครอ่ื งมืออยา่ งเหมาะสมกับประเภทของวสั ดุ ใช้อย่างถูกตอ้ ง และคำ�นึงถึงความปลอดภัยในการใชง้ าน

6. ส่ือและอุปกรณ์ เรื่อง เวลา (นาที)
ประเภทและสมบัติของวัสดุ 15
6.1 ใบกิจกรรม เรียนรูเ้ ครือ่ งมอื ช่างพื้นฐานกบั การใช้งานในชวี ติ ประจ�ำ วนั 20
ชว่ ยโปลิศสร้างแปลงผกั แนวดงิ่ 25
ใบกิจกรรม ช้ันวางหนังสอื ของฉนั 20

กจิ กรรมท่ี 4.1
กิจกรรมที่ 4.2
กิจกรรมท้าทายความคดิ
กจิ กรรมทา้ ยบท

6.2 สอ่ื อน่ื ๆ
กระดาษปรู๊ฟ
ปากกาเมจกิ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

90 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4 | วสั ดแุ ละเครือ่ งมอื ช่างพื้นฐาน คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

7. แนวทางการจัดการเรยี นรู้

1) ผู้เรียนสังเกตและสำ�รวจส่ิงของท่ีอยู่ในห้องเรียน เช่น ดินสอ ยางลบ ไม้บรรทัด แก้วน้ำ� สมุด โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ และ
อภิปรายร่วมกนั ว่าสิ่งเหลา่ น้ที ำ�จากวสั ดอุ ะไร
แนวค�ำ ตอบ ดินสอทำ�จากไม้ ยางลบทำ�จากยาง ไมบ้ รรทดั ทำ�จากพลาสตกิ แกว้ น้�ำ ท�ำ จากพลาสตกิ หรือ โลหะ สมดุ
ทำ�จากกระดาษ โต๊ะทำ�จากไม้ โลหะ เก้าอท้ี ำ�จากไม้ ขาเก้าอ้ี ท�ำ จากไม้ หรือ โลหะ
2) ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสรุปประเภทของวัสดทุ ีร่ ู้จัก
แนวค�ำ ตอบ ไม้ โลหะ พลาสติก ยาง
3) แบง่ กลุ่มผ้เู รยี นเป็นกลุ่มละ 8 คน จากนัน้ แบง่ กลุ่มยอ่ ยในแตล่ ะกลมุ่ เป็นกลุ่มละ 2 คน ให้แต่ละกลุม่ ยอ่ ยศึกษาหัวข้อ
4.1 วัสดุในชีวิตประจำ�วัน โดยศึกษาสมบัติของวัสดุกลุ่มย่อยละประเภท จากนั้นร่วมกันอภิปรายและสรุปสมบัติของวัสดุแต่ละ
ประเภทในกลุ่มใหญ่ และยกตัวอย่างส่งิ ของเคร่ืองใชท้ พ่ี บไดใ้ นชีวิตประจ�ำ วนั ที่ท�ำ จากวสั ดุแต่ละประเภทเพิ่มเติม
4) ผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ จบั สลากเลอื กประเภทวสั ดุ ไดแ้ ก่ ไม้ โลหะ พลาสตกิ ยาง และส�ำ รวจสงิ่ ของเครอ่ื งใชท้ ที่ �ำ มาจากวสั ดุ
ที่กลุ่มได้รับมอบหมายบริเวณรอบนอกใกล้ห้องเรียน ภายในเวลา 10 นาที จากน้ันทุกกลุ่มสรุปลงในกระดาษปรู๊ฟและนำ�เสนอ
รายการสง่ิ ของเคร่อื งใช้และสมบตั ิของวสั ดุหน้าช้นั เรียน
5) ผเู้ รยี นท�ำ กจิ กรรมที่ 4.1 เรอ่ื ง ประเภทและสมบตั ขิ องวสั ดุ โดยเลอื กสง่ิ ของเครอื่ งใชภ้ ายในหอ้ งเรยี นอยา่ งนอ้ ย 3 อยา่ ง
แล้วระบวุ า่ ส่งิ ของเครือ่ งใช้นน้ั ทำ�มาจากวสั ดปุ ระเภทใดบา้ ง และวัสดุนัน้ มสี มบัติอย่างไร โดยสามารถน�ำ เสนอในรูปแบบตา่ ง ๆ
เชน่ ผงั มโนทัศน์ ตาราง
6) ผเู้ รยี นและผู้สอนร่วมกันสรุปในประเด็นท่ีวา่ สิ่งของเครื่องใช้รอบตวั เราสรา้ งมาจากวสั ดุหลากหลายประเภท ซงึ่ วสั ดุ
แตล่ ะประเภทมสี มบตั ทิ ีแ่ ตกต่างกนั
7) ผเู้ รยี นศกึ ษาอปุ กรณ์และเครอ่ื งมือชา่ งพน้ื ฐานในชวี ิตประจ�ำ วนั ในหวั ขอ้ 4.2 เครอื่ งมอื ชา่ งพ้นื ฐาน ในหนังสอื เรยี น
ได้แก่ เคร่ืองมือสำ�หรับการวัด การตัด การติดยึด และการเจาะ จากน้ันผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปในประเด็นท่ีว่า เคร่ืองมือ
ช่างพ้ืนฐานมีมากมายหลายประเภท แต่ละประเภทมีจุดประสงค์ในการนำ�ไปใช้งานท่ีแตกต่างกัน ดังนั้นในการสร้างชิ้นงาน
ควรเลือกใช้เคร่ืองมือช่างพื้นฐานใหเ้ หมาะสมกบั ประเภทของงาน ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ และคำ�นงึ ถึงความปลอดภัย
8) ผู้เรยี นวเิ คราะหเ์ กา้ อีใ้ นชนั้ เรยี น และรว่ มกนั อภปิ รายในประเดน็ ต่อไปนี้
ใชเ้ ครอื่ งมือชา่ งอะไรบา้ งในการสรา้ งเกา้ อ้ี
เครอ่ื งมอื ช่างนนั้ ใชง้ านอย่างไร
เหตผุ ลทเ่ี ลอื กใช้เครื่องมือชา่ งนัน้
ขอ้ ควรระวังในการใช้เคร่อื งมอื ชา่ งน้นั

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 | วัสดแุ ละเคร่ืองมือชา่ งพืน้ ฐาน 91

แนวค�ำ ตอบ ลกั ษณะการใช้งาน เหตุผลท่ีเลอื กใช้ ข้อควรระวัง
ใช้งานสะดวก ช่วยผ่อนแรง ใชด้ อกสว่านใหถ้ ูกประเภท
เครือ่ งมอื ช่างทใ่ี ช้ ในการเจาะรไู ม้และโลหะ ของวัสดทุ ี่ตอ้ งการเจาะ
ยดึ ติดโลหะและไมท้ ่มี ี ในการขนั เขา้ สกรูและนอต
สว่านไฟฟา้ เจาะรไู ม้และโลหะ ความแข็งได้ ควรวางต�ำ แหน่งใหต้ รงกัน
ใช้งานสะดวกและช่วยผ่อนแรง กอ่ นขนั
สกรแู ละนอต ใช้ยดึ ตดิ ขาเกา้ อีแ้ ละที่น่ัง ในการขันและคลายสกรู เลอื กขนาดและประเภท
ใหเ้ หมาะสมกับหวั สกรู
ไขควง ขนั หรอื คลายสกรู

ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม นอกจากเก้าอ้ี ผู้สอนสามารถยกตัวอย่างส่ิงของเครื่องใช้อื่น ๆ ภายในห้องเรียน ที่ต้องใช้เคร่ืองมือช่าง
ในการประกอบหรือสรา้ ง

9) ผู้เรียนทำ�กิจกรรมที่ 4.2 เรื่อง เรียนรู้เครื่องมือช่างพ้ืนฐานกับการใช้งานในชีวิตประจำ�วัน โดยวิเคราะห์ในประเด็น
ตอ่ ไปนี้
เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการสรา้ ง
เหตุผลทเี่ ลือกใช้
ลักษณะการใชง้ าน
ขอ้ ควรระวังในการใช้

10) ผเู้ รยี นและผสู้ อนสรปุ รว่ มกนั เกยี่ วกบั วสั ดแุ ละเครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐานวา่ วสั ดแุ ละเครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐานมมี ากมายหลาย
ประเภท แต่ละประเภทมีจุดประสงค์ในการนำ�ไปใช้งานท่ีแตกต่างกัน ดังน้ันในการสร้างช้ินงานจำ�เป็นต้องพิจารณาสมบัติ
ของวัสดุให้เหมาะสมกับการนำ�ไปใช้งาน รวมถึงควรเลือกใช้เครื่องมือช่างพื้นฐานให้เหมาะสมกับประเภทของงาน ใช้ให้ถูกต้อง
และคำ�นึงถงึ ความปลอดภัย
11) ผู้เรียนทำ�กิจกรรมท้าทายความคิด เรื่อง ช่วยโปลิศสร้างแปลงผักแนวดิ่ง โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนกลุ่มเดิมตามกิจกรรม
ทา้ ทายความคดิ ในแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ พจิ ารณาแปลงผกั ทไ่ี ดช้ ว่ ยกนั ออกแบบในกจิ กรรมทา้ ทายความคดิ บท
ที่ 2 แลว้ ตอบค�ำ ถามในกิจกรรม
12) ผเู้ รยี นทำ�กจิ กรรมท้ายบท เรือ่ ง ชน้ั วางหนังสอื ของฉนั โดยใหผ้ ู้เรยี นออกแบบชน้ั วางทีส่ ามารถวางหนงั สอื ได้ 2 ชน้ั
เพ่ือตั้งบนโต๊ะในบ้านของตนเอง และวิเคราะหใ์ นประเดน็ ตอ่ ไปนี้
ประเภทและสมบัติของวสั ดุที่เลอื กใช้
เหตุผลในการเลอื กใช้วสั ดปุ ระเภทนน้ั
เคร่ืองมอื ชา่ งที่ใชใ้ นการสร้าง
เหตุผลในการเลอื กใชเ้ ครื่องมอื ชา่ ง และขอ้ ควรระวงั ในการใชง้ าน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

92 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 | วัสดุและเครื่องมอื ช่างพ้นื ฐาน คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

8. การวัดและประเมนิ ผล

รายการประเมนิ วิธีการวัด เครือ่ งมอื ทีใ่ ชว้ ดั เกณฑก์ ารประเมนิ การผ่าน

1. การวิเคราะหส์ มบัตขิ อง ตรวจใบกจิ กรรม กิจกรรมท้าทายความคดิ คะแนน 5-6 หมายถึง ดี
วสั ดแุ ละเครอ่ื งมือช่าง เรอ่ื ง ช่วยโปลิศสรา้ งแปลงผกั คะแนน 3-4 หมายถึง พอใช้
ท่ใี ชใ้ นการสร้างชนิ้ งาน แนวดง่ิ คะแนน 1-2 หมายถงึ ปรบั ปรงุ

2. การเลือกใชว้ ัสดุและ ตรวจกจิ กรรม กจิ กรรมทา้ ยบท เรอ่ื ง ช้ันวาง ผูเ้ รียนได้ระดบั คุณภาพ พอใช้
เครือ่ งมอื ช่างในการ ทา้ ยบท หนังสือของฉัน ถือว่าผ่าน
สรา้ งช้นิ งานไดอ้ ย่าง
เหมาะสมกบั ลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผูเ้ รยี นไดร้ ะดับคณุ ภาพ พอใช้
ของงานและคำ�นงึ ถงึ สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ขน้ึ ไปถือว่าผ่าน
ความปลอดภยั สงั เกตพฤติกรรม (ดูเกณฑ์การประเมนิ
สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม ในภาคผนวก)
3. ทักษะการคดิ วิเคราะห์ แบบสงั เกตพฤติกรรม

4. ทักษะการคิดอยา่ งมี
วิจารณญาณ

5. ทกั ษะการสื่อสาร

6. ทกั ษะการท�ำ งาน
รว่ มกับผู้อนื่

เกณฑ์การประเมนิ 3 ระดับคะแนน 1

ประเดน็ การประเมิน จำ�แนกประเภท อธบิ าย 2 จำ�แนกประเภท อธบิ าย
สมบตั ขิ องวสั ดุ และ สมบตั ิของวัสดุ หรอื
1. การวเิ คราะห์สมบัติ เครอื่ งมือชา่ งไดถ้ ูกตอ้ ง จ�ำ แนกประเภท อธบิ ายสมบตั ิ เครือ่ งมือช่างได้ถกู ต้อง
ของวัสดแุ ละเครอ่ื ง เหมาะสมกบั การสร้าง ของวสั ดุ และเครือ่ งมอื ชา่ งได้ เหมาะสมกบั การสร้าง
มอื ชา่ งทใี่ ชใ้ นการ ช้ินงาน 7-8 ขอ้ ถูกตอ้ งแต่ไมเ่ หมาะสมกบั การ ชิน้ งาน 1-4 ข้อ
สรา้ งชิน้ งาน สร้างช้นิ งาน 5-6 ขอ้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 | วสั ดุและเครือ่ งมือชา่ งพ้นื ฐาน 93

ประเดน็ การประเมนิ 3 ระดับคะแนน 1

2. การเลอื กใช้วสั ดแุ ละ ให้เหตผุ ลในการเลือกใช้ 2 ให้เหตุผลในการเลอื กใช้
เครอ่ื งมอื ช่างในการ วสั ดุและเครอ่ื งมอื ชา่ งได้ วัสดุ หรือเครอื่ งมือช่าง
สร้างชิน้ งานไดอ้ ย่าง ถกู ต้องเหมาะสมกับ ให้เหตผุ ลในการเลือกใชว้ ัสดุและ ไม่ได้
เหมาะสมกับลักษณะ ลักษณะของงาน และ เครือ่ งมือช่าง แตไ่ ม่เหมาะสมกบั
ของงานและคำ�นงึ ถงึ ความปลอดภยั ลกั ษณะของงาน และความ
ความปลอดภัย ปลอดภยั

เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคณุ ภาพ หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี
คะแนน 5-6 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพ พอใช้
คะแนน 3-4 คะแนน หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ปรับปรงุ
คะแนน 1-2 คะแนน

** เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลสามารถปรับเปลย่ี นไดต้ ามความเหมาะสม

9. แหล่งเรยี นรู้



วัสดุและสมบตั ิของวสั ดุ
หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 สสวท.
http://www.scimath.org/ebook-science/item/6831-5_6831

เครือ่ งมอื ชา่ งพ้ืนฐาน www.youtube.com/watch?v=DtikLTpd1H8

10. ข้อเสนอแนะ

10.1 ในกรณีท่ผี สู้ อนไม่สามารถจดั กิจกรรมได้ต่อเนอ่ื ง 2 คาบเรียน อาจแบง่ เน้อื หาและกิจกรรมในหนังสือเรยี นดงั น้ี
คาบเรียนท่ี 1 หัวข้อ 4.1 วัสดุในชีวิตประจำ�วัน กิจกรรมที่ 4.1 เรื่อง ประเภทและสมบัติของวัสดุ หัวข้อ 4.2
เครอ่ื งมอื ชา่ งพืน้ ฐาน และกจิ กรรมที่ 4.2 เรื่อง เรยี นรเู้ ครือ่ งมือชา่ งพนื้ ฐานกับการใช้งานในชวี ิตประจ�ำ วนั
คาบเรียนที่ 2 กจิ กรรมท้าทายความคิด เรื่อง ช่วยโปลศิ สรา้ งแปลงผกั แนวด่งิ และกจิ กรรมทา้ ยบท เร่ือง ช้นั วาง
หนังสอื ของฉัน
10.2 กจิ กรรมเสนอแนะ เปน็ กจิ กรรมเสรมิ ทใี่ หผ้ เู้ รยี นฝกึ ปฏบิ ตั เิ พอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจเนอ้ื หาทเี่ รยี นมากยง่ิ ขน้ึ ซง่ึ ผสู้ อน
อาจจดั กิจกรรมเสนอแนะนอกเวลาเรยี นหรือพิจารณาตามความเหมาะสมของเวลา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

94 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 | วสั ดุและเคร่ืองมือชา่ งพนื้ ฐาน คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ | เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

11. แนวค�ำ ตอบกจิ กรรม

กจิ กรรมที่ เร่อื ง ประเภทและสมบตั ขิ องวัสดุ
4.1

เลอื กส่งิ ของเครื่องใชภ้ ายในห้องเรยี น 3 อย่าง และระบุว่าสิ่งของเครื่องใชน้ ัน้ ท�ำ มาจากวัสดปุ ระเภทใดบา้ ง และวัสดนุ ้นั
มีสมบัตอิ ยา่ งไร

ตัวอยา่ งห้องเรียน

ประเภทวัสดุ ไม้ ประเภทวสั ดุ เหลก็
สมบัติ มีความแข็งแรง สมบตั ิ มคี วามแขง็ แรงสงู คงทน
ไมเ่ ป็นสนิม ทนทาน ผวิ เรียบ ไมเ่ สอ่ื มสลายหรือเปล่ียนแปลง
สภาพง่าย ทนตอ่ การกัดกร่อน
มลี วดลาย
ผิวเรยี บ สวยงาม
ประเภทวสั ดุ ยาง ขัดให้เปน็ เงาวาวได้
สมบัติ เหนียว มีความยดื หยุ่น

ทนตอ่ การฉกี ขาด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Click to View FlipBook Version