มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ เปาหมาย 5 ขอ ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน ผล สําเร็จ ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ดาน สอดคลองกับบริบทของทองถิ่น 5.00 ยอด เยี่ยม 1.1 มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุน และสอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย √ - 1.2 ออกแบบจัดประสบการณที่เตรียมความพรอมและไมเรงรัดวิชาการ √ - 1.3 ออกแบบการจัดประสบการณที่เนนการเรียนรูผานการเลน และการลงมือปฏิบัติ (Active learning) √ - 1.4 ออกแบบการจัดประสบการณที่ตอบสนองความตองการและความแตกตางของเด็กปกติและกลุม เปาหมายเฉพาะที่สอดคลองกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและทองถิ่น √ - 1.5 มีการประเมิน ตรวจสอบ และปรับปรุง / พัฒนาหลักสูตรอยางตอเนื่อง √ - 2. จัดครูใหเพียงพอกับชั้นเรียน 5.00 ยอด เยี่ยม 2.1 จัดครูครบชั้นเรียน √ - 2.2 จัดครูใหมีความเหมาะสมกับภารกิจการจัดประสบการณ √ - 2.3 จัดครูไมจบการศึกษาปฐมวัยแตผานการอบรมการศึกษาปฐมวัย √ - 2.4 จัดครูจบการศึกษาปฐมวัย √ - 2.5 จัดครูจบการศึกษาปฐมวัยและผานการอบรมการศึกษาปฐมวัย √ - 3. สงเสริมใหครูมีความเชี่ยวชาญดานการจัดประสบการณ 5.00 ยอด เยี่ยม 3.1 มีการพัฒนาครูและบุคลากรใหมีความรูความสามารถในการวิเคราะหและออกแบบหลักสูตรสถาน ศึกษา √ - 3.2 สงเสริมครูใหมีทักษะในการจัดประสบการณและการประเมินพัฒนาการเด็ก √ - 3.3 สงเสริมครูใชประสบการณสําคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรม จัดกิจกรรม สังเกตและประเมิน พัฒนาการเด็กเปนรายบุคคล √ - 3.4 สงเสริมใหครูมีปฏิสัมพันธที่ดีกับเด็กและครอบครัว √ - 3.5 สงเสริมใหครูพัฒนาการจัดประสบการณโดยใชชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) √ - 4. จัดสภาพแวดลอมและสื่อเพื่อการเรียนรูอยางปลอดภัยและเพียงพอ 5.00 ยอด เยี่ยม 4.1 จัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียนที่คํานึงถึงความปลอดภัย √ - Page 51 of 71
ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน ผล สําเร็จ ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 4.2 จัดสภาพแวดลอมภายนอกหองเรียนที่คํานึงถึงความปลอดภัย √ - 4.3 สงเสริมใหเกิดการเรียนรูที่เปนรายบุคคลและกลุม เลนแบบรวมมือ รวมใจ √ - 4.4 จัดใหมีมุมประสบการณหลากหลาย มีสื่อการเรียนรู ที่ปลอดภัยและเพียงพอ เชน ของเลน หนังสือ นิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อสําหรับเด็กมุดลอด ปนปาย สื่อเทคโนโลยีการสืบเสาะหาความรู √ - 4.5 จัดหองประกอบที่เอื้อตอการจัดประสบการณและพัฒนาเด็ก √ - 5. ใหบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรูเพื่อสนับสนุน การจัดประสบการณ 5.00 ยอด เยี่ยม 5.1 อํานวยความสะดวกและใหบริการสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ อุปกรณและสื่อการเรียนรู √ - 5.2 พัฒนาครูใหมีความรูความสามารถในการผลิตและใชสื่อในการจัดประสบการณ √ - 5.3 มีการนิเทศติดตามการใชสื่อในการจัดประสบการณ √ - 5.4 มีการนําผลการนิเทศติดตามการใชสื่อมาใชเปนขอมูลในการพัฒนา √ - 5.5 สงเสริม สนับสนุนการเผยแพรการพัฒนาสื่อ และนวัตกรรมเพื่อการจัดประสบการณ √ - 6. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปดโอกาสใหผูเกี่ยวของทุกฝายมีสวนรวม 5.00 ยอด เยี่ยม 6.1 กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัต ลักษณของสถานศึกษา √ - 6.2 จัดทําแผนพัฒนาการศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษากําหนดและดําเนินการตามแผน √ - 6.3 มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา √ - 6.4 มีการติดตามผลการดําเนินงาน และจัดทํารายงานผลการประเมินตนเองประจําป และรายงานผล การประเมินตนเองใหหนวยงานตนสังกัด √ - 6.5 นําผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยผูปกครองและผูเกี่ยวของทุกฝาย มีสวนรวม √ - สรุปผลการประเมิน 5.00 ยอด เยี่ยม จุดเนนและกระบวนการพัฒนาที่สงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยของโรงเรียนมารีวิทยสัตหีบไดมีการกําหนดนโยบาย เปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจของสถาน ศึกษาที่สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไวอยางชัดเจน มีการออกแบบ การจัดประสบการณการเรียนรูที่เนนการเตรียมความพรอม สอดคลองกับพัฒนาการตามวัย เนนการเรียนรูผานการเลนและลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ออกแบบการจัดประสบการณที่สนองความ ตองการและความแตกตางของเด็กเปนรายบุคคล สอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ทําใหเด็กไดรับการพัฒนาครบทั้ง 4 ดาน สถานศึกษามีการ จัดบุคลากรในการปฏิบัติหนาที่ ที่เหมาะสมตรงตามความสามารถและความตองการในการจัดกิจกรรม และยังมีโครงการพัฒนาบุคลากรใหมี Page 52 of 71
ความรู ความสามารถในการวิเคราะห ออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มีทักษะในการจัดประสบการณการเรียนรู ออกแบบการจัดกิจกรรม การ สังเกต และการประเมินพัฒนาการเด็กเปนรายบุคคล ทางสถานศึกษายังสงเสริมใหบุคลากรมีปฏิสัมพันธที่ดีตอเด็ก ผูปกครองและผูที่เกี่ยวของมี สวนรวมในการจัดการศึกษาใหกับเด็ก นอกจากนี้ ทางสถานศึกษา ไดจัดสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกหองเรียนที่สะอาด ปลอดภัย กระตุนและสงเสริมใหเด็กเกิดความตองการอยากจะเรียนรู ทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุม เด็กไดรับการเรียนรูผานการเลนแบบรวมมือรวมใจ รูจักการแบงปน และฝกความมีนํ้าใจ ภายในหองเรียนมีสื่อการสอนที่หลากหลาย ทันสมัย และสงเสริมการผลิตสื่อการสอนที่เหมาะสม เพียงพอ ตอความตองการ ความสนใจของเด็ก เชน คลิปวีดีโอ หนังสือนิทาน ไมบล็อก ของเลนพลาสติกสรางสรรค เกมการศึกษา มีระบบเทคโนโลยี สารสนเทศไวรองรับ บริการ สนับสนุนสําหรับใหบุคลากรดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางเพียงพอ ทางสถานศึกษา สงเสริม สนับสนุนการบริหารจัดการเรียนรู เพื่อพัฒนาเด็ก อยางเต็มศักยภาพ เชน หองคอมพิวเตอร หองศูนยการเรียนรู หองสมุด หองอนุรักษ วัฒนธรรมจีน โดยเนนความสะอาด ปลอดภัย มีอุปกรณเพียงพอ และเหมาะสมกับวัย ภายนอกหองเรียนยังจัดใหมีเครื่องเลนสนามที่หลาก หลาย เหมาะสม และปลอดภัย มีเจาหนาที่ทําความสะอาดอยางสมํ่าเสมอ จัดใหมีหองนํ้า หองสวม ทั้งภายในและนอกหองเรียน มีหลักสูตร ปฐมวัยที่ยืดหยุน และสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษา และอัตลักษณที่สถานศึกษากําหนด จัดทําแผนปฏิบัติงานของสถานศึกษาที่สอดคลอง กับมาตรฐานที่สถานศึกษากําหนด มีการติดตามผลการดําเนินงาน และจัดทํารายงานการประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา มี การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาโดยมีผูปกครองตลอดจนผูที่เกี่ยวของทุกฝายเขามามีสวนรวม และจัดทํารายงานผลการประเมิน ตนเองใหหนวยงานตนสังกัดทราบอยางตอเนื่อง เมื่อทางโรงเรียนมารีวิทยสัตหีบ มีการจัดการศึกษาปฐมวัย และออกแบบแผนการจัดประสบการณ ที่เตรียมความพรอมที่เนนการ เรียนรูผานการเลน และการลงมือปฏิบัติจริง มีการพัฒนาครูอยางตอเนื่อง ทําใหครูมีความรู ความสามารถในการจัดทําแผนการจัด ประสบการณ และมีการประเมินพัฒนาการเด็กเปนรายบุคคล นอกจากนี้ยังเปดโอกาสใหผูที่มีสวนรวมทุกฝาย เขามามีบทบาทในการจัดการ ศึกษาและพัฒนาเด็ก และสถานศึกษามีการสนับสนุน ใหครูมีสื่อการเรียนรูที่เพียงพอ มีการจัดสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกหองเรียน โดยคํานึงถึงความปลอดภัยของทุกคน ทําใหเด็กไดรับการพัฒนาครบทั้ง 4 ดาน เด็กเกิดการเรียนรูอยางมีความสุข และมีประสิทธิภาพ Page 53 of 71
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสําคัญ จํานวนครูทั้งหมด : 43 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เปา หมาย/ รอยละ จํานวนครูที่ ผานเกณฑ ที่โรงเรียน กําหนด (คน) ผลการ ประเมิน (รอย ละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 1. จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทุกดาน อยางสมดุลเต็มศักยภาพ 87.00 40 93.02 ยอด เยี่ยม 1.1 มีการวิเคราะหขอมูลเด็กเปนรายบุคคล √ - 40 1.2 จัดทําแผนและใชแผนการจัดประสบการณจากการวิเคราะหมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงคในหลักสูตรสถานศึกษา √ - 40 1.3 จัดกิจกรรมที่สงเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกดาน ทั้งดานรางกาย ดาน อารมณจิตใจ ดานสังคม และดานสติปญญา โดย ไมมุงเนนการพัฒนาดานใด ดานหนึ่งเพียงดานเดียว √ - 40 2. สรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลนและปฏิบัติอยางมีความสุข 87.00 39 90.70 ยอด เยี่ยม 2.1 จัดประสบการณที่เชื่อมโยงกับประสบการณเดิม √ - 38 2.2 ใหเด็กมีโอกาสเลือกทํากิจกรรมอยางอิสระ ตามความตองการความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองตอวิธีการเรียนรูของเด็กเปนรายบุคคล หลากหลาย รูปแบบจากแหลงเรียนรูที่หลากหลาย √ - 38 2.3 เด็กไดเลือกเลน เรียนรูลงมือ กระทํา และสรางองคความรูดวยตนเอง √ - 40 3. จัดบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู ใชสื่อและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับวัย 87.00 40 93.02 ยอด เยี่ยม 3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมในหองเรียนไดสะอาด ปลอดภัย และ อากาศถายเทสะดวก √ - 40 3.2 จัดใหมีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สําหรับมุมประสบการณและการจัด กิจกรรม √ - 40 3.3 จัดใหเด็กมีสวนรวมในการจัดภาพแวดลอมในหองเรียน เชน ปายนิเทศ การดูแลตนไม เปนตน √ - 40 3.4 ใชสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชวงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการ เรียนรูของเด็ก เชน กลองดิจิตอล คอมพิวเตอร สําหรับการเรียนรูกลุมยอย สื่อของเลนที่กระตุนใหคิดและหาคําตอบ เปนตน √ - 41 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนําผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด ประสบการณและพัฒนาเด็ก 87.00 40 93.02 ยอด เยี่ยม Page 54 of 71
ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เปา หมาย/ รอยละ จํานวนครูที่ ผานเกณฑ ที่โรงเรียน กําหนด (คน) ผลการ ประเมิน (รอย ละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 4.1 ประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจําวันดวยเครื่องมือ และวิธีการที่หลากหลาย √ - 41 4.2 วิเคราะหผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดยผูปกครองและผูเกี่ยวของมี สวนรวม √ - 38 4.3 นําผลการประเมินที่ไดไปพัฒนาคุณภาพเด็กอยางเปนระบบและตอเนื่อง √ - 40 4.4 นําผลการประเมินแลกเปลี่ยนเรียนรูโดยใชกระบวนการชุมชนแหงการ เรียนรูทางวิชาชีพ √ - 39 สรุปผลการประเมิน 92.44 ยอด เยี่ยม จุดเนนและกระบวนการพัฒนาที่สงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสําคัญ การจัดประสบการณการเรียนรูสําหรับเด็ก ทําใหเด็กไดรับการพัฒนาครบทั้ง 4 ดานอยางสมดุล และเต็มศักยภาพ ทั้งดานรางกาย ดานอารมณ-จิตใจ ดานสังคม และดานสติปญญา โดยครูวิเคราะหขอมูลเด็กเปนรายบุคคล จัดทําแผนและใชแผนการจัดประสบการณจากการ วิเคราะหมาตรฐานตามคุณลักษณะที่พึงประสงคตามวัยเด็ก ครูจัดประสบการณที่เด็กไดลงมือปฏิบัติจริง ทําใหเด็กไดรับประสบการณตรง ได ศึกษาคนควาหาคําตอบ และสรางองคความรูดวยตนเอง สามารถเชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิมได ครูจัดสภาพแวดลอมที่เอื้อและสงเสริม การเรียนรูของเด็ก เชนจัดทําปายนิเทศตามหนวยสาระการเรียนรู ทําใหเด็กไดมีโอกาสเรียนรูรวมกับครู เพื่อน และคนอื่น ๆ สามารถเรียนรูได ตลอดเวลา สงเสริมใหบุคลากรไดใชสื่อและเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย เหมาะสม กับอายุ ระยะความสนใจ ความตองการ และวิธีการเรียนรูของเด็ก เชน สื่อคอมพิวเตอร สื่อมิลติมีเดีย ที่ทันตอเหตุการณและมีจํานวนเพียงพอ มีการประเมินผลพัฒนา การเด็กตามสภาพจริง เปดโอกาศใหผูปกครองเขามามีสวนรวมในการประเมินพัฒนาการเพื่อใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน ทําใหการ ประเมินผลเปนระบบและตอเนื่อง แลวนําผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของเด็กใหมีพัฒนาการที่ดีขึ้น จัดกิจกรรมโดยใชสื่อการสอนเปนสื่อ กลางในการดําเนินกิจกรรม ตามสาระการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตรของสถานศึกษา บนพื้นฐานของความรู ความเขาใจ และสนองตอ ธรรมชาติของเด็ก โรงเรียนมารีวิทยสัตหีบ จัดประสบการณการเรียนรูที่มุงเนนเด็กเปนสําคัญและเปนรายบุคคล โดยคํานึงถึงความสนใจ ความ ถนัดของเด็ก สงเสริมใหเด็กไดลงมือปฏิบัติจริง คิดวิเคราะห คนควาหาคําตอบและสรางองคความรูดวยตนเอง เด็กอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมี ความสุข สรางปฏิสัมพันธที่ดีกับเด็ก ชุมชน และผูที่เกี่ยวของ จากการรวมกิจกรรมตาง ๆ กับเพื่อน ๆ ครู ทําใหเด็กเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง รูหนาที่ เห็นคุณคาของตนเอง ตลอดจนการรวมกิจกรรมตาง ๆ นั้นไดสอดแทรกและสงเสริมใหเด็ก มีคุณธรรม จริยธรรม มีทักษะพื้นฐานที่จะ เรียนรูในระดับที่สูงขึ้นตอไป โดยไดรับความรวมมือจากผูปกครอง ชุมชน ผูที่เกี่ยวของ ในการพัฒนาเด็ก ทําใหเด็กไดรับการพัฒนาอยางเต็ม ศักยภาพ Page 55 of 71
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียน จํานวนเด็กทั้งหมด : 1,990 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เปา หมาย/ รอยละ จํานวนเด็กที่ ผานเกณฑที่ โรงเรียน กําหนด (คน) ผลการ ประเมิน (รอย ละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน 1. มีความสามารถในการอาน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคํานวณ 87.00 1,879 94.42 ยอด เยี่ยม 1.1 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการอานในแตละระดับชั้นตามเกณฑที่ สถานศึกษากําหนด √ - 1,879 1.2 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการเขียนในแตละระดับชั้นตามเกณฑที่ สถานศึกษากําหนด √ - 1,879 1.3 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการสื่อสารในแตละระดับชั้นตามเกณฑที่ สถานศึกษากําหนด √ - 1,879 1.4 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการคิดคํานวณในแตละดับชั้นตามเกณฑที่ สถานศึกษากําหนด √ - 1,879 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกปญหา 87.00 1,741 87.49 ดีเลิศ 2.1 รอยละของผูเรียนมีความสามารถในการคิดจําแนกแยกแยะ ใครครวญ ไตรตรองอยางรอบคอบโดยใชเหตุผลประกอบการตัดสินใจ √ - 1,741 2.2 รอยละของผูเรียนมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น √ - 1,741 2.3 รอยละของผูเรียนมีการแกปญหาอยางมีเหตุผล √ - 1,741 3. มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม 87.00 1,679 84.37 ดีเลิศ 3.1 รอยละของผูเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรูไดทั้งตัวเองและ การทํางานเปนทีม √ - 1,679 3.2 รอยละของผูเรียนสามารถเชื่อมโยงองคความรูและประสบการณมาใชใน การสรางสรรคสิ่งใหม ๆ อาจเปนแนวความคิด โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิต √ - 1,679 4. มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 87.00 1,927 96.83 ยอด เยี่ยม 4.1 รอยละของผูเรียนมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร √ - 1,927 Page 56 of 71
ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เปา หมาย/ รอยละ จํานวนเด็กที่ ผานเกณฑที่ โรงเรียน กําหนด (คน) ผลการ ประเมิน (รอย ละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 4.2 รอยละของผูเรียนมีความสามารถในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การ ทํางานอยางสรางสรรค และมีคุณธรรม √ - 1,927 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 87.00 1,990 100.00 ยอด เยี่ยม 5.1 รอยละของผูเรียนบรรลุการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา √ - 1,990 6. มีความรูทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีตองานอาชีพ 97.00 1,750 87.94 ดีเลิศ 6.1 รอยละของผูเรียนมีความรู ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีในการศึกษาตอ √ - 1,750 6.2 รอยละของผูเรียนมีความรู ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีในการจัดการ การทํางานหรืองานอาชีพ √ - 1,750 คุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียน 7. การมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากําหนด 87.00 1,965 98.74 ยอด เยี่ยม 7.1 รอยละของผูเรียนมีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ กติกา √ - 1,965 7.2 รอยละของผูเรียนมีคานิยมและจิตสํานึกตามที่สถานศึกษากําหนด โดย ไมขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม √ - 1,965 8. ความภูมิใจในทองถิ่นและความเปนไทย 87.00 1,789 89.90 ดีเลิศ 8.1 รอยละของผูเรียนมีความภูมิใจในทองถิ่น เห็นคุณคาของความเปนไทย √ - 1,789 8.2 รอยละของผูเรียนมีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมและประเพณีไทย รวมทั้งภูมิปญญาไทย √ - 1,789 9. การยอมรับที่จะอยูรวมกันบนความแตกตางและหลากหลาย 87.00 1,990 100.00 ยอด เยี่ยม 9.1 รอยละของผูเรียนยอมรับและอยูรวมกันบนความแตกตางระหวางบุคคล ในดานเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี √ - 1,990 10. สุขภาวะทางรางกายและจิตสังคม 87.00 1,760 88.44 ดีเลิศ 10.1 รอยละของผูเรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณและ สังคม และแสดงออกอยางเหมาะสมในแตละชวงวัย √ - 1,760 10.2 รอยละของผูเรียนสามารถอยูรวมกับคนอื่นอยางมีความสุข เขาใจผูอื่น ไมมีความขัดแยงกับผูอื่น √ - 1,760 Page 57 of 71
ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เปา หมาย/ รอยละ จํานวนเด็กที่ ผานเกณฑที่ โรงเรียน กําหนด (คน) ผลการ ประเมิน (รอย ละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ สรุปผลการประเมิน 92.81 ยอด เยี่ยม จุดเนนและกระบวนการพัฒนาที่สงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียน สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผูเรียนดวยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรูใหเปนไปตามศักยภาพของผูเรียน และเปนไปตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) มีการออกแบบการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียน โดยมีการจัดการเรียนรู ทั้งรูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบรวมมือกันเรียนรู แบบใชกระบวนการคิด กระบวนการแกปญหาเปนหลัก การจัดการเรียน รูแบบโครงงาน และเนนเรื่องการอาน คิดวิเคราะห และเขียนเปนเรื่องสําคัญที่สุด โดยการจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูแบบโครงงาน กิจกรรม ประเมินการอาน คิดวิเคราะห ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มุงพัฒนาใหผูเรียนทุกคนอานออกและเขียนไดตั้งแตระดับชั้น ป. 1 มีการอบรม พัฒนาครูทุกคนใหมีความสามารถในการนําเทคนิควิธีสอนมาใชใหตรงตามศักยภาพผูเรียน รวมกันจัดทําสื่อการเรียนการสอนและใชสื่อ เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มีแหลงเรียนรูและแหลงสืบคนขอมูล ไดแก หองสมุด E – Library คลิปการสอนเพื่อใชเปนสื่อการเรียนรู ในทุกรายวิชา นักเรียนสามารถเขาไปศึกษา เขาไปชมไดจากชองยูทูปของทางโรงเรียน ซึ่งมีทั้งหมด 3 ชองตอไปนี้ 1) ชอง MV KIDS สําหรับ นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 - ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 2) ชอง MV E-Learning สําหรับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 - ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 3) ชอง MV Academy ครูในสายชั้นเดียวกันรวมกันกําหนดแผนการจัดการเรียนรูการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ครู เนนการใชคําถามเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียน ในปการศึกษา 2563 นี้นักเรียนระดับชั้น ป.6 ไดเขารวมการทดสอบ Assessment for Learning หรือ AfL คือ ระบบการประเมินเพื่อการเรียนรู ที่อักษรเอ็ดดูเคชั่นไดพัฒนารวมกับ Benesse Corporation องคกรดานการศึกษา ที่ ใหญที่สุดในญี่ปุน เพื่อเสริมสรางจุดแข็ง พัฒนาจุดออนของนักเรียน โดยนําผลการวิเคราะหเพื่อเตรียมการสอนที่ตรงจุดของครู และพัฒนาผล การเรียนรูของนักเรียนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผลการดําเนินงานสถานศึกษาไดมีการดําเนินการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาเรียนรู เพื่อพัฒนาทักษะของผูเรียนใหบรรลุผลทั้ง 4 ดานอันประกอบดวย ทักษะทางความคิด ทักษะในการลงมือปฏิบัติ สุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ และสุขภาพจิตที่ดีใหอยูในสังคมได อยางมีความสุขเหมาะสมกับวัยของผูเรียนนอกจากนี้สถานศึกษายังมีนโยบายพัฒนาทักษะทางการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาจีน โดยนํามา ปรับใชและเชื่อมโยงตามกลุมสาระตางๆ เชน รายวิชา Math รายวิชาScience สนทนาภาษาอังกฤษ พัฒนาคุณธรรมผูเรียนตามหลักสูตร เนน ใหผูเรียนมีระเบียบวินัย ซื่อสัตยรับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ มีระบบการแนะแนว และการดูแลสุขภาวะจิต นําภูมิปญญาทองถิ่นมารวมกัน วางแผนการจัดการเรียนการสอน และมีการเรียนรูในโลกกวาง การเขาไปศึกษากับภูมิปญญาในชุมชนรอบ ๆ สถานศึกษาเปนตน ผูเรียนสามารถอานออกและอานคลองตามมาตรฐานการอานในแตละระดับชั้น สามารถเขียนสื่อสารไดดีรูจักการวางแผน สามารถทํางาน รวมกับผูอื่นไดดีตามหลักประชาธิปไตย กลาแสดงออก และแสดงความคิดเห็น หรือวิพากษไดอยางสรางสรรค สืบคนขอมูลหรือแสวงหาความรู จากสื่อ เทคโนโลยีไดดวยตนเอง รวมทั้งสามารถวิเคราะห จําแนกแยกแยะไดวาสิ่งไหนดี สําคัญ จําเปน รวมทั้งรูเทาทันสื่อและสังคมที่ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วผูเรียนรูและตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติดตาง ๆ เลือกรับประทานอาหารที่สะอาด และมีประโยชน รูและ สามารถปฏิบัติตนในสภาวะการระบาดของโรค COVID-19 ไดอยางถูกตอง นักเรียนทุกคนสามารถเลนกีฬาไดอยางนอยคนละประเภท ยอมรับ ในกฎกติกาของกลุม ของสถานศึกษา ของสังคม มีทัศนคติที่ดีตออาชีพสุจริต รวมถึงมีความเขาใจเรื่องความแตกตางระหวางบุคคล และระหวาง วัย มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบระดับสูงเปนที่นาพอใจ ทั้งนี้มีผลการดําเนินงานเชิงประจักษจากการประเมินในดานตาง ๆ ไดแก 1) โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ซึ่งประกอบดวย กิจกรรมประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อความ กิจกรรมฝกทักษะทางการอาน เขียนอังกฤษ กิจกรรมรักการอาน รักการเรียนรู กิจกรรมฝกทักษะดานการอาน เขียนภาษาไทย 2) กิจกรรมฝก ทักษะดานการคิดคํานวณ กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู 8 กลุมสาระ และกิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (O-NET) 3) โครงการพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงคและพัฒนาสุขภาวะทั้งกายและใจ ซึ่งเปนโครงการที่สงเสริมใหผูเรียนมีสุขภาวะทางการและใจที่ดี สงเสริมความเปน เลิศดานดนตรี ศิลปะ กิจกรรมสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมที่พึงประสงค ประกอบดวย กิจกรรมเด็กดีมารีวิทย กิจกรรมสงเสริม ประชาธิปไตย กิจกรรมเยาวชนจิตอาสาจากพี่สูนอง กิจกรรมสงเสริมความปลอดภัยกิจกรรมรณรงคสงเสริมปองกันยาเสพติดกิจกรรมสงเสริม สุนทรียภาพแกเยาวชน กิจกรรมสงเสริมการสวมหมวกนิรภัยปลอดภัย 100 เปอรเซ็นต กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมฟงเทศประจําเดือนโดยในภาว Page 58 of 71
การณระบาดของโรค COVID-19 มีการฟงการฟงเทศออนไลนผานระบบYoutube กิจกรรมเขาคายจริยธรรม กิจกรรมเขาคายลูกเสือ เนตร นารี และกิจกรรมวันสําคัญตางๆ Page 59 of 71
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ เปาหมาย 5 ขอ ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน ผล สําเร็จ ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 1. มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจที่สถานศึกษากําหนดชัดเจน 5.00 ยอดเยี่ยม 1.1 กําหนดเปาหมายที่สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ความตองการของชุมชน ทองถิ่น วัตถุประสงคของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและตนสังกัด √ - 1.2 กําหนดวิสัยทัศน และพันธกิจ ที่สอดคลอง เชื่อมโยง กับเปาหมาย แผนยุทธศาสตรชาติ แผนการศึกษาแหงชาติ นโยบายของรัฐบาลและตนสังกัด √ - 1.3 กําหนดเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจ ทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม √ - 1.4 นําเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารโรงเรียน √ - 1.5 นําเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจของโรงเรียนเผยแพร ตอสาธารณชน √ - 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 5.00 ยอดเยี่ยม 2.1 มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอยางเปนระบบ √ - 2.2 มีการนําแผนไปปฏิบัติ ติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอยางตอเนื่อง √ - 2.3 มีการบริหารอัตรากําลัง ทรัพยากรทางการศึกษาจัดระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน และระบบการ นิเทศภายใน √ - 2.4 สถานศึกษามีการนําขอมูลมาใชในการพัฒนาสถานศึกษา √ - 2.5 สถานศึกษาใหบุคลากรและผูทีเกี่ยวของทุกฝายมีสวนรวมในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนา และ รวมรับผิดชอบตอผลการจัดการศึกษา √ - 3. ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุมเปาหมาย 5.00 ยอดเยี่ยม 3.1 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในดานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา √ - 3.2 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในดานการพัฒนาหลักสูตรตามความตองการของผูเรียน ที่ สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ชุมชน และทองถิ่น √ - 3.3 บริหารจัดการเกี่ยวกับกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานเชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง √ - 3.4 กําหนดหลักสูตรสถานศึกษาครอบคลุมการจัดการเรียนการสอนทุกกลุมเปาหมาย √ - 3.5 สถานศึกษามีการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม √ - 4. พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 5.00 ยอดเยี่ยม 4.1 สงเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ใหมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ √ - 4.2 จัดใหมีชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ √ - 4.3 นําชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพเขามาใชในการพัฒนางานและการเรียนรูของผูเรียน √ - Page 60 of 71
ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน ผล สําเร็จ ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัติงานของครู บุคลากร ที่มีผลตอการเรียนรูของผูเรียน √ - 4.5 ถอดบทเรียนเพื่อสรางนวัตกรรมหรือวิธีการที่เปนแบบอยางที่ดีที่สงผลตอการเรียนรูของผูเรียน √ - 5. จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรู อยางมีคุณภาพ 5.00 ยอดเยี่ยม 5.1 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพภายในหองเรียน ที่เอื้อตอการเรียนรู และคํานึงถึงความปลอดภัย √ - 5.2 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพภายนอกหองเรียน ที่เอื้อตอการเรียนรู และคํานึงถึงความ ปลอดภัย √ - 5.3 จัดสภาพแวดลอมที่สงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเปนรายบุคคล และเปนกลุม √ - 5.4 จัดสภาพแวดลอมทางสังคม ที่เอื้อตอการจัดการเรียนรู และมีความปลอดภัย √ - 5.5 จัดใหผูเรียนไดใชประโยชนจากการจัดสภาพแวดลอมตามศักยภาพของผูเรียน √ - 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู 5.00 ยอดเยี่ยม 6.1 ไดศึกษาความตองการเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา √ - 6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการและการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพของ สถานศึกษา √ - 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการและการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพ ของสถานศึกษา √ - 6.4 ใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใชในการบริการจัดการและการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับ สภาพของสถานศึกษา √ - 6.5 ติดตามผลการใชบริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อใชในการบริการจัดการ และการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา √ - สรุปผลการประเมิน 5.00 ยอดเยี่ยม จุดเนนและกระบวนการพัฒนาที่สงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรียนไดดําเนินการวิเคราะห สภาพปญหา ผลการจัดการศึกษา ที่ผานมาโดยการศึกษาขอมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมิน การจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูป การศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อวางแผนรวมกัน ในการกําหนดเปาหมาย ปรับวิสัยทัศน กําหนดพันธกิจ กลยุทธ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน มีการปรับแผน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําปที่สอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา พรอมทั้งมีการจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มีการมอบหมายงานใหผูรับผิดชอบ ดําเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ กําหนดมีการดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงาน และจัดทํารายงานผลการจัดการศึกษา ดานผลการดําเนินงานปรากฎผลดังน ี้ 1. สถานศึกษามีการกําหนดเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจไวอยางชัดเจน สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ตามความตองการของชุมชน ทองถิ่น วัตถุประสงคของแผนการศึกษาแหงชาติ นโยบายของรัฐบาลและของตนสังกัด รวมทั้งทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม Page 61 of 71
2. สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอยางเปนระบบ ทั้งในสวนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนํา แผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอยางตอเนื่องมีการบริหารอัตรา กําลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนําขอมูลมาใชในการพัฒนาบุคลากรและผูที่ เกี่ยวของทุกฝายมีสวนรวมการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา และรวมรับผิดชอบตอผลการจัดการศึกษา 3. สถานศึกษาบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ทั้งดานการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดาน เพื่อ รองรับพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายที่จําเปนตอการพัฒนา 4. สถานศึกษาสงเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ใหมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และมีความชํานาญทางดานภาษา จัดใหมีมาตรการสง เสริมการเรียนรูทางภาษารวมกับชุมชน ตลอดจนนําความรูมาพัฒนาการเรียนการสอนใหแกผูเรียน 5. สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกหองเรียน และสภาพแวดลอมทางสังคม ที่เอื้อตอการจัดการเรียนรู และ มีความปลอดภัย 6. สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใชในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรูที่เหมาะ สมกับผูเรียนและสภาพของสถานศึกษา ทั้งนี้มีผลการดําเนินงานเชิงประจักษจากการประเมินในดานตาง ๆ ไดแก 1) โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโรงเรียนและการจัดการ ศึกษา ซึ่งประกอบดวย กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพครู งานจัดซื้อสื่อ การเรียนการสอน 8 กลุมสาระ กิจกรรมสงเสริมขวัญและกําลังใจ งานอาคารสถานที่ และสิ่งแวดลอม งานประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา 2) โครงการพัฒนาคุณภาพผูเรียนดวยเงินเรียนฟรี 15 ป ซึ่งประกอบ ดวย ดวยระบบโครงงานกิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมระบบสารสนเทศที่หลากหลาย และ 3) โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา Page 62 of 71
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ จํานวนครูทั้งหมด : 92 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เปา หมาย/ รอยละ จํานวนครูที่ผาน เกณฑที่โรงเรียน กําหนด (คน) ผลการ ประเมิน (รอยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 1. จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตได 85.00 89 96.74 ยอดเยี่ยม 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรูตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดของ หลักสูตรสถานศึกษาที่เนนใหผูเรียนไดเรียนรู โดยผานกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง √ - 90 1.2 มีแผนการจัดการเรียนรูที่สามารถนําไปจัดกิจกรรมไดจริง √ - 89 1.3 มีรูปแบบการจัดการเรียนรูเฉพาะสําหรับผูที่มีความจําเปน และ ตองการความชวยเหลือพิเศษ √ - 92 1.4 ฝกทักษะใหผูเรียนไดแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองคความ รู และนําเสนอผลงาน √ - 85 1.5 สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนสามารถนําไปประยุกตใช ในชีวิตประจําวันได √ - 90 2. ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูที่เอื้อ ตอการเรียนรู 85.00 91 98.91 ยอดเยี่ยม 2.1 ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู √ - 92 2.2 ใชแหลงเรียนรู และภูมิปญญาทองถิ่นในการจัดการเรียนรู √ - 90 2.3 สรางโอกาสใหผูเรียนไดแสวงหาความรูดวยตนเองจากสื่อที่หลาก หลาย √ - 92 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก - 90 97.83 ยอดเยี่ยม 3.1 ผูสอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเนนการมีปฏิสัมพันธเชิง บวก √ - 89 3.2 ผูสอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน ใหเด็กรักครู ครูรักเด็ก และ เด็กรักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู สามารถเรียนรูรวมกันอยางมีความสุข √ - 91 4. ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และ นําผลมาพัฒนาผูเรียน 85.00 89 96.74 ยอดเยี่ยม 4.1 มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรูอยางเปน ระบบ √ - 92 4.2 มีขั้นตอนโดยใชเครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม กับเปาหมายในการจัดการเรียนรู √ - 89 4.3 เปดโอกาสใหผูเรียนและผูมีสวนเกี่ยวของมีสวนรวมในการวัดและ ประเมินผล √ - 85 Page 63 of 71
ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เปา หมาย/ รอยละ จํานวนครูที่ผาน เกณฑที่โรงเรียน กําหนด (คน) ผลการ ประเมิน (รอยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 4.4 ใหขอมูลยอนกลับแกผูเรียนเพื่อนําไปใชในการพัฒนาการเรียนรู √ - 89 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับ เพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู 85.00 91 98.91 ยอดเยี่ยม 5.1 และผูมีสวนเกี่ยวของรวมกันแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ ในการจัดการเรียนรู √ - 90 5.2 นําขอมูลปอนกลับไปใชในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียน รูของตนเอง √ - 91 สรุปผลการประเมิน 97.83 ยอดเยี่ยม จุดเนนและกระบวนการพัฒนาที่สงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โรงเรียนดําเนินการสงเสริมใหครูจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยการดําเนินงาน/กิจกรรมอยางหลากหลาย ไดแก งานหลักสูตร มีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเนนพัฒนาทักษะทางการสื่อสารทางดานภาษา อังกฤษและภาษาจีนแกผูเรียน เพื่อพัฒนาสูประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล มีการบูรณาการภาระงาน ชิ้นงาน โดยใชเทคนิควิธีที่หลาก หลาย เชน โครงงาน STEM บูรณาการกับอาเซียน เศรษฐกิจพอเพียง ปรับโครงสรางรายวิชา หนวยการเรียนรู ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู สัดสวน คะแนนแตละหนวย กําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคที่สอดคลองกับหนวยการเรียนรู สนับสนุนใหครูจัดการเรียนการสอนที่สรางโอกาสให นักเรียนทุกคนมีสวนรวม ไดลงมือ ปฏิบัติจริงจนสรุปความรูไดดวยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เนนทักษะการคิด เชน จัดการเรียนรูดวยโครง งาน ครูมีการมอบหมายหนาที่ใหนักเรียนจัดปายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ตาง ๆ ทั้งภายใน หองเรียนและนอกหองเรียน ครูใชสื่อการ เรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปญญาทองถิ่น มีการ ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช ครูทุกคนทํางานวิจัยใน ชั้นเรียน ปการศึกษาละ 1 เรื่อง และไดรับการตรวจใหคําแนะนําโดยผูเชี่ยวชาญ Page 64 of 71
2. สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย มาตรฐานการศึกษา ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม 1. มีพัฒนาดานรางกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนองไดยอดเยี่ยม 2. มีพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไดยอดเยี่ยม 3. มีพัฒนาการดานสังคม ชวยเหลือตนเองและเปนสมาชิกที่ดีของสังคม ยอดเยี่ยม 4. มีพัฒนาการดานสติปญญา สื่อสารได มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรูไดยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ดาน สอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ยอดเยี่ยม 2. จัดครูใหเพียงพอกับชั้นเรียน ยอดเยี่ยม 3. สงเสริมใหครูมีความเชี่ยวชาญดานการจัดประสบการณยอดเยี่ยม 4. จัดสภาพแวดลอมและสื่อเพื่อการเรียนรูอยางปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยี่ยม 5. ใหบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรูเพื่อสนับสนุน การจัดประสบการณยอดเยี่ยม 6. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปดโอกาสใหผูเกี่ยวของทุกฝายมีสวนรวม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสําคัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทุกดาน อยางสมดุลเต็มศักยภาพ ยอดเยี่ยม 2. สรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลนและปฏิบัติอยางมีความสุข ยอดเยี่ยม 3. จัดบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู ใชสื่อและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับวัย ยอดเยี่ยม 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนําผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณและพัฒนา เด็ก ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินระดับปฐมวัย ยอดเยี่ยม Page 65 of 71
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียน ยอดเยี่ยม ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน 1. มีความสามารถในการอาน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคํานวณ ยอดเยี่ยม 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแกปญหา ดีเลิศ 3. มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม ดีเลิศ 4. มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ยอดเยี่ยม 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 6. มีความรูทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีตองานอาชีพ ดีเลิศ คุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียน 7. การมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากําหนด ยอดเยี่ยม 8. ความภูมิใจในทองถิ่นและความเปนไทย ดีเลิศ 9. การยอมรับที่จะอยูรวมกันบนความแตกตางและหลากหลาย ยอดเยี่ยม 10. สุขภาวะทางรางกายและจิตสังคม ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจที่สถานศึกษากําหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 3. ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุมเปาหมาย ยอดเยี่ยม 4. พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม 5. จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรู อยางมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตไดยอดเยี่ยม 2. ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูที่เอื้อ ตอการเรียนรู ยอดเยี่ยม 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ยอดเยี่ยม 4. ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และ นําผลมาพัฒนาผูเรียน ยอดเยี่ยม 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับ เพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินระดับขั้นพื้นฐาน ยอดเยี่ยม Page 66 of 71
3. จุดเดน ระดับปฐมวัย คุณภาพของเด็ก 1. เด็กมารีวิทยไดเขารวมกิจกรรมที่สงเสริมพัฒนาการครบทั้ง 4 ดาน อยางสมดุล และเต็มศักยภาพ 2. เด็กไดรับการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม โดยผานกิจกรรม 3 ดี ฝกความมั่นใจ และกลาแสดงออก มีนํ้าใจ รูจักการแบงปน ทําใหอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข 3.เด็กไดรับการสง เสริมในเรื่องตาง ๆ ทําใหเด็กมีสุขภาพรางกายที่แข็งแรง เจริญเติบโตตามวัย และ ดูแลตนเองใหปลอดภัยจากสถานการณปจจุบันไดดี สามารถ ชวยเหลือตนเองและผูอื่นไดตามวัย กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. โรงเรียนมารีวิทยสัตหีบ มีการจัดทําหลักสูตรของสถานศึกษา ที่สอดคลองกับนโยบาย เปาหมาย วิสัยทัศน พันธกิจของสถานศึกษา และ สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 2. มีกิจกรรมพัฒนาครูอยางตอเนื่อง ทําใหครูมีความรูความสามารถในการจัด ประสบการณที่หลากหลาย เหมาะสม นาสนใจ สนองความตองการของเด็ก และทันตอเหตุการณปจจุบัน 3. ครูมีการประเมินผลพัฒนาการ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงพัฒนาเด็กเปนรายบุคคล อยางเปนระบบ ตอเนื่อง และสมํ่าเสมอ การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสําคัญ 1. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนเด็กเปนสําคัญ เปดโอกาสใหเด็กไดลงมือปฏิบัติจริง สามารถเชื่องโยงความรูเดิมกับความรูใหมได 2. ครูเปนผู อํานวยความสะดวกในการเรียนรู เปดโอกาสใหเด็กไดคิดเอง ตัดสินใจเอง ในการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมอยางอิสระ ตามความสนใจและ ความตองการของตนเองมากขึ้น 3. ครูจัดทําสื่อ และนําสื่อเทคโนโลยีเขามาชวยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทําใหเด็กเกิดการเรียนรู อยางมีประสิทธิภาพ และเด็กไดใชสื่อที่หลากหลาย เหมาะสม เพียงพอ สนองตอความตอการของเด็ก ระดับขั้นพื้นฐาน คุณภาพของผูเรียน 1. ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีผลการประเมินระดับชาติทุกกลุมสาระการเรียนรูสูง กวาระดับประเทศและระดับเขตพื้นที่การศึกษา และนักเรียนกลาแสดงออกราเริงแจมใส สุขภาพกายแข็งแรงและ เปนผูมีคุณธรรม จริยธรรมตามที่สถานศึกษากําหนด 2. ผูเรียนอานหนังสือ ออกและอานคลอง รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อการสื่อสารไดทุกคน สามารถ ใชเทคโนโลยีในการแสวงหาความ รูไดดวยตนเอง สงผลใหผลสัมฤทธ ิ์ ทางการเรียนของนักเรียนอยูในระดับดีเยี่ยม มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการ ศึกษาระดับชาติ (O-NET) สูงกวาระดับชาติและระดับเขต พื้นที่การศึกษา อยางตอเนื่องมาโดยตลอด 3. ผูเรียนมีสุขภาพ รางกายแข็งแรง มีสมรรถภาพ ทางกายและนํ้าหนัก สวนสูงตามเกณฑมี ระเบียบ วินัยจนเปนเอกลักษณของสถานศึกษา เปนที่ยอมรับของชุมชนโดยรอบในเรื่องความมีวินัย เคารพกฎ กติกา ระเบียบของสังคม เชน การเขาคิว ซื้ออาหาร เปนตน กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. ผูบริหารมีความตั้งใจ มีความมุงมั่นมีหลักการบริหาร และมีวิสัยทัศนที่ดีในการบริหารงาน สามารถเปนแบบอยางที่ดีในการทํางาน และคณะ กรรมการสถานศึกษามีความตั้งใจ และมีความพรอมในการ ปฏิบัติหนาที่ตามบทบาท 2. โรงเรียนมีการบริหารจัดการอยางเปนระบบ โรงเรียน ไดใชเทคนิคการประชุมที่หลากหลาย วิธี เชน การประชุมแบบมีสวนรวมทุกฝาย การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุม เพื่อใหทุกฝายมีสวน รวมใน การกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําปที่สอดคลองกับ ผลการจัดการศึกษา สภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่มุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผูสอนสามารถจัดการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ มีการดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการ ดําเนินงาน และจัดทํารายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนไดใชกระบวนวิจัยในการรวบรวมขอมูล เพื่อใชเปนฐานในการวางแผนพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 1. ครูพัฒนาตนเองอยูเสมอ มีความตั้งใจมุงมั่นในการปฏิบัติหนาที่อยางเต็มเวลาและ ความสามารถ โดยเฉพาะวิชาภาษาอังกฤษ 2. ครูจัด กิจกรรมใหนักเรียนโดยใหนักเรียนไดเรียนรูโดยการคิด ไดปฏิบัติจริง มีการใชวิธีการและแหลงเรียนรูที่หลากหลายใหนักเรียนแสวงหาความรูจาก สื่อเทคโนโลยีดวยตนเองอยางตอเนื่อง 3. ครูใหนักเรียนมีสวนรวมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู 4. ผลงานวิจัยในชั้น เรียนของครูทุกคนไดรับการตรวจประเมินพรอมทั้งใหคําแนะนํา สามารถนํามาปรับใชกับนักเรียนไดเปนอยางดี 4. จุดควรพัฒนา ระดับปฐมวัย Page 67 of 71
คุณภาพของเด็ก 1. สงเสริมใหเด็กรักในการดูแลรักษาความสะอาดทั้งบริเวณภายใน ภายนอกหองเรียน และสภาพแวดลอมใหนาอยูและสวยงามอยูเสมอ 2. สง เสริมในเรื่องการดูแลรักษาความสะอาดรางกายตนเองใหปลอดภัยจากโรคภัยตาง ๆ ในสังคมปจจุบัน 3. จัดหาสื่อที่แปลกใหม สนองตอวิธีการ เรียนรูของเด็ก จะไดทําใหเด็กมีพัฒนาการที่ดีมากยิ่งขึ้น กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. จัดอบรมบุคลากรใหมีความรู ความสามารถ และเขาใจในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมากขึ้น เพื่อสงเสริมใหครูมีทักษะในการจัดประสบการณ ที่สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย จะไดทําใหเด็กไดรับการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพทุกคน 2. ครูออกแบบการจัดประสบการณ เตรียม ความพรอม โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลของเด็ก 3. ครูควรนําสื่อมัลติมีเดียเขามาเปนผูชวยในการจัดกิจกรรมการเรียนรูมากขึ้น การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสําคัญ นําสื่อ เทคโนโลยี ที่ทันสมัย ทันตอเหตุการณ เขากับยุคสังคมปจจุบัน เขามาปรับใชในการจัดประสบการณมากขึ้น ระดับขั้นพื้นฐาน คุณภาพของผูเรียน ผูเรียนในระดับชั้น ป.1 – ป.3 ควรไดรับการฝกฝนและพัฒนาดานทักษะการคิดคํานวณ และ พัฒนาดานการนําเสนอ การอภิปราย และแลก เปลี่ยนเรียนรูอยางสมเหตุสมผล และตองพัฒนาทักษะการแกปญหาตามสถานการณ ไดอยางเหมาะสม ผูเรียนในระดับชั้น ม.1 – ม.3 ยังตองได รับการสงเสริมในดานการมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสงเสริมใหผูเรียนสามารถในการนํานวัตกรรมที่สรางไปใชและเผยแพร กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. เปดโอกาสใหผูปกครองไดมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ผูเรียนใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น 2. สรางเครือขาย ความรวมมือของผูมีสวนเกี่ยวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียนใหมีความ เขมแข็ง มีสวนรวมรับผิดชอบตอผลการจัดการศึกษา และการขับ เคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 1. จัดโครงการพัฒนาครูและบุคลากรใหเปนครูที่มีความพรอมเตรียมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ในอนาคต 2. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพครูใหมี ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และความสามารถ ดานการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 5. แนวทางการพัฒนา 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนการพัฒนาผูเรียนเปนรายบุคคลใหชัดเจนขึ้น 2. การสงเสริมใหครูเห็นความสําคัญของการจัดการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดทําการวิจัย ในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียนให สามารถเรียนรูไดเต็มศักยภาพ 3. การพัฒนาบุคลากรโดยสงเขารับการอบรมโดยเฉพาะการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและพัฒนา แลกเปลี่ยนเรียนรูในงานที่ไดรับมอบ หมาย ติดตามผลการนําไปใชและผลที่เกิดกับผูเรียนอยางตอเนื่อง 4. การพัฒนาสถานศึกษาใหเปนสังคมแหงการเรียนรูของชุมชน 6. ความตองการชวยเหลือ 1. การพัฒนาครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ที่สอดคลองกับการพัฒนาผูเรียนในศตวรรษที่ 21 2. การสรางขอสอบที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู 3. จัดสรรครูผูสอนใหตรงตามวิชาเอกที่โรงเรียนมีความตองการและจําเปน 7. ความโดดเดนของสถานศึกษา(ถามี) - - ระดับการศึกษา : ปฐมวัย ไดรับการยอมรับเปนตนแบบระดับ : ทองถิ่น/ภูมิภาค (C1) กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศึกษา ่ Page 68 of 71
1 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เปดโอกาสใหผูปกครองเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 2 มีสถานที่เอื้อตอการเรียนรู ทั้งภายใน และภายนอกหองเรียน สะอาด ปลอดภัยและเหมาะสม 3 จัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหเด็กไดเรียนรูทักษะทางภาษาอังกฤษ และ ภาษาจีน จากครูชาวตางชาติ - - ระดับการศึกษา : ขั้นพื้นฐาน ไดรับการยอมรับเปนตนแบบระดับ : ทองถิ่น/ภูมิภาค (C1) กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศึกษา 1. มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เปดโอกาสใหผูปกครองเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 2. มีสถานที่เอื้อตอการเรียนรู ทั้งภายใน และภายนอกหองเรียน สะอาด ปลอดภัยและเหมาะสม 3. จัดการเรียนการสอนที่ที่สงเสริมใหเด็กไดเรียนรูทักษะทางภาษาอังกฤษ และ ภาษาจีนจากครูชาวตางชาติ 4. การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและวิชาสุขศึกษา ทางโรงเรียนไดจัดการเรียนการสอนโดยใชภาษาอังกฤษ มีครู ชาวตางชาติเปนผูถายทอดความรูใหกับนักเรียน มีการจัดกระบวนการเรียนการสอนใหสอนคลองกับกระทรวงศึกษาธิการ Page 69 of 71
รายงานรวบรวมโดย (Prepared by) หงษทอง มณีขํา ผูอํานวยการ นางสาวสายสมร ศิริ เจาหนาที่ Page 70 of 71
ภาคผนวก Page 71 of 71
ประกาศโรงเรียน เรื่อง การกําหนดมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายความสําเร็จของ โรงเรียนระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประกาศคาเปาหมาย)
ประกาศโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ เรื่อง การกำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ------------------------------------------------- โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏิรูป การศึกษาในทศวรรษที่สองกำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยใน อนาคต ประกอบกับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของ ทุกระดับสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็น ส่วนหนึ่งของการบริหารคการศึกษาที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน การศึกษา และเพื่อการรองรับการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบมีคุณภาพและได้ มาตรฐาน โรงเรียนจึงได้กำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ ในการประชุม ครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2563 โรงเรียนจึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ การประเมินคุณภาพภายใน ประกาศ ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ลงชื่อ............................................................................. (นายชวน กิติเกียรติศักดิ์) ประธานคณะกรรมการบริหารโรงเรียน
ประกาศโรงเรียน เรื่อง การกําหนดมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายความสําเร็จของ โรงเรียนระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (คาเปาหมาย)
มาตรฐานการศึกษา ระดับการขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 แนบท้ายประกาศโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ เรื่อง การก าหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา2563 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ………………………………………………………… มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 มีจ านวน 3 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานที่1 คุณภาพของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดค านวณ 2) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและแก้ปัญหา 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 6) มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษาก าหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ด าเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและ ทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน าผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานการศึกษา ระดับการขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 แนบท้ายประกาศโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ เรื่อง การก าหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา2563 ระดับการศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ………………………………………………………… มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย พ.ศ.2561 มีจ านวน 3 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานที่1 คุณภาพของเด็ก 1.1) มีพัฒนาการด่านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1.2) มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 1.3) มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 1.4) มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีหลักสูตรคลอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข 3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะกับวัย 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและน าผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
การก าหนดค่าเป้าหมาย แนบท้ายประกาศโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ เรื่อง การก าหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา2563 ระดับปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ดีเลิศ 1.1 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ดีเลิศ 1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ดีเลิศ 1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ดีเลิศ 1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น ดีเลิศ 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ดีเลิศ 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ดีเลิศ 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ ดีเลิศ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ ดีเลิศ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ ดีเลิศ 3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ดีเลิศ 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข ดีเลิศ 3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ดีเลิศ 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและน าผลการประเมินพัฒนาการเด็กไป ปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ดีเลิศ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ ค่าเป้าหมาย ร้อยละ ระดับคุณภาพ แปลคุณภาพ 90 - 100 5 ยอดเยี่ยม 80 - 89 4 ดีเลิศ 70 - 79 3 ดี 50 - 69 2 ปานกลาง 0 - 49 1 ก าลังพัฒนา
การก าหนดค่าเป้าหมาย แนบท้ายประกาศโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ เรื่อง การก าหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา2563 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานที่1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดค านวณ ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป 2) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป 3) มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป 6) มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป 4) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ร้อยละ 87 ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและจัดการ ดีเลิศ 2.1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษาก าหนดชัดเจน ดีเลิศ 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดีเลิศ 2.3 ด าเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ดีเลิศ 2.4 พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ดีเลิศ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ ดีเลิศ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ ดีเลิศ
มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานที่3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ดีเลิศ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถน าไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ดีเลิศ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดีเลิศ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ดีเลิศ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน าผลมาพัฒนาผู้เรียน ดีเลิศ 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ ดีเลิศ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ ค่าเป้าหมาย ร้อยละ ระดับคุณภาพ แปลคุณภาพ 90 - 100 5 ยอดเยี่ยม 80 - 89 4 ดีเลิศ 70 - 79 3 ดี 50 - 69 2 ปานกลาง 0 - 49 1 ก าลังพัฒนา
รายงานการประชุมหรือการใหความเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน (เห็นชอบ SAR)
หนังสือให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ. 2563 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนมารีวิทย์สัตหีบ ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 25 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2564 ได้ให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา พ .ศ. 2563 ทั้งนี้ ให้โรงเรียนน าข้อมูลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และเผยแพร่ต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ลงชื่อ............................................................... (นายชวน กิติเกียรติศักดิ์) ประธานคณะกรรมการบริหารโรงเรียน
คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานจัดทํา SAR (คําสั่ง แตงตั้ง)
หลักฐานการเผยแพร SAR ใหผูมีสวนเกี่ยวของหรือสาธารณชนรับทราบ (หลักฐานการเผยแพร sar)
หลักฐานการเผยแพร่ SAR ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสาธารณชนรับทราบ https://anyflip.com/bookcase/afvo
แผนผังอาคารสถานท ี่ (แผนผังอาคารสถานที่)
แผนผั
ังอาคารสถานที่
โครงสรางการบริหารงานโรงเรียน (โครงสรางการบริหารงาน)
โครงสร้างการบริหารงาน 1.การวางแผนอัตราก าลัง 2. การสรรหาบรรจุแต่งตั้ง 3. การด าเนินการเกี่ยวกับการปรับขั้น เงินเดือน 4. การลาทุกประเภท 5. ประเมินผลการปฏิบัติงาน 6. การด าเนินการทางวินัยและการ ลงโทษ 7. การสั่งพักงานและการสั่งให้พ้น สภาพจากการเป็นครู 8. การรายงานด าเนินการทางวินัย และการลงโทษ 9. การจัดระบบและการจัดท า ทะเบียนประวัติ 10. การจัดท าบัญชีรายชื่อและให้ ความเห็นเกี่ยวกับการเสนอขอ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ 11. การส่งเสริมและยกย่องเชิดชู เกียรติ 12.การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและ จรรยาบรรณวิชาชีพ 13. การส่งเสริมวินัย คุณธรรมและ จริยธรรม 14. การริเริ่มส่งเสริมการขอรับ ใบอนุญาต ผู้รับใบอนุญาต 1. การพัฒนาหลักสูตรสาระ ท้องถิ่น 2. การวางแผนงานวิชาการ 3.การจัดการเรียนการสอน 4. การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา 5. การพัฒนากระบวนการ เรียนรู้ 6. การวัดผล ประเมินผล และ ด าเนินการเทียบโอน 7. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาในสถานศึกษา 8. การพัฒนาและส่งเสริมให้มี แหล่งเรียนรู้ 9. การนิเทศการศึกษา 10. การแนะแนว 11.การพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในและมาตรฐาน การศึกษา 12.การส่งเสริมชุมชนให้มีความ เข้มแข็งทางวิชาการ 13.การประสานความร่วมมือ คณะกรรมการบริหารโรงเรียน คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้จัดการ ผู้อ านวยการโรงเรียน ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านบริหารบุคคล ด้านบริหารงานโรงเรียน 1. การพัฒนาระบบและเครือข่าย ข้อมูลสารสนเทศ 2. การประสานงานและพัฒนา เครือข่ายการศึกษา 3. การประสานงานและพัฒนา เครือข่ายการศึกษา 4. งานวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและ แผน 5.การจัดระบบการบริหารและ พัฒนาองค์กร 6.การพัฒนามาตรฐานการ ปฏิบัติงาน 7.งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 8.การด าเนินงานธุรการ 9.การดูแลอาคารสถานที่และ สภาพแวดล้อม 10.การจัดท าส ามะโนผู้เรียน 11. การรับนักเรียน 12.การประสานการจัดการศึกษาใน ระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย 13.การระดมทรัพยากรเพื่อ การศึกษา 14.การทัศนศึกษา 15.งานกิจการนักเรียน 16.การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา 17.การส่งเสริม สนับสนุนและ ประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กรหน่วยงานและสถาบัน สังคมอื่นที่จัดการศึกษา 18.งานประสานราชการกับส่วน ภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น 19.การจัดระบบการควบคุมภายใน หน่วยงาน 20.แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษ นักเรียน 1.การจัดท าแผนงบประมาณ 2.การอนุมัติการใช้จ่ายงบประมาณ 3. การขอโอนและการ เปลี่ยนแปลงงบประมาณ 4. การรายงานผลการเบิกจ่าย งบประมาณ 5. การตรวจสอบติดตามและ รายงานผลงบประมาณ 6.การตรวจสอบติดตามและ รายงานการใช้ผลผลิตจาก งบประมาณ 7.การระดมทรัพยากรและการ ลงทุนเพื่อการศึกษา 8.การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อ การศึกษา 9. การวางแผนและการจัดหาวัสดุ 10. การควบคุมดูแล บ ารุงรักษา และจ าหน่ายวัสดุ 11. การจัดท าบัญชีการเงิน 12. การจัดท ารายงานการเงินและ งบประมาณ
โครงสรางหลักสูตร เวลาเรียน ของโรงเรียน (โครงสรางหลักสูตร)
โครงสร้างหลักสู
สูตร เวลาเรียน ของโรงเรียน