The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by da.suchitra, 2021-12-26 23:29:24

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา อบท115 การออกแบบศลิ ปหตั ถกรรม

โดย
อาจารย์ ดร.พรนารี ชัยดเิ รก

ไดร บั การสนับสนุนการตพี ิมพเ ผยแพรจ ากโครงการผลิตหนังสอื ตาํ รา
เอกสาร คาํ สอนและเอกสารประกอบการสอน ประจาํ ปง� บประมาณ 2564

คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ

เอกสารประกอบการสอน
รายวชิ า อบท115 การออกแบบศลิ ปหตั ถกรรม

ผู้ทรงคุณวุฒพิ ิจารณาคณุ ภาพผลงาน

รองศาสตราจารย์ ดร.รฐั ไท พรเจรญิ

รองศาสตราจารยว์ รรณรตั น์ ตงั้ เจรญิ

คณะจดั ทำ: ฝ่ายวิจัยและนวตั กรรมการศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์

จำนวนหนา้ : 267 หนา้

จำนวนพมิ พ์: 100 เล่ม

ป�ท่พี ิมพ์: พทุ ธศกั ราช 2564

ภาพปกหนา้ : พรนารี ชยั ดเิ รก

ภาพปกหลงั : พรนารี ชยั ดิเรก

การสนบั สนนุ : คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ

คำนำ

เอกสารประกอบการสอนวิชา อบท115 การออกแบบศิลปหัตถกรรม (VID115 CRAFT DESIGN)
เป�นส่วนหนึ่งของเอกสารที่ใช้สำหรับการเรียนการสอนในหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
ออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ

เอกสารประกอบการสอนฉบบั น้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือใหน้ ิสิตสาขาวชิ าการออกแบบทัศนศิลป์วิชาเอกการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ได้ใช้เพื่อศึกษาเรียนรู้ศิลปหัตถกรรมของไทย ด้านวัสดุ โครงสร้าง รูปทรง ประโยชน์ใช้สอย
ลวดลาย กรรมวิธกี ารผลติ การใช้เครื่องมือ ภูมิป�ญญาในการผลติ ผลติ ภัณฑร์ ว่ มสมัย และฝ�กปฏบิ ัติการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์และเขียนแบบเพื่อการผลิตด้วยแบบฝ�กปฏิบัติท้ายบท ด้วยเนื้อหาภายในเลม่ ที่ผู้เขียนได้รวบรวมจาก
เอกสาร ตำรา และประสบการณ์ในการวจิ ัยและการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมไทยของผเู้ ขียน

ผู้เขียนจึงหวังเป�นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการสอนฉบับน้ีจะเป�นประโยชน์แก่นิสิตสาขาวิชาการ
ออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบผลิตภัณฑ์ ในการพัฒนาทักษะด้านการสร้างแนวคิดและการออกแบบ
ผลิตภณั ฑห์ ตั ถกรรมของไทยใหด้ ยี ่งิ ขน้ึ

พรนารี ชยั ดิเรก



สารบญั หนา้

หัวขอ้ ก

คำนำ ฉ
สารบญั ฏ
สารบญั ภาพ 1
แผนบริหารการสอนประจำวิชา 2
เนื้อหารายวชิ าการออกแบบศิลปหัตถกรรม
9
แผนการสอนคร้ังที่ 1 10
13
บทที่ 1 ศลิ ปหัตถกรรมของไทย 17
แผนการสอนคร้ังที่ 2 17
1. ความหมายและประวัตคิ วามเป�นมาของงานศิลปหตั ถกรรมไทย 20
2. ความสำคญั ของงานศลิ ปหัตถกรรมไทย 21
3. ประเภทของงานศิลปหัตถกรรมไทย 22
4. ลักษณะเฉพาะของงานศิลปหัตถกรรมไทยพืน้ บา้ น
5. สรปุ 23
6. คำถามท้ายบท 24
27
บทที่ 2 ศิลปหัตถกรรมไทยภาคเหนอื 33
แผนการสอนคร้ังที่ 3-4 35
1. กำเนดิ งานหตั ถกรรมไทยภาคเหนือ 43
2. ภมู ิป�ญญาในการสรา้ งสรรคง์ าน 44
3. แนวทางการศึกษาผลงานหตั ถกรรมไทยภาคเหนือ 44
4. สรุป
5. คำถามท้ายบท 45
6. แบบฝ�กหดั ปฏิบัติงานออกแบบทา้ ยบท 46
49
บทที่ 3 ศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 58
แผนการสอนครั้งท่ี 5-6
1. กำเนดิ งานหัตถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
2. ภูมิปญ� ญาในการสรา้ งสรรค์งาน

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้

หวั ขอ้ 60
67
3. แนวทางการศึกษาผลงานหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 68
4. สรปุ 69
5. คำถามท้ายบท
6. แบบฝก� หดั ปฏิบัติงานออกแบบท้ายบท 71
72
บทท่ี 4 ศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง 75
แผนการสอนครั้งที่ 7-8 82
1. กำเนดิ งานหัตถกรรมไทยภาคกลาง 84
2. ภูมปิ �ญญาในการสรา้ งสรรคง์ าน 90
3. แนวทางการศึกษาผลงานหตั ถกรรมไทยภาคกลาง 91
4. สรุป 91
5. คำถามท้ายบท
6. แบบฝ�กหดั ปฏบิ ัตงิ านออกแบบท้ายบท 93
94
บทท่ี 5 ศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออก 97
แผนการสอนคร้ังท่ี 9-10 107
1. กำเนิดงานหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออก 109
2. ภูมิป�ญญาในการสร้างสรรคง์ าน 115
3. แนวทางการศึกษาผลงานหัตถกรรมไทยภาคตะวนั ออก 115
4. สรุป 115
5. คำถามท้ายบท
6. แบบฝก� หัดปฏบิ ตั งิ านออกแบบท้ายบท 117
118
บทที่ 6 ศิลปหัตถกรรมไทยภาคใต้ 121
แผนการสอนคร้ังท่ี 11-12 132
1. กำเนดิ งานหตั ถกรรมไทยภาคใต้ 133
2. ภมู ิปญ� ญาในการสร้างสรรค์งาน
3. แนวทางการศึกษาผลงานหตั ถกรรมไทยภาคใต้



สารบัญ (ต่อ) หนา้

หวั ข้อ 140
141
4. สรปุ 141
5. คำถามท้ายบท
6. แบบฝก� หดั ปฏบิ ตั ิงานออกแบบท้ายบท 143
144
บทที่ 7 ผลติ ภัณฑศ์ ิลปหตั ถกรรมไทยร่วมสมัย 146
แผนการสอนคร้ังท่ี 13 150
1. คำจำกดั ความของศลิ ปหัตถกรรมไทยร่วมสมยั 154
2. แนวคิดการออกแบบร่วมสมัย 160
3. แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยรว่ มสมัย 161
4. สรุป 162
5. คำถามท้ายบท
6. แบบฝก� หัดปฏิบัตงิ านออกแบบทา้ ยบท 163

บทที่ 8 แนวทางการสรา้ งแรงบนั ดาลใจและการกำหนดทิศทางในการออกแบบ 164
จากงานหัตถกรรมไทย 166
แผนการสอนครั้งท่ี 14 167
1. การค้นหาแรงบันดาลใจจากงานหัตถกรรมไทย
2. การวิเคราะห์องคป์ ระกอบในการออกแบบ และหลักการออกแบบ 173
ผลิตภณั ฑศ์ ลิ ปหตั ถกรรมไทยรว่ มสมยั 173
3. การออกแบบด้านรูปธรรม 173
4. การออกแบบด้านนามธรรม 176
5. การสร้างกระดานบรรยายอารมณ์และรูปแบบของผลติ ภัณฑ์ (Mood Board) 178
6. การกำหนดทิศทางในการออกแบบจากงานหตั ถกรรมไทย 179
7. สรปุ 180
8. คำถามท้ายบท
9. แบบฝ�กหดั ปฏิบตั งิ านออกแบบทา้ ยบท



สารบัญ (ต่อ) หน้า

หัวขอ้ 181
182
บทท่ี 9 กระบวนการออกแบบและพฒั นาผลติ ภัณฑ์หัตถกรรมไทยรว่ มสมยั 184
แผนการสอนคร้ังท่ี 15 185
1. การออกแบบด้านประโยชนใ์ ชส้ อย 185
2. การออกแบบด้านความงาม 187
3. การออกแบบรายละเอยี ดอื่น ๆ
4. กระบวนการประยุกตใ์ ช้องคป์ ระกอบเพอ่ื การออกแบบผลติ ภัณฑห์ ัตถกรรมไทย 191
ร่วมสมยั 204
5. กลยุทธก์ ารออกแบบผลิตภณั ฑ์ศลิ ปหตั ถกรรมไทยรว่ มสมัย 214
6. กรณศี กึ ษาการออกแบบผลิตภัณฑศ์ ิลปหตั ถกรรมร่วมสมยั 214
7. สรุป 214
8. คำถามท้ายบท
9. แบบฝก� หดั ปฏบิ ตั งิ านออกแบบทา้ ยบท 215
216
บทท่ี 10 การเขียนแบบและการสร้างผลงานต้นแบบผลิตภณั ฑ์หตั ถกรรมไทยร่วมสมัย 218
แผนการสอนคร้ังท่ี 16 238
1. การเขยี นแบบผลติ ภัณฑเ์ บ้ืองต้น 240
2. การเขยี นแบบเพ่อื การผลิตผลติ ภัณฑห์ ตั ถกรรมไทยรว่ มสมยั 242
3. การทดลองสรา้ งตน้ แบบผลิตภณั ฑ์ไม่มีกลไก 243
4. การนำเสนอผลงานการออกแบบผลติ ภณั ฑห์ ตั ถกรรมไทยรว่ มสมยั 258
5. กรณศี กึ ษา 259
6. สรุป
7. แบบฝก� หัดปฏบิ ัติงานออกแบบทา้ ยบท 261
266
บรรณานุกรม
ประวตั ิผ้เู ขียน



สารบัญภาพ

หนา้

ภาพประกอบท่ี 1 ภาพแสดงเครอ่ื งป�นดินเผาทีบ่ า้ นเก่า จ.กาญจนบุรี 15
ภาพประกอบที่ 2 ภาพแสดงหลักฐานวฒั นธรรมไมไ้ ผ่และการจักสานทเ่ี กา่ แก่และสมบูรณท์ ่ีสุด 15

ท่ปี ระตูผา จ.ลำปาง 20
ภาพประกอบที่ 3 ภาพแสดงเครอ่ื งจักสาน จ.กาญจนบุรี 29
ภาพประกอบท่ี 4 ภาพแสดงอาณาเขตล้านนาในป� พ.ศ. 2083 30
ภาพประกอบท่ี 5 ภาพแสดงภูมิประเทศภาคเหนอื 33
ภาพประกอบท่ี 6 ภาพแสดงการเลี้ยงผปี ่แู สะย่าแสะ ตามคตคิ วามเชือ่ ทางภาคเหนือ 34
ภาพประกอบที่ 7 ภาพแสดงเครือ่ งจักสานพน้ื บ้านในภาคเหนอื 37
ภาพประกอบที่ 8 ภาพแสดงการสาธติ วิธีการทำรม่ การจำหนา่ ยร่มบ่อสรา้ ง จ.เชยี งใหม่ 38
ภาพประกอบท่ี 9 ภาพแสดงหมู่บา้ นหตั ถกรรมไม้แกะสลกั จ.เชยี งใหม่ 39
ภาพประกอบท่ี 10 ภาพแสดงเคร่ืองเงินของบา้ นวัวลาย จ.เชียงใหม่ 40
ภาพประกอบที่ 11 ภาพแสดงสนิ คา้ หตั ถกรรมทที่ ำจากกระดาษสา จ.เชยี งใหม่ 41
ภาพประกอบที่ 12 ภาพแสดงแมค่ รู ดวงกมล ใจคำปน� ผมู้ ีความชำนาญในงานหัตถกรรม
42
เคร่ืองเขนิ จ.เชยี งใหม่ 52
53
ภาพประกอบท่ี 13 ภาพแสดงเครือ่ งเคลือบศลิ าดล จ.เชยี งใหม่ 57
62
ภาพประกอบท่ี 14 ภาพแสดงกลุ่มชาติพันธ์ใุ นภาคอสี าน 63
ภาพประกอบที่ 15 ภาพแสดงภมู ิประเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 64
ภาพประกอบท่ี 16 ภาพแสดงประเพณีฮีตสบิ สองคองสิบสี่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 65
ภาพประกอบท่ี 17 ภาพแสดงผ้าแพรวา ผ้ามัดหมี่ และผา้ ย้อมคราม ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 66
ภาพประกอบที่ 18 ภาพแสดงเครอ่ื งจักสานไม้ไผ่ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 76
ภาพประกอบที่ 19 ภาพแสดงเคร่อื งทองเหลืองบา้ นปะอาว ฆ้องบ้านทรายมลู และประเกอื มสุรนิ ทร์ 80
ภาพประกอบที่ 20 ภาพแสดงเกวียนสลักลาย เรือนไทยพื้นบา้ นดงั้ เดมิ และเรอื นโคราช
ภาพประกอบท่ี 21 ภาพแสดงบายศรี และปราสาทผง้ึ
ภาพประกอบท่ี 22 ภาพแสดงสภาพภมู ศิ าสตรภ์ าคกลาง
ภาพประกอบท่ี 23 ภาพแสดงประเพณีรับบวั โยนบวั มีขน้ึ ท่ีอำเภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ



สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หนา้

ภาพประกอบท่ี 24 ภาพแสดงเรือนไทยในภาคกลาง 83
ภาพประกอบท่ี 25 ภาพแสดงหมอ้ น้ําลายวจิ ิตร จ.นนทบุรี 85
ภาพประกอบที่ 26 ภาพแสดงโถเบญจรงค์ จ.อยุธยา 86
ภาพประกอบท่ี 27 ภาพแสดงผา้ ซ่ินตนี จก จ.ราชบรุ ี 87
ภาพประกอบท่ี 28 ภาพแสดงบาตรโบราณ (ตมี ือแปดตะเขบ็ ) จ.กรงุ เทพมหานคร 88
ภาพประกอบที่ 29 งานหตั ถกรรมหัวโขน จ.อ่างทอง 89
ภาพประกอบที่ 30 ภาพแสดงสภาพภูมิศาสตร์ภาคตะวันออก 98
ภาพประกอบที่ 31 ภาพแสดงประเพณีงานชกั พระบาท จังหวัดจนั ทบุรี 102
ภาพประกอบที่ 32 ภาพแสดงประเพณีงานข้นึ เขาเผาข้าวหลาม ของอำเภอพนมสารคาม 103

จงั หวดั ฉะเชิงเทรา 103
ภาพประกอบที่ 33 ภาพแสดงประเพณีงานกองข้าว อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบรุ ี 104
ภาพประกอบที่ 34 ภาพแสดงประเพณีงานวนั วรี กรรมทหารเรือไทยใน ยทุ ธนาวที ี่เกาะช้าง จ.ตราด 104
ภาพประกอบท่ี 35 ภาพแสดงประเพณีงานแห่บงั้ ไฟ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี 105
ภาพประกอบที่ 36 ภาพแสดงประเพณีงานทอดผา้ ปา่ กลางน้ำ จงั หวัดระยอง 105
ภาพประกอบที่ 37 ภาพแสดงประเพณีงานบวงสรวงศาลหลกั เมือง
109
และรดน้ำดำหวั ผูส้ งู อายุ จงั หวัดสระแกว้ 110
ภาพประกอบที่ 38 ภาพแสดงแผนทภ่ี าคตะวนั ออกแสดงแหล่งทพ่ี บภมู ปิ ญ� ญาพื้นถิน่ 111
ภาพประกอบท่ี 39 ภาพแสดงเสือ่ กกจันทบรู ณ์ จ.จนั ทบรุ ี 112
ภาพประกอบท่ี 40 ภาพแสดงกระเป๋าดอกพิกุลรปู ไข่ จ.ชลบุรี 113
ภาพประกอบที่ 41 ภาพแสดงกระบงุ จักสานคลุ้ม จ.ตราด 114
ภาพประกอบที่ 42 ภาพแสดงการทำแหวนกล จ.จันทบรุ ี 123
ภาพประกอบที่ 43 ภาพแสดงครกหินอา่ งศลิ า จ.ชลบรุ ี 124
ภาพประกอบท่ี 44 ภาพแสดงอาณาเขตศรวี ิชยั ในพุทธศตวรรษที่ 15 128
ภาพประกอบที่ 45 ภาพแสดงสภาพภูมศิ าสตร์ภาคใต้
ภาพประกอบท่ี 46 ภาพแสดงการแตง่ กายของภาคใต้



สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หน้า

ภาพประกอบที่ 47 ภาพแสดงเจดียว์ ัดพระบรมธาตุไชยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี 129
ภาพประกอบที่ 48 ภาพแสดงการไหวแ้ มย่ ่านางเรือของชาวประมง 131
ภาพประกอบที่ 49 ภาพแสดงภมู ปิ ญ� ญาด้านการประกอบอาชีพของชาวประมง 133
ภาพประกอบที่ 50 ภาพแสดงงานแกะสลัก หนังตะลุง 134
ภาพประกอบที่ 51 ภาพแสดงผา้ ยกเมืองนคร 135
ภาพประกอบที่ 52 ภาพแสดงเครื่องป�นดินเผาสทงิ หม้อ 136
ภาพประกอบท่ี 53 ภาพแสดงเครอื่ งถมเมอื งนคร 137
ภาพประกอบที่ 54 ภาพแสดงเครือ่ งจักสานย่านลิเภา 138
ภาพประกอบที่ 55 ภาพแสดงว่าวเบอรอ์ ามสั 139
ภาพประกอบท่ี 56 ภาพแสดงกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์จากภูมปิ �ญญาไทย 152
ภาพประกอบท่ี 57 แนวทางการออกแบบแฟช่นั สินค้าเคร่ืองหนังสง่ ออก “ITSME Model” 153
ภาพประกอบท่ี 58 ภาพแสดงการศึกษาและตัดทอนรูปทรงสัญญะ“ขันแก้วทง้ั สาม” 155
ภาพประกอบที่ 59 ภาพแสดงการออกแบบโคมไฟต้ังโต๊ะจาก “ขนั แก้วท้ังสาม” 155
ภาพประกอบท่ี 60 ภาพแสดงการศึกษาและตดั ทอนรปู ทรงสัญญะ“หมอ้ ลายวิจิตร” 156
ภาพประกอบท่ี 61 ภาพแสดงการออกแบบปรบั เปลย่ี นประโยชน์ใช้สอยของ หมอ้ น้ำลายวจิ ิตร 156
ภาพประกอบที่ 62 ภาพแสดงการศึกษาและตัดทอนรปู ทรงสัญญะ“งอบ” 157
ภาพประกอบที่ 63 ภาพแสดงแนวคิดโล่รางวลั อเนกประสงคเ์ ปน� โคมไฟและ 157

ทีว่ างของในตวั จากรูปทรงสัญญะ“งอบ” 158
ภาพประกอบที่ 64 ภาพแสดงการศึกษาและตดั ทอนรปู ทรงสญั ญะ “นาง” 158
ภาพประกอบที่ 65 ภาพแสดงการออกแบบโคมไฟตั้งโต๊ะจาก “นาง” 159
ภาพประกอบที่ 66 ภาพแสดงการศึกษาและตดั ทอนรปู ทรงสญั ญะ “เปลกระบอก” 159
ภาพประกอบที่ 67 ภาพแสดงแนวคดิ การออกแบบปรับเปลย่ี นประโยชน์ ใช้สอยเก้าอีแ้ ละโคมไฟ
160
จาก“เปลกระบอก”และ ” สมุ่ ไก”่
ภาพประกอบท่ี 68 ภาพแสดงการศึกษาและตดั ทอนรปู ทรงสญั ญะ “กร้อวิดน้ำ”



สารบญั ภาพ (ตอ่ )

หนา้

ภาพประกอบที่ 69 ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบปรับเปล่ียนประโยชน์ ใชส้ อยเกา้ อีจ้ าก 160
“เก้าอก้ี ร้อวิดนำ้ ”
167
ภาพประกอบที่ 70 ภาพการนำแรงบนั ดาลใจมาใช้ในการออกแบบงานศิลปหัตถกรรมไทย 169
ภาพประกอบที่ 71 ภาพองค์ประกอบดา้ นการออกแบบ 170
ภาพประกอบท่ี 72 ภาพองค์ประกอบดา้ นการออกแบบและทฤษฎีการออกแบบ 172
ภาพประกอบที่ 73 ภาพตวั อยา่ งตารางการวิเคราะห์องคป์ ระกอบดา้ นการออกแบบ (Design Matrix) 176
ภาพประกอบท่ี 74 ภาพตวั อยา่ งมดู บอร์ดช่วยในการนำเสนองานออกแบบเฟอรน์ ิเจอร์ 184
ภาพประกอบที่ 75 ภาพแสดงการออกแบบด้านประโยชน์ใช้สอยด้วยการใช้มูดบอร์ด 185
ภาพประกอบที่ 76 ภาพแสดงการออกแบบดา้ นความงามดว้ ยการใช้มูดบอร์ด 188
ภาพประกอบที่ 77 ภาพแสดงกระบวนการออกแบบผลติ ภัณฑ์จากภูมปิ �ญญาท้องถ่ินเชิงทดลอง
191
(Experimental Design) ของอ.อรญั วานิชกร
ภาพประกอบท่ี 78 ภาพตวั อยา่ งแสดงผลงานการออกแบบผลิตภณั ฑ์ศิลปหตั ถกรรมรว่ มสมัย 192
194
ทใ่ี ช้การวิเคราะห์องคป์ ระกอบดา้ นการออกแบบ (Design Matrix) 195
ภาพประกอบท่ี 79 ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบเพื่อมวลชน
ภาพประกอบท่ี 80 ภาพแสดงตัวอยา่ งการออกแบบตามแนวคดิ การออกแบบเพื่อมวลชน
ภาพประกอบที่ 81 ภาพแสดงตามแนวคดิ การการตลาดแบบยอ้ นยคุ

ภาพประกอบที่ 82 ภาพแสดงตวั อยา่ งงานออกแบบตามแนวคิดการตลาดย้อนยุค 196

ภาพประกอบท่ี 83 ภาพแสดงหลกั การของ 4Rs 197
ภาพประกอบท่ี 84 ภาพแสดงตวั อยา่ งผลงานการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ตามหลกั การของ 4Rs 198
ภาพประกอบที่ 85 ภาพแสดงตัวอยา่ งผลงานการออกแบบผลติ ภณั ฑต์ าม 202

แนวคดิ “ออสบอร์นเชก็ ลิสต”์ (Osborn’s checklist) – SCAMPER

ภาพประกอบที่ 86 ภาพแสดงตวั อย่างผลงานการออกแบบผลิตภณั ฑต์ าม 203

แนวคดิ “ออสบอรน์ เชก็ ลสิ ต์” (Osborn’s checklist) – SCAMPER



สารบญั ภาพ (ต่อ) หน้า

ภาพประกอบท่ี 87 ภาพตวั อย่างการออกแบบผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมรว่ มสมยั 213
ภาพประกอบท่ี 88 ภาพสลักหนิ ฟาโรห์โจเซอร์และอักษรภาพอียิปตโ์ บราณ 219
ภาพประกอบท่ี 89 ภาพแผ่นหินเขยี นเปน� ภาพป้อมปราการ เขียนโดย ซาลเดนกูตวั 220
ภาพประกอบท่ี 90 ภาพสเก็ตชธ์ นูขนาดใหญ่ จากจินตนาการของ ลิโอนาโด ดาวนิ ซี 220
ภาพประกอบที่ 91 ภาพแสดงแนวคดิ ของฟ�ลปิ โป บรเู นลเลสกี 221
ภาพประกอบที่ 92 ภาพเทคนิคการเขยี นภาพฉายค้นพบโดย Gaspard Monge 221
ภาพประกอบที่ 93 ภาพแสดงลกั ษณะของกระดานเขยี นแบบ 223
ภาพประกอบที่ 94 ภาพแสดงลักษณะของโตะ๊ เขียนแบบพร้อมชดุ เขยี นแบบ 223
ภาพประกอบที่ 95 ภาพแสดงไมท้ ี (T-Square) 224
ภาพประกอบท่ี 96 ภาพแสดงลกั ษณะของฉากสามเหล่ียม 224
ภาพประกอบที่ 97 ภาพแสดงลกั ษณะของดินสอเปลอื กไม้ 225
ภาพประกอบที่ 98 ภาพแสดงลกั ษณะของดนิ สอเปล่ยี นไส้ 226
ภาพประกอบท่ี 99 ภาพแสดงลกั ษณะของวงเวียน (Drafting compass) 226
ภาพประกอบท่ี 100 ภาพแสดงลกั ษณะของบรรทดั เขียนส่วนโคง้ (French Curve) 227
ภาพประกอบที่ 101 ภาพแสดงลักษณะของเทมเพลต (Templates) 227
ภาพประกอบท่ี 102 ภาพแสดงอปุ กรณ์เบ็ดเตล็ด 227
ภาพประกอบท่ี 103 ภาพแสดงลักษณะของการเขียนเสน้ ตรงในระดบั 228
ภาพประกอบที่ 104 ภาพแสดงลกั ษณะการเขยี นเสน้ ตรงในแนวด่ิง 229
ภาพประกอบที่ 105 ภาพแสดงลกั ษณะการใช้ไม้ที ฉากสามเหลี่ยมเขียนเสน้ ตรงเอยี งทำมุมต่างๆ 229
ภาพประกอบที่ 106 ภาพแสดงผลติ ภณั ฑ์ที่จะเขียนแบบภาพฉาย 230
ภาพประกอบที่ 107 ภาพแสดงภาพดา้ นหนา้ ของผลิตภณั ฑ์ 230
ภาพประกอบท่ี 108 ภาพแสดงผลติ ภณั ฑ์ทจ่ี ะเขียนแบบภาพฉาย 231
ภาพประกอบที่ 109 ภาพแสดงผลติ ภณั ฑท์ ี่จะเขยี นแบบภาพฉาย 231
ภาพประกอบที่ 110 ภาพแสดงการเขยี นแบบภาพฉาย 232
ภาพประกอบที่ 111 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพฉายขน้ั สุดทา้ ย 233



สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า
233
ภาพประกอบที่ 112 ภาพแสดงการเขยี นแบบภาพด้านหน้าของการเขียนแบบภาพออบลิค 234
ภาพประกอบท่ี 113 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพขดี เสน้ ด้านข้าง 45 องศาของการเขยี นแบบ
234
ภาพออบลิค
ภาพประกอบท่ี 114 ภาพแสดงการเขยี นแบบขีดเส้นต้ังฉากและเส้นระนาบใหค้ รบ 235
236
ของการเขยี นแบบภาพออบลคิ 236
ภาพประกอบที่ 115 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพสดุ ท้ายของการเขยี นแบบภาพออบลิค 237
ภาพประกอบท่ี 116 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟแบบจุดรวมสายตาจดุ เดยี ว 237
ภาพประกอบที่ 117 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพเพอรส์ เพกทิฟแบบจุดรวมสายตา 2 จุด
ภาพประกอบท่ี 118 ภาพแสดงการเขยี นแบบภาพเพอร์สเพกทิฟแบบจุดรวมสายตา 3 จุด 239
ภาพประกอบท่ี 119 ภาพแสดงคลปิ วธิ กี ารเขียนแบบภาพเพอรส์ เพกทิฟสำหรบั งานออกแบบ
241
ผลติ ภัณฑ์ 242
ภาพประกอบที่ 120 ภาพแสดงตัวอยา่ งของการเขียนแบบงานเพื่อการผลติ ผลิตภณั ฑ์
258
หตั ถกรรมไทยรว่ มสมัย
ภาพประกอบที่ 121 ภาพแสดงประเภทของต้นแบบผลิตภณั ฑ์
ภาพประกอบที่ 122 ภาพแสดงตัวอยา่ งของการทดลองสร้างต้นแบบผลิตภณั ฑ์ไม่มีกลไก

ผลิตภณั ฑห์ ตั ถกรรมไทยร่วมสมยั
ภาพประกอบที่ 123 ภาพแสดงตัวอย่างของการทดลองสร้างตน้ แบบผลิตภัณฑ์ไมม่ ีกลไก

ผลิตภัณฑห์ ตั ถกรรมไทยร่วมสมัย



แผนบริหารการสอนประจำวชิ า
รายวิชา อบท115 การออกแบบศลิ ปหัตถกรรม

หมวดที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไป

1. รหสั และชื่อวชิ า

อบท115 การออกแบบศิลปหัตถกรรม

VID115 CRAFT DESIGN

2. จำนวนหนว่ ยกติ

3 หนว่ ยกิต (2-2-5)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวชิ า

หลกั สูตรศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบทศั นศลิ ป์ วชิ าบังคบั

4. อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบรายวิชาและอาจารย์ผสู้ อน

อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบรายวิชา

ลำดับ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา สังกดั

1 อาจารย์พรนารี ชยั ดิเรก สาขาวชิ าการออกแบบทศั นศิลป์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์

อาจารยผ์ ู้สอน

ตอน อาจารย์ผูส้ อน สงั กัด ตำแหนง่ อาจารยผ์ ู้สอน

B01 อาจารยพ์ รนารี ชยั ดเิ รก สาขาวชิ าการออกแบบทัศนศิลป์ ผู้สอนหลัก

คณะศิลปกรรมศาสตร์

5. ภาคการศึกษา/ชนั้ ป�ท่เี รียน

ภาคเรยี นท่ี 2 ชน้ั ปท� เี่ รยี น 1

6. รายวิชาทีต่ อ้ งเรียนมาก่อน (Per-requisite)

ไม่มี

7. รายวิชาท่ตี อ้ งเรียนพร้อมกนั (Co-requisite)

ไม่มี

8. สถานที่เรียน

B01 : อาคารคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ + สำนักคอมพวิ เตอร์ ห้องบรรยาย 1503

9. วนั ทจี่ ดั ทำหรือปรบั ปรุงรายละเอียดของรายวชิ า

28/12/2563



หมวดที่ 2 จดุ มุ่งหมายและวัตถปุ ระสงค์

1. จุดมุง่ หมายของรายวชิ า
1 .เพ่ือให้นิสติ ศึกษาเรยี นรศู้ ิลปหัตถกรรมของไทย ด้านวัสดุ โครงสรา้ ง รปู ทรง ประโยชน์ใช้สอย

ลวดลาย กรรมวิธกี ารผลิต การใชเ้ ครื่องมือ ภมู ิป�ญญาในการผลติ ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย

2. เพื่อใหน้ ิสิตฝ�กปฏบิ ัติการออกแบบผลติ ภณั ฑแ์ ละเขยี นแบบเพือ่ การผลติ ได้

3. เพ่อื ใหน้ ิสิตทดลองสรา้ งตน้ แบบผลิตภัณฑไ์ มม่ ีกลไก ผลติ และนำเสนอผลงานการออกแบบได้
2. วัตถุประสงคใ์ นการพฒั นา/ปรบั ปรงุ รายวิชา

เพอื่ ให้เหมาะสมกบั ยุคสมยั และสถานการณ์ปจ� จุบนั และระยะเวลาในการเรยี นการสอน

หมวดที่ 3 ลกั ษณะและการดำเนนิ การ
1. คำอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษา เรียนรู้ศิลปหัตถกรรมของไทย ด้านวัสดุ โครงสร้าง รูปทรง ประโยชน์ใช้สอย ลวดลาย กรรมวิธี

การผลิต การใช้เครื่องมือ ภูมิป�ญญาในการผลิตผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย ละฝ�กปฏิบัติการออกแบบผลิตภัณฑ์ เขียน

แบบเพอื่ การผลติ และทดลองสร้างต้นแบบผลิตภณั ฑไ์ ม่มกี ลไก ผลิตและนำเสนอผลงาน

2. จำนวนชัว่ โมงทใ่ี ช้ต่อภาคการศกึ ษา

ลำดับ บรรยาย สอนเสรมิ การฝก� ปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝก� งาน การศกึ ษาดว้ ยตัวเอง

1 2.00 0.00 2.00 5.00

3. ความรับผิดชอบหลัก/ความรบั ผดิ ชอบรอง ประเภทความรับผิดชอบ

● ความรับผิดชอบหลกั O ความรบั ผดิ ชอบรอง

1. คุณธรรมและ 2 .ความรู้ 3. ทักษะทางปญ� ญา 4. ทกั ษะ 5. ทักษะการ

จรยิ ธรรม ความสมั พนั ธ์ วเิ คราะห์เชงิ

ระหวา่ งบคุ คล ตัวเลข การ

และความ สือ่ สารและการ

รบั ผดิ ชอบ ใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ

1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

    



4. จำนวนชัว่ โมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรกึ ษาและแนะนำทางวิชาการแก่นิสิตเป�นรายบคุ คล
อาจารย์จดั เวลาให้คำปรกึ ษาและแนะนำแก่นักศึกษาทั้งในและนอกช้นั เรียนหรือรายกลุ่มตามความต้องการ

1 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ ดว้ ยการตดิ ต่อทางเคร่ืองมือสื่อสารต่างๆโดยแจง้ ประกาศให้นิสิตนักศึกษาทราบโดยทั่วกัน หรือ

โดยการนัดหมายทางโทรศัพท์ อีเมล (E-mail) กูเกิลคลาสรูม (Google Classroom) และไลน์(Line) ในบางกรณี

หมวดท่ี 4 การพฒั นาผลการเรยี นรูข้ องนกั ศกึ ษา

1. รายละเอียดการพฒั นาผลการเรยี นรขู้ องนสิ ติ

1. คุณธรรมและจรยิ ธรรม

ลำดบั หลัก/รอง คุณธรรมและ วธิ กี ารสอน วิธกี ารประเมินผล

จรยิ ธรรมท่ตี อ้ งพัฒนา

1 หลัก มคี วามซ่ือสตั ย์ มีวนิ ยั ชี้แจงกฎระเบียบและแนว สังเกตพฤตกิ รรมความซ่ือสัตย์

ตรงตอ่ เวลา ปฏบิ ตั ิในการเรยี นการสอน การตรงต่อเวลาในการเขา้ ช้นั เรยี น

ใหช้ ดั เจนในทุกรายวิชา การทำรายงาน การอ้างองิ ผลงาน

และการสอบ

2 หลัก มีจรรยาบรรณทาง สรา้ งเงอ่ื นไข/โจทย์งานใน ประเมนิ จากการมีสว่ นรว่ มในการอภิปราย

วชิ าการและวชิ าชีพ กจิ กรรมปฏบิ ตั ิเพื่อใหผ้ ูเ้ รยี น การวางแผน การปฏบิ ตั งิ าน

สะท้อนจิตสำนกึ สาธารณะ การนำเสนอผลงาน และการสะทอ้ นคดิ

กิจกรรมในช้นั เรยี นดา้ นจรรยาบรรณ

ทางวิชาการและวชิ าชีพ

2. ความรู้

ลำดับ หลัก/รอง ความรู้ทีต่ ้องพฒั นา วิธกี ารสอน วธิ ีการประเมินผล

1 หลกั มคี วามรู้ หลกั การ จดั การเรยี นการสอนทคี่ รอบ ประเมินจากผลการสอบภาคทฤษฎี/ปฏิบตั ิ

และทฤษฎี ทางศิลปะ คลุมความรหู้ ลกั การและทฤษฎี แฟ้มสะสมผลงานและผลงาน

และการออกแบบ ทางศลิ ปะและการออกแบบโดย

เนน้ ผู้เรยี นเปน� สำคญั

3. ทักษะทางป�ญญา

ลำดับ หลกั /รอง ทกั ษะทางปญ� ญา วิธกี ารสอน วธิ กี ารประเมนิ ผล

ทตี่ อ้ งพัฒนา

1 หลัก สามารถคิดวิเคราะห์อยา่ ง ใช้ตัวอย่างทด่ี ีเปน� กรณีศึกษา ประเมนิ จากการสอบภาคทฤษฎแี ละ

เปน� ระบบ และแกไ้ ข เพอื่ ให้นสิ ิตไดเ้ รยี นรวู้ ิเคราะห์ ปฏบิ ัติ

ป�ญหาได้ ป�ญหาและฝ�กบรู ณาการ

ความรู้เพือ่ ใชใ้ นการแก้ไข

ปญ� หาอยา่ งเปน� ระบบ

2 หลัก มีความคิดริเรม่ิ จัดกจิ กรรมฝ�กความคิด สงั เกตพฒั นาการในดา้ นต่างๆ จาก

สรา้ งสรรคน์ วัตกรรม สรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม



ลำดับ หลกั /รอง ทักษะทางปญ� ญา วิธีการสอน วธิ กี ารประเมนิ ผล
ทตี่ อ้ งพัฒนา

ทเ่ี ปน� ประโยชนต์ อ่ ตนเอง พฤตกิ รรม การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมกลมุ่

สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม การสะท้อนคดิ ในชั้นเรยี น

4. ทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ

ลำดับ หลัก/รอง ทักษะความสมั พนั ธ์ วิธกี ารสอน วธิ ีการประเมนิ ผล

ระหว่างบคุ คลและ

ความรบั ผดิ ชอบ

ทีต่ ้องพฒั นา

1 หลัก สามารถทำงานรว่ มกบั จดั การเรียนการสอนแบบ ประเมินจากคุณภาพของรายงาน

ผอู้ ่ืนท้งั ในฐานะผู้นำและ Project Based Learning ทแ่ี สดงถึงความรว่ มมอื ในการวางแผน

ผรู้ ่วมงานได้ ทมี่ กี ารค้นคว้าข้อมลู ใน การปฏิบัติและการแก้ป�ญหา

ระดับสากล

2 หลกั มีความรบั ผิดชอบต่อ เลอื กประเด็นท่ีเป�นปญ� หาสงั คม ประเมินผลจากการนำเสนอผลงานหรือ

ตนเอง สังคม และ และสง่ิ แวดล้อมให้นิสติ เรียนรู้ จากผลการประเมินของผู้ประกอบการ

ส่งิ แวดล้อม และตระหนกั ถึงผลกระทบ ที่นสิ ิตเขา้ ฝ�กงาน

ท่ีเกดิ ขนึ้ พรอ้ มทงั้ กระตุ้นใหค้ ดิ

หาวธิ ที จ่ี ะมสี ว่ นร่วมรบั ผิดชอบ

ในการแกป้ ญ� หาโดยเรมิ่ ตน้ จาก

ตัวนสิ ติ เอง

5. ทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตวั เลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ลำดบั หลัก/รอง ทกั ษะการวเิ คราะห์ วธิ ีการสอน วิธีการประเมนิ ผล

เชิงตัวเลข การ

สอ่ื สารและการใช้
เทคโนโลยสี าร

สนเทศท่ตี ้อง

พัฒนา

1 หลัก สามารถสือ่ สารได้ ฝก� การใชท้ กั ษะสอื่ สารในทุก

อย่างมีประสิทธิภาพ รายวชิ า



หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน









2. แผนการประเมินผลการเรยี นรู้

กจิ กรรม ผลการเรยี นรู้ วธิ ีการประเมิน สดั สว่ นการประเมินผล
10%
บรรยาย คุณธรรมและจรยิ ธรรม การสังเกต 20%
40%
บรรยาย / ซกั ถาม ความรู้ การสงั เกต 10%

มอบงาน ทกั ษะทางป�ญญา ผลงาน / การแกป้ ญ� หา 10%

งานกลุ่ม ทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคคลและการสังเกตการทำงานกลมุ่ 50 คะแนน
40 คะแนน
ความรับผิดชอบ 10 คะแนน
25 คะแนน
มอบงาน / การนำเสนอ ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การ การนำเสนอผลงาน 25 คะแนน
100 คะแนน
ผลงาน สือ่ สารและการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ

การวัดผลประเมนิ ผล

การวัดผล
1. คะแนนระหวา่ งภาคเรียน
1.1 คะแนนแบบฝ�กหดั ท้ายบท
1.2 คะแนนจิตพิสัยและพฤติกรรมระหว่างเรียน
2. คะแนนโครงการออกแบบ
3. คะแนนสอบกลางภาคและปลายภาค
รวม

การประเมนิ ผล 80-100 ได้ระดบั A
ช่วงคะแนน 75-79 ไดร้ ะดบั B+
ช่วงคะแนน 70-74 ได้ระดบั B
ช่วงคะแนน 65-69 ไดร้ ะดบั C+
ชว่ งคะแนน 60-64 ไดร้ ะดับ C
ช่วงคะแนน 55-59 ได้ระดบั D+
ช่วงคะแนน 50-54 ไดร้ ะดบั D
ช่วงคะแนน 0-49 ไดร้ ะดบั E
ช่วงคะแนน



หมวดท่ี 6 ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน

1. ตำราและเอกสาร
นฤทธิ์ วัฒนภ.ู (2555). ศลิ ปหัตถกรรมพืน้ บา้ นไทย.กรุงเทพฯ: บริษทั วาดศิลป์จำกดั .
รัฐไท พรเจรญิ . (2558). เทคนิคการเขยี นภาพออกแบบผลติ ภณั ฑ.์ กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพส์ .ส.ท.
วิบูลย์ ลส้ี วุ รรณ. (2558). พจนานุกรมหัตถกรรม เครื่องมือเครอ่ื งใช้พืน้ บ้าน. กรุงเทพฯ:
สำนกั พิมพ์เมืองโบราณ.
วิรุณ ต้งั เจรญิ .(2554). ศิลปกรรมร่วมสมัย : การเรียนร้แู ละ สร้างสรรค์.
กรงุ เทพฯ.วารสารสถาบันวฒั นธรรมและ ศิลปะ(สาขามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์)
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. 14 (1),15.
อรัญ วานิชกร. (2559). การออกแบบผลติ ภัณฑท์ ้องถ่นิ . กรงุ เทพฯ:
สำนักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
อรญั วานชิ กร. (2014). องค์ความรู้ ภูมิปญ� ญาไทย:
การออกแบบและสรา้ งสรรค์ผลิตภัณฑร์ ่วมสมัย THAI WISDOM KNOWLEDGE:
DESIGNED AND CREATED THE CONTEMPORARY PRODUCTS.
กรุงเทพฯ. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและ ศลิ ปะ(สาขามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร)์
มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. 12 (2),22.
อาชญั นักสอน. (2558). ศลิ ปะการออกแบบหัตถอุตสาหกรรม : The Art of Industrial Crafts
Design. กรงุ เทพฯ: ทรปิ เป�ล กรปุ๊ .

2. เอกสารและข้อมูลสำคญั
ไม่มี

3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ
ไมม่ ี

หมวดท่ี 7 การประเมินและปรบั ปรงุ การดำเนนิ การของรายวชิ า

1. กลยุทธ์การประเมนิ ประสิทธผิ ลของรายวชิ าโดยนสิ ติ
ประเมนิ คุณภาพการจดั การเรยี นการสอนและรายวิชาโดยนิสติ ผ่านระบบการประเมินการเรียนการสอน

ในรปู แบบออนไลน์
2. กลยทุ ธก์ ารประเมินการสอน

ประเมินคุณภาพการสอนของอาจารย์โดยนิสิตผ่านระบบการประเมินการเรียนการสอนในรูปแบบ
ออนไลนข์ องมหาวทิ ยาลัยและสรุปผลประเมินตามแผนการเรยี นรู้ โดยระบบประเมินของมหาวทิ ยาลัย



3. การปรับปรงุ การสอน
สาขาวชิ ากำหนดใหผ้ ูส้ อนทบทวนและปรบั ปรุงกลยุทธ์และวธิ ีการสอนจากผลการประเมนิ ประสิทธิภาพ

ของรายวิชา และผลการประเมินคุณภาพของผู้สอนนำไปสู่การปรับปรุงและให้มีการจัดการเรียนการสอนใน

ลักษณะของการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 ตามแนวทางของสาขาฯ และมหาวิทยาลัยฯ

4. การทบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิของนสิ ิตในรายวิชา

ลำดับ ผลการเรยี นรู้ วิธีทบทวนสอบ

1 คณุ ธรรมและจริยธรรม ทบทวนจากพฤตกิ รรมและความรบั ผดิ ชอบ

2 ความรู้ ทบทวนจากผลคะแนนการสอบกลางภาค

สอบปลายภาค และความคิดสร้างสรรค์

3 ทกั ษะทางป�ญญา ทบทวนจากผลคะแนนการสอบกลางภาค

สอบปลายภาค และความคดิ สร้างสรรค์

4 ทักษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความ ทบทวนจากพฤตกิ รรมและความรับผิดชอบ

รบั ผิดชอบ

5 ทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ทบทวนจากการนำเสนอส่ือสารสนเทศ

การสือ่ สารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยเี พื่อใหเ้ กิดสัมฤทธผ์ิ ล

5. การดำเนนิ การทบทวนและการวางแผนปรบั ปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
1. นำผลจากการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ขิ องนักศึกษามาวเิ คราะห์เพ่ือหาแนวทางพฒั นา

2. การจดั ประชมุ หรอื สัมมนาเพ่ือวางแผนปรับปรุงการสอน

3. วางแผนการบรหิ ารจดั การเชงิ กลยทุ ธ์เพ่อื สรา้ งประสิทธิผลของรายวิชาให้ดยี ิง่ ข้นึ





เนื้อหารายวิชา
การออกแบบศิลปหตั ถกรรม

แผนการสอนครัง้ ที่ 1

หวั ข้อ อธบิ ายเนอ้ื หารายวชิ า
ผู้สอน อาจารย์ ดร.พรนารี ชัยดิเรก

เวลา 240 นาที

วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้นิสิตเขา้ ใจเน้ือหารายวิชาการออกแบบศิลปหัตถกรรม

2. เพ่ือให้นิสติ เขา้ ใจวธิ กี ารเรียนการสอน การเก็บคะแนน และการวดั ผล
3. เพือ่ ทดสอบความรู้ความเข้าใจของนิสิตก่อนการเรยี นการสอน

เนือ้ หา
1. อธบิ ายเน้ือหารายวิชา

2. อธบิ ายวิธกี ารเรยี นการสอน

3. อธบิ ายการเกบ็ คะแนนและการวัดผล
4. การทดสอบกอ่ นการเรยี นการสอน

การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ 45 นาที
1. อธบิ ายเนอื้ หารายวิชา 45 นาที
30 นาที
2. อธบิ ายวธิ ีการเรยี นการสอน 30 นาที
90 นาที
3. อธบิ ายการเก็บคะแนนและการวดั ผล
4. นิสติ ซกั ถามปรึกษาเนื้อหาการเรยี น

5. การทดสอบก่อนการเรยี นการสอน

สอ่ื การสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การออกแบบศลิ ปหตั ถกรรม
2. ไฟลน์ ำเสนอภาพนิ่งผา่ นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
3. หนงั สอื ตำรา วารสารต่าง ๆ ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ ที่เกี่ยวขอ้ งกับการออกแบบ
ศิลปหตั ถกรรมไทย
4. ตัวอยา่ งผลิตภณั ฑ์ ผลงานหตั ถกรรมสำหรบั การเรียนการสอนที่เก่ยี วข้องและตัวอยา่ งภาพ
ผลงานการออกแบบของนสิ ิตทีไ่ ด้เรียนวชิ านี้ (ตามความเหมาะสมของเนอ้ื หาการเรยี น)

2

การประเมินผล
1. สงั เกตจากพฤติกรรมของผู้เรยี น
2. ประเมนิ ผลจากกจิ กรรมในชัน้ เรยี น
3. ประเมินผลจากการทดสอบก่อนการเรียนการสอน

3

ประมวลรายวชิ า ( Course Syllabus)

1. รหัสและช่ือรายวชิ า

VID115 CRAFT DESIGN

อบท115 การออกแบบศิลปหัตถกรรม

2. จำนวนหนว่ ยกติ

3 หน่วยกิต (2-2-5)

3. หลกั สตู รและประเภทของรายวิชา

หลกั สตู รศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาบังคับ

4. อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบรายวิชาและอาจารยผ์ สู้ อน

Section อาจารยผ์ ้สู อน สังกดั
สาขาวชิ าการออกแบบทศั นศลิ ป์
B01 อาจารย์ ดร.พรนารี ชัยดเิ รก คณะศิลปกรรมศาสตร์

5. ภาคการศกึ ษา / ชนั้ ปท� ่ีเรียน :

ภาคการเรียนที่ 2 / ชั้นปท� ่ี 1

6. รายวิชาทีต่ อ้ งเรยี นมากอ่ น (Pre-requisite) (ถ้าม)ี

ไมม่ ี

7. รายวชิ าท่ตี ้องเรยี นพร้อมกัน (Co-requisite) (ถา้ ม)ี

ไม่มี

8. สถานท่ีเรียน(ระบุสถานทที่ กุ แห่งทงั้ ในและนอกท่ตี ง้ั หลักของมหาวิทยาลัยให้ครบถ้วน)

ตอน B01 : สถานที่ตงั้ อาคาร 16 คณะศิลปกรรมศาสตร์ ห้องบรรยาย 1503 มศว.ประสานมติ ร

4

9. คำอธิบายรายวิชา

ศกึ ษา เรียนรศู้ ิลปหตั ถกรรมของไทย ดา้ นวัสดุ โครงสรา้ ง รปู ทรง ประโยชน์ใชส้ อย ลวดลาย กรรมวิธี

การผลิต การใช้เครื่องมือ ภูมิป�ญญาในการผลิตผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย ฝ�กปฏิบัติการออกแบบผลิตภัณฑ์ เขียน

แบบเพอื่ การผลติ และทดลองสรา้ งต้นแบบผลิตภณั ฑ์ไม่มกี ลไก ผลติ และนำเสนอผลงาน

10. จดุ มงุ่ หมายของรายวิชา

1. เพอื่ ให้นิสิตศึกษา เรียนร้ศู ิลปหตั ถกรรมของไทย ด้านวสั ดุ โครงสรา้ ง รปู ทรง ประโยชน์ใช้

สอย ลวดลาย กรรมวิธกี ารผลิต การใชเ้ ครอื่ งมือและภูมิป�ญญาในการผลติ ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย

2. เพือ่ ให้นสิ ิตฝ�กปฏิบัติการออกแบบผลิตภัณฑ์ เขียนแบบเพ่อื การผลิตได้
3. เพื่อให้นสิ ติ ทดลองสร้างตน้ แบบผลติ ภณั ฑไ์ ม่มกี ลไก ผลติ และนำเสนอผลงานการออกแบบ

ได้

11. จำนวนช่ัวโมงที่ใชต้ ่อภาคการศึกษา

บรรยาย 2 ช่ัวโมงต่อสปั ดาห์

ฝก� ปฏบิ ัติงาน / ภาคสนาม 2 ช่ัวโมงต่อสปั ดาห์
การศึกษาดว้ ยตวั เอง 5 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์

แผนการสอน

ครง้ั ที่/ หวั ข้อ สื่อการสอน อาจารย์ผู้สอน หมายเหตุ
1 อธิบายเนอื้ หารายวิชา และ เอกสารนำเสนอ / อ. ดร.พรนารี ชยั ดิเรก
กฎระเบียบการเขา้ เรียน เกณฑก์ าร แบบทดสอบก่อน (B01)
ใหค้ ะแนน ขอ้ ตกลงในการเรยี น เรียน
2 บทที่ 1 ศลิ ปหัตถกรรมของไทย อ. ดร.พรนารี ชยั ดิเรก
เอกสารนำเสนอ/ (B01)
3 บทท่ี 2 ศิลปหตั ถกรรมของไทย แบบฝ�กหัด / แบบ
ภาคเหนือ - 1 มอบหมายงาน อ. ดร.พรนารี ชัยดิเรก
(B01)
4 บทท่ี 2 ศิลปหัตถกรรมของไทย เอกสารนำเสนอ/
ภาคเหนอื - 2 แบบฝก� หดั / แบบ อ. ดร.พรนารี ชัยดิเรก
มอบหมายงาน (B01)

เอกสารนำเสนอ/
แบบฝ�กหดั / แบบ
มอบหมายงาน

5

ครัง้ ท่ี/ หวั ข้อ ส่อื การสอน อาจารย์ผ้สู อน หมายเหตุ
อ. ดร.พรนารี ชยั ดเิ รก
5 บทท่ี 3 ศิลปหัตถกรรมของไทยภาค เอกสารนำเสนอ/ (B01)

ตะวนั ออกเฉียงเหนือ - 1 แบบฝก� หัด / แบบ อ. ดร.พรนารี ชยั ดเิ รก
(B01)
มอบหมายงาน
อ. ดร.พรนารี ชยั ดเิ รก
6 บทที่ 3 ศิลปหัตถกรรมของไทยภาค เอกสารนำเสนอ/ (B01)

ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ - 2 แบบฝ�กหัด / แบบ อ. ดร.พรนารี ชยั ดิเรก
(B01)
มอบหมายงาน
อ. ดร.พรนารี ชัยดิเรก
7 บทที่ 4 ศลิ ปหัตถกรรมของไทยภาค เอกสารนำเสนอ/ (B01)

กลาง - 1 แบบฝ�กหดั / แบบ อ. ดร.พรนารี ชยั ดเิ รก
(B01)
มอบหมายงาน
อ. ดร.พรนารี ชยั ดิเรก
8 บทท่ี 4 ศลิ ปหัตถกรรมของไทยภาค เอกสารนำเสนอ/ (B01)

กลาง - 2 แบบฝก� หัด / แบบ อ. ดร.พรนารี ชัยดิเรก
(B01)
มอบหมายงาน
อ. ดร.พรนารี ชยั ดิเรก
9 บทท่ี 5 ศิลปหัตถกรรมของไทยภาค เอกสารนำเสนอ/ (B01)

ตะวันออก - 1 แบบฝ�กหดั / แบบ อ. ดร.พรนารี ชัยดเิ รก
(B01)
มอบหมายงาน

10 บทที่ 5 ศิลปหตั ถกรรมของไทยภาค เอกสารนำเสนอ/

ตะวนั ออก - 2 แบบฝก� หัด / แบบ

มอบหมายงาน

11 บทที่ 6 ศลิ ปหตั ถกรรมของไทย เอกสารนำเสนอ/

ภาคใต้ - 1 แบบฝก� หัด / แบบ

มอบหมายงาน

12 บทท่ี 6 ศลิ ปหตั ถกรรมของไทย เอกสารนำเสนอ/

ภาคใต้ - 2 แบบฝก� หัด / แบบ

มอบหมายงาน

13 บทท่7ี ผลติ ภณั ฑ์ศิลปหัตถกรรมไทย เอกสารนำเสนอ/

ร่วมสมยั แบบฝ�กหดั / แบบ

มอบหมายงาน

14 บทท่ี 8 แนวทางการสรา้ งแรง เอกสารนำเสนอ/

บันดาลใจและการกำหนดทิศทางใน แบบฝก� หัด / แบบ

การออกแบบจากงานหตั ถกรรมไทย มอบหมายงาน

6

ครัง้ ท่ี/ หวั ข้อ สอ่ื การสอน อาจารย์ผ้สู อน หมายเหตุ
15 บทท่ี 9 กระบวนการออกแบบและ เอกสารนำเสนอ/ อ. ดร.พรนารี ชยั ดิเรก
พัฒนาผลิตภณั ฑห์ ตั ถกรรมรว่ มสมยั แบบฝก� หดั / แบบ (B01)
มอบหมายงาน
16 บทที่ 10 การเขียนแบบและการ อ. ดร.พรนารี ชัยดิเรก
สรา้ งผลงานตน้ แบบผลิตภณั ฑ์ เอกสารนำเสนอ/ (B01)
แบบฝ�กหัด / แบบ
17 สอบปลายภาค มอบหมายงาน อ. ดร.พรนารี ชัยดิเรก
(B01)
เอกสารนำเสนอ

7

8

บทท่ี 1
ศลิ ปหตั ถกรรมของไทย

แผนการสอนครง้ั ท่ี 2

หัวข้อ ศลิ ปหัตถกรรมของไทย
ผ้สู อน อาจารย์ ดร.พรนารี ชยั ดิเรก

เวลา 240 นาที

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อใหน้ ิสิตเข้าใจความหมาย ความสำคญั และประเภทของงานศิลปหัตถกรรมของไทย

2. เพ่ือใหน้ ิสติ เขา้ ใจและเรียนรผู้ ลงานศิลปหัตถกรรมไทย

เนอื้ หา
1. ความหมายและประวัติความเป�นมาของงานศิลปหตั ถกรรมไทย
1.1 ความหมายและคำจำกัดความของงานศลิ ปหตั ถกรรมไทย
1.2 ประวตั คิ วามเป�นมาของผลติ ภณั ฑ์งานหตั ถกรรมไทย
2. ความสำคญั ของงานศลิ ปหัตถกรรมไทย
2.1 บทบาทและคณุ ค่าความสำคัญของงานศลิ ปหตั ถกรรมไทย
3. ประเภทของงานศลิ ปหัตถกรรมไทย
3.1 การแบ่งประเภทของงานศิลปหัตถกรรมไทย
4. ลักษณะเฉพาะของงานศลิ ปหัตถกรรมไทยพ้นื บา้ น
5. สรปุ

การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ 15 นาที
1. อธบิ ายวตั ถุประสงค์และเนื้อหาโดยรวม 60 นาที
150 นาที
2. บรรยายเนือ้ หาและหัวข้อต่าง ๆ 15 นาที
3. ศกึ ษาเรยี นรูผ้ ลงานศลิ ปหัตถกรรมของไทย

4. นสิ ิตซกั ถามปรึกษาเนื้อหาการเรียน

สือ่ การสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การออกแบบศลิ ปหตั ถกรรม
2. ไฟล์นำเสนอภาพน่ิงผา่ นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
3. หนังสอื ตำรา วารสารต่าง ๆ ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การออกแบบ
ศลิ ปหัตถกรรมไทย
4. ตวั อย่างผลติ ภัณฑ์ ผลงานหัตถกรรมสำหรบั การเรียนการสอนท่เี ก่ยี วขอ้ ง (ตามความ
เหมาะสมของเนือ้ หาการเรียน)

10

การประเมนิ ผล
1. สังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2. ประเมนิ ผลจากกจิ กรรมในการชัน้ เรียน
3. ประเมนิ ผลจากคำถามท้ายบทที่ 1
4. ประเมินผลจากแบบฝ�กหัดปฏิบัตงิ านออกแบบทา้ ยบท

หนงั สืออ้างองิ
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2543). รูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทย. กรุงเทพฯ :
กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม.
กิตติพงษ์ เกียรติวิภาค. (2559). พัฒนาด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้กรอบแนวคิดการออกแบบหัตถ
อุตสาหกรรม Industrial Crafts Design Framework (Grow - Reborn). วารสารศิลปกรรม
ศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแกน่ , 9(2), น. 333-366.
ณัฐพล อัสสะรัตน และ อภิรดี วงศ์กิจรุ่งเรือง. (2559). วิจิตรศิลป์: กลยุทธ์ทางการตลาดใหม่ของร้านค้า
ปลกี . วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทศั น,์ 39(1), น. 94-118.
ธีรารตั น์ ทพิ ยจ์ รัสเมธา. (2563). การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์. [เอกสารประกอบการสอน วิชาประวตั ศิ าสตร์
ยุโรปเรอ่ื งการปฏวิ ัตวิ ทิ ยาศาสตร]์ ,จาก
http://www.eledu.ssru.ac.th/teerarat_ti/pluginfile.php/347/course/summary/
เอกสารประกอบการสอนปวศยโุ รปเรอื่ งการปฏวิ ตั ทิ างวิทยาศาสตร์.pdf
พสิ ฐิ คลงั กูล, กฤษณ์ วิไลโอฬาร, และ กลั ยกร จันทรสาขา. (2556). ศึกษาวจิ ยั หตั ถกรรมพน้ื ถน่ิ : เพื่อการ
พฒั นาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน. จาก
http://narinet.sut.ac.th:8080/xmlui/handle/123456789/169
ภรติ พร แก้วแกมเสือ. (2562). การอนรุ กั ษ์ สืบสานและพฒั นางานศลิ ปหัตถกรรมพน้ื บ้านเครือ่ ง
จักสานโดยแนวคดิ ทางการออกแบบผลิตภณั ฑ์. สารอาศรมวฒั นธรรมวลัยลกั ษณ,์ 19(2),
น. 68-96.
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2553). ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน : เอกลักษณ์เฉพาะถิ่น Folk Handicrafts : Local
Identity. วารสารมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, 30(1), น. 163-182.
สืบพงศ์ ธรรมชาติ. (2561). “ศิลปหัตถกรรมอาเซียน”. ในเอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติและ
นานาชาติ สานสัมพันธ์วัฒนธรรมอาเซียน ครั้งที่ 3, 2561. นครศรีธรรมราช : อาศรมวัฒนธรรม
วลัยลักษณ์ มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ.์
อาชัญ นักสอน. (2558). กระบวนการ สร้างงานศิลปหัตถกรรม กับฝ้ายทอมือ “แสงดา บันสิทธิ์”.
วารสารวชิ าการคณะศลิ ปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,์ 10(1), น. 215-234.
Petcharanonda, B. , Tantinipankul, W. , & Wongreun, W. , ( 2017) . From Local Handicraft to
Creative Art and Design: A Case Study of Palm Waving in Kay Noi Village, Mae Taeng

11

District, Chiang Mai Province. Proceedings of 13Th International Conference on Thai
Studies Globalized Thailand Connectivity, Conflict and Conundrums of Thai
Studies 15-18 July 2017, Chiang Mai, Thailand.

12

บทท่ี 1
ศลิ ปหตั ถกรรมของไทย

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (2543) ได้ให้ข้อมูลว่าวิวัฒนาการของการพัฒนาหัตถกรรมไทย
มีประวัติความเป�นมาในอดีตอันยาวนานตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อประมาณ 7,000 ป�มาแล้ว เห็นได้
จากหลกั ฐานเคร่ืองมือหินกะเทาะและขุดพบในบริเวณแห่งวัฒนธรรมก่อนประวัติศาสตร์บา้ นเก่า ตำบลจระเข้
เผอื ก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี หรอื เครอื่ งป�นดินเผาท่ีขุดพบบริเวณบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัด
อุดรธานี มีรูปทรงแปลกตาและลวดลายการเขียนสีวิจิตรพิสดาร จัดเป�นผลิตภัณฑ์หัตถกรรมล้ำค่าซึ่งนัก
ประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีเชื่อกันว่าดินแดนของประเทศไทยเคยเป�นที่อยู่ของกลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมอัน
สูงส่ง ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมในดินแดนแห่งนี้จึงเป�นมรดกสื่อทางวัฒนธรรมไทยที่บรรพบุรุษสร้างไว้เป�นสมบัติ
แห่งความภมู ใิ จถงึ ปจ� จุบัน

ประเทศไทยมีการผลิตงานหัตถกรรมมายาวนาน งานหัตถกรรมแบบดั้งเดิมทำขึ้นเพื่อประโยชน์
ใช้สอยทีส่ ะทอ้ นให้เหน็ ถึงวิถีชวี ติ ความเช่ือ ประวัติศาสตร์ ขนบประเพณีและภูมิป�ญญาท้องถิน่ ต่อมาจึงมีการ
พัฒนางานหัตถกรรมให้มีความสวยงามขึ้นในภายหลัง จวบจนป�จจุบันงานศิลปหัตถกรรมไม่ได้เป�นเพียงงาน
ประยุกต์ศิลป์01ที่เป�นแค่เครื่องมือเครื่องใช้ แต่ยังเป�นงานศิลปหัตถกรรมร่วมสมัยและเป�นงานวิจิตรศิลป์12ที่มี
คุณค่าทางศิลปะอย่างมากมาย (วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2553) การศึกษาเรียนรู้เทคนิคและภูมิป�ญญา เข้าใจ
กระบวนการกรรมวิธีการผลิตงานภาพรวมของงานหตั ถกรรมต้ังแต่เริ่มต้นจะทำให้เกิดการสร้างสรรค์ ต่อยอด
สามารถนำองค์ความรู้มาใช้ได้เหมาะสม และทำให้งานศิลปหัตถกรรมของไทยยังคงดำรงอยู่ตลอดไป (กิตติ
พงษ์ เกยี รตวิ ภิ าค, 2559)

1. จุดมงุ่ หมายและความหมายของงานศลิ ปหัตถกรรมไทย

1.1 ความหมายและคำจำกัดความของงานศลิ ปหตั ถกรรมไทย
นิยามของคำวา่ หตั ถกรรม(Craft หรือ Handicraft) มีหลายนยิ าม ดงั นี้
วบิ ลู ย์ ลสี้ ุวรรณ (2553) ใหค้ ำจำกัดความของหตั ถกรรมวา่ เป�นสง่ิ ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ ดว้ ยมอื และมี
วัตถุประสงคห์ ลกั ด้านการใช้สอย
หัตถกรรม หมายถึง งานประยุกต์ศิลป์หรือศิลปะที่มีประโยชน์ใช้สอยประเภทหนึ่ง ที่ชาวบ้าน
ธรรมดาเป�นผู้สร้างขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองหรือสำหรับใช้ในชีวิตประจำวัน(พิสิฐ คลังกูล,
กฤษณ์ วไิ ลโอฬาร, และ กลั ยกร จนั ทรสาขา, 2556)

1 ประยุกตศ์ ิลป์ (Applied Art) หรือศิลปะประยุกตเ์ ป็นงานศิลปะท่ีเนน้ สรา้ งขึน้ เพ่ือประโยชนใ์ ชส้ อยมากกว่าคุณค่าทางความงามหรือ
ทางสุนทรียภาพ ท้ังนีเ้ พ่ือสนองประโยชน์ทางกาย ได้แก่กลุ่มงาน มณั ฑนศิลป์ พาณิชยศิลป์ นิเทศศิลป์ อุตสาหกรรมศิลป์ และ
หตั ถกรรม เป็นตน้ (วบิ ูลย์ ลส้ี ุวรรณ, 2553 : 164)
2 วิจติ รศิลป์ (Fine Art)เป็นศลิ ปะท่ีเนน้ คณุ ค่าทางดา้ นความงามมากกวา่ ประโยชนใ์ ชส้ อย ทงั้ น้ีเพอ่ื ตอบสนองประโยชน์ทางใจไดแ้ ก่งาน
ศลิ ปะประเภท ประตมิ ากรรม จติ รกรรม วรรณกรรม สถาปัตยกรรม คตี ศลิ ป์ และนาฏศลิ ป์ และสอ่ื ผสม (ณฐั พล อสั สะรตั น และ อภริ ดี
วงศก์ จิ ร่งุ เรอื ง, 2559, น.100)

13

หัตถกรรม หมายถึง ผลงานสร้างสรรค์ที่ถูกทำขึ้นด้วยมือ โดยอาศัยวัสดุและเครื่องมือที่หาได้ใน
ทอ้ งถิ่น ซึ่งเดิมงานหัตถกรรมสร้างขึ้นเพ่ือประโยชน์ใชส้ อยในชวี ติ ประจำวัน เชน่ ผา้ ทอมือ ใช้เป�นเคร่ืองนุ่งห่ม
เครื่องป�นดินเผา ใช้เป�นภาชนะต่างๆ ในครัวเรือน งานไม้แกะสลัก ใช้ทำเครื่องเรือน ฯลฯ(อาชัญ นักสอน,
2558)

ศิลปหัตถกรรม (Art and Craft) หมายถึงงานหัตถกรรมที่มีความงามทางศิลปะ แฝงภูมิป�ญญา
และทักษะเฉพาะตัวใช้ฝ�มอื ระดับสูง สะท้อนค่านิยมของชุมชนท้องถิ่น ความรู้สึกนึกคดิ จินตนาการ (วิบูลย์ ล้ี
สวุ รรณ, 2553)

ศิลปหัตถกรรม (Art and Craft) คอื งานหัตถกรรมที่ไมไ่ ดเ้ ป�นแค่เครื่องมือเครื่องใช้เท่าน้ัน แต่มี
คณุ ลกั ษณะของความงามที่แฝงภูมิป�ญญาและคา่ นยิ มของชุมชน ซ่ึงอาจจะเปน� ไดท้ ้ังศิลปะแบบวิจิตรศิลป์และ
ประยุกต์ศลิ ป์ (สืบพงศ์ ธรรมชาต,ิ 2561)

1.2 ประวัติความเป�นมาของผลติ ภณั ฑง์ านหัตถกรรมไทย
ประวัติความเป�นมาของพัฒนาการงานหัตถกรรมไทยมีมาอย่างยาวนาน ในประเทศไทยมีการ
ค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีประเภทงานหัตถกรรมตามแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์หลายแห่ง
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม (2543) อ้างว่า ส่วนมากพบหลักฐานทางโบราณคดีใน
ประเทศไทยเป�นเคร่อื งมอื หินกะเทาะที่ทำจากหินแมน่ ้ำท่ี ตำบลจระเข้ อำเภอเมอื ง จงั หวดั กาญจนบุรี
ต่อมาในยคุ หินกลางหรือชว่ งเวลา 10,000-8,350 ปไ� ดค้ น้ พบเครื่องมือหนิ และเคร่ืองป�นดินเผาท่ี
มผี วิ เกล้ียงและมลี ายเชอื กทาบ มีการป�นแบบงา่ ย ๆ มีรปู ทรงและลวดลายท่ไี มป่ ระณีตมากนัก ส่วนมากพบใน
จงั หวัดแม่ฮ่องสอน และกาญจนบรุ ี
วิบูลย์ ลี้สวุ รรณ (2553) อา้ งว่า ในยุคหนิ ใหม่ในชว่ งเวลา 3,900-2,000ปม� นษุ ย์รจู้ กั การเพาะปลูก
เลี้ยงสัตว์ ทำเครื่องป�นดินเผาและเครื่องจักสานที่มีความประณีตสวยงามมากขึ้น ในประเทศไทยส่วนใหญ่
ค้นพบในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ ขอนแก่น ราชบุรี ลพบุรี และกาญจนบุรี เครื่องป�นดินเผาที่พบมีรูปทรง
ลวดลายท่ีแปลกตา มกี ารเขียนสีทีแ่ ปลกพิสดารพบทต่ี ำบลบ้านเชยี ง อำเภอหนองหาน จงั หวัดอดุ รธานี มนุษย์
ยคุ หนิ ใหมม่ พี ัฒนาการทางสตปิ �ญญาจากหลักฐานที่พบซากเคร่ืองจักสานไม้ไผล่ ายขดั ท่ีมอี ายุเกา่ กว่าท่ีพบท่ีอื่น
ในโลก รจู้ ักสรา้ งบา้ นและประดิษฐส์ งิ่ สวยงามประดบั ร่างกายแสดงว่าในยคุ นีม้ ีการพฒั นาจากงานหัตถกรรมให้
เป�นศิลปหัตถกรรมแลว้ โดยใช้องค์ประกอบด้านสุนทรียภาพทางความรู้สึกมาสร้างงานกนั มนุษย์ในสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์มีการเรียนรู้คุณสมบัติพิเศษของวัตถุดิบตามธรรมชาติเช่น แร่ทองแดง เหล็ก ทองเหลืองมาทำ
เป�นเครื่องมือเครื่องใช้และมีการทำถ่านที่ใชส้ ำหรับวาดรูปบนผนังถำ้ จากการนำไม้หรือกระดูกสัตว์มาเผาและ
บดให้เป�นผง ผสมยางไม้ ไขสัตว์ และการทำสีวาดรูปที่ผลิตมาจากดินแดง ดินเหลือง มาบดเป�นผงผสมยางไม้
กับน้ำผ้ึง ซึ่งในประเทศไทยพบพบภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์หลายแห่ง ได้แก่ ภาพเขียนบนหน้าผาปู
ปลาร้า อำเภอทบั ทนั ลานสัก บา้ นไร่ จังหวัดอุทยั ธานี ภาพเขียนบนหลืบผาใกล้นำ้ ทะเล จังหวัดพังงาเปน� ต้น

14

ภาพประกอบ 1 ภาพแสดงเครือ่ งปน� ดนิ เผาทบ่ี ้านเกา่ จ.กาญจนบรุ ี
ทม่ี า : Billgossman, (2018). เครือ่ งปน� ดินเผา บา้ นเก่า กาญจนบุรี ประวัตยิ าวนานถึงยคุ หนิ . สบื คน้ จาก

HTTPS://GOSSMANPOTTERY.COM/BAN-GAO-POTTERY/

ในสมัยประวัติศาสตร์เมื่อประมาณ 1,000ป�ที่แล้ว มนุษย์เริ่มมีความสามารถในการทำงาน
ศิลปหัตถกรรมหลายชนิดมากขึ้น เช่น เครื่องป�นดินเผา เครื่องจักสาน การถักทอ การหล่อหลอมโลหะ เช่น
งานหัตถกรรมโลหะท่บี า้ นปะอาว ตำบลหนองขอน อำเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี

จากประวัติศาสตร์ความเป�นมาของงานหัตถกรรมตั้งแต่ยุคหินทั้งหมดพบว่า งานหัตถกรรม
ประเภทจักสานเป�นประเภทงานหัตถกรรมที่มีอายุเก่าแก่มากที่สุด ในประเทศไทยพบซากเครื่องจักสานไม้ไผ่
ลายขัดวางไว้ใกล้กับโครงกระดูกยุคหินใหม่ที่ถ้ำแห่งหนึ่งในอำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งมีอายุ
ประมาณ 4,000 ป�เก่ากว่าที่พบในทวีปแอฟริกาและอเมริกา หัตถกรรมจักสานยังเป�นต้นแบบของหัตถกรรม
การทอผ้า ท่ีซึ่งมีกรรมวิธีการทอเหมือนกับการสาน แค่เปลี่ยนจากเส้นตอกมาเป�นเส้นใยไหมหรือเส้นด้าย
แสดงว่าการสานนน้ั ยงั เป�นต้นแบบของการถกั ทออกี ด้วย

ภาพประกอบ 2 ภาพแสดงหลักฐานวฒั นธรรมไม้ไผแ่ ละการจักสานท่ีเกา่ แก่และสมบรู ณ์ทสี่ ุดทป่ี ระตผู า จ.ลำปาง
ท่ีมา : วรณยั พงศาชลากร, (2550). จักสานไมไ้ ผ่ 3,000 ป� ทอ่ งเที่ยวโบราณคดที ี่...ประตูผา . สืบค้นจาก
HTTP://OKNATION.NATIONTV.TV/BLOG/VORANAI/2007/08/10/ENTRY-4

กิตตพิ งษ์ เกียรติวิภาค (2559) กลา่ วว่างานศลิ ปหตั ถกรรมไทยน้ันได้รบั การสืบทอดมาต้ังแต่สมัย
อาณาจักรสุโขทัยพ.ศ. 1792 อาณาจักรอยุธยา จนถึงยุครัตนโกสินทร์ โดยมีแกนนำทางวัฒนธรรมที่สำคัญคือ
ชาติ ศาสนาพุทธ และพระมหากษัตรยิ ์ ทำใหผ้ ลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยน้ันถกู แบง่ ออกไดเ้ ปน� หลายระดับตั้งแต่

15

ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน จนถึงศิลปหัตถกรรมชั้นสูง Petcharanonda, Tantinipankul and Wongreun

(2017) อ้างว่างานศิลปหัตถกรรมของไทยในยุคต้นตั้งแต่สมัยสุโขทัยมีการหยิบยืมและดัดแปลงผสมผสานมา

จากหลากหลายวฒั นธรรมโดยเฉพาะวัฒนธรรมชาม เขมรและจีน

ทางฝ�งทวีปยุโรปในช่วงค.ศ.1880-1900 ในประเทศอังกฤษได้เกิดขบวนการศิลปหัตถกรรม

(Arts and Crafts Movement) ซึง่ เป�นกลุ่มทีเ่ กดิ จากการรวมตวั กนั ของศลิ ป�น นกั ออกแบบ นกั วิชาการศลิ ปะ

กลุ่มหนึ่งที่กังวลว่าศิลปหัตถกรรมที่เป�นงานฝ�มือของช่างดั้งเดิมจะสูญหายไปเพราะผลกระทบจากการปฏิวัติ

อุตสาหกรรม 3 จึงได้ร่วมกันรณรงค์ให้เกิดการอนุรักษ์ฝ�มือช่างของแต่ละท้องถิ่นเอาไว้ แนวคิดนี้ได้แพร่ไปยัง

2

ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ศิลปะและวัฒนธรรมตะวันตกกำลัง

หลั่งไหลเข้าประเทศมากมายส่งผลกระทบตอ่ ศิลปหตั ถกรรมประจำชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาล

ที่ 5 จงึ โปรดเกล้าฯ ตั้งสโมสรชา่ งในป�พ.ศ.2451 และยกฐานะเป�นโรงเรียนหัตถกรรมราชบูรณะในสมัยรัชกาล

ที่ 6 และทรงพระราชทานชื่อใหม่ว่า โรงเรียนเพาะช่าง เพื่อให้เป�นโรงเรียนสำหรับฝ�กหัดช่างหัตถกรรมของ

สยามและเป�นขบวนการเคลื่อนไหวด้านศิลปหัตถกรรมของประเทศอีกด้วย (วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2553) ในสมัย

รัชกาลที่ 5 ประเทศทางยุโรปส่วนใหญ่เข้ามาล่าอาณานิคม งานหัตถกรรมไทยถือว่าเป�นส่วนหนึ่งที่ได้รับการ

นำมาแสดงว่าเป�น สัญลักษณ์ของประเทศที่มีอารยธรรมในการต่อสู้กับลัทธิล่าอาณานิคมในขณะนั้น

(Petcharanonda, Tantinipankul & Wongreun, 2017)

ในช่วงป�ค.ศ.1960 ถึงค.ศ. 1970 ภายหลังสงครามเวียดนาม งานหัตถกรรมของไทยยงั ไดร้ บั การ

ฟ�นฟูและส่งเสริมให้เป�นเอกลักษณ์ของชาติตามแผนและนโยบายของรัฐบาลในยุคนั้น เมื่อย่างเข้าสู่ป�ค.ศ.

2000 มีการพัฒนาเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานที่นำประเทศไทยเปลี่ยนจากประเทศเกษตรกรรมเป�น

ประเทศอุตสาหกรรม สนิ ค้างานหัตถกรรมไทยต่างไดร้ ับผลกระทบจากยอดขายตกต่ำ และขาดแคลนช่างฝ�มือ

ในการผลติ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงมีบทบาทสำคัญตอ่ การส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมปิ �ญญาไทยมากมาย เม่ือ

พระองค์เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่าง ๆ ทรงเห็นลักษณะของภูมิป�ญญาในงาน

หัตถกรรมในแต่ละท้องถิ่น และทรงตระหนักว่าภูมิป�ญญานี้เป�นมรดกของชาติที่คนไทยต้องช่วยกันอนุรักษ์ไว้

เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติต่อไป โดยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 ทรง

ส่งเสริมและอนุรักษ์งานหัตถกรรมพื้นบ้านมากมายด้วยการจัดตัง้ มูลนิธิโครงการศิลปาชีพ เพื่อส่งเสริม รับซ้ือ

ผลงานหตั ถกรรมไทย ทำใหป้ ระชาชนมอี าชีพและสร้างรายได้จากการขายสินค้างานหัตถกรรมอย่างกว้างขวาง

จนมาถงึ ปจ� จุบัน

ปจ� จุบนั ความกา้ วหนา้ ของอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยีต่างๆในโลกมีมากข้ึน ผลติ ภณั ฑ์สินค้างาน

หัตถกรรมแบบดั้งเดิมเป�นที่ต้องการน้อยลง เพราะอาจไม่เหมาะสมกับการใช้งานในยุคสมัยที่เปลี่ยนไป งาน

3 การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม (Industrial Revolution) หมายถงึ กระบวนการเปลย่ี นแปลงในระบบการผลติ จากเดมิ ระบบการผลติ ทม่ี กั ทํา
กนั ภายในครอบควั มพี ่อคา้ คนกลางเป็นนายทนุ การผลติ สนิ คา้ ใชแ้ รงงานคน แรงงานสตั วร์ วมทงั้ พลงั งานจากธรรมชาตดิ ว้ ยเคร่อื งมอื
แบบง่ายๆ เปล่ยี นมาเป็นการใชเ้ คร่อื งจกั รกลแทนทําใหม้ กี ําลงั ผลติ สงู จนเกดิ เป็นการผลติ ในระบบโรงงาน (Factory System) การ
ปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรมครงั้ แรกเกดิ ในประเทศองั กฤษในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 18 และไดแ้ พร่ขยายไปยงั ประเทศตะวนั ตกอ่นื ๆทวั ่ โลก การ

ปฏิวตั ิอุตสาหกรรมนับเป็นปรากฏการณ์ใหม่ท่ีมีผลกระทบส่งผลต่อการเมอื งการปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ และวฒั นธรรมของ
มนุษยชาตทิ วั ่ โลก (ธรี ารตั น์ ทพิ ยจ์ รสั เมธา, 2563)

16

ศิลปหัตถกรรมแบบดั้งเดิมควรจะตอบสนองต่อความต้องการใช้สอยของมนุษย์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ด้วย
การพฒั นาคณุ ภาพและความงามให้ได้มาตรฐานแบบสากล แนวทางการออกแบบหัตถอตุ สากรรม (Industrial
Craft Design) จึงเกดิ ข้นึ เพอ่ื พฒั นาสินค้างานหตั ถกรรมไทยสูก่ ารผลิตเชิงอุตสาหกรรม โดยมีรปู แบบทีท่ ันสมัย
เหมาะกับวถิ ชี ีวติ รว่ มสมัยมากขึ้น (กติ ติพงษ์ เกียรติวภิ าค, 2559)

2. ความสำคญั ของงานศลิ ปหัตถกรรมไทย

2.1 บทบาทและคุณค่าความสำคญั ของงานศลิ ปหัตถกรรมไทย
ภริตพร แกว้ แกมเสอื (2562) กลา่ วว่า คณุ ค่าของงานศิลปหัตถกรรมไทยสามารถแบง่ ออกได้ ดังนี้
1. คุณคา่ ทไี่ ด้จากประโยชนใ์ ชส้ อย (Functional Value) ท่ีใชใ้ นการดำรงชวี ิตในด้านตา่ ง ๆ เช่น
เพื่อใช้ในการ อุปโภคบริโภค ใช้ในการประกอบอาชีพและคุณค่าทางจิตใจ เช่น เครื่องใช้ ที่ใช้ในพิธีกรรมทาง
ศาสนา ความเชอื่ และขนบประเพณี
2. คุณค่าทางความงามและศิลปะ (Aesthetic Value & Artistic Value) ที่เกิดจากการเลือกใช้
รูปทรง โครงสรา้ ง และลวดลาย ความประณตี ละเอยี ดอ่อน การแสดงออก ทางอารมณ์และศิลปะประกอบกัน
เปน� รูปทรง โครงสร้างและลวดลายทเี่ หมาะสม ลงตัวมคี วามงามทเ่ี รยี บง่าย
3. คุณค่าในฐานะที่เป�นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สะท้อนให้เห็นภูมิป�ญญาของชาวบ้านใน
ท้องถิ่นต่าง ๆ ในการคัดสรรวัตถุดิบ การนำมาดัดแปลงแปรรูปเป�นวัสดุเพื่อใช้ ทำเครื่องจักสานด้วยวิธีง่าย ๆ
แต่มรี ปู แบบและประโยชนใ์ ชส้ อยทีส่ มบรู ณ์
คุณค่าของศลิ ปหัตถกรรมไทยพ้นื บา้ นมดี ังน้ี
1. คุณค่าในการแสดงออก ซึ่งงานศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้านมีแนวคิดในการออกแบบอย่าง
ตรงไปตรงมาเน้นด้านประโยชน์ใช้สอย จึงมีรูปแบบที่เรียบง่ายไม่เน้นความสวยงามตามหลักสุนทรียศาสตร์
ประชาชนสามารถรับรู้ได้งา่ ย
2. คุณค่าของลักษณะเฉพาะถิ่น ที่สะท้อนให้เห็นถึงค่านิยม ความเชื่อ วิถีชีวิต ขนบธรรมเนีบม
ประเพณี และรสนิยมของแต่ละทอ้ งถนิ่ ทแ่ี ตกตา่ งกนั แมจ้ ะใช้กรรมวิธีการผลิตแบบเดยี วกนั
3. คุณค่าทางภูมิป�ญญา การเลือกวัตถุดิบในท้องถิ่นมาใชอ้ ย่างเหมาะสมทีส่ ะทอ้ นถึงความฉลาด
ของชา่ ง เช่น การทำหมาจากเพ่ือใชต้ กั น้ำของภาคใตท้ ี่เกิดจากการนำใบจากอ่อนมาสอดเรยี งเขา้ ด้วยกัน

3. ประเภทของงานศิลปหตั ถกรรมไทย

3.1 การแบ่งประเภทของงานศลิ ปหัตถกรรมไทย
วิบลู ย์ ลส้ี วุ รรณ (2553) อา้ งวา่ ศิลปหัตถกรรมไทยสามารถแบ่งไดเ้ ป�น 2 ประเภทใหญ่ ไดแ้ ก่
1. ศิลปหัตถกรรมของชนชั้นสูง หรือเรียกว่า ศิลปะราชสำนัก (Court Art) หรือบางทีเรียกว่า
ประณีตศิลป์ (Minor Art)
2. ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน / ศิลปะชาวบ้าน / ศิลปะพื้นบ้าน (Folk Art) / ศิลปะพื้นถิ่น
(Vernacular Art) ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านมาจากคำว่า ศิลปะพื้นบ้าน + หัตถกรรมพื้นบ้าน หมายถึงศิลปะ
ประเพณีพื้นฐานของชาวบ้านทั่วไปโดยไม่ปรากฎตัวผู้สร้างงาน และเน้นที่ประโยชน์ใช้สอยเป�นหลักมากกว่า

17

ความสวยงาม ยังแสดงถึงภูมิป�ญญาที่แฝงด้วยปรัชญาในการดำเนินชีวิตที่เน้นความสมถะเรียบง่ายและยังมี
ความเหมาะสมต่อลกั ษณะภูมปิ ระเทศและภูมิอากาศอีกดว้ ย (ภรติ พร แกว้ แกมเสือ, 2562)

ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านเป�นงานที่สร้างขึ้นตามความพอใจของผู้สร้างงาน หรือเพื่อสนองตอบต่อ
ประโยชน์ใช้สอยหรือความต้องการของชุมชนในท้องถิ่นสะท้อนถึงกรอบประเพณี ไม่ได้ให้ความสำคัญกับ
ผู้สร้างงาน ซึ่งผู้สร้างงานส่วนใหญ่ทำงานจากความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่ได้รับการฝ�กฝนสืบต่อกันมา
มากกว่าการสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านเป�นสิ่งที่สะท้อนวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของ
ประชาชนท่วั ไปและเปน� ส่ิงท่ีแสดงถงึ รากเหง้าของศลิ ปะประจำชาติ

การแบง่ ประเภทของศลิ ปหตั ถกรรมพนื้ บ้านสามารถแบ่งออกได้เปน� 3 ประเภทใหญ่ ดงั น้ี
1. แบ่งตามประเภทของวัตถดุ ิบในการผลติ ดงั น้ี

1.1 เคร่อื งหนังเช่น หนงั วัว หนงั ควาย หนงั งู
1.2 เครอ่ื งป�นดินเผาประเภทต่าง ๆ ทัง้ เผาดิบ เผาเคลอื บ
1.3 เคร่ืองไม้ เปน� เครอ่ื งใชไ้ มส้ อยทำดว้ ยไม้เนอ้ื อ่อน และไม้เนื้อแข็ง
1.4 เครือ่ งไมไ้ ผแ่ ละหวาย สว่ นใหญ่เป�นเคร่อื งจกั สาน
1.5 เครื่องรัก เป�นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ยางรักมาทาทับหรือเคลือบเพื่อรักษาเนื้อไม้ กระดาษ
ผ้า กระเบอ้ื งหรือโลหะ
1.6 เครื่องหล่อ เป�นการจำลองรูปพรรณลวดลายหรือภาชนะต่าง ๆ จากรูปหุ่นที่สร้าง
เปน� แบบ ซึง่ ทำดว้ ยโลหะ ปนู หรอื ทราย
1.7 เคร่ืองทอ-ยอ้ ม จากเสน้ ใยธรรมชาตหิ รือใยสังเคราะห์มาเป�นวัสดุ ใยธรรมชาติ ได้แก่
ฝ้าย ปอ ปา่ น ไหม ใยสงั เคราะห์ ได้แก่ เรยอน ไนล่อน ใยแก้ว ผลผลิตจากการทอย้อม เชน่ เสอ้ื ผ้า กระเป๋า
1.8 เครื่องโลหะ เป�นการใช้โลหะเป�นส่วนประกอบสำคัญในการผลิต เช่น วิธีผลิตแบบ
โลหะแผ่น โลหะรูปพรรณ เครื่องถม โลหะที่นำมาใช้มีหลายชนิด ได้แก่ เหล็ก สังกะสี ดีบุก ทองแดง
อะลูมเิ นียม
2. แบง่ ตามลกั ษณะการใชส้ อย โดยเน้นทป่ี ระโยชน์การใชส้ อยเป�นหลกั ดงั นี้
2.1 หัตถกรรมท่ใี ช้เป�นพาหนะทางบกและทางน้ำ เชน่ เกวยี น เรอื เปน� ต้น
2.2 หัตถกรรมที่ใช้ในการทำไร่ ทำนา เช่น ไถ คราด แอก กระออม กระพร้อมใส่ข้าว
กระบุง ตะกร้า เป�นตน้
2.3 หตั ถกรรมท่ใี ชเ้ ปน� เครือ่ งจบั สตั ว์ เชน่ แห อวน ลอบ ไซ
2.4 หัตถกรรมที่ใช้สอยประจำวัน เช่น เครื่องถ้วยชาม เครื่องทองเหลือง เชี่ยนหมาก
สำรบั ข้าว เปน� ต้น
2.5 หัตถกรรมที่เกี่ยวกับการพักผ่อนหย่อนใจ ได้แก่ เครื่องดนตรี เช่น ป� กลอง ซอ ทับ
เปน� ตน้
2.6 หัตถกรรมที่เกี่ยวกับพิธีกรรมทางศาสนาและการศึกษาเล่าเรียน เช่น ภาพพระบฏ
ภาพชาดก สมุดข่อย บุษบกพนมพระ บษุ บกต้ังอฐั ิผตู้ าย เป�นตน้

18

2.7 หตั ถกรรมทีเ่ ปน� อตุ สาหกรรมในครวั เรือน เช่น การทอผ้า ทอเส่ือ ทำเครือ่ งปน� ดนิ เผา
เป�นตน้

3. แบง่ ตามประเภทของกรรมวธิ ีในการผลติ ไดแ้ ก่
3.1 ภาพเขียน ได้แก่ ภาพวาดระบายสีในโบสถ์ วิหาร หอไตร ศาสนสถาน อาคาร

บา้ นเรอื น ยานพาหนะ ฯลฯ
3.2 งานป�น หล่อ และแกะสลัก ได้แก่ งานป�นดินเหนียว ปูน ไม้แกะสลัก รูปหล่อโลหะ

พระพทุ ธรปู รปู เคารพ และลวดลายตกแตง่ ต่าง ๆ
3.3 อาคารและสิ่งก่อสร้าง ได้แก่ การสร้างบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ศาสนสถาน

สถาปต� ยกรรมตา่ งๆ
3.4 เครื่องป�นดินเผา ได้แก่ งานป�นดินเผาที่เป�นสีอิฐ หรือที่ป�นด้วยมือหรือป�นด้วยแป้น

หมุนท่ผี ่านการเผาโดยใชเ้ ตาเผาแบบตา่ ง ๆ
3.5 เครื่องจักสาน ได้แก่ เครื่องจักสานไม้ไผ่ที่สามารถพบเห็นได้ในทุกภาคของประเทศ

ไทย และเครื่องจักสานที่ใช้วตั ถดุ ิบอ่ืน ๆ ในการผลติ
3.6 เครื่องถักทอ ได้แก่ งานทอผ้าและการถักทอประเภทต่าง ๆ ซ่ึงแต่ละภาคแต่ละ

ท้องถิน่ จะมวี ิธีการทอท่เี ปน� เอกลกั ษณ์แตกต่างกันไป
3.7 เครื่องรัก หรือเครื่องเขิน ได้แก่ เครื่องใช้ที่นำเครื่องจักสานหรือเครื่องไม้มาเคลือบ

ด้วยยางรัก
3.8 เครื่องโลหะ ได้แก่ งานศิลปหัตถกรรมที่ผลิตด้วยโลหะชนิดต่างๆ เช่น เหล็ก

ทองแดง ทองคำ เงิน สมั ริด
3.9 เครอื่ งหนงั ไดแ้ ก่ งานศลิ ปหตั ถกรรมที่แปรรปู หนังสตั ว์มาเปน� เครื่องมอื เครอ่ื งใช้หรือ

อปุ กรณ์ส่วนประกอบในการแสดงพนื้ บา้ นของแตล่ ะท้องถ่ิน
3.10 เครื่องไม้ ได้แก่ งานศิลปหัตถกรรมที่นำไม้มาแปรรูปเป�นเครื่องมือเครื่องใช้ ของ

ตกแต่ง เครอื่ งบชู า เกวียน เฟอรน์ ิเจอร์ เคร่อื งเรอื นตา่ ง ๆ
3.11 ประเภทเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ได้แก่ งานศิลปหัตถกรรมอื่นๆที่นอกเหนือไปจาก 10 ข้อ

ข้างต้น เช่น งานแกะสลกั เครอื่ งสด งานแทงหยวก งานใบตอง งานกระดาษ ฯลฯ
ซึ่งในการเรียนวิชาการออกแบบศิลปกรรม วิชานี้นั้น การเรียนการสอนส่วนใหญ่จะเน้นและให้

น้ำหนักไปในด้านงานศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้านมากกว่าศิลปหัตถกรรมของชนชั้นสูง เนื่องจากผลงาน
ศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้านนั้นมีข้อมูลปรากฎในทั่วทุกภาคของประเทศไทย สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มี
ข้อมูลในการศึกษาค้นคว้ามากกว่าและมีความหลากหลายในเรื่องของการออกแบบ การใช้วัสดุและกรรมวิธี
การผลิตที่เหมาะสมต่อการเรยี นรู้สำหรับนสิ ิตเอกการออกแบบผลติ ภัณฑไ์ ดเ้ ปน� อย่างดี

19

4. ลกั ษณะเฉพาะของงานศิลปหตั ถกรรมไทยพ้นื บา้ น

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ (2553) สรุปว่า ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านสะท้อนถึงค่านิยม วิถีชีวิต
ขนบธรรมเนียมประเพณี และความเชื่อของท้องถิ่น ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการผลิตที่แตกต่างจากงานศิลปะ
ประเภทอน่ื ๆ ทำใหศ้ ลิ ปหตั ถกรรมพ้นื บา้ นมลี ักษณะเฉพาะตวั ท่โี ดดเดน่ ดังนี้

1. ศลิ ปหตั ถกรรมพ้นื บ้านเป�นการผลิตเพ่ือการใช้สอย หรือเพอ่ื การแลกเปล่ยี นกบั ป�จจัยในการ
ดำรงชพี ทจ่ี ำเป�นอน่ื ๆ

2. ศิลปหัตถกรรมพืน้ บ้านสว่ นมากทำด้วยมอื และใชเ้ คร่ืองมอื พืน้ บา้ นในการผลติ ส่งผลทำใหไ้ ม่
สามารถผลิตจำนวนมากได้

3. ศิลปหัตถกรรมพนื้ บ้านมีกระบวนการผลติ และกรรมวธิ ีการผลิตสบื ทอดกนั มาจากบรรพบุรษุ
4. ศิลปหัตถกรรมพน้ื บ้านใช้วัสดทุ ี่มีอยู่ในท้องถิ่น ทำใหม้ รี ูปแบบและลกั ษณะเฉพาะถิ่นท่ี
แตกตา่ งกันไป
5. ศิลปหัตถกรรมพน้ื บ้านมลี ักษณะเฉพาะถ่ิน ทเี่ กิดจากองค์ประกอบสำคัญในการสะท้อนวถิ ี
ชวี ิตชุมชน เช่น รูปทรงของกระติบ และเกิดจากขนบธรรมเนียมประเพณคี ตคิ วามเช่ือของทอ้ งถิ่น
6. ศิลปหัตถกรรมพ้ืนบา้ นสร้างข้นึ ตามความต้องการของชุมชนที่มีลักษณะวัฒนธรรมรว่ มกัน
7. ศิลปหัตถกรรมพนื้ บา้ นมีความเรยี บงา่ ยแสดงภาพลักษณ์อย่างซ่ือตรง เนน้ ประโยชน์ใช้สอยที่
สอดคลอ้ งกับวิถชี ีวติ ความเช่ือ ขนบธรรมเนยี มประเพณี
8. ศลิ ปหตั ถกรรมพน้ื บ้านส่วนมากสร้างโดยช่างนริ นามและผู้ใชง้ านหตั ถกรรม โดยไม่สนใจวา่
ใครเปน� ผู้ผลติ
ซึง่ ต้นเหตแุ ละป�จจัยทที่ ำใหเ้ กิดลกั ษณะเฉพาะของศิลปหัตถกรรมพืน้ บา้ น มดี งั น้ี
1. เกิดจากความเช่ือ ขนบประเพณี และวิถชี วี ติ ชมุ ชน
2. เกดิ จากลกั ษณะการใชส้ อยเฉพาะถน่ิ เป�นรปู แบบที่ชุมชนต้องการ
3. เกดิ จากการใชว้ ัตถุดบิ ในท้องถ่ินทม่ี อี ยู่ในแตล่ ะพ้ืนที่
4. เกดิ จากประเพณี และคตนิ ิยมของชุมชน

ภาพประกอบ 3 ภาพแสดงเครื่องจักสาน จ.กาญจนบรุ ี
ท่ีมา : ภมู ิป�ญญาไทย. สบื คน้ จาก HTTP://U2T.BRU.AC.TH/IDTECH/ID10

20

งานศิลปหัตถกรรมในประเทศไทยมีมากมายทั่วทุกภาค ในแต่ละภาคมีลักษณะ รูปแบบ วัสดุ
ตลอดจนกรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างกันไป ในบทต่อไปจะกล่าวถึงงานศิลปหัตถกรรมไทยในแต่ละภาค ซึ่งใน
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ จะแบ่งออกเป�นทั้งหมด 5 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ ซึ่งทำให้การศึกษาเกี่ยวกับงานศิลปหัตถกรรมของไทยนั้นมีความ
ละเอียดและลึกมากยงิ่ ขน้ึ

5. สรุป

ศิลปหัตถกรรม หมายรวมถึงงานหัตถกรรมต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นด้วยมือหรือการใช้เครื่องมือ
อย่างง่าย ๆ มีความงามทางศิลปะ แฝงภูมิป�ญญา ค่านิยมและทักษะเฉพาะตัว ใช้ฝ�มือ สะท้อนค่านิยมของ
ชมุ ชนทอ้ งถิ่น ความรสู้ ึกนกึ คิด จินตนาการ ท้งั นเี้ พ่อื เพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองหรอื ดา้ นประโยชน์

งานศิลปหัตถกรรมไทยมีประวัติศาสตร์อันยาวนานตั้งแต่การพบหลักฐานทางโบราณคดีในยุค
ก่อนประวัติศาสตร์จวบจนถึงป�จจุบัน งานศิลปหัตถกรรมไทยแบบดั้งเดิมถูกปรับเปลี่ยนประยุกต์ให้เข้ากับวิถี
ชีวิตแบบสมัยใหมก่ ลายเป�นงานหัตถอุตสาหกรรมรว่ มสมยั ที่มีการผสมผสานการผลิตในระบบอุตสาหกรรมทำ
ให้ผลิตภัณฑห์ ตั ถกรรมที่ไดม้ คี ุณภาพและความงามตามมาตรฐานสากล

งานศิลปหัตถกรรมไทยมีคุณค่าและความสำคัญมากมาย ได้แก่ คุณค่าที่ได้จากประโยชน์ใช้สอย
คุณค่าทางความงามและศิลปะ คุณค่าในฐานะที่เป�นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ คุณค่าของลักษณะเฉพาะถ่ิน
ที่สะท้อนให้เห็นถึงค่านิยม ความเชื่อ วิถีชีวิต คุณค่าทางภูมิป�ญญาในการเลือกวัตถุดิบในท้องถิ่นมาใช้อย่าง
เหมาะสม

ประเภทของงานศิลปหัตถกรรมไทยแบ่งได้เป�น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ ศิลปหัตถกรรมของชน
ชั้นสูงและศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน ซึ่งประเภทของศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านสามารถแบ่งออกได้เป�น 3 ประเภท
ใหญ่ ได้แก่ แบ่งตามประเภทของวัตถุดิบในการผลิต แบ่งตามลักษณะการใช้สอย และแบ่งตามประเภทของ
กรรมวิธีในการผลิต ซึ่งในการเรียนของเอกการออกแบบผลิตภัณฑ์ในวิชาการออกแบบศิลปกรรม วิชานี้นั้น
การเรียนการสอนสว่ นใหญจ่ ะเนน้ และให้น้ำหนักไปในด้านงานศลิ ปหัตถกรรมไทยพืน้ บ้านและเน้นตามการแบ่ง
ตามประเภทของกรรมวิธีในการผลิตมากกกว่า เพื่อให้นิสิตได้เรียนรู้ เข้าใจในวัสดุ ลักษณะรูปแบบการผลิต
และขน้ั ตอนการสร้างสรรคผ์ ลงานไดม้ ากขนึ้

ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านมีลักษณะเฉพาะตัวที่โดดเด่นหลายประการ ลักษณะที่โดดเด่นที่สำคัญ
คือ ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านเป�นการผลิตเพ่ือการใช้สอย ซึ่งส่วนมากทำด้วยมือและใช้เครื่องมือพื้นบ้านในการ
ผลิต มีการใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น ทำให้มีรูปแบบและลักษณะเฉพาะถิ่นที่แตกต่างกันไป มีความเรียบง่าย
แสดงความซอื่ ตรง

21

6. คำถามท้ายบท

1. ใหน้ สิ ติ อธบิ ายความหมายของคำวา่ “ศิลปหตั ถกรรม” ตามความเขา้ ใจของตนเอง
2. ให้นิสิตเลือกคุณค่าของศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้านข้อที่ประทับใจมากที่สุด พร้อมอธิบาย
เหตผุ ลและยกตวั อย่าง
3. ให้นสิ ิตหาข้อมลู เก่ยี วกบั ผลิตภณั ฑห์ ัตถกรรมพ้นื บ้านไทยตามการแบ่งประเภทของกรรมวิธีใน
การผลิตในแต่ละข้อ ข้อละ 5 ผลิตภัณฑ์ พร้อมหาภาพประกอบและอธิบายข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ช่ือ
ผลิตภัณฑ์ แหลง่ กำเนิด วสั ดุท่ใี ช้ และขั้นตอนกรรมวธิ ีการผลิต เปน� ตน้

7. แบบฝ�กหดั ปฏิบัติงานออกแบบทา้ ยบท

1. ให้นิสิตออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 ชิ้น โดยใช้แรงบันดาลใจจากผลิตภัณฑ์หัตถกรรมพื้นบ้านไทย
ตามทไ่ี ด้หาขอ้ มูลมาในการทำคำถามทา้ ยบท

22

บทท่ี 2
ศิลปหตั ถกรรมไทยภาคเหนอื

แผนการสอนครั้งที่ 3 - 4

หัวขอ้ ศิลปหตั ถกรรมของไทยภาคเหนอื
ผ้สู อน อาจารย์ ดร.พรนารี ชัยดิเรก

เวลา 480 นาที

วตั ถุประสงค์
ครงั้ ที่ 3
1. เพ่ือให้นสิ ิตเข้าใจความหมาย ความสำคญั และประเภทของงานศลิ ปหตั ถกรรมของไทย
ภาคเหนอื

2. เพื่อให้นิสิตเขา้ ใจและเรยี นร้ผู ลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคเหนือ
ครัง้ ท่ี 4
1. เพือ่ ใหน้ ิสิตเขา้ ใจตัวอยา่ งผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคเหนือ
2. เพ่ือให้นิสิตเรียนรู้จากผลงานการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคเหนือ

เน้ือหา
คร้ังท่ี 3
1. กำเนิดงานหตั ถกรรมไทยภาคเหนอื
1.1 ป�จจัยทีเ่ ก่ยี วข้องในการผลติ ผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคเหนอื

2. ภูมิป�ญญาในการสร้างสรรค์งาน

2.1 การสร้างสรรค์ผลงานจากภมู ปิ �ญญา
คร้ังท่ี 4
1. แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคเหนือ

1.1 แนวทางการศกึ ษาผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคเหนอื
1.2 ตัวอยา่ งการศกึ ษาผลงานการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยภาคเหนือ

2. สรปุ ศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคเหนือ

การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ 15 นาที
คร้งั ท่ี 3 60 นาที
1. อธบิ ายวัตถุประสงค์และเน้ือหาโดยรวม 150 นาที
15 นาที
2. บรรยายเนอ้ื หาและหัวข้อต่าง ๆ

3. ศึกษาเรียนรูผ้ ลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคเหนือ

4. นิสิตซกั ถามปรึกษาเนื้อหาการเรียน

24


Click to View FlipBook Version