The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานPA2565ครูปรายฝน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Praiphones, 2022-09-14 19:20:15

รายงานPA2565ครูปรายฝน

รายงานPA2565ครูปรายฝน

Keywords: รายงานPAปรายฝน2565





รายงานผลการดำเนนิ งาน
การพัฒนางานตามขอ ตกลง (Performance Agreement : PA )

สำหรบั ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ตำแหนงครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2565

ระหวางวนั ท่ี 1 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ที่ 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ.2565

นางสาวปรายฝน โพธิเ์ วยี งคำ
ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ

กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร

โรงเรยี นบา นถ่นิ สุขาวิทยา
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คำนำ
รายงานผลการดำเนินงานการพัฒนางานตามขอตกลง (Performance Agreement : PA ) สำหรับ
ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนงครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ประจำปงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ระหวา งวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ.2565 ฉบบั นี้
จัดทำขึ้นเพื่อสรุปผลการดำเนินงานตามขอตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA )
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหวางวันท่ี 1 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน
พ.ศ.2565 ของนางสาวปรายฝน โพธิ์เวยี งคำ ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ และใชเปน คณุ สมบัติ
ในการดำรงอยซู ่งึ วิทยฐานะของ ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา รวมถงึ การประเมินเพ่ือประกอบการ
เลื่อนเงินเดอื น ซึ่งรายงานฉบับนี้ไดสรุปผลการดำเนินงานตามขอตกลงในการพัฒนางานทั้ง 2 ดาน คือ ดาน
การพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง และดานการพัฒนางานที่เปนประเด็นทาทายในการพัฒนาผลลัพธการ
เรยี นรูของผูเรยี น ในรอบปงบประมาณ 2565 เปน ที่เรียบรอ ยแลว

ขอมูลที่ไดจากรายงานผลการดำเนินงานการพัฒนางานตามขอตกลง (Performance
Agreement : PA ) ในครั้งนี้ ขาพเจาจะไดนำไปใชเปนแนวทางในการปรับปรุงเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานที่
ไดรับมอบหมาย เพื่อสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของผูเรียนใหสูงขึ้น และพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาตอไป

นางสาวปรายฝน โพธิ์เวยี งคำ
ตำแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ



สารบัญ

เรือ่ ง หนา
สว นนำ : ขอ มลู ทั่วไปของผูร ายงาน .............................................................................................................. 1

1. ขอ มลู ทวั่ ไป............................................................................................................................................. 1
2. คุณวฒุ ิ.................................................................................................................................................... 1
3. ประเภทหองเรยี นท่ีจัดการเรยี นรู ........................................................................................................... 1
สวนท่ี 1 : การพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหนง......................................................................................... 2
1. ภาระงาน................................................................................................................................................ 2

1.1 ชั่วโมงตามตารางสอน ...................................................................................................................... 2
1.2 งานสง เสรมิ และสนบั สนุนการจดั การเรียนรู ..................................................................................... 3
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา........................................................................ 3
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน ................................................................................................... 3
2. การปฏบิ ตั งิ านและผลการปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานตำแหนง ................................................................... 4
สว นที่ 2 : การพฒั นางานทเี่ ปน ประเด็นทา ทายในการพฒั นาผลลัพธก ารเรยี นรขู องผูเรยี น...................... 25
1. สภาพปญหาการจัดการเรียนรแู ละคณุ ภาพการเรยี นรูของผเู รียน.......................................................... 25
2. วิธกี ารดำเนินการใหบรรลผุ ล................................................................................................................ 25
3. ผลลัพธการพฒั นา ................................................................................................................................ 26
ภาคผนวก.....................................................................................................................................28

1

รายงานผลการดำเนินงานการพฒั นางานตามขอตกลง (PA)
สำหรบั ขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ

(ทุกสังกัด)
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา งวันที่ 1 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ.2565

สวนนำ : ขอมลู ทัว่ ไปของผูรายงาน

1. ขอ มูลทวั่ ไป
ช่อื ผูขอ นางสาวปรายฝน นามสกลุ โพธเ์ิ วียงคำ อายุ 38 ป
ตำแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ ตำแหนง เลขท่ี 5437
สถานศกึ ษา โรงเรียนบา นถ่นิ สุขาวทิ ยา สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1
สว นราชการ สำนกั งานการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน รับเงินเดือนอันดับ คศ.3 อัตราเงินเดอื น 34,410 บาท
ไดรบั แตง ต้งั ใหด ำรงตำแหนง และวิทยฐานะปจ จุบัน เมอ่ื วนั ท่ี 4 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2561
2. คุณวุฒิ
1) มีวฒุ ปิ รญิ ญาตรี ศกึ ษาศาสตรบ ณั ฑติ วชิ าเอก/สาขา/โปรแกรมวิชา การประถมศึกษา

จากสถาบนั การศกึ ษา มหาวิทยาลยั ขอนแกน ประเทศ ไทย เม่อื วันท่ี 29 มนี าคม 2550
2) มีวุฒิปรญิ ญาโท .ศึกษาศาสตรม หาบัณฑิต วชิ าเอก/สาขา/โปรแกรมวิชา หลักสตู รการสอน (วชิ าเฉพาะการสอน
คณิตศาสตร) จากสถาบันการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน ประเทศ ไทย เมอ่ื วนั ท่ี 29 มนี าคม 2557
3) มวี ุฒปิ รญิ ญาเอก..............-................วิชาเอก/สาขา/โปรแกรมวิชา..............-.......................

จากสถาบนั การศกึ ษา.....................-.................... ประเทศ..............-........... เมื่อวันท.ี่ ..........-...........
4) ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ครู เลขท่ี 65401640287168 ออกใหเมอื่ วันท่ี 20 เมษายน 2565
วนั /เดือน/ป ท่หี มดอายุ 19 เมษายน 2570

3. ประเภทหองเรียนทีจ่ ัดการเรยี นรู
 หอ งเรยี นวิชาสามัญหรอื วิชาพ้นื ฐาน
 หอ งเรียนปฐมวัย
 หองเรียนการศึกษาพิเศษ
 หองเรียนสายวิชาชีพ
 หองเรยี นการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศยั

2

สว นท่ี 1 : การพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง

1. ภาระงาน
ภาระงาน  เปน ไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด  ไมเ ปน ไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ดงั น้ี

1.1 ชัว่ โมงตามตารางสอน

ปการศกึ ษา วชิ า/สาขา/กลมุ สาระการเรยี นรู ช้นั /ระดับ จำนวนชั่วโมงสอน
ป.2 (ช่ัวโมง/สปั ดาห)
2/2564 สาระการเรียนรภู าษาไทย/วิชาภาษาไทย ป.2
1/2565 สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร/ วชิ าคณิตศาสตร ป.2 5
สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลย/ี วิชาวทิ ยาศาสตร ป.2 5
สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม/ 2
วชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.2 2
สาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม/
วิชาประวตั ศิ าสตร ป.2 1
สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม/
วิชาหนาทพี่ ลเมือง ป.2 1
สาระการเรียนรูศลิ ปะ/วิชาศิลปะ ป.2
สาระการเรยี นรูการงานอาชีพ/วชิ าการงานอาชพี ป.2 2
สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา/วิชาสุขศกึ ษาและ 1
พลศึกษา ป.2 2
กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น/กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ป.2
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน/กิจกรรมชุมนุม ป.2 1
กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น/กจิ กรรมแนะแนว 1
ป.2 1
รวม ภาคเรียนที่ 2/2564 ป.2 24
สาระการเรียนรภู าษาไทย/วชิ าภาษาไทย ป.2 5
สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร/ วิชาคณติ ศาสตร ป.2 5
สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลย/ี วชิ าวทิ ยาศาสตร 2
สาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม/ ป.2 2
วชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
สาระการเรียนรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม/ ป.2 1
วิชาประวัตศิ าสตร
สาระการเรยี นรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม/ ป.2 1
วิชาหนา ที่พลเมอื ง ป.2
สาระการเรยี นรูศ ิลปะ/วิชาศิลปะ 2
สาระการเรยี นรูการงานอาชีพ/วิชาการงานอาชพี 2

3

ปการศกึ ษา วิชา/สาขา/กลุมสาระการเรียนรู ชนั้ /ระดับ จำนวนช่วั โมงสอน
(ชว่ั โมง/สัปดาห)

1/2565 สาระการเรยี นรูสุขศึกษาและพลศกึ ษา/วิชาสขุ ศกึ ษาและ ป.2 2
พลศึกษา
กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น/กจิ กรรมลูกเสือเนตรนารี ป.2 1
กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น/กจิ กรรมชุมนุม ป.2 1
กจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น/กจิ กรรมแนะแนว ป.2 1

รวมภาคเรียนที่ 1/2565 24

1.2 งานสง เสรมิ และสนบั สนุนการจัดการเรียนรู

ปก ารศกึ ษา รายการ จำนวนชว่ั โมงสอน
(ชั่วโมง/สปั ดาห)
2/2564 การมีสวนรวมในชุมชนแหง การเรยี นรู
1/2565 การมสี วนรวมในชมุ ชนแหง การเรียนรู 3
3

1.3 งานพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

ปก ารศกึ ษา รายการ จำนวนชว่ั โมงสอน
(ชั่วโมง/สัปดาห)
2/2564 เจา หนาทก่ี ลุมบรหิ ารงานวิชาการ
2/2565 หัวหนากลุมสาระคณติ ศาสตร 2
1
รวมภาคเรยี นท่ี 2/2564 3
เจา หนา ที่กลมุ บริหารงานวิชาการ 2
หัวหนา กลุมสาระศลิ ปะ 1
1
หัวหนา โครงการประกนั คณุ ภาพภายใน 1
หวั หนาโครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 8 กลุม
สาระ 7

รวมภาคเรียนท1่ี /2565

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน

ปการศึกษา รายการ จำนวนชว่ั โมงสอน
(ชวั่ โมง/สปั ดาห)
2/2564 กิจกรรมลดเวลาเรียน
1/2565 กิจกรรมลดเวลาเรียน 3

5

4

2. การปฏบิ ตั ิงานและผลการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานตำแหนง

การปฏิบตั ิงานและผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นที่ 1 : การจดั การเรยี นรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตวั ชี้วดั เอกสาร/หลักฐาน

ท่ดี ำเนนิ การพฒั นา ผลลัพธ (Outcomes) (Indicators) อางอิง

ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง ทเ่ี กดิ ขึน้ กับผเู รียน

ที่เกดิ ข้นึ กบั ผูเ รยี น ทีแ่ สดงใหเ ห็นถงึ การ

เปลย่ี นแปลงไปในทางท่ี

ดขี ึน้ หรอื มีการพัฒนา

มากขึน้ หรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สูงข้นึ

1.1 สรางและหรือพัฒนาหลกั สูตร

รเิ ริ่ม พัฒนารายวชิ าและหนวยการเรยี นรู ใหสอดคลอ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู และตัวชว้ี ดั หรอื ผลการเรียนรู ตามหลักสตู ร บริบท

ของสถานศึกษา ผูเรยี น และทองถิ่น สามารถแกไ ขปญ หาในการจดั การเรยี นรู เพ่อื ใหผ เู รยี นไดพฒั นาสมรรถนะและการเรียนรูเต็มตาม

ศกั ยภาพสง ผลใหคณุ ภาพการจดั การเรียนรสู ูงข้ึน และเปน แบบอยางทีด่ ี ในการสรา งและหรือพัฒนาหลกั สตู ร

การปฏิบตั ิงานตามระดบั การ

ปฏิบัติการท่ีคาดหวังตามตำแหนง

และวิทยฐานะ

1.จดั ทำและปรบั ปรงุ หลกั สตู ร 1.แกไขปญ หาในการ 1. คณุ ภาพการ 1.หลกั สตู รสถานศกึ ษา
จัดการเรยี นรูสูงขน้ึ 2.หลกั ฐานการเผยแพร
สถานศกึ ษาเปน ประจำทุกปการศึกษา จัดการเรยี นรู เพ่ือให และเปน แบบอยา งท่ี หลักสตู รสถานศกึ ษา
ดใี นการสรางและ 3.หลักสตู รกลมุ สาระ
ไดด ำเนนิ การวเิ คราะหหลกั สูตร ผูเรียนไดพฒั นาสมรรถนะ หรือพฒั นาหลกั สูตร คณิตศาสตรฯ
4. โครงสรางรายวิชา
แกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน และการเรียนรูเต็มตาม 2. นักเรยี นชน้ั และหนวยการเรยี นรวู ชิ า
ประถมศกึ ษาปท่ี 2 คณิตศาสตร ช้ัน ป.2
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง ศกั ยภาพ นำไปใชใ นการ รอยละ 72.73 มี 5. คำส่ังแตง ต้งั หวั หนา
ผลสมั ฤทธ์ิทางการ กลุมสาระ
2560) หลักสตู รสถานศกึ ษาตามสาระ จดั การเรียนรูไดอ ยา ง เรียนระดบั 3 ข้ึนไป 6.คำสง่ั จดั ทำหลักสูตร
สถานศกึ ษา
มาตรฐานการเรียนรู และตวั ช้วี ัดหรอื เหมาะสม ตามบรบิ ทของ 7. ปพ.5 ชนั้ ป.2
ปก ารศึกษา 2564 -
ผลการเรียนรู รวมท้ังจดั ทำคำอธิบาย สถานศกึ ษา และชวงวยั 2565

รายวชิ า ออกแบบหนวยการเรียนรโู ดย ของผูเรียนนำผลไปใชใน

คลอบคลมุ เนอ้ื หาของหลักสตู ร โดย การปรับปรุงหรือพฒั นา

ดำเนนิ การจัดทำหลักสูตรรายวิชา หลกั สตู รในครั้งตอไป

2.จัดทำโครงสรา งรายวิชาและหนวย 2.ผูเรียนชน้ั ประถมศึกษา
การเรยี นรวู ชิ าคณติ ศาสตร ชนั้ ปที่ 2 ปก ารศึกษา 2564
ประถมศึกษาปท่ี 2 ใหสอดคลองกบั มีสมรรถนะการเรยี นรู
มาตรฐานการเรียนรู ตวั ชว้ี ัดตาม ตรงตามมาตรฐานการ
หลักสูตร บรบิ ทสถานศกึ ษา ผูเรยี น เรยี นรูแ ละตวั ชว้ี ัดวิชา
และทองถนิ่ คณติ ศาสตร

5

การปฏบิ ตั ิงานและผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดานที่ 1 : การจัดการเรยี นรู

งาน (Tasks) ผลการปฏิบตั งิ าน/ ตวั ชวี้ ดั เอกสาร/หลกั ฐาน

ทด่ี ำเนินการพฒั นา ผลลัพธ (Outcomes) (Indicators) อา งอิง

ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอตกลง ที่เกดิ ขนึ้ กับผูเรียน

ท่เี กิดขน้ึ กบั ผเู รยี น ที่แสดงใหเห็นถงึ การ

เปลี่ยนแปลงไปในทางที่

ดีขึน้ หรือมีการพฒั นา

มากข้ึนหรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สูงขึน้

การปฏิบตั งิ านท่ีสงู กวาระดบั การ

ปฏิบตั ิการทคี่ าดหวังตามตำแหนง

และวทิ ยฐานะ

1.ปฏบิ ตั ิหนา ทีห่ วั หนา กลุมสาระ 1. ผเู รยี นไดรบั การพัฒนา 1.นักเรียนชัน้ 1. คำสง่ั แตงตั้ง

คณิตศาสตร วิเคราะหห ลักสตู ร เตม็ ตามศกั ยภาพ บรรลุ ประถมศึกษาปที่ 2 คณะกรรมการนเิ ทศ

มาตรฐานการเรยี นรแู ละตัวชี้วัดเพอื่ ตามมาตรฐานการเรียนรู รอยละ 72.73 มี ตดิ ตามการจัดการเรยี น

พัฒนา และจดั ทำหลักสตู รกลุมสาระ ตลอดจนดำเนนิ การบนั ทกึ ผลสมั ฤทธ์วิ ิชา การสอน

วิทยาศาสตรฯ ตามหลักสตู รแกนกลาง และประเมินผลการใช คณิตศาสตร สงู กวาที่ 2.ภาพถายการเปน

การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช หนว ยการเรียนรแู ละนำผล สถานศึกษากำหนด คณะกรรมการนิเทศ

2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช การประเมนิ มาปรบั ปรงุ ตดิ ตาม ใหค ำแนะนำ

2560) พัฒนาใหมีคุณภาพของ ชวยเหลือครผู ูสอนใน

หนวยการเรียนรใู หส งู ข้นึ สถานศึกษาในการจดั ทำ

หลักสูตรกลมุ สาระฯ

2. เผยแพรและใหคำแนะนำ นิเทศ 2. ผเู รยี นไดเ รยี นรูจาก 3. เผยแพรการจดั ทำ

ตดิ ตามในการจดั ทำหลกั สตู รกลุม สาระ หลักสูตรท่ไี ดรับการ หลกั สตู รลุม สาระฯ ผาน

ฯ โครงสรา งรายวิชา และหนวยการ ยอมรับ มมี าตรฐานการวดั ทางออนไลน

เรยี นรูใหกับครูผสู อนในสถานศกึ ษา ประเมนิ ผลการเรยี นรูตาม 4. ปพ.5 (ผลสมั ฤทธ์ิ

และเปนแบบอยางทีด่ ใี หก ับบุคลากร มาตรฐานการเรยี นรขู อง ทางการเรยี นช้ัน

ในสถานศกึ ษาและผูที่สนใจได หลกั สูตรแกนกลาง ประถมศกึ ษาปที่ 2)

การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั

ปรับปรุงพุทธศกั ราช

2560)

6

การปฏิบตั งิ านและผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นที่ 1 : การจัดการเรยี นรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตัวชี้วดั เอกสาร/หลกั ฐาน

ทดี่ ำเนนิ การพัฒนา ผลลัพธ (Outcomes) (Indicators) อางองิ

ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอตกลง ท่เี กิดข้นึ กับผูเ รยี น

ทเ่ี กิดขึ้นกับผูเ รียน ท่ีแสดงใหเ หน็ ถงึ การ

เปลย่ี นแปลงไปในทางที่

ดขี ้นึ หรอื มีการพัฒนา

มากขึน้ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ข้นึ

1.2 การออกแบบการจัดการเรยี นรู

รเิ ริ่ม คดิ คน การออกแบบการจัดการเรยี นรู โดยเนน ผูเรียนเปน สำคญั สามารถแกไขปญหา และพฒั นาคณุ ภาพการจัดการเรียนรู

ใหสูงขึ้น เพื่อใหผูเรียนมีความรู ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค และสมรรถนะที่สำคัญ ตามหลักสูตร มี

กระบวนการคิดและคน พบองคค วามรดู ว ยตนเอง และสรา งแรงบันดาลใจ และเปนแบบอยา งท่ีดใี นการออกแบบการจัดการเรียนรู

การปฏบิ ตั ิงานตามระดบั การ

ปฏบิ ัตกิ ารทคี่ าดหวงั ตามตำแหนง

และวทิ ยฐานะ 1. แผนการจดั การเรียนรู
รายวิชาคณติ ศาสตร ชนั้
1. ดำเนินการจดั ทำและพฒั นาหนว ย 1.นกั เรียนช้ัน 1. นกั เรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปท ่ี 2
2. บนั ทกึ ผลการจัดการ
การเรียนรูท่สี อดคลองกับคำอธิบาย ประถมศกึ ษาปที่ 2 ภาค ประถมศึกษาปท่ี 2 เรยี น
3. รายงานฯ การใช
รายวิชา ธรรมชาตขิ องสาระการเรยี นรู เรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา รอ ยละ 72.73 มีผล เทคนคิ การสอนแบบบาร
โมเดล เพื่อแกปญหา
เหมาะสมกับผเู รียน บรบิ ทของ 2564 โรงเรียนบา นถิ่น การเรียนรูหลงั เรยี น ดานความเขาใจ
ความสัมพันธเรื่อง การ
สถานศกึ ษาและทอ งถิ่น ตามภาระงาน สุขาวทิ ยา รอ ยละ 70 ท่ี ระดับดขี ึน้ ไป แกโจทยปญหาทาง
ค ณ ิ ต ศ า ส ต ร ข อ ง
สอนที่ไดร บั มอบหมาย โดยเลอื ก เรียนในรายวชิ า นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษา
ปท ่ี 2
รปู แบบการจดั การเรียนรแู บบ คณติ ศาสตร มีผลการ

กระบวนการเรยี นรู แบบ Active พัฒนาทกั ษะความรู ความ

Learning และการจัดการเรียนรูแ บบ เขาใจความสมั พนั ธของ

บรู ณาการรวมกันระหวางหนวยการ การแกโจทยปญ หาทาง

เรียนรู และกลมุ สาระการเรยี นรู โดยมี คณติ ศาสตรป ญหาการ

การออกแบบสอ่ื นวตั กรรม เทคโนโลยี บวก มีผลสมั ฤทธ์สิ งู ข้ึน

และการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู

เพอื่ ใหผูเ รียนไดรับการพฒั นาเต็มตาม 2. นักเรยี นชั้น

ศกั ยภาพ บรรลตุ ามมาตรฐานการ ประถมศึกษาปที่ 2 ภาค

เรยี นรูต ลอดจนดำเนินการบันทึก และ เรยี นท่ี 1 ปการศึกษา

ประเมินผลการใชหนว ยการเรียนรูแ ละ 2565 โรงเรียนบา นถนิ่

นำผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงพัฒนา สขุ าวทิ ยา รอ ยละ 70 ที่

ใหม ีคุณภาพของหนว ยการเรียนรใู ห เรยี นในรายวิชา

สูงข้ึน คณติ ศาสตร มีผลการ

7

การปฏบิ ตั งิ านและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดานท่ี 1 : การจัดการเรียนรู

งาน (Tasks) ผลการปฏิบตั งิ าน/ ตัวชี้วัด เอกสาร/หลักฐาน
ผลลัพธ (Outcomes) อางองิ
ทด่ี ำเนินการพฒั นา (Indicators)
ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง
ที่เกดิ ขนึ้ กับผเู รียน ท่ีเกิดข้นึ กบั ผเู รียน
ท่ีแสดงใหเห็นถึงการ
พฒั นาทักษะความรู ความ เปล่ียนแปลงไปในทางที่
เขาใจความสัมพนั ธข อง ดขี ึ้นหรอื มกี ารพัฒนา
การแกโ จทยป ญ หาการ มากข้นึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ
บวก การลบเกีย่ วกบั ความ
ยาวที่มีหนว ยเปนเมตร สงู ขึน้
และเซนติเมตร มี
ผลสัมฤทธ์สิ งู ข้ึน

การปฏิบตั ิงานทสี่ ูงกวา ระดับการ 1. คำสง่ั แตง ตง้ั
ปฏบิ ตั ิการทค่ี าดหวงั ตามตำแหนง คณะกรรมการการ
และวิทยฐานะ ประเมินฯ
1.ปฏบิ ตั ิหนา ที่กรรมการการประเมิน 2.ภาพถายการปฏบิ ัติ
การปฏิบัติงานตามขอ ตกลงในการ หนาทค่ี ณะกรรมการ
พฒั นางาน (PA) โดยการใหค ำปรกึ ษา นเิ ทศฯ
แนะนำ ดูแล และชวยเหลอื ในดานการ
จดั การเรียนการสอนและการ
ปฏบิ ตั ิงานในหนาท่ีอ่นื ๆ

8

การปฏบิ ตั งิ านและผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นท่ี 1 : การจัดการเรยี นรู

งาน (Tasks) ผลการปฏิบตั งิ าน/ ตวั ชีว้ ดั เอกสาร/หลกั ฐาน

ทดี่ ำเนนิ การพัฒนา ผลลพั ธ (Outcomes) (Indicators) อา งอิง

ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง ทีเ่ กิดขน้ึ กบั ผเู รียน

ท่เี กดิ ข้นึ กบั ผูเ รียน ท่แี สดงใหเ หน็ ถงึ การ

เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ี

ดขี ้นึ หรือมีการพฒั นา

มากขึ้นหรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ขนึ้

1.3 การจดั กิจกรรมการเรยี นรู

มีการริเริ่ม คิดคน และพัฒนานวัตกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู ที่สามารถแกไขปญหาในการจดั การเรียนรู ทำใหผูเรียนได

พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรูและทำงานรว มกัน มีกระบวนการคิดและคนพบองคค วามรูดวยตนเอง และสรางแรงบันดาลใจและเปน

แบบอยา งท่ดี ใี นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู

การปฏบิ ตั ิงานตามระดบั การ

ปฏบิ ตั กิ ารท่คี าดหวงั ตามตำแหนง

และวิทยฐานะ

1. จัดกจิ กรรมการเรยี นรูโ ดยใช 1.นักเรียนชน้ั 1. นกั เรยี นชน้ั 1. รายงานฯ การใช
เทคนิคการสอนแบบบาร
รูปแบบเชงิ รกุ (Active Learning) ประถมศึกษาปท ี่ 2 ภาค ประถมศึกษาปท ่ี 2 โมเดล เพื่อแกปญหา
ดานความเขาใจ
รูปแบบการจดั การเรยี นรทู ี่เนนทักษะ เรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา รอยละ 72.73 มผี ล ความสัมพันธเรื่อง การ
แกโจทยปญหาทาง
กระบวนการคดิ (Thinking Based 2564 โรงเรียนบา นถิ่น การเรียนรหู ลงั เรียน ค ณ ิ ต ศ า ส ต ร ข อ ง
นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษา
Learning) ทเ่ี นน วธิ กี ารปฏิบัติและมี สุขาวิทยา รอ ยละ 70 ที่ ระดับดขี ้ึนไป ปท่ี 2
2. คำส่งั แตงตงั้
ความหลากหลาย สอดคลองกับสาระ เรยี นในรายวชิ า คณะกรรมการการนิเทศ

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชวี้ ัดและ คณิตศาสตร มีผลการ 3.ภาพถายการปฏิบัติ
หนา ที่คณะกรรมการ
จดุ ประสงคการเรียนรูใ นแผนการ พฒั นาทักษะความรู ความ นิเทศฯ

จัดการเรียนรู มกี ารอำนวยความ เขา ใจความสัมพนั ธข อง

สะดวกในการเรยี นรู และสงเสรมิ การแกโ จทยป ญ หาทาง

ผเู รยี นไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพ คณติ ศาสตรป ญหาการ

เรียนรแู ละทำงานรวมกัน โดยมกี าร บวก มผี ลสมั ฤทธสิ์ ูงขึ้น

ปรับประยุกตใหส อดคลองกบั ความ

แตกตางของผูเรยี น และเพ่ือสงเสรมิ ให 2. นักเรียนชน้ั

ผเู รยี นไดพฒั นาเต็มตามศักยภาพ และ ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาค

สามารถแกไขปญหาในการจัดการ เรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา

เรียนรู กระตนุ กระบวนการคิดและ 2565 โรงเรียนบานถิน่

คนพบองคค วามรดู วยตนเอง และ สุขาวทิ ยา รอยละ 70 ท่ี

สรา งแรงบันดาลใจในการเรยี นรู เรียนในรายวิชา

คณติ ศาสตร มีผลการ

9

การปฏบิ ตั ิงานและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดานที่ 1 : การจดั การเรียนรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตวั ชว้ี ัด เอกสาร/หลกั ฐาน
ผลลัพธ (Outcomes) อา งองิ
ที่ดำเนนิ การพฒั นา (Indicators)
ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง
ท่ีเกิดขน้ึ กบั ผเู รยี น ทเี่ กิดขึ้นกบั ผูเรียน
ทแี่ สดงใหเห็นถึงการ
พฒั นาทักษะความรู ความ เปลยี่ นแปลงไปในทางที่
เขาใจความสมั พนั ธข อง ดขี ้ึนหรือมกี ารพัฒนา
การแกโ จทยป ญ หาการ มากขึ้นหรือผลสมั ฤทธ์ิ
บวก การลบเกีย่ วกับความ
ยาวท่มี ีหนว ยเปนเมตร สงู ขน้ึ
และเซนตเิ มตร มี
ผลสัมฤทธ์ิสงู ข้นึ

การปฏิบตั งิ านทส่ี งู กวาระดับการ
ปฏิบตั กิ ารท่ีคาดหวังตามตำแหนง
และวิทยฐานะ
1.ปฏิบัตหิ นา ท่ีกรรมการการประเมิน
การปฏิบัติงานตามขอตกลงในการ
พฒั นางาน (PA) โดยการใหคำปรึกษา
แนะนำ ดแู ล และชว ยเหลอื ในดานการ
จดั การเรยี นการสอนและการ
ปฏิบัติงานในหนา ที่อ่นื ๆ

10

การปฏิบตั งิ านและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นท่ี 1 : การจดั การเรยี นรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตวั ชว้ี ดั เอกสาร/หลกั ฐาน

ท่ดี ำเนนิ การพัฒนา ผลลัพธ (Outcomes) (Indicators) อา งองิ

ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง ท่เี กดิ ขน้ึ กบั ผูเรยี น

ท่เี กิดข้นึ กับผเู รียน ที่แสดงใหเ หน็ ถึงการ

เปล่ียนแปลงไปในทางท่ี

ดขี ึน้ หรอื มีการพฒั นา

มากขึ้นหรือผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ขึ้น

1.4 สรา งและหรือพัฒนาส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหลงเรียนรู

มกี ารริเรม่ิ คดิ คน และพฒั นาสอ่ื นวตั กรรม เทคโนโลยีและแหลงเรียนรสู อดคลองกับกจิ กรรมการเรยี นรสู ามารถแกไ ขปญหาในการ

เรยี นรูของผเู รียน และทำใหผ ูเรยี นมที ักษะการคิดและสามารถสรา งนวตั กรรมไดและเปน แบบอยา งที่ดีในการสรา งและหรือพฒั นาสอ่ื

นวตั กรรม เทคโนโลยแี ละแหลง เรยี นรู

การปฏิบตั ิงานตามระดับการ

ปฏิบัติการท่ีคาดหวังตามตำแหนง

และวทิ ยฐานะ

1. พฒั นาสื่อการเรียนรแู ละ 1.นักเรียนชน้ั 1. นกั เรยี นชั้น 1. วจิ ัยในช้นั เรยี น
2.ภาพถายส่ือการสอน
บรรยากาศในหองเรียนใหเหมาะตอ ประถมศึกษาปท ี่ 2 ภาค ประถมศึกษาปที่ 2 3.ภาพถายการจัดการ
เรียนรูดว ยส่อื นวตั กรรม
การเรยี นรูของผูเรียน ทำใหผ เู รียนได เรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา รอยละ 72.73 มีผล และเทคโนโลยี
4.ภาพถา ยการจดั การ
เรียนรเู ต็มตามศักยภาพ ผานเว็บไซต 2564 โรงเรียนบา นถน่ิ การเรยี นรหู ลังเรยี น เรียนรูดวยแหลงเรยี นรู
ภายในและภายนอก
และแอพลิเคชันตา งๆ ท่ีผเู รยี น สขุ าวิทยา รอยละ 70 ที่ ระดับดขี ้นึ ไป สถานศึกษา
5.หนงั สอื ขอบคณุ /
สามารถเรยี นรูไดทงั้ ภายในและ เรียนในรายวชิ า ภาพถา ยการเผยแพรส ื่อ
การสอน
ภายนอกหองเรียน โดยคำนึงถึงความ คณติ ศาสตร มีผลการ

แตกตา งระหวางบุคคล สรา งชอ งยทู ูป พัฒนาทักษะความรู ความ

( เรียนงา ยๆกบั ครปู รายฝน - เขาใจความสัมพันธข อง

YouTube) หรอื การแกโ จทยป ญ หาทาง

(www.youtube.com/channel คณติ ศาสตรป ญหาการ

/UCZND8-4tQKMAjYGKIdiDAjQ) บวก มีผลสมั ฤทธิส์ ูงข้ึน

เปน การเพ่ิมชองทางการเรยี นรใู หก ับ

นกั เรยี นสามารถเรยี นรแู ละทบทวน 2. นักเรยี นชั้น

บทเรยี นไดต ลอดเวลา สงเสริมการใช ประถมศกึ ษาปที่ 2 ภาค

แหลง การเรียนรทู ้ังในหองเรียนและ เรียนที่ 1 ปการศึกษา

นอกหองเรียน ใหความรูและขอมูล 2565 โรงเรียนบา นถิ่น

แหลงการเรยี นรูใ นทองถิ่นเพ่ือใหเ ปน สขุ าวิทยา รอยละ 70 ที่

ทางเลือกในการเรยี นรูของเพ่ือเรยี น เรียนในรายวชิ า

ตามโอกาสทเ่ี หมาะสม คณติ ศาสตร มีผลการ

11

การปฏิบตั ิงานและผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นที่ 1 : การจัดการเรยี นรู

งาน (Tasks) ผลการปฏิบตั งิ าน/ ตัวช้ีวดั เอกสาร/หลกั ฐาน
ผลลพั ธ (Outcomes) อา งองิ
ท่ีดำเนินการพัฒนา (Indicators)
ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอตกลง 1. ช่อง YouTube เรียน
ทเ่ี กดิ ขึ้นกับผเู รยี น ทเี่ กิดขนึ้ กบั ผูเรียน งา ยๆกับครูปรายฝน
2. คดั เลอื กและเลือกใชแหลงเรียนรูท้งั ท่แี สดงใหเ ห็นถงึ การ
ภายในและภายนอกสถานศึกษาให พัฒนาทักษะความรู ความ เปลย่ี นแปลงไปในทางท่ี 2. บนั ทกึ ผลการจดั การเรยี น
เหมาะสมตอการเรยี นรู เขา ใจความสัมพันธข อง ดขี น้ึ หรือมกี ารพัฒนา 3. รปู ภาพ
การแกโ จทยปญ หาการ มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ
การปฏิบตั ิงานท่สี ูงกวาระดบั การ บวก การลบเกย่ี วกบั ความ
ปฏิบัตกิ ารทีค่ าดหวังตามตำแหนง ยาวทม่ี หี นวยเปน เมตร สงู ขนึ้
และวทิ ยฐานะ และเซนตเิ มตร มี
1. เผยแพรส อ่ื การสอนชอ งยูทูป ( ผลสมั ฤทธส์ิ ูงขึน้
เรียนงายๆกบั ครูปรายฝน -
YouTube) หรอื
(www.youtube.com/channel
/UCZND8-4tQKMAjYGKIdiDAjQ)

1.5 วัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

มีการริเริ่ม คิดคน และพัฒนารูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริง ดวยวิธีการที่หลากหลายเหมาะสม และ
สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และนำผลการวดั และประเมินผลการเรยี นรู มาใชแกไ ขปญ หาการจดั การเรียนรเู พอ่ื ใหผเู รยี นพัฒนาการ
เรียนรอู ยางตอเนือ่ ง และเปน แบบอยา งท่ดี ใี นการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

การปฏิบตั ิงานตามระดับการ 1. รายงานฯ การใช
ปฏบิ ัตกิ ารท่คี าดหวังตามตำแหนง เทคนิคการสอนแบบบาร
และวิทยฐานะ โมเดล เพื่อแกปญหา
1.จัดทำเคร่อื งมือในวัดและประเมินผล 1. ผเู รียนชนั้ ประถมศึกษา 1. ผเู รยี นชนั้ ดานความเขาใจ
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู Active ปท ่ี 2 ไดรบั การวดั และ ประถมศึกษาปท ี่ 2 ความสัมพันธเรื่อง การ
Learning การใชเทคนิคการสอนแบบ ประเมนิ ผลดว ยเครือ่ งมือที่ รอ ยละ 72.73 มผี ล แกโจทยปญหาทาง
บารโมเดล เพื่อแกปญหาดานความ หลากหลาย และเหมาะสม การเรยี นรูหลังเรยี น
เขาใจ ความสัมพันธเร่ือง การแกโจทย เมอ่ื ไดร ับการจดั กจิ กรรม ระดบั ดีขน้ึ ไป
ปญหาทางคณิตศาสตร ของนักเรียน การเรียนรูดว ย การใช

12

การปฏิบตั ิงานและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นท่ี 1 : การจดั การเรยี นรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตวั ชีว้ ัด เอกสาร/หลกั ฐาน

ทดี่ ำเนนิ การพฒั นา ผลลพั ธ (Outcomes) (Indicators) อา งอิง
ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ
ของงานตามขอตกลง ท่ีเกดิ ขึ้นกบั ผเู รยี น
ที่เกิดข้ึนกบั ผูเรียน
ท่ีแสดงใหเ หน็ ถงึ การ

เปลยี่ นแปลงไปในทางท่ี

ดีขึ้นหรอื มีการพฒั นา

มากขึ้นหรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สูงขนึ้

ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่ตรงตาม เทคนคิ การสอนแบบบาร ค ณ ิ ต ศ า ส ต ร ข อ ง
จุดประสงคการเรียนรู ดวยวิธีการท่ี โมเดล เพือ่ แกป ญ หาดาน
หลากหลาย เชน แบบบันทึกกิจกรรม ความเขา ใจ ความสัมพนั ธ นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษา
แบบฝก หัด แบบสังเกตพฤติกรรม เรอื่ ง การแกโจทยปญ หา
การสัมภาษณ และนำผลการวัดและ ทางคณติ ศาสตร ปท่ี 2
ประเมนิ ผลการเรยี นรู มาใชแกไ ข
ปญหาการจัดการเรยี นรเู พื่อใหผเู รียน 2.แบบบนั ทกึ กิจกรรม
พฒั นาการเรียนรูอยา งตอเนื่อง
3.แบบฝก หัด

4.แบบสังเกตพฤติกรรม

1. สรา งและพัฒนาส่ือนวัตกรรม ใน
การจัดการเรยี นการสอนชั้น
ประถมศกึ ษาปที่ 2 เพื่อแกไขปญหาใน
การเรยี นรูของผูเรยี น และทำใหผเู รยี น
มีทกั ษะการคิดและสามารถสราง
นวัตกรรมได

2. จัดแหลงเรยี นรทู ห่ี ลากหลาย
เลอื กใชแ หลงเรียนรูเหมาะสมกับการ
จัดกจิ กรรมการเรยี นรูแ ละศกั ยภาพ
ผูเรยี น

การปฏิบตั งิ านทีส่ งู กวา ระดบั การ
ปฏิบตั กิ ารทคี่ าดหวังตามตำแหนง
และวทิ ยฐานะ
1.ใหค ำแนะนำ ชว ยเหลือและ
แลกเปล่ียนเรียนรูก ารพฒั นาสอื่ ท่ใี ชใ น
การจัดการสอนใหก บั บุคลากรใน
สถานศกึ ษา เปนแบบอยางที่ดีและ

13

การปฏิบตั งิ านและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดานที่ 1 : การจัดการเรยี นรู

งาน (Tasks) ผลการปฏิบตั งิ าน/ ตวั ช้ีวดั เอกสาร/หลกั ฐาน
อางองิ
ทด่ี ำเนินการพฒั นา ผลลพั ธ (Outcomes) (Indicators)
ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ
ของงานตามขอ ตกลง ทเ่ี กิดขน้ึ กับผูเ รยี น
สรา งแรงบนั ดาลใจในการพฒั นาส่ือ ที่เกดิ ขึน้ กับผูเรยี น ทีแ่ สดงใหเห็นถงึ การ
นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหลง เรยี นรู เปลย่ี นแปลงไปในทางท่ี
ใหกับบุคลากรในสถานศกึ ษาและผทู ี่ ดขี นึ้ หรือมกี ารพัฒนา
สนใจได มากขนึ้ หรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ขน้ึ

1.6 ศกึ ษา วิเคราะห และสังเคราะห เพ่ือแกไ ขปญหาหรือพัฒนาการเรียนรู

มีการรเิ รม่ิ คดิ คน วิเคราะห และสงั เคราะห เพ่ือแกไ ขปญหาหรอื พัฒนาการเรยี นรูท สี่ งผลตอคณุ ภาพผเู รยี นและนำผลการศกึ ษา
วิเคราะห และสงั เคราะห มาใชแ กไ ขปญหาหรือพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรยี นรใู หส งู ขึ้น และเปน แบบอยางท่ดี ใี นการศกึ ษา วเิ คราะห
และสงั เคราะห เพ่ือแกไขปญ หาหรอื พัฒนาการเรยี นรู

การปฏิบตั งิ านตามระดบั การ 1.ผูเรียนชั้นประถมศึกษา 1. ผเู รยี นชัน้ 1. รายงานฯ การใช
ปฏบิ ตั ิการทค่ี าดหวังตามตำแหนง เทคนิคการสอนแบบบาร
และวทิ ยฐานะ ปท ่ี 2 ไดรับการพฒั นา ประถมศึกษาปท่ี 2 โมเดล เพ่ือแกป ญ หา
1.จัดทำวิจัยในช้ันเรียนเรอ่ื ง การใช ดา นความเขาใจ
เทคนคิ การสอนแบบบารโ มเดล เพื่อ และแกไขปญหาการเรยี นรู รอ ยละ 100 มี ความสมั พนั ธเรื่อง การ
แกปญหาดานความเขาใจ แกโ จทยปญ หาทาง
ความสมั พนั ธเ ร่ือง การแกโจทยป ญหา ในรปู แบบของการวิจัยใน ผลทดสอบหลังเรียน คณติ ศาสตร ของ
ทางคณติ ศาสตร ของนักเรยี นชั้น นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษา
ประถมศกึ ษาปที่ 2 ชั้นเรยี นในรายวิชา สูงกวากอนเรยี น ปท่ี 2
เพื่อแกปญ หาและพฒั นาผลการเรยี นรู
ของผูเรยี น คณิตศาสตร

การปฏบิ ตั ิงานทีส่ งู กวา ระดบั การ 2.หลกั ฐานการเผยแพร
ปฏิบตั กิ ารที่คาดหวังตามตำแหนง วจิ ยั ในชัน้ เรยี น
และวทิ ยฐานะ
1.เผยแพรว ิจัยในชนั้ เรยี นใหกับผูที่
สนใจผา นทาง

14

การปฏบิ ตั งิ านและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นที่ 1 : การจดั การเรียนรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตวั ชว้ี ดั เอกสาร/หลักฐาน

ทีด่ ำเนนิ การพัฒนา ผลลพั ธ (Outcomes) (Indicators) อา งอิง

ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง ทเ่ี กิดขึ้นกบั ผูเ รียน

ทเ่ี กิดขน้ึ กับผเู รยี น ทแ่ี สดงใหเหน็ ถึงการ

เปลีย่ นแปลงไปในทางท่ี

ดขี ้ึนหรอื มกี ารพัฒนา

มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ขึ้น

1.7 จดั บรรยากาศทสี่ ง เสรมิ และพฒั นาผูเ รยี น

มกี ารริเร่ิม คดิ คน และพฒั นาการจัดบรรยากาศ ท่เี หมาะสม สอดคลองกับความแตกตา งผูเรยี นเปน รายบุคคล สามารถแกไขปญหา

การเรียนรู และสรางแรงบันดาลใจสง เสริมและพัฒนาผูเรียนใหเกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรูและ

นวัตกรรม ทักษะดานสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยีและเปนแบบอยางที่ดีในการจัดบรรยากาศที่สง เสริมและพัฒนาผูเรียนเรียนรูและ

นวัตกรรม ทักษะดา นสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี

การปฏิบตั ิงานตามระดับการ 1. ผเู รียนชนั้ ประถมศกึ ษา 1.ผเู รียนชัน้ 1.แบบประเมนิ ความพึง
ปฏบิ ตั ิการท่คี าดหวังตามตำแหนง ปท ่ี 2 ไดเรียนรใู น ประถมศกึ ษาปท่ี 2 พอใจของผเู รยี น
และวทิ ยฐานะ หอ งเรยี นท่มี ี รอ ยละ 100 มีความ 2.แบบนิเทศหองเรียน
1. จัดบรรยากาศหอ งเรยี นชั้น สภาพแวดลอ มท่ีเอ้ือตอ พงึ พอใจตอ หอ งเรียน 3.คำสั่งคณะกรรมการ
ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ใหเหมาะสมตอ การเรียนรู มีความพรอม และมเี จตคติที่ดตี อ นิเทศ
การเรียนรแู ละกบั ความตองการของ ในดานวสั ดอุ ุปกรณ การเรียนรู 4.ภาพถา ยการปฏิบตั ิ
ผูเรยี น สามารถแกไขปญ หาการเรียนรู สะอาด และปลอดภยั หนาท่คี ณะกรรมการ
พัฒนาผเู รียนใหเกิดกระบวนการคิด นเิ ทศชัน้ เรยี น
ทกั ษะชวี ิต ทกั ษะการทำงาน ทกั ษะ
การเรยี นรแู ละนวัตกรรม ทกั ษะดาน
สารสนเทศ สอื่ และเทคโนโลยี เชน
มุมหนูนอ ยนักอาน มมุ สอ่ื แสนสนุก มมุ
อินเตอรเนต็

การปฏิบตั งิ านที่สูงกวา ระดับการ
ปฏิบตั ิการที่คาดหวงั ตามตำแหนง
และวิทยฐานะ
1.ใหคำแนะนำ ชวยเหลือ และเปน
แบบอยางท่ดี ีในการจัดบรรยากาศใน
หอ งเรยี นใหก บั บุคคลากรใน
สถานศกึ ษา

15

การปฏิบตั ิงานและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดานที่ 1 : การจัดการเรยี นรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตัวชี้วัด เอกสาร/หลักฐาน

ทดี่ ำเนินการพัฒนา ผลลัพธ (Outcomes) (Indicators) อา งอิง

ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอตกลง ท่ีเกดิ ขึ้นกบั ผเู รยี น

ท่ีเกิดขึน้ กบั ผูเรยี น ที่แสดงใหเ ห็นถึงการ

เปล่ียนแปลงไปในทางที่

ดีข้ึนหรือมกี ารพัฒนา

มากขึ้นหรือผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ขน้ึ

1.8 อบรมและพฒั นาคุณลกั ษณะทีด่ ขี องผูเรยี น

มกี ารอบรมบมนิสยั ใหผ ูเรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และคา นิยมความเปน ไทยทด่ี งี าม โดยรเิ ริ่ม คดิ คน

และพฒั นารปู แบบการดำเนินการที่มปี ระสทิ ธิภาพ คำนงึ ถึงความแตกตางของผูเรยี นเปนรายบุคคล และสามารถแกไขปญ หาและพัฒนา

ผูเรยี นได และเปน แบบอยางทด่ี ใี นการอบรมและพัฒนาคณุ ลกั ษณะท่ีดขี องผเู รยี น

การปฏิบตั งิ านตามระดับการ นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาป นักเรยี นชัน้ 1.บันทึกการอา น
ปฏิบัตกิ ารที่คาดหวังตามตำแหนง 2.แบบบนั ทกึ กิจกรรม
และวิทยฐานะ ที่ 2 มี คุณลักษณะอันพึง ประถมศกึ ษาปที่ 2 โฮมรูม/แนะแนว
1. อบรมบม นสิ ยั ใหผเู รียนชนั้ 3.แบบประเมนิ
ประสงคต ามเกณฑท ่ี รอยละ 100 ผาน คณุ ลักษณะอันพึง
ประถมศึกษาปท ี่ 2 ใหมีคณุ ธรรม ประสงค
จริยธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค สถานศึกษากำหนด เกณฑการประเมนิ

และคา นยิ มความเปนไทยที่ดี โดย คุณลกั ษณะอันพงึ
คำนงึ ถงึ ความแตกตางของผเู รียนเปน
ประสงค 8 ประการ
รายบคุ คล และสามารถแกไขปญหา

และพัฒนาผเู รยี นได ไดแก
- กจิ กรรมโฮมรมู

- กิจกรรมชมุ นมุ “รักการอา น”
- กจิ กรรมแนะแนว
- กิจกรรมวนั สำคญั ตางๆ

การปฏบิ ตั ิงานที่สงู กวา ระดับการ
ปฏบิ ัตกิ ารที่คาดหวังตามตำแหนง
และวิทยฐานะ
1.ใหคำแนะนำ ชวยเหลือ และเปน
แบบอยางทดี่ ใี นการจัดกิจกรรมที่
สงเสรมิ ใหผ ูเ รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม

16

การปฏิบตั งิ านและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดานท่ี 1 : การจัดการเรียนรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตวั ชี้วดั เอกสาร/หลกั ฐาน
อา งองิ
ท่ดี ำเนินการพฒั นา ผลลัพธ (Outcomes) (Indicators)
ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ
ของงานตามขอ ตกลง ที่เกดิ ขนึ้ กับผเู รียน
และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคใหก ับ ทเ่ี กิดข้นึ กับผเู รยี น ทแี่ สดงใหเ ห็นถงึ การ
บคุ คลากรในสถานศึกษาได เปลี่ยนแปลงไปในทางที่
ดีข้ึนหรือมกี ารพฒั นา
มากข้ึนหรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สูงขึ้น

2. ปฏบิ ตั หิ นา ทหี่ ัวหนา โครงการ 4.คำสัง่ แตง ต้ัง
ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 8 คณะทำงานกจิ กรรม
กลุมสาระฯ และปฏิบตั ิหนาที่ ตางๆ
กิจกรรม/โครงการดา นการพัฒนา
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข องผูเ รียน
อ่ืนๆตามที่ไดร ับมอบหมาย

17

การปฏิบตั งิ านและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นที่ 2 : ดา นการสง เสรมิ และสนบั สนุนการจดั การ
เรียนรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ผลลัพธ ตัวช้วี ดั (Indicators) เอกสาร/หลกั ฐาน

ทด่ี ำเนินการพฒั นา (Outcomes) ที่เกดิ ขนึ้ กับผูเรยี น อางอิง

ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง ท่แี สดงใหเ ห็นถึงการ

ท่เี กดิ ข้ึนกบั ผเู รยี น เปล่ียนแปลงไปในทางที่ดขี ึ้น

หรือมีการพฒั นามากขึน้ หรอื

ผลสัมฤทธสิ์ งู ข้นึ

2.1 จัดทำขอมลู สารสนเทศของผูเ รียนและรายวิชา

มกี ารริเร่มิ คิดคน และพัฒนารูปแบบการจดั ทำขอมลู สารสนเทศของผเู รยี นและรายวชิ า ใหมีขอ มูลเปนปจจุบนั เพ่อื ใชใ นการ

สง เสริมสนบั สนุนการเรยี นรู แกไขปญ หาและพฒั นาคุณภาพผเู รยี น และเปน แบบอยา งทด่ี ี

การปฏบิ ตั ิงานตามระดบั การ

ปฏบิ ัตกิ ารทีค่ าดหวังตามตำแหนง

และวิทยฐานะ

1. จัดทำขอมลู สารสนเทศของ นักเรียนเรยี นช้นั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 1.แบบวิเคราะห

ผเู รยี นชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ใหม ี ประถมศึกษาปที่ 2 มีขอมลู 2 รอยละ 100 มีขอมลู ผเู รียน

ขอ มลู เปน ปจจุบนั เพื่อใชในการ สารสนเทศทีถ่ ูกตอ งและเปน สารสนเทศท่ถี ูกตองและเปน 2.สมุดประจำตวั

สง เสรมิ สนบั สนุนการเรียนรู แกไ ข ปจจุบัน ปจ จบุ ัน นักเรยี น

ปญ หาและพฒั นาคณุ ภาพผูเรียน 3.แฟมประวัติ

ไดแ ก นักเรียน

- แฟมประวตั นิ ักเรียน

- แบบวิเคราะหผเู รียนเปน

รายบุคคล

- สมุดประจำตัวนักเรยี น

- แบบประเมนิ ตางๆ

การปฏบิ ตั งิ านท่ีสูงกวาระดบั การ
ปฏิบตั กิ ารท่ีคาดหวงั ตามตำแหนง
และวิทยฐานะ
1.ใหคำแนะนำ ชว ยเหลอื นิเทศ
ติดตามการจัดทำเอกสารขอมูล
สารสนเทศของผูเรียน และเปน
แบบอยางที่ดีในการจดั ทำขอ มูล
สารสนเทศใหกับบุคลากรใน
สถานศกึ ษาได

18

การปฏิบตั งิ านและผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นท่ี 2 : ดานการสง เสริมและสนับสนนุ การจดั การ
เรียนรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ผลลัพธ ตวั ชว้ี ดั (Indicators) เอกสาร/หลักฐาน

ทีด่ ำเนินการพฒั นา (Outcomes) ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ผูเรยี น อางอิง

ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอตกลง ท่แี สดงใหเ ห็นถึงการ

ทเี่ กดิ ขึน้ กบั ผเู รยี น เปลย่ี นแปลงไปในทางที่ดีขนึ้

หรอื มีการพัฒนามากขน้ึ หรือ

ผลสัมฤทธสิ์ งู ขึน้

2.2 ดำเนินการตามระบบดแู ลชว ยเหลอื ผูเรยี น

มกี ารใชขอมลู สารสนเทศเกยี่ วกับผูเ รยี นรายบคุ คล และประสานความรวมมือกบั ผมู สี ว นเกีย่ วขอ ง เพ่อื พัฒนาและแกไ ขปญ หาผเู รยี น

และรเิ รม่ิ โครงการหรือจดั กิจกรรมเชงิ สรา งสรรคดว ยวิธกี ารที่หลากหลายในการดแู ลชว ยเหลือผเู รียน และเปน แบบอยา งท่ดี ี

การปฏิบตั งิ านตามระดบั การ 1. ผเู รียนช้นั ประถมศึกษาป 1.แบบบนั ทกึ /
ปฏิบตั กิ ารทค่ี าดหวงั ตามตำแหนง
และวิทยฐานะ ที่ 2 รอยละ 100 ไดร ับการ ภาพถายการเยย่ี ม
1. จัดกจิ กรรมและดำเนนิ งานตาม 1.นกั เรยี นเรยี นชนั้
ระบบดูแลชวยเหลอื นกั เรียน ประถมศึกษาปท ี่ 2 ไดรับ ดแู ลชว ยเหลอื ดานการเรียน บาน
สำหรบั นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาป การดูแลชวยเหลอื ผาน
ท่ี 2 มีการใชขอมลู สารสนเทศ ระบบดแู ลชวยเหลอื สขุ ภาพ เศรษฐกิจ และ 2.แบบ นร.01
เกยี่ วกับผเู รยี นรายบคุ คล และ นักเรยี นอยา งเหมาะสม
ประสานความรว มมอื กับผมู ีสว น สงั คม เพื่อใหพรอมสำหรับ 3.แฟมประวตั ิ
เกีย่ วขอ ง เพื่อพัฒนาและแกไ ข
ปญ หาผเู รียน ไดแ ก การเรียนรู นักเรียน

- กจิ กรรมเยีย่ มบา น 4.สมดุ บันทึกการ
- กจิ กรรมรักการอาน
- กิจกรรมโฮมรูม/แนะแนว อาน
- กิจกรรมสอนซอมเสรมิ
- กิจกรรมคัดกรองนักเรยี น 5.แบบบนั ทกึ โฮม
(SDQ)
รมู /แนะแนว
การปฏบิ ตั ิงานที่สงู กวา ระดบั การ
ปฏิบตั ิการท่คี าดหวังตามตำแหนง 6.แบบวิเคราะห
และวิทยฐานะ
1.ปฏบิ ตั ิหนา ทใ่ี นการจัดกจิ กรรม ผเู รียนรายบคุ คล
ระบบดแู ลชว ยเหลือนกั เรยี นของ
สถานศึกษา 7. SDQ

8. คำสัง่ ตัง้ แตงตั้ง

คณะกรรมการ

ดำเนินงานระบบ

ดูแลชว ยเหลอื

นักเรียนของ

สถานศึกษา

19

การปฏบิ ตั ิงานและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดานที่ 2 : ดา นการสงเสริมและสนบั สนุนการจดั การ
เรียนรู

งาน (Tasks) ผลการปฏิบตั งิ าน/ผลลพั ธ ตวั ชี้วดั (Indicators) เอกสาร/หลกั ฐาน

ท่ดี ำเนนิ การพฒั นา (Outcomes) ท่เี กิดข้ึนกบั ผเู รียน อา งองิ

ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง ท่แี สดงใหเ ห็นถึงการ

ท่เี กดิ ขึน้ กบั ผเู รียน เปล่ยี นแปลงไปในทางที่ดีขึน้

หรือมกี ารพัฒนามากขึ้นหรอื

ผลสมั ฤทธ์ิสูงขึ้น

2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอืน่ ๆ ของสถานศึกษา

รว มปฏบิ ัติงานทางวชิ าการ และงานอนื่ ๆ ของสถานศกึ ษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา โดยมกี ารพัฒนา

รูปแบบหรอื แนวทางการดำเนินงานใหม ปี ระสิทธิภาพสงู ขน้ึ และเปน แบบอยา งท่ีดี

การปฏบิ ตั ิงานตามระดับการ

ปฏบิ ัตกิ ารทีค่ าดหวงั ตามตำแหนง

และวิทยฐานะ

1. ปฏบิ ตั ิหนา ท่คี รปู ระจำช้ันและ นกั เรยี นมีคุณภาพตาม นกั เรียนรอ ยละ 72.73 มี 1.แบบสรุป
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ผลสัมฤทธ์ิทางการ
ครผู ูส อนประจำรายวชิ าช้นั มาตรฐานของสถานศึกษา เปนไปตามทส่ี ถานศึกษา เรียนของผเู รียน ป
กำหนด การศกึ ษา 2564
ประถมศึกษาปท ี่ 2 เพือ่ ยกระดบั (SAR)
2. คำสัง่ แตงต้งั ครู
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผูเรียน ประจำชั้นและ
ครผู ูสอน
ใหเ ปน ไปตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด 3.คำสั่งแตงต้งั
ผรู บั ผดิ ชอบ
2. ปฏิบตั ิหนาที่หวั หนากลมุ งาน โครงการ

บรหิ ารวชิ าการ เพอื่ พฒั นาและ

ยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษา

ของสถานศกึ ษา

การปฏบิ ตั ิงานทสี่ งู กวาระดับการ
ปฏิบตั กิ ารทค่ี าดหวังตามตำแหนง
และวทิ ยฐานะ
1. ปฏิบัติหนา ที่หัวหนาโครงการ
ระบบประกนั คุณภาพภายใน
ดำเนินการพฒั นาแนวทางการ
ประกนั คุณภาพภายในของ
สถานศึกษาใหเ ปน ไปตามมาตรฐาน

20

การปฏิบตั งิ านและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นที่ 2 : ดานการสงเสริมและสนบั สนนุ การจัดการ
เรยี นรู

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ผลลพั ธ ตัวช้ีวัด (Indicators) เอกสาร/หลกั ฐาน

ท่ีดำเนนิ การพฒั นา (Outcomes) ท่เี กิดข้ึนกบั ผเู รยี น อางอิง

ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง ที่แสดงใหเห็นถึงการ

ที่เกิดข้นึ กับผเู รียน เปลย่ี นแปลงไปในทางท่ีดขี นึ้

หรอื มีการพัฒนามากขน้ึ หรอื

ผลสัมฤทธสิ์ ูงขึ้น

2.4 ประสานความรวมมือกบั ผปู กครอง ภาคเี ครือขาย และหรอื สถานประกอบการ

การประสานความรวมมือกับผูป กครอง ภาคเี ครอื ขาย และหรอื สถานประกอบการ เพ่ือรวมกนั แกไขปญ หาและพัฒนาผูเ รยี น และ

เปน แบบอยางท่ดี ี

การปฏบิ ตั ิงานตามระดบั การ

ปฏบิ ัติการท่คี าดหวังตามตำแหนง

และวทิ ยฐานะ

1. ประสานความรวมมอื กบั นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปท ี่ นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 1.บันทึกการ

ผปู กครอง ภาคีเครือขา ย และหรือ 2 ไดร ับการกำกับ ติดตาม 2 รอ ยละ 100 ไดรับการ ประชุม

สถานประกอบการ เพื่อ ดแู ลชว ยเหลอื โดยการ กำกับ ตดิ ตาม ดูแล 2. ภาพถา ย

ประชาสัมพนั ธขาวสาร และรวมกัน ประสานความรว มมือกับ ชว ยเหลือโดยการประสาน

แกไ ขปญหาและพฒั นาผเู รียน ผูป กครองและผูทีเ่ กยี่ วของ ความรวมมอื กบั ผปู กครอง

ไดแ ก และผทู ี่เกย่ี วขอ งอยาง

- สรา งเครือขา ยผปู กครอง เหมาะสม

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 2

- สราง Line Group

สำหรับนกั เรียนและผูป กครอง

- ประสานความรว มมอื

และนำนักเรยี นช้นั ป.2 ในการ

จัดการเรยี นรูแ ละการดแู ล

ชวยเหลือนกั เรียน

การปฏบิ ตั ิงานทส่ี ูงกวาระดับการ
ปฏบิ ัติการทค่ี าดหวงั ตามตำแหนง
และวทิ ยฐานะ
1.เปนแบบอยางทดี่ ีในการประสาน
ความรวมมอื กบั ผปู กครอง ภาคี
เครอื ขาย และหรือสถาน
ประกอบการ เชน เขา รว มกจิ กรรม

21

การปฏบิ ตั ิงานและผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดานท่ี 2 : ดานการสง เสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการ
เรียนรู

งาน (Tasks) ผลการปฏิบตั งิ าน/ผลลพั ธ ตัวช้วี ดั (Indicators) เอกสาร/หลักฐาน
(Outcomes) อางอิง
ท่ีดำเนินการพฒั นา ทเี่ กิดขน้ึ กับผูเ รยี น
ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง ทแี่ สดงใหเหน็ ถงึ การ
ทเี่ กิดขน้ึ กับผูเ รียน เปลย่ี นแปลงไปในทางท่ดี ีข้ึน
หรือมกี ารพฒั นามากขนึ้ หรอื

ผลสัมฤทธ์สิ ูงขน้ึ

ภายในชมุ ชน พบปะผูป กครองและ
ชมุ ชนในการประชาสมั พนั ธ
ขาวสารและสรางความสัมพันธอ ัน
ดีงานระหวา งโรงเรียนและชมุ ชน

การปฏบิ ตั งิ านและผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดานท่ี 3 : ดา นการพฒั นาตนเองและวิชาชีพ

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตวั ชวี้ ดั (Indicators) เอกสาร/หลักฐาน

ทดี่ ำเนินการพัฒนา ผลลัพธ (Outcomes) ท่ีเกดิ ข้นึ กบั ผูเ รยี น อา งอิง

ตามขอ ตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอ ตกลง ทแ่ี สดงใหเ ห็นถงึ การเปลีย่ นแปลง
ทีเ่ กิดขน้ึ กบั ผเู รยี น ไปในทางทดี่ ขี ้นึ หรอื มกี ารพัฒนา

มากขึน้ หรือผลสมั ฤทธส์ิ งู ขึน้

3.1 การพัฒนาตนเองอยางเปน ระบบและตอเนือ่ ง

พัฒนาตนเองอยางเปนระบบและตอเน่ือง เพ่ือใหม ีความรู ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การใชภ าษาไทยและ

ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีดิจิทลั เพอ่ื การศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครแู ละความรอบรูในเน้อื หาวิชาและวธิ กี ารสอน

และเปน แบบอยางทีด่ ี

การปฏบิ ตั งิ านตามระดับการ นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาป นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 1. ID PLAN
ปฏบิ ัติการที่คาดหวังตามตำแหนง ท่ี 2 ไดรบั การจดั กิจกรรม 2 รอยละ 73.23 มีผลสมั ฤทธ์ิ 2.รายงานการ
และวิทยฐานะ การเรยี นรวู ชิ า ทางการเรยี นระดับ 3 ขึน้ ไป อบรม/เกยี รตบิ ตั ร
1. จัดทำแผนพฒั นาตนเอง (ID วิทยาศาสตรท ห่ี ลากหลาย 3. SAR
Plan) เพ่อื พัฒนาตนเองอยา งเปน เหมาะสมกับผูเรยี น 4. รางวัล/เกียรติ
ระบบและตอเนื่อง บัตร
2. เขา รวมการประชุม/อบรม/
สัมมนา เพื่อพัฒนาตนเองใหมี
ความรูความสามารถในดา นการ

22

การปฏบิ ตั งิ านและผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นที่ 3 : ดานการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตวั ชี้วัด (Indicators) เอกสาร/หลักฐาน
อางอิง
ท่ดี ำเนนิ การพฒั นา ผลลพั ธ (Outcomes) ท่เี กิดขึ้นกบั ผูเรยี น
ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ทแ่ี สดงใหเห็นถงึ การเปลี่ยนแปลง
ของงานตามขอ ตกลง ไปในทางทด่ี ีขึ้นหรือมีการพัฒนา
จดั การเรยี นรใู หผเู รยี นเกดิ การ ท่เี กดิ ขนึ้ กับผเู รียน
เรยี นรไู ดอ ยางเต็มศกั ยภาพ มากขึ้นหรอื ผลสมั ฤทธส์ิ งู ขึน้

3. จัดทำรายงานผลการปฏบิ ัติงาน
และผลการประเมนิ ตนเอง
รายบคุ คล (SAR)

การปฏิบตั ิงานที่สูงกวา ระดับการ
ปฏบิ ตั กิ ารท่ีคาดหวังตามตำแหนง
และวิทยฐานะ
1.เปน ผูมจี รรยาบรรณในการปฏิบตั ิ
ตนเปนแบบอยางท่ีดีในดา นการ
พัฒนาตนเองและพฒั นาสมรรถนะ
วชิ าชีพครู

3.2 มีสว นรว มในการแลกเปลยี่ นเรยี นรทู างวิชาชพี เพ่อื แกไ ขปญ หาและพัฒนาการจัดการเรียนรู

มสี ว นรวม และเปน ผนู ำในการแลกเปลยี่ นเรียนรูท างวชิ าชพี เพื่อแกไ ขปญหาและสรางนวตั กรรมเพอ่ื พฒั นาการจัดการเรียนรูแ ละ
เปน แบบอยางทดี่ ี

การปฏิบตั งิ านตามระดบั การ 1.ผูเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา 1. ผเู รยี นชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 1.แบบบนั ทึก
2 รอ ยละ 72.73 มีผลสมั ฤทธิ์ กิจกรรม PLC
ปฏิบัติการทค่ี าดหวงั ตามตำแหนง ปท ่ี 2 ไดร บั การจัด ทางการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป 2. คำสัง่
คณะทำงาน
และวิทยฐานะ กจิ กรรมการเรยี นรวู ชิ า

1. เขา รวมกิจกรรมชุมชนแหงการ วทิ ยาศาสตร ท่ี

แลกเปลี่ยนเรยี นรู (PLC) เพื่อ หลากหลายเหมาะสมกบั

แลกเปลี่ยนเรียนรเู พ่ือแกไขปญหา ผูเรยี น

ผเู รยี น

การปฏบิ ตั งิ านที่สงู กวาระดับการ
ปฏิบัติการท่คี าดหวังตามตำแหนง
และวิทยฐานะ

23

การปฏบิ ตั งิ านและผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดานที่ 3 : ดา นการพัฒนาตนเองและวชิ าชพี

งาน (Tasks) ผลการปฏิบตั งิ าน/ ตวั ช้ีวดั (Indicators) เอกสาร/หลกั ฐาน
อางอิง
ทีด่ ำเนินการพฒั นา ผลลัพธ (Outcomes) ทเ่ี กิดขนึ้ กบั ผูเรียน
ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ทีแ่ สดงใหเ ห็นถึงการเปลีย่ นแปลง
ของงานตามขอตกลง ไปในทางทดี่ ีขน้ึ หรือมกี ารพัฒนา
1.ปฏบิ ัติหนาท่เี ปนผนู ำในการ ทเ่ี กิดขนึ้ กบั ผเู รยี น
กิจกรรมชุมชนแหง การแลกเปล่ยี น มากข้ึนหรอื ผลสมั ฤทธ์สิ งู ขึ้น
เรียนรูในสถานศึกษา เพื่อ
แลกเปล่ยี นเรียนรูในการแกไข
ปญ หาผเู รียน
2. ปฏบิ ตั ิหนาที่กรรมการการ
ประเมนิ การปฏบิ ัตงิ านตาม
ขอตกลงในการพฒั นางาน (PA)
โดยการใหค ำปรกึ ษาแนะนำ ดูแล
และชวยเหลอื ในดา นการจดั การ
เรยี นการสอนและการปฏิบตั ิงานใน
หนา ทีอ่ นื่ ๆ

3.3 นำความรู ความสามารถ ทักษะทไี่ ดจากการพฒั นาตนเองและวิชาชพี มาใชใ นการพฒั นาการจัดการเรียนรู

นำความรู ความสามารถ ทักษะทไี่ ดจากการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพมาใชในการพฒั นาการจดั การเรยี นรู การพัฒนาคณุ ภาพผูเ รยี น
รวมถึงการพัฒนานวตั กรรมการจดั การเรยี นรทู ่ีมผี ลตอคณุ ภาพผเู รยี น และเปน แบบอยางที่ดี

การปฏิบตั ิงานตามระดบั การ

ปฏบิ ตั กิ ารทคี่ าดหวงั ตามตำแหนง

และวทิ ยฐานะ

1. นำความรจู ากการอบรมและ 1.น ั ก เ ร ี ย น ชั้ น 1. ผเู รียนช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 1. รายงานฯ การใช

พฒั นาตนเองมาจัดกจิ กรรมการ ประถมศึกษาปที่ 2 มีผล 2 รอ ยละ 72.73 มผี ลการ เทคนคิ การสอน

เรียนรูใหผ ูเรียนอยางเหมาะสม การเรียนรูเปนไปตาม เรียนรูหลังเรยี น ระดับดีข้นึ ไป แบบบารโ มเดล

ไดแก กิจกรรมการเรยี นรู Active จุดประสงคการเรียนรู เพื่อแกป ญ หาดาน

Learning การพฒั นาทักษะการบูร แ ล ะ ต ั ว ช ี ้ ว ั ด ว ิ ช า ความเขา ใจ

ณาการและผลการเรยี นรูวชิ า คณติ ศาสตร เมื่อไดรับการ ความสัมพนั ธเ ร่ือง

วทิ ยาศาสตร ดว ยกิจกรรม STEM จัดกิจกรรมการเรียนรูการ การแกโ จทยปญ หา

EDUCATION ใชเทคนิคการสอนแบบ ทางคณติ ศาสตร

เรอื่ ง บารโมเดล เพื่อแกปญหา ของนักเรียนชน้ั

“............................................” ด  า น ค ว า ม เ ข  า ใ จ ประถมศกึ ษาปท่ี 2

24

การปฏิบตั งิ านและผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหนง ดา นท่ี 3 : ดา นการพัฒนาตนเองและวชิ าชพี

งาน (Tasks) ผลการปฏบิ ตั งิ าน/ ตวั ชว้ี ดั (Indicators) เอกสาร/หลกั ฐาน
ผลลพั ธ (Outcomes) อา งอิง
ท่ีดำเนินการพัฒนา ท่ีเกิดขนึ้ กับผเู รียน
ตามขอตกลงใน 1 รอบการประเมนิ ของงานตามขอตกลง ที่แสดงใหเ หน็ ถึงการเปล่ยี นแปลง
ที่เกิดข้นึ กับผเู รียน ไปในทางทดี่ ขี นึ้ หรือมกี ารพัฒนา
การปฏิบตั ิงานที่สงู กวาระดับการ
ปฏิบตั กิ ารท่คี าดหวังตามตำแหนง ความสัมพันธเรื่อง การแก มากข้ึนหรือผลสมั ฤทธ์สิ ูงข้นึ
และวทิ ยฐานะ โจทยปญหาทาง
1.ปฏิบตั หิ นาทเ่ี ปนผูนำในการ คณิตศาสตร ของนักเรียน
กิจกรรมชุมชนแหง การแลกเปลี่ยน ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 2
เรยี นรูในสถานศกึ ษา เพื่อ
แลกเปลีย่ นเรียนรใู นการแกไข
ปญหาผเู รียน

2. ปฏิบัติหนาที่กรรมการการ 2. คำส่งั แตง ตงั้
ประเมินการปฏิบตั งิ านตาม คณะกรรม
ขอ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) การการประเมินฯ
โดยการใหคำปรึกษาแนะนำ ดแู ล 3.ภาพถา ยการ
และชวยเหลอื ในดานการจัดการ ปฏิบตั หิ นาที่
เรียนการสอนและการปฏิบัติงานใน คณะกรรมการ
หนาที่อ่ืนๆ นเิ ทศฯ

25

สว นที่ 2 : การพฒั นางานที่เปน ประเดน็ ทาทายในการพฒั นาผลลพั ธการเรยี นรูของผเู รยี น

ประเดน็ ทีท่ าทายในการพฒั นาผลลัพธการเรียนรูข องผเู รียน ของผูจดั ทำขอตกลง ซง่ึ ปจจุบันดำรงตำแหนงครู
วิทยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ตอ งแสดงใหเหน็ ถึงระดบั การปฏบิ ตั ิท่คี าดหวังของวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ คอื การ
รเิ รมิ่ พัฒนา การจัดการเรยี นรแู ละพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรขู องผูเรียนใหเ กดิ การเปล่ยี นแปลงไปในทางท่ดี ขี ึ้นหรอื มี
การพฒั นามากขึน้ (ท้งั น้ี ประเดน็ ทา ทายอาจจะแสดงใหเห็นถึงระดบั การปฏบิ ัตทิ ี่คาดหวังในวิทยฐานะท่ีสูงกวาได)

ประเดน็ ทาทาย การใชเทคนิคการสอนแบบบารโ มเดล เพื่อแกป ญ หาดานความเขา ใจ ความสมั พันธเ ร่ือง
การแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร ของนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 2

1. สภาพปญหาการจัดการเรียนรูและคณุ ภาพการเรียนรขู องผูเรียน
เนอื่ งจากนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 2 โรงเรียนบานถิ่นสขุ าวทิ ยา ขาดพน้ื ฐานดานความรคู วามเขาใจใน

การตีโจทยปญหาไมวา จะเปนโจทยปญ หาการบวก การลบ การคณู และการหาร นักเรียนมักไมส ามารถดำเนนิ การแก
โจทยป ญ หาได บางคนแสดงวิธีทำมาแตท ำไมถูกตอง บางคนสามารถบอกสง่ิ ทโ่ี จทยกำหนดใหแ ละสิง่ ทีโ่ จทยถามไดแ ต
ไมสามารถแสดงวิธีทำหาคำตอบได เพราะไมร ูจะเริม่ ตน อยางไร หรือใชว ิธใี ดในการหาคำตอบ นอกจากน้นี ักเรยี นไม
สามารถแปลงโจทยปญ หาออกมาเปน ประโยคสัญลกั ษณ ทำใหก ารเรียนรใู นวิชาคณิตศาสตรเ ร่ืองการแกโจทยป ญ หา
เกดิ ปญ หาและเรียนรไู ดช า ไมเปนไปตามตวั ชี้วดั ทีห่ ลักสตู รกำหนด ซึง่ ในหลกั สูตรแกนกลางกลุม สาระการเรียนรู
คณติ ศาสตร ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 ไดก ำหนดตัวชี้วดั เกี่ยวกบั ความสามารถในการแกโจทยปญหาของผเู รยี นเอาไว
หลายตวั ช้ีวดั ดวยกัน ไดแก

ค 1.1 ป.2/8 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยปญ หา 2 ขน้ั ตอนของจำนวนนับไมเ กิน 100,000 และ 0
ค 2.1 ป.2/1 แสดงวธิ หี าคําตอบของโจทยป ญหาเกีย่ วกับเวลาท่ีมหี นว ยเด่ียวและเปนหนวยเดยี วกัน
ค 2.1 ป.2/3 แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยปญ หาการบวก การลบเกย่ี วกบั ความยาวทมี่ ีหนว ย
เปน เมตรและเซนตเิ มตร
ค 2.1 ป.2/5 แสดงวิธหี าคาํ ตอบของโจทยปญหาการบวกการลบเกย่ี วกับน้ำหนกั ที่มหี นวยเปนกิโลกรัมและ
กรัม กโิ ลกรัมและขดี
ครูผูสอนจึงไดใชว ิธีการ การใชเทคนิคการสอนแบบบารโมเดล เพื่อแกปญหาดานความเขาใจ ความสัมพันธ
เรือ่ ง การแกโจทยปญหาทางคณติ ศาสตร ของนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 2

2. วิธีการดำเนินการใหบ รรลผุ ล
1) ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแกนกลาง และหลักสูตรนักเรียนตองรู กลุมสาระการ

คณติ ศาสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 เพ่อื ออกแบบหนวยตามตวั ช้ีวดั
2) ศึกษาการจัดการเรียนรูโดย การใชเทคนิคการสอนแบบบารโมเดล เพือ่ แกปญหาดานความเขาใจ

ความสัมพนั ธเ รอื่ ง การแกโ จทยป ญ หาทางคณติ ศาสตร ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 2
3) ใชก ระบวนการ PLC เขามาชวยในการแกไขปญ หา พัฒนาส่ือและนวัตกรรมทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
4) ออกแบบสื่อและนวัตกรรมการสอน พัฒนาทักษะความรู ความเขาใจและการนำไปใชด วยเทคนิค

การสอน แบบบารโมเดล เพอ่ื แกป ญหาดานความรู ความเขา ใจ ความสมั พันธข องการแกโ จทยป ญหาทางคณิตศาสตร
ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ในรปู แบบที่หลากหลาย เชน เกมการศกึ ษา กิจกรรมกลมุ เปนตน

26

5) จัดทำแผนการจดั การเรยี นรูท่มี ีการใชเ ทคนิคการสอนแบบบารโ มเดล เพือ่ แกปญหาดา นความเขาใจ
ความสมั พนั ธเ ร่ืองการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร ของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 2 ตามที่ออกแบบไวไ ด

5.1) จัดทำแผนการจัดการเรียนรูที่มีการใชเ ทคนิคการสอนแบบบารโมเดล เพื่อแกปญหาดานความ
เขาใจ ความสัมพันธเรื่องการแกโจทยปญหาการบวก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2564 ตามทีอ่ อกแบบไวได

5.2) จัดทำแผนการจดั การเรียนรทู ีม่ กี ารใชเ ทคนคิ การสอนแบบบารโมเดล เพื่อแกป ญหาดานความ
เขาใจ ความสมั พันธเรอื่ งการแกโจทยปญหาการบวก การลบเกย่ี วกับความยาวทมี่ หี นวยเปนเมตรและเซนตเิ มตร ของ
นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2565 ตามทอ่ี อกแบบไวได

6) นำเทคนิคการสอนไปทดลองใชแ ละนำผลท่ีไดม าปรบั ปรงุ พัฒนาเทคนคิ การสอน เพื่อ
แกป ญหาดานความเขาใจ ความสัมพันธของการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร ใหมีความนาสนใจ เขาใจงา ย และ
นักเรียนสามารถเรียนรูไดดว ยตนเอง

7) นำผลสะทอนในการใชเทคนคิ การสอนแบบบารโมเดล เพอ่ื แกปญหาดานความเขา ใจ ความสัมพันธ
เรอื่ ง การแกโจทยป ญหาทางคณติ ศาสตร ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 2 พัฒนาความรคู วามเขาและการนำไปใช
บนั ทกึ ขอมูลคะแนนในระบบสารสนเทศผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนเพ่อื ประเมนิ การเรยี นรู นำขอ มูลที่ไดพัฒนาผลการ
เรยี นรใู หผ ูเ รียนบรรลุตามวัตถุประสงคท ่ตี ้ังไว

3. ผลลัพธการพฒั นา
3.1 เชิงปริมาณ
1) นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานถิ่นสขุ าวทิ ยา รอ ย

ละ 70 ทเ่ี รียนในรายวชิ าคณิตศาสตร มีผลการพัฒนาทักษะความรู ความเขาใจความสมั พันธของการแกโจทยป ญหา
ทางคณิตศาสตรปญหาการบวก มีผลสัมฤทธสิ์ ูงขนึ้ รอยละ 72.73

2) นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2565 โรงเรยี นบานถน่ิ สุขาวทิ ยา รอย
ละ 72.73 ท่ีเรียนในรายวชิ าคณิตศาสตร มีผลการพฒั นาทักษะความรู ความเขา ใจความสัมพนั ธของการแกโจทย
ปญหาการบวก การลบเก่ยี วกับความยาวท่มี หี นว ยเปน เมตรและเซนตเิ มตร มีผลสัมฤทธิส์ ูงขน้ึ

3.2 เชิงคุณภาพ
นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 2 โรงเรยี นบานถ่นิ สุขาวทิ ยา สามารถอธิบายการแกโ จทยปญ หาทาง

คณติ ศาสตร มีกระบวนการคิด ตรงตามสมรรถนะของผูเ รียนในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551

ลงชอื่ ...........................................................ผูรายงาน
(นางสาวปรายฝน โพธ์เิ วียงคำ)

ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

27

การรับรองของผอู ำนวยการสถานศึกษา

ขอรับรองขอมลู ในรายงานฉบบั นี้

ลงชื่อ ...................................................
(นายวรจกั ษ กาศลุน)

ตำแหนง ตำแหนง ผูอำนวยการโรงเรยี นบา นถิ่นสุขาวทิ ยา

28

ภาคผนวก

29

ภาคผนวก ก
รูปภาพดา นที่ 1 การจัดการเรยี นรู

30

31

32

33

34

35

36

37

38

ภาคผนวก ข

รูปภาพดา นที่ 2 ดานการสง เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู

39

40

41

42

43

ภาคผนวก ค

รปู ภาพดานท่ี 3 ดา นการพัฒนาตนและวชิ าชพี

44

45

46


Click to View FlipBook Version