The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปครึ่งปีไตรมาส1-2ตำบลเมืองเก่าปี-65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ksnrongchangy63, 2022-05-21 00:26:20

สรุปครึ่งปีไตรมาส1-2ตำบลเมืองเก่าปี-65

สรุปครึ่งปีไตรมาส1-2ตำบลเมืองเก่าปี-65

คำนำ

สรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานประจำปงี บประมาณ 2565 โดย กศน.ตำบลเมอื งเก่า จดั ทำขึน้ เพ่ือสรปุ ผลปฏิบัติงานกศน.
ตำบลเมืองเกา่ เชงิ ปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ เพ่อื แสดงใหเ้ ห็นผลสำเร็จของการปฏบิ ัตงิ าน และสรปุ เพอื่ เป็นแนวทางในการ
ปฏบิ ัตงิ าน และแนวทางพัฒนาปรบั ปรงุ ในครั้งต่อไป

กศน.ตำบลเมอื งเกา่ หวงั สรปุ ผลการปฏบิ ัติงานประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.ตำบลเมืองเกา่ จะสามารถนำมาเป็น
ประโยชน์กับกาปฏิบตั งิ าน กศน.ตำบล ไม่มากกน็ ้อย

นางธดิ ารัตน์ ปานทมิ

ผู้จัดทำ

ขอ้ มลู ท่วั ไป

ข้อมลู พ้ืนฐานตำบลเมอื งเก่า

ประวตั ิความเป็นมาตำบลเมอื งเกา่

เมอื งเก่ามีทีม่ าดังน้ีคือ สมยั กรงุ ศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองพจิ ิตร ต้งั อย่ทู ตี่ ำบลเมืองเก่า คำวา่ เมืองเก่า
แตเ่ ดิม ยงั ไม่มีใครเรยี ก ครงั้ กระแสนำ้ เปล่ียนทศิ ทางเดิน โดยแยกมาทางคลองเลยี ง คลองเมืองเกา่ เกดิ เป็นลำนำ้
ใหมข่ นึ้ ทางทศิ ตะวันออก ลำนำ้ เดมิ ที่เคยไหลผา่ นทางดงเศรษฐี คลองคะเชนทร์ โรงช้าง พจิ ติ รเก่า โพธ์ปิ ระทบั
ชา้ ง เกดิ ต้นื เขิน ประชาชนพากนั อพยพจากลำน้ำเดิมไปอยูล่ ำน้ำใหม่เมืองพจิ ิตร ซง่ึ อยู่ทางวัดนครชมุ ก็ต้องยา้ ยไป
อยทู่ ีต่ ำบลเมืองเกา่ หรอื ตำบลในเขตเทศบาลเมืองพจิ ิตร ในปจั จบุ ันพจิ ิตรเดมิ จะเรยี กว่า เมืองพิจิตรอยู่อีกก็ไม่
ทราบวา่ ทไี่ หนแน่ จึงเพิม่ เตมิ คำว่า “เกา่ ” ข้ึนอีก 1 คำ วา่ เมืองพิจติ รเกา่ ครัน้ นานเข้ากเ็ รยี กวา่ เมืองเก่า คอื
หมายถงึ เมืองพจิ ติ รเก่า นนั้ เองเมื่อมีการต้ังตำบลขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 จงึ ไดช้ อื่ ว่าตำบลเมืองเกา่ ตามช่อื บ้านที่
ราษฎรเรยี กขานกัน และนับตั้งแตเ่ ปน็ ตำบลเมืองเก่า มีผ้ดู ำรงตำแหน่งกำนนั ตำบลเมืองเก่ารวม 15 คน

ลกั ษณะทางกายภาพ

“สภาพพืน้ ทีโ่ ดยท่ัวไป”
ตำบลเมอื งเกา่ มีพ้นื ทีร่ าบลุม่ มีแม่น้ำพจิ ิตรไหลผา่ น พืน้ ทโี่ ดยทั่วไปเหมาะแกก่ ารทำเกษตรกรรม

ประชากรสว่ นใหญจ่ งึ ประกอบอาชีพ ทำนาข้าว ทำไรข่ ้าวโพด , ถ่วั ,พริก และทำสวนสม้ โอท่าข่อย

“ภมู ิประเทศ”

สภาพพนื้ ท่ีสว่ นใหญ่เป็นทรี่ าบลุ่ม มลี ำคลองและแหลง่ น้ำธรรมชาติ พนื้ ท่ใี นตำบลในแนวเหนือใต้ มแี หลง่
นำ้ เปน็ จำนวนมากเหมาะสมต่อการทำนาและการเกษตรกรรม ลกั ษณะการตั้งถิ่นฐานของประชาชนตำบลเมอื งเกา่
สว่ นใหญ่มกี ารตง้ั ถ่ินฐานแบบรวมกนั เปน็ กลมุ่ ๆ บรเิ วณริมแมน่ ำ้ พิจิตรเกา่ และอกี สว่ นหนึ่วจะตัง้ บา้ นเรือนตามริม
ถนนสายหลกั ของตำบล คือถนนทางหลวงชนบทสายพจิ ิตร – โพธ์ปิ ระทับชา้ ง

“ ภมู ิอากาศ”
ภมู ิอากาศอย่ภู ายใต้อิทธิพลของมรสุมเขตรอ้ น ฤดรู อ้ นจะอบอ้าว ในฤดฝู นจะมฝี นตกชกุ อณุ หภูมิสงู สุด

โดยเฉลย่ี 36.06 องศาเซลเซียส อุณหภมู ิตำ่ สดุ โดยเฉล่ยี 17 องศาเซลเซียส มปี ริมาณนำ้ ฝนโดยเฉล่ีย 4.10
มิลลลิ ติ ร

“ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ”
ทรัพยากรป่าไมส้ ่วนใหญ่ในเขตตำบลเมอื งเก่า จะมพี ้ืนที่ปา่ ไม้เศรษฐกิจหรอื พชื สวน เชน่ ส้มโอ มะม่วง

มะปราง ชะอม และพืชผกั ทั่วไป คดิ เปน็ พน้ื ท่ปี ระมาณร้อยละ 5.88 ของพ้ืนทีท่ ง้ั หมด
ทรัพยากรธรณี สภาพดินสว่ นใหญม่ ีลักษณะเปน็ ดินรว่ นซยุ ช่ือชุดดินตะพานหนิ ซ่ึงมีความเหมาะสมแก่

การเพาะปลูกพืชทุกชนดิ มีการส่งเสริมการใช้ดินอย่างเหมาะพสมกับศักยภาพที่มีอยู่

“แหล่งน้ำธรรมชาติ”
- คลองธรรมชาต/ิ ลำน้ำ 1 สาย คอื คลองข้าวตอก
- บึง หนอง ลำห้วยและแหลง่ น้ำอ่นื ๆ 13 แห่ง

“แหล่งน้ำอปุ โภค บริโภค แหลง่ น้ำเพอื่ การเกษตร”
- ฝาย 2 แหง่
- ระบบประปาหมบู่ ้าน 9 แห่ง
- บอ่ นำ้ บาดาล ( บ่อนำ้ ต้ืน ) 4 บอ่
- บ่อบาดาล ( บ่อโยก ) 79 บ่อ
- ถังเกบ็ นำ้ ฝน 9 ถัง
- คลองสง่ น้ำชลประทาน 2 สาย
- คสู ง่ น้ำ – ระบายนำ้ ( ลำเลียงย่อย) เพอื้ การเกษตรรอ้ ยละ 100 ของพ้นื ที่ชลประทาน

ทตี่ ัง้

ทิศเหนอื ติดตอ่ กับ ตำบลโรงชา้ ง อำเภอเมืองพจิ ิตร
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลดงกลาง อำเภอเมืองพิจิตร
ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ ตำบลเมอื งเก่า อำเภอเมืองพิจิตร
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลโพธิป์ ระทับช้าง อำเภอเมืองพิจติ ร

จำนวนครวั เรอื น

ตำบลเมืองเกา่ มจี ำนวนครวั เรอื นทง้ั สน้ิ 1,105 ครวั เรือน

ขนาดพน้ื ท่ี

ตำบลเมอื งเก่ามีพื้นที่ จำนวน 20,121ไร่

ประชากร

จำนวนประชากรทั้งส้นิ 5,861 คน

การคมนาคม

มีถนนลาดยาง เดนิ ทางไปมาสะดวก มีรถประจำทางสายพิจิตร – วงั จกิ ผ่าน สามารถใชเ้ สน้ ทางพจิ ติ ร
– วงั จิก เดนิ ทางไปยังกรุงเทพ และจงั หวดั ใกล้เคยี งได้โดยสะดวก

สถานศกึ ษา

สถานศึกษาในระบบโรงเรยี น ของตำบลเมืองเกา่ มีจำนวน 4 แห่ง

1. โรงเรยี นวดั เขือ่ นพิจิตรอนุสรณ์ หมทู่ ่ี 1

2.โรงเรียนบ้านท่าขอ่ ย หม่ทู ี่ 2

3. โรงเรยี นบา้ นเมอื งเก่า หม่ทู ่ี 8

สถานศกึ ษานอกระบบ จำนวน 1 แห่ง

- กศน.ตำบลเมืองเก่า หมู่ 9

สถานศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา จำนวน 1 แหง่

- วทิ ยาลัยชมุ ชนพจิ ิตร หน่วยจดั วดั ขนนุ

บคุ ลากร กศน.ตำบลเมอื งเก่า
นางธิดารัตน์ ปานทิม ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลเมืองเกา่

คณะกรรมการ กศน.ตำบลเมืองเก่า

1. พระครสู ุรพล ชอบอินทร์
2. นายสมยศ บรรเจดิ ศิลป์
3. นายไพศาล บรรเจดิ ศลิ ป์
4. นายเฉลา เนียมพนั ธ์
5. นายถวลิ พทุ ธจร
6. นายธวติ ศกั ดิ์ กล่อมจติ ต์
7. นายมงคล ภนู่ ชุ
8. นายมลู เถาวลั ย์
9. นายเสน่ห์ มากมลู
10. นายสน่ัน มัทธุจัด
11. นายวรี ะ จรุ ะกะ
12. นายถาวร หวน่ั แสง
13. นายเลศิ ศกั ด์ิ กาสา
14. นางดลยา ครุธทิน
15. นางริณลดา คชรยี ์
16. นางมาลี เดชบุญ
17. นายพิษณุ เมตตาไพจิตร
18. นางธดิ ารตั น์ ปานทมิ

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ

โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพชุมชนตำบลเมืองเกา่ หมทู่ ี่ 9 ตำบลเมอื งเก่า อำเภอเมือง จงั หวดั
พิจิตร จำนวน บคุ ลากร 5 คน ลกู จ้าง 2 คน

องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

องค์การบรหิ ารส่วนตำบลเมอื งเก่า หม่ทู ่ี 1 ตำบลเมอื งเก่า อำเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพจิ ิตร

ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ ิน
1. ท่ีทำการสายตรวจประจำตำบลเมืองเก่า 1 แหง่ ได้แก่ ท่ีทำการสายตรวจของ สภ.เมืองเก่า
2. หนว่ ยบรกิ ารแพทย์ฉกุ เฉนิ เบ้ืองต้น ( ER ) บริการรับส่งผู้ป่วยทเ่ี จ็บปว่ ยฉุกเฉนิ ตลอด 24 ชวั่ โมง
3. ศูนย์ อปภร.อบต.เมืองเกา่ จำนวน 1 แหง่

ศนู ย์เทคโนโลยที างการเกษตรประจำตำบล
ศูนย์ฝกึ อาชีพ หมู่ 4 ตำบลเมอื งเก่า อำเภอเมืองพจิ ติ ร จังหวดั พิจิตร

สภาพเศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม

อาชีพหลักคือการเกษตรกรรมส่วนใหญ่ทำนา ทำสวนสม้ โอทา่ ข่อย อาชพี รองลงมาคือรับจา้ งและเล้ยี ง

สัตว์ คา้ ขาย สภาพทวั่ ไปของบา้ นส่วนใหญจ่ ะเป็นบ้านไมใ้ ต้ถุนสงู บ้านสองช้ันมุงหลังคาสังกะสแี ละกระเบอื้ งและ

บา้ นช้นั เดยี ว บา้ นแต่ละหลงั จะปลูกเรยี งรายกนั เป็นกลุม่ ๆ ตามแนวถนนตดั ผ่านมีประชากรที่อยปู่ ระจำจะเปน็

ผู้สูงอายวุ ัยทำงานและเดก็ นักเรยี นสว่ นวยั แรงงานหนมุ่ สาวบางส่วนอพยพไปทำงานกรงุ เทพและกลับมาช่วง

เทศกาลหรืองานบุญใหญ่ๆ

สรุปขอ้ มลู การประกอบอาชีพของคนในตำบลเมอื งเกา่ ไดด้ ังนี้

1. เกษตรกรรม – ทำนา คดิ เป็นร้อยละ 35.33

2. เกษตรกรรม- ทำไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.11

3. เกษตรกรรม- ทำสวน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.27

4. เกษตรกรรม – ปศสุ ตั ว์ คิดเป็นร้อยละ 0.15

5. รบั ราชการ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ คิดเป็นรอ้ ยละ 6.02

6. พนกั งานบริษทั คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.40

7. รบั จา้ งทว่ั ไป คดิ เป็นรอ้ ยละ20.77

8. ค้าขาย คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.48

9. ธรุ กจิ สว่ นตวั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.24

10. กำลังศกึ ษา คิดเป็นรอ้ ยละ 25.05

11. ไมม่ ีอาชพี คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.41

รายได้ของประชากร

- รายได้ครัวเรือนเฉลยี่ 262,148 บาท / ปี

- รายได้บุคคลเฉล่ยี 78,542 บาท / ปี

รายจ่ายของประชากร

- รายจ่ายครวั เรอื นเฉลีย่ 182,312บาท/ปี

ศักยภาพของชมุ ชน

1. กลุ่มอาชีพโครงการเศรษฐกจิ ชุมชน จำนวน 8 กลมุ่

2. กลุม่ ออมทรัพย์ จำนวน 9 กลมุ่

3. กลมุ่ อาชีพเกษตรกร / แมบ่ ้าน / วสิ าหกิจชมุ ชน จำนวน 2 กลมุ่

4. กองทุนหมู่บา้ น จำนวน 9 กองทุน

หนว่ ยธุรกิจในเขตตำบลเมืองเก่า

- โรงแรม / รีสอร์ท 2 แหง่

- สถานบรกิ ารน้ำมนั / ปั๊มน้ำมันและกา๊ ซ ( ป๊ัมน้ำมนั หลอด) 8 แหง่

- รา้ นอาหาร – เครื่องดื่ม 27 รา้ น

- ร้านขายของเบ็ดเตลด็ ของชำตา่ ง ๆ 15 แห่ง

- รา้ นบริการเสริมสวย 4 รา้ น

- ร้านซ่อมเครือ่ งยนตต์ ่าง ๆ 8 ร้าน

- รา้ นซอ่ มเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า 1 ร้าน

- ร้านขายอุปกร์วสั ดุก่อสรา้ ง 4 ร้าน

- รา้ นขายเคมภี ณั ฑ์การเกษตรต่าง ๆ 4 รา้ น

- ร้านรบั ซือ้ ของเก่า 1 แห่ง

- ตลาดสด ตลาดนดั 1 แหง่

- รา้ นบรกิ ารล้าง อดั ฉีด 1 แหง่

- สถานรับตรวจสภาพรถ พรบ . 1 แห่ง

- ซุปเปอร์มาเกต็ ขนาดเล็ก ( Tessco Lotus ) 1 แห่ง

- ร้านเสอ้ื ผา้ เครือ่ งแต่งกาย 2 แหง่

สาธารณปู โภค

ประปาหมบู่ ้าน 9 หมบู่ า้ น

ไฟฟ้า 9 หมูบ่ ้าน

โทรศพั ท์ 9 หมบู่ า้ น

สภาพสงั คมและประชากร

จำนวนประชากร

ประชากร

ตำบลเมอื งเก่า มปี ระชากรอาศัยอยทู่ ั้งส้ิน 5,861 คน แยกตามหมบู่ ้านดังน้ี

หมทู่ ่ี ช่ือหม่บู า้ น จานวน ประชากร รวม

ชาย หญิง 979
1,038
๑ บา้ นเมืองเก่า 450 529 506
486
๒ บา้ นท่าขอ่ ย 516 522 801
437
๓ บา้ นเมืองเก่า 244 262 458
682
๔ บา้ นวดั ขนุน 241 245 442
5,829
๕ บา้ นทา่ โพธ์ิ 383 418

๖ บา้ นวงั จนั ทร์ 224 213

๗ บา้ นไร่ 216 242

๘ บา้ นเมืองเก่า 332 350

๙ บา้ นท่าโพธ์ิ 209 233

รวมท้งั สิ้น 2,815 3,014

รายช่ือผนู้ ำทอ้ งถนิ่

ตำบลเมืองเกา่ อำเภอเมอื ง จังหวดั พจิ ติ ร

• นายสมยศ บรรเจดิ ศิลป์ นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลเมืองเก่า.

• นายมานพ ครฑุ ทิน รองนายกองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลเมืองเก่า.

• นายพยพั ภู่นชุ

• นายสงกรานต์ คงสวุ รรณ

หมทู่ ่ี ชื่อหมบู่ า้ น ช่ือผูน้ ำ ตำแหนง่

๑ บา้ นเมอื งเกา่ นายภมู รนิ ทร์ ครธุ ทิน ผู้ใหญ่บ้าน

น.ส.วชั ราภรณ์ พรมมินทร์ ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้าน
น.ส..มะลิวัลย์ จันทโชติ ผู้ช่วยผู้ใหญบ่ า้ น
นายสุชาติ จติ ตะระ ผชู้ ว่ ยผู้ใหญ่บ้าน

๒ บ้านทา่ ข่อย นายสมพร จุลกลับ ผใู้ หญบ่ า้ น
นายสุรภี แก้วมาก ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้าน

นายสรุ ศักด์ิ เพชรขจร ผู้ช่วยผู้ใหญบ่ ้าน

๓ บ้านเมอื งเกา่ นายธวติ ศักดิ์ กล่อมจิตต์ ผใู้ หญบ่ า้ น
นางวนั เพญ็ ชรี ะนะ ผชู้ ่วยผู้ใหญบ่ ้าน
นางบงั อร หลวงแสนเชอื ก ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บา้ น

๔ บ้านวดั ขนนุ นายสน่นั มทั ธจุ ัด ผู้ใหญบ่ า้ น
นางริณรดา คชรยี ์ ผูช้ ่วยผู้ใหญ่บา้ น
นายเสาร์ สังข์กฤษ ผชู้ ว่ ยผู้ใหญ่บ้าน

๕ บ้านท่าโพธ์ิ นายถวลิ พุทธจร ผู้ใหญบ่ า้ น
๖ บ้านวังจันทร์ นายจำเนยี ร ขวญั เรียน ผชู้ ว่ ยผู้ใหญ่บ้าน
๗ บ้านไร่ นายชาญ นาคแนม
ผู้ช่วยผใู้ หญ่บ้าน
นายเน้ยี ว สิงห์ลอ
น.ส.กาญจนา พันธะนะ ผู้ใหญบ่ ้าน
น.ส.ลาวลั ย์ เมืองทอง ผู้ชว่ ยผใู้ หญบ่ า้ น
นายถาวร หว่นั แสง ผู้ช่วยผใู้ หญ่บ้าน
นายอำนาจ บรรจงจัด
นายรันทม หวน่ั แสง ผู้ใหญบ่ า้ น
ผู้ชว่ ยผู้ใหญบ่ ้าน
ผู้ช่วยผู้ใหญบ่ า้ น

๘ บ้านเมอื งเกา่ นายเลิศศกั ดิ์ กาสา กำนนั ตำบลเมืองเกา่
๙ บ้านทา่ โพธ์ิ นายเฉลียว บวั ชุม ผู้ช่วยผใู้ หญ่บา้ น
นายสัมภาส สุโข ผู้ชว่ ยผใู้ หญบ่ า้ น
นางสดุ ใจ แกว้ แกมแข
ผชู้ ่วยผใู้ หญบ่ า้ น
นายมงคล ภนู่ ุช
นายวชิ ัย ศรีอร่าม ผใู้ หญบ่ า้ น
นายอนนั ต์ ภู่นุช ผชู้ ่วยผู้ใหญ่บา้ น
ผชู้ ่วยผใู้ หญ่บ้าน

รายชอื่ สมาชกิ อบต.แตล่ ะหม่บู า้ น

สมาชกิ อบต.หมู่ท่ี 1 ได้แก่
1. นายบุญเชดิ กาสา
2. นายเชาว์ ครุธทิน

สมาชกิ อบต.หมทู่ ี่ 2 ไดแ้ ก่
1. นายมลู เถาวลั ย์
2. นางอารีย์ หอมกระแจะ

สมาชิก อบต.หมู่ที่ 3 ได้แก่
1. นายโกมล บุญปู่
2. นายวิรัตน์ กลัดแกว้

สมาชิก อบต.หมู่ท่ี 4 ได้แก่
1. นายคำรณ มัทธจุ ดั
2. นายมานพ ประดิษฐเ์ ขยี น

สมาชกิ อบต.หมู่ท่ี 5 ได้แก่
1. นายจรัญ บรรจง
2. นางสทุ ธวรรณ จุลกลับ

สมาชกิ อบต.หมู่ที่ 6 ได้แก่
1. นายบุญมา ผลนกึ

สมาชิก อบต.หมทู่ ี่ 7 ไดแ้ ก่
1. นางทองหยด เกตเุ ปีย
2. ว่าท่ี ร.ต.สทุ ธิ เกตเุ ปยี

สมาชกิ อบต.หมทู่ ี่ 8 ไดแ้ ก่
1. นายเฉลยี ว ทดั เทย่ี ง

สมาชกิ อบต.หมทู่ ่ี 9 ไดแ้ ก่
1. นายธวชั แผนดง
2. นางอิงอร ทองใบ

แหลง่ วิทยากรชุมชนทส่ี มารถนำไปใชป้ ระโยชนเ์ พ่ือการศึกษา

ปัญหาและความต้องการทางการศกึ ษาของประชาชนท่จี ำแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย
- จำแนกผู้เรยี น / นกั เรยี น ระดับการศึกษาท่ีใหบ้ รกิ าร
กศน.ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวัดพจิ ติ ร จัดการศกึ ษาสำหรับผู้ไมร่ ้หู นงั สอื และจดั

การศกึ ษาสำหรับสายสามญั ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มี
นักศกึ ษาลงทะเบียนภาคเรียนละ 40 คน X 2ภาคเรยี น (ต่อปกี ารศกึ ษา)

- ประชากรจำแนกตามระดบั การศึกษา ของตำบลเมอื งเก่า ดังน้ี

ระดับการศึกษา ชาย(คน) เพศ รวม
หญงิ (คน) 75
316
ไม่รู้หนงั สือ 35 40 472
2,504
อนุบาล/ศนู ยเ์ ดก็ เลก็ 123 193 980
733
ต่ากวา่ ช้นั ประถม 239 233 228
557
จบช้นั ประถม 1,152 1,352 27

มธั ยมศึกษาตอนตน้ 450 530 5,892

มธั ยมศึกษาตอนปลาย 412 321

อนุปริญญาหรือเทียบเท่า 123 105

ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 232 325

สูงกวา่ ปริญญาตรี 10 17

รวม 2,777 3,118

-

กศน.ตำบลเมืองเก่า

ท่ตี งั้ บรเิ วณชน้ั ล่างของศาลาการเปรียญวดั เขื่อนนครเขต หมู่ท่ี 9 บา้ นท่าโพธ์ิ ตำบลเมอื งเก่า

อำเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พิจิตร

ความเปน็ มา

กศน.ตำบลเมืองเก่าได้พัฒนามาจากท่ีอ่านหนังสือประจำหมบู่ า้ นจากนัน้ ก็มาเปน็ ศนู ย์ประสานงาน

การศึกษานอกโรงเรยี นประจำตำบลเมืองเกา่ จนกระท่ังในปี พ.ศ.2541 มีการพัฒนาเพื่อให้ครอบคลมุ การ

ให้บรกิ ารแก่ประชาชนมากย่ิงข้นึ จึงเปลีย่ นรูปแบบการดำเนินงานเป็น ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนประจำตำบลเมือง

เกา่ โดยได้รับความสนับสนุนจากศนู ย์บรกิ ารศกึ ษานอกโรงเรยี นอำเภอเมืองพจิ ติ ร องค์การบริหารส่วนตำบล

เมืองเก่า ตลอดจนคณะกรรมการศูนย์การเรยี นชมุ ชนและประชาชน ให้การส่งเสริมในด้านตา่ งๆ โดยมีครู

ประจำศูนย์การเรยี นชุมชน เปน็ ผู้ประสานงาน จึงทำให้ ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนตำบลเมืองเกา่ ไดป้ รบั ปรุง

พฒั นาข้นึ เป็น ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนเฉลิมพระเกียติฯ เพือ่ ถวายเปน็ พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว

เนอ่ื งในกาศพระราชพธิ ีมงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 6 รอบ

ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนตำบลเมืองเกา่ เป็นศนู ย์กลางการจดั การศึกษาเพ่ือส่งเสริมการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ของ

ประชาชนในชุมชน โดยเนน้ การมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษาของชุมชน มุ่งท่ีจะสร้างโอกาสและให้บริการด้าน

การเรียนรู้อยา่ งหลากหลายวิธีเรียน สนองความตอ้ งการและเสนอแนวทางในการพัฒนาตนเอง เนน้ ให้มี

การศึกษาความรู้ดว้ ยตนเองและปฏบิ ัตกิ ารค้นคว้าหาข้อมลู ขา่ วสาร สอ่ื การเรียนรู้ จากแหลง่ วิทยาการต่าง ๆ

ในชมุ ชน ศรช. ตำบลเมอื งเก่าจะเป็นศนู ย์กลางการเรียนรู้ และใหบ้ ริการด้านหลัดสูตร สื่อ กจิ กรรมการเรียน

การสอน วิทยากร ข่าวสารข้อมลู เพอ่ื สร้างความเข้มแข็งทางความรู้ให้กบั ชุมชน โดยมคี รปู ระจำศนู ยก์ ารเรียน

ชุมชนและเครือขา่ ยเปน็ ผู้ประสานงาน ใหม้ กี ารดำเนินงานทีพ่ ฒั นาอยา่ งต่อเน่ืองและสมบูรณ์แบบขน้ึ ตามลำดับ

************************************

บทบาทหน้าท่ี กศน.ตำบลเมืองเกา่
กศน.ตำบลเมืองเก่า มีบทบาทสำคัญในการจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนเพ่ือ สร้าง

สังคมแห่งการเรียนรู้ และการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำ และการมีอาชีพท่ียั่งยืนโดยให้มีความสอดคล้องกับ
ศักยภาพและความต้องการของคนในชุมชนที่ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง และทันต่อการเปล่ียนแปลงภายใต้
ประชาคมอาเซียน
1. บทบาทหน้าที่ของครู กศน.ตำบล

1. จัดการเรียนการสอนใหก้ บั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดบั ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอน
ปลาย จำนวน 45 คน

2. ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานของ กศน.อำเภอเมืองพิจติ ร

3. จดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั

4. งานอ่นื ๆ ท่ไี ด้รับมอบหมาย

2. ภาคีเครอื ข่าย
1. อบต.ตำบลเมืองเก่า
2. ผนู้ ำชุมชน
3. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลเมืองเก่า

3. ทรพั ยากร / ส่งิ อำนวยความสะดวก
1. อาคารเรยี น 1 หลัง
2. หนงั สือเรียน
- ระดบั ประถม - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
3. โต๊ะ
4. เก้าอี้
5. ชน้ั วางหนงั สือ
6. ตู้เอกสาร
7. จานดาวเทยี ม 1 จาน
8. โทรทัศน์ 1 เครอื่ ง
9. เครื่องเลน่ วดี ีโอ 1 เคร่ือง
10. พดั ลมต้งั โต๊ะ 1 ตวั
11. คอมพิวเตอร์ 6 เครอ่ื ง

4. การดำเนนิ การจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
1) ศูนยข์ อ้ มลู ข่าวสารของชมุ ชน (Information center)

1.1) พัฒนาระบบฐานข้อมูและสารสนเทศระดับชุมชน ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยโดยใช้แบบเก็บ
ขอ้ มูลของสำนักงาน กศน. จดั เก็บข้อมูลครบถ้วน เปน็ ปัจจุบัน ประมวลผลเปน็ รายหมู่บา้ น จัดทำระบบฐานขอ้ มูล
สารสนเทศ และนำมาใชใ้ นการบริหารจัดกจิ กรรม กศน.

1.2) จดั ทำแผนพัฒนการจัด กศน. ตำบล และแผนปฏิบัติงานประจำปี นำเสนอแผนต่อคณะกรรมการ
กศน.ตำบล และภาคเี ครอื ขา่ ย และเสนอแผนให้ ผอ.กศน.อำเภอเมืองพจิ ติ ร พจิ ารณาอนุมตั ิ

1.3) เสนอความรขู้ ้อมูลขา่ วสารสารสนเทศของชุมชน ถกู ต้องและทันสมัยโดยเสนอข้อมลู สารสนเทศท่ี
มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิต ประจำวัน เช่น ข้อมูลเก่ียวกับแหล่งเรียนรู้ในชุมชน การตลาดชุมชน สินค้าชุมชน
ฯลฯ จดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศเผยแพร่ในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ เอกสาร แผนภมู ิ แผ่นพับ แผน่ ป้ายประชาสัมพันธ์ เป็น
ตน้

2) ศูนย์สรา้ งโอกาสการเรยี นรู้ (Opportunity Center)
2.1) ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย โดยประสานงาน/วางแผนร่วมกับภาคีเครือข่าย ในชุมชน

เช่น อบต.เมืองเก่า พัฒนาชุมชน ตำรวจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อสม. อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน วัด โรงเรียน ฯ
เพ่ือจดั กิจกรรมบรกิ ารชุมชน รวบรวมและเผยแพรอ่ งค์ความร้ขู องภาคีเครอื ข่าย ในการจดั การเรียนรู้

2.2) เช่ือมโยงรูปแบบการให้บริการของหน่วยงานภาคีเครือข่าย กับ กศน. ตำบลโดย ส่งเสริมและจัด
กจิ กรรมร่วมกับภาคเี ครือข่าย เช่น อำเภอเคลื่อนที่ เป็นตน้ พฒั นารูปแบบกิจกรรมทห่ี ลากหลายและสอดคล้องกับ
ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายในชมุ ชน เพื่อสรา้ งโอกาสการเรยี นร้ใู หก้ บั ประชาชน
3) ศูนย์การเรยี นชุมชน (Learning Center)

3.1) ออกแบบกิจกรรมการศึกษา ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายโดย กศน.ตำบลเมืองเก่าและกศน.
อำเภอเมืองพิจิตร ร่วมกับกลุ่มเป้าหมายในการออกแบบกิจกรรมหรือโครงการที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ
ความตอ้ งการ ของกลุม่ เปา้ หมายและชมุ ชน

3.2) จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน
ชุมชนตำบลเมืองเกา่

3.2.1) การศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
ดำเนินการประชาสัมพันธ์ รวมถึงการแนะแนวช่องทางการเรียนให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย โดย
จำแนกกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน เช่น ผู้เรียนท่ีออกกลางคัน ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ กลุ่มผู้ย้ายถิ่น ผู้นำ
ท้องถิ่น กลุ่มอาชีพประชากรวัยแรงงาน เป็นต้น วางแผนการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ร่วมกับภาคีเครือขา่ ย จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และรายงานผลการดำเนินงาน

3.2.2) การศึกษาตอ่ เน่อื ง
การศึกษาเพือ่ พัฒนาอาชีพ
จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพเป็นลำดับแรก ครูผู้รับผิดชอบและอาสาสมัคร กศน. ร่วมกันสำรวจความ
ตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายในการเรียนเกี่ยวกับอาชีพ พร้อมทั้งสำรวจเก่ียวกบั รายไดข้ องแต่ละครัวเรือน เพื่อเป็น
ฐานข้อมูลในการจัดกิจกรรมฝึกทักษะอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดการศึกษา
อาชพี เพ่อื การมีงานทำและการมีอาชีพท่ีย่ังยืน ให้สอดคล้องกับความต้องการและศักยภาพของผู้เรียนและชุมชนที่
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นอาชีพท่ีสอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบันและทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ภายใต้ประชาคมอาเซียน
การศึกษาเพอื่ พฒั นาทักษะชวี ิต
จัดการศึกษาที่สอดคล้องกับปัญหา ความต้องการ ความจำเป็นของกลุ่มเป้าหมายและชุมชน โดยจัด
กจิ กรรมทีม่ สี าระสอดคล้องกบั บรบิ ทของชุมชน โดยเนน้ ทักษะชวี ิตพ้นื ฐานท่จี ำเปน็ 4 ด้าน คือ
1. ดา้ นสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคภยั
2. ดา้ นความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สนิ
3. ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
4. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์

การศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน
จดั การศึกษาโดยใชร้ ปู แบบท่เี หมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ด้วยรปู แบบที่เหมาะสม เช่น การจัดกจิ กรรมโดย
ใช้กระบวนการทางลูกเสือ การจัดกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
การจัดทำกิจกรรมและโครงการท่ีเน้นความต้องการของชุมชน ให้ กศน.ตำบล เป็นสถานที่สร้างโอกาสในการ
เรียนรู้และแลกเปล่ยี นประสบการณ์ ตลอดจนการถ่ายทอดวทิ ยาการ ภมู ิปัญญาทม่ี ีอยู่ในชุมชนใหด้ ำรงตอ่ ไป เป็น
แหล่งในการบริการชุมชน ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และให้ทันกับ
ความเปลีย่ นแปลงของยุคสมยั

3.2.3) การศกึ ษาตามอัธยาศัย
จัดกิจกรรมท่ีผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม โอกาส
ประสบการณ์ การทำงาน สภาพแวดล้อม และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น การเรียนรู้จากครอบครัว เพื่อนบ้าน จาก
การทำงาน การเล่น จากตลาด ร้านค้า ห้องสมุด เป็นต้น รวมถึงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โดยประสาน
ความร่วมมือกับห้องสมุดประชาชน เพ่ือพัฒนา กศน.ตำบลเมืองเก่าให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน เป็น
แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองตาม
อัธยาศัย โดยการสำรวจความต้องการสอื่ เพ่ือจดั หาสื่อให้มากขึน้ และหลากหลาย เชน่ ส่ือสิ่งพมิ พ์ หอกระจายข่าว
บริการ Student Channel บริการการศึกษาทางไกล (ETV) ใหก้ ับนักศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไป เป็นต้น
รวมถึงการให้ข้อมูลและความรู้ในการเตรียมความพร้อมเพ่ือเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยการจัดทำข้อมูลท่ี
เก่ียวกับประชาคมอาเซียนในรูปแบบที่น่าสนใจ เช่น แผ่นพับ จุลสาร เป็นต้น จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ใน
รูปแบบต่าง ๆ เช่น จุดบริการหนังสือในชุมชนในโครงการหม่บู ้านศนู ย์การเรียนรูต้ ลอดชีวิต มุมอ่านหนังสือที่ศูนย์
EMS (เทศบาลตำบลเมอื งเกา่ ) เป็นตน้
4) ศูนยช์ ุมชน (Community Center)
พัฒนา กศน. ตำบลเมืองเก่า ให้เป็นศูนย์กลางการจัดกิจกรรมของชุมชน เช่น กิจกรรมศาสนา กิจกรรม
ผู้สูงอายุ เวทีประชาธิปไตย ฯลฯ โดยครูอาสาสมัครฯ ประจำตำบล เป็นผู้ดำเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ
ทั้ง อบต. เทศบาล ตลอดจนภาครัฐ ภาคเอกชน รวมท้ังอาสาสมัครในชุมชน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)
อาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ข้าราชการบำนาญ เยาวชน ผู้นำชุมชน ในการ
จดั กิจกรรมเพือ่ ใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเน่ืองไปสสู่ งั คมแห่งการเรยี นรู้
มาตรฐาน กศน.ตำบล
มาตรฐาน กศน.ตำบล ประกอบด้วย 4 ด้าน คอื
1. ดา้ นการบริหารจัดการ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่
1.1 อาคาร สภาพเหมาะสม มนั่ คง แข็งแรง ปลอดภยั และมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การจัดการเรยี นรู้
1.2 ส่ือ อปุ กรณ์ ครุภัณฑ์ และสงิ่ อำนวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้
1.3 การบรหิ ารงบประมาณ
1.4 บุคลากร ปฏบิ ตั ิงานครอบคลุมตามภารกจิ ทีก่ ำหนด
2. ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มี 4 ตวั บ่งช้ี ไดแ้ ก่
2.1 เปน็ ศูนย์ขอ้ มลู ข่าวสารของชมุ ชน (InformationCenter)
2.2 เป็นศูนย์สรา้ งโอกาสการเรียนรู้ (OpportunityCenter)
2.3 เปน็ ศูนย์การเรยี นชุมชน (LearningCenter)
2.4 เปน็ ศนู ยช์ ุมชน (Community Center)
3. ดา้ นการมีสว่ นร่วม มี 3 ตัวบง่ ช้ี ไดแ้ ก่
3.1 ชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรม กศน. ตำบล
3.2 มกี ารเช่ือมโยงเครือขา่ ยการเรียนรใู้ นตำบล และต่างตำบล
3.3 ชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการส่งเสริมการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล
4. ด้านการติดตาม ประเมินผลและรายงานผล มี 2 ตวั บง่ ชี้ ไดแ้ ก่
4.1 การติดตามและประเมินผล
4.2 การสรุปผลและการรายงานผล

สภาพปัจจบุ ัน กศน.ตำบลเมืองเก่า

สภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ ร
จุดแขง็
1. สถานท่ีตง้ั กศน.ตำบลเมอื งเก่า มีอาคารทีม่ คี วามแขง็ แรง
2. สถานที่ต้งั กศน.ตำบล ตั้งอยใู่ นท่ีท่มี กี ารคมนาคมไปมาสะดวก ใกลช้ มุ ชน
3. งบประมาณทไี่ ดร้ บั จัดสรรจาก กศน.อำเภอเมืองพิจติ ร มีเพียงพอต่อการจัดกจิ กรรม กศน.ใหก้ ับกล่มุ เป้าหมาย

จุดออ่ น
1. ที่ตั้ง กศน.ตำบลไม่เป็นเอกเทศ อาศัยชั้นล่างของศาลาการเปรียญ ในวัดเข่ือนนครเขต ตำบลเมืองเก่า ต้อง
อาศัยไฟฟ้า น้ำประปา ของวดั ทำให้ไม่สะดวกในการใช้ และการจัดกจิ กรรมเรยี นการสอนต้องขออนุญาตเจ้าของ
สถานที่กอ่ น และการปรบั ปรงุ ตกแต่งสถานท่กี ารปรบั ภมู ิทัศน์น้ันเปน็ ไปได้ยาก
2. การจดั ทำเอกสารหลักสตู ร หลักสูตรรายวิชาเลอื กและหลกั สตู รการศึกษาต่อเน่อื งยงั ไมเ่ ปน็ มาตรฐาน

สภาพแวดลอ้ มภายนอกองค์กร
โอกาส
1. นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่อื งการเรียนฟรี 15 ปี ทำไหป้ ระชาชนมีความตน่ื ตวั เหน็ ความสำคญั ของ
การศึกษาและสมคั รเข้าเรยี น กศน.เพิ่มข้ึน
2. ประชาชนมฐี านะทางเศรษฐกจิ ในระดบั ปานกลางถึงค่อนขา้ งดีทำให้กล่มุ เป้าหมายในชุมชนมีความพร้อมที่จะ
เรยี น กศน.
3. การคมนาคมภายในชมุ ชนมคี วามสะดวก เน่ืองจากถนนมีสภาพดี
4. บรกิ าร สาธารณูปโภค เช่น นำ้ ไฟฟ้า มเี พยี งพอกับความตอ้ งการของชุมชน
5. มีกลมุ่ วิสาหกจิ ในชุมชน ทำใหม้ รี ะบบเศรษฐกจิ ชมุ ชน
6. กำนัน/ผ้ใู หญบ่ ้าน ใหก้ ารสนบั สนุนส่งเสรมิ การจดั การศึกษา กศน.ตำบล
7. ภาคีเครอื ข่ายในพืน้ ท่ใี ห้การสนับสนุน การจัดกิจกรรม กศน. เช่น โรงเรียน อบต. วดั
8. มแี หล่งเรยี นรู้ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ในชมุ ชน

สว่ นท่ี2 งบประมาณ

การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
ปีงบประมาณ 2565

ส่วนที่ 3
สรุปผลการจดั กิจกรรม/โครงการ
การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ปงี บประมาณ 2565

สรุปผลการดำเนนิ งาน ไตรมาสที่ 1– 2 ประจำปงี บประมาณ 2565
กศน.ตำบลเมืองเก่า

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งพิจิตร

กศน.ตำบลเมืองเก่า ภายใต้การดูแลของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมือง

พิจิตร เป็นสถานศึกษาในกำกับดูแลของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพิจิตร เพื่อ
ยกระดบั การศกึ ษา พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ส้นิ ปงี บประมาณ 2565 กศน.ตำบลเมืองเกา่ มีผลการดำเนินงานดงั ต่อไปน้ี

กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลการ งบประมาณใช้
การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ที่ตงั้ ไว้/คน ปฏิบัติงาน/คน (บาท)

40

- ระดับประถมศกึ ษา - - ภาพรวมทั้ง
- ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 10 11 อำเภอ

- ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 30 36

การจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่อง

โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน 18 50 12,600

(กลุ่มสนใจ-ไม่เกิน 30 ชม.)

- วชิ าการทำไก่ย่างเลิศรส 6 6 1,700

- วิชาการทำน้ำจมิ้ หลากรส 6 6 800

- วิชาการทำกะหร่ปี ั้บ 6 6 1,700

การศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชีวติ 6 6 690
- โครงการเรียนรู้ทันโรค ชวี ติ ปลอดภัย

การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสังคมและชุมชน 3 3 1,200
- โครงการจัดสวนสร้างสรรค์ พืชพันธแ์ ห่งการเรยี นรู้

การเรียนรูห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 3 1,200

-โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง สบื สานเกษตรทฤษฎีใหม่

การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั 180 180 ภาพรวมอำเภอ
- บริการสง่ เสรมิ การอา่ นมุมบ้านหนังสอื ชมุ ชน

- บริการ กศน.ตำบล



สรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ไตรมาส 1-
กศน.ตำบล

ผลผลติ ที่ 1 การจัดการศึกษานอ
กจิ กรรมที่ 1 การศกึ ษาต่อเนอื่ ง : การศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชีพ

กจิ กรรม เป้าหมาย/ หลกั สตู ร จำนวน 7-
คน / ชม / คน 18
1.2. โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุม่ สนใจ-ไม่ 23-
เกิน 30 ชม.) 18 คน 6 18

- วชิ าการทำไก่ย่างเลศิ รส 6 6

- วิชาการทำนำ้ จ้มิ หลากรส 66

- วชิ าการทำกะหรีป่ ับ้ 66

รวมท้งั ส้ิน 48 ชม. 50คน

กิจกรรมที่ 1 การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง : การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวติ

กจิ กรรม เป้าหมาย / หลักสตู ร / จำนวน /
คน ชม. คน
1.1 การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ติ
❖ โครงการเรียนรู้ทันโรค ชวี ิตปลอดภัย 666

รวมท้งั ส้ิน 6 6 ชม. 6

-2 ประจำปีงบประมาณ 2565
ลเมืองเกา่

อกระบบ : งานการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง

ระยะเวลา ผลผลิต ครูผู้สอน
สถานท่ี
นายรันทม หวัน่ แสง
-8 มกราคม2565 บา้ นเลขที่ 3 หมู่ 7 ต.เมืองเก่า นางสาลี่ เอ่ยี มสะอาด
8-19มกราคม2565 บ้านเลขท่ี 129 หมู่ 2 ต.เมอื งเกา่ นางสาวนจุ รี ร่งุ อินทร์
-24 มกราคม2565 บา้ นเลขที่ 3/1 หมู่ 7 ต.เมืองเก่า

-- -

ระยะเวลา ผลผลิต ครูผ้สู อน
สถานท่ี

14 ม.ค.65 ทที่ ำการผใู้ หญบ่ า้ น หมูท่ ี่ 3 นางณฐั วรา ภกั ดโี ต
ตำบลเมอื งเกา่
- -
-

กจิ กรรมที่ 1 การศกึ ษาต่อเนอื่ ง : การศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชน

กิจกรรม เป้าหมาย หลักสตู ร / จำนวน /
/ คน ชม. คน
1.1การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชมุ ชน
❖ โครงการจัดสวนสรา้ งสรรค์ พืชพนั ธแ์ หง่ 16 6 ชม. 3
การเรยี นรู้ 3

รวมทง้ั ส้ิน 6 ชม. 16

กิจกรรมท่ี 1 การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง : การศึกษาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

กิจกรรม เป้าหมาย / หลักสูตร / จำนวน /
คน ชม. คน
❖ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาตามหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สบื สาน 3 6 3
เกษตรทฤษฎใี หม่

รวมทั้งส้นิ 3 6 ชม. 3

ระยะเวลา ผลผลติ ครผู ู้สอน
สถานที่

9 ธนั วาคม 64 กศน.ตำบลคลองคะเชนทร์ หมู่ 2 นางชญาณี ดา่ นขจรจติ ร
ตำบลคลองคะเชนทร์

-- -

ระยะเวลา ผลผลติ ครูผ้สู อน
สถานท่ี

11 กมุ ภาพันธ์ 65 บ้านสวนพอเพียง หมทู่ ี่ 2 นายบุญเลศิ ศรีสกลุ
ตำบลหวั ดง

-- -

กิจกรรมท่ี 2 การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เป้าหมาย หลักสตู ร / จำนวน /
/ คน ชม
กิจกรรม คน

ภาคเรียนที่ 2/2561 10 - 15
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 30 - 30
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

รวมทัง้ สิ้น - 45 คน

กจิ กรรมท่ี 3 การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น เป้าหมาย / หลกั สูตร / จำนวน / ค
คน ชม
กจิ กรรม
80 - 80
- กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนด้วย
กระบวนการทางลกู เสอื 80 คน - 80 คน

- กิจกรรมค่ายยวุ กาด

รวมทัง้ สน้ิ

ผลผลติ

/ ระยะเวลา สถานที่ ครผู ้สู อน

1 พ.ย.64 ถึง กศน.ตำบลเมืองเก่า นางธิดารตั น์ ปานทิม
16 ม.ี ค. 65 กศน.ตำบลเมืองเก่า นางธิดารัตน์ ปานทมิ

น- - -

ผลผลิต

คน ระยะเวลา สถานที่ ครูผู้สอน

ก.ย.63 – มี.ค 64 กศน.อำเภอเมืองพิจติ ร คณะครู กศน.อำเภอ
เมืองพิจติ ร
9-13 ก.พ.64 อ.สามง่าม
- -
น-

กจิ กรรมท่ี 4 การพัฒนาคุณภาพชีวติ ผูส้ งู อายุ

กิจกรรม เป้าหมาย / หลักสูตร / จำนวน / ค
คน ชม
- กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ ผสู้ งู อายุ "การทำสาย
คลอ้ งแมส" 40 - 40

รวมทงั้ สิ้น 40 คน - 40 คน

ผลผลติ

คน ระยะเวลา สถานที่ ครูผู้สอน

ม.ค. - ม.ี ค. 65 บ้านหนงั สือชุมชน หมู่ท่ี 3 และ นางธดิ ารตั น์ ปานทมิ

หมทู่ ่ี 7อำเภอเมืองพิจติ ร

น- - -

สรุปผลการจดั กิจกรรม ปงี บประมาณ 2565
งานการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
กศน.ตำบลเมอื งเก่า

กิจกรรม จำนวน (คน) ครูผรู้ บั ผิดชอบ

ภาคเรยี นท่ี 2/2563 ชาย หญงิ รวม
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 78 15 นางธดิ ารตั น์ ปานทมิ
12 18 30 นางธดิ ารตั น์ ปานทิม

รวม 19 26 45

การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

…………………………………………………………………………………………………………………

กรอบแนวคดิ
1. จัดการศกึ ษา ส่งเสรมิ การรู้หนงั สอื จัดการเรียนการสอนระดับประถมศึกษา สำหรับผ้ตู ้องการ
ยกระดับความรูแ้ ละเปน็ ฐานการประกอบอาชีพในสังคม

เป้าหมาย
1. สง่ เสรมิ ใหร้ หู้ นังสือ
2. ผู้อยู่นอกโรงเรยี น จำนวน 45 คน
ระดับม.ต้น 15 คน
ระดับ ม.ปลาย จำนวน 30 คน
กลุ่มเปา้ หมาย
กลุ่มผู้ดอ้ ยโอกาสท่ีเขา้ ไมถ่ ึงการบริการของรัฐ เน่อื งจากความยากจน หรอื ไม่สามารถเข้ารับการ

บรกิ ารจากสถานศึกษาในระบบและผู้ออกลางคนั จากการศึกษาในระบบ

ผลการดำเนินงาน แผน (คน) ผล(คน) งบประมาณที่ใช้ไป
เชิงปริมาณ 10 15
กิจกรรม
30 30 ภาพรวมท้งั อำเภอ
มัธยมศกึ ษาตอนต้น
40 45
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

รวม

เชิงคุณภาพ
ยกระดบั ความร้ดู า้ นการศกึ ษาให้มีความรู้ ไดอ้ ่านออก เขยี นได้ คดิ เลข สามารถนำไปปรับใช้ให้เป็น

ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั และศึกษาต่อในระดับที่สงู ข้นึ

การศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะอาชีพ

…………………………………………………………………………………………………………………

กรอบแนวคดิ

1. เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนมที ักษะด้านการประกอบอาชีพ

2. เพือ่ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ แสวงหาความรู้ ประสบการณ์ และพฒั นาอาชีพของตนเอง

เปา้ หมาย

- การจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชพี จำนวน 18 คน

ผลการดำเนินงาน

เชิงปริมาณ

กิจกรรม แผน (คน) ผล(คน) งบประมาณท่ีใช้ไป

18

- วิชาการทำไก่ยา่ งเลิศรส 6 1,700

- วชิ าการทำน้ำจม้ิ หลากรส 6 800
6 1,700
- วิชาการทำกะหรปี่ ั้บ

เชงิ คณุ ภาพ
- ผู้เรียนมีทักษะดา้ นการประกอบอาชีพ
- ผเู้ รียนสามารถนำความรู้ท่ีได้ไปสร้างอาชพี ได้
- ผู้เรยี นสามารถพฒั นาอาชีพของตนเองได้

การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชุมชน

…………………………………………………………………………………………………………………

กรอบแนวคิด
1. จดั ร่วมกับภาคเี ครือข่ายในระดบั พน้ื ที่
2. สง่ เสริมสนับสนุนการมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมทส่ี ามารถสรา้ งประโยชนต์ อ่ สงั คมและชมุ ชน

เป้าหมาย

การจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
- จำนวน 16 คน

ผลการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ

กจิ กรรม แผน (คน) ผล(คน) งบประมาณท่ีใช้ไป

- โครงการจัดสวนสรา้ งสรรค์ พืช 3 3 1,200
พันธแ์ ห่งการเรียนรู้

เชิงคุณภาพ
- ผรู้ ่วมกิจกรรมมีความตระหนักและร่วมกิจกรรมท่หี ลากหลายขยายผลสกู่ ารนำไปปฏบิ ตั ิ
- ผู้ร่วมกิจกรรมตามท่ีจัดขนึ้
- ผู้ร่วมกิจกรรมนำความร้ไู ปปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

การศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชวี ติ

…………………………………………………………………………………………………………………

กรอบแนวคดิ

1. การจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ ให้กับกลุ่มประชาชนทวั่ ไปเกิดความรมู้ ที ักษะในการดำเนนิ

ชีวิต

2. ส่งเสรมิ ให้มีการนำองค์ความรู้และรปู แบบกระบวนการ การพฒั นาทกั ษะชีวิตบูรณาการในทุก

กระบวนการเพื่อพัฒนาคน

3. พัฒนาทกั ษะชวี ิตของผรู้ ว่ มกิจกรรมเพ่ือให้สอดคล้องกบั วยั และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย

เปา้ หมาย

การจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ

- จำนวน 6 คน

ผลการดำเนนิ งาน

เชิงปริมาณ

กิจกรรม แผน (คน) ผล(คน) งบประมาณท่ีใช้ไป

- โครงการเรยี นรู้ทันโรค ชีวิตปลอดภัย 6 6 690.-

เชิงคุณภาพ
ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมเกดิ การเรยี นรู้ มีทกั ษะในการดำเนินชีวิตและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

การศึกษาตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

…………………………………………………………………………………………………………………

กรอบแนวคดิ

เปน็ กิจกรรมท่ีม่งุ ส่งเสรมิ สนับสนุนใหเ้ กิดแหลง่ เรยี นรูต้ ามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เพื่อนำไป

ปรับใช้ในการดำเนนิ ชีวติ ลดรายจ่ายเพ่มิ รายได้

เปา้ หมาย

การจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงให้กับประชาชนทั่วไปในตำบล

- จำนวน 3 คน

ผลการดำเนินงาน

เชิงปริมาณ

กิจกรรม แผน (คน) ผล(คน) งบประมาณทใี่ ชไ้ ป

- โครงการขบั เคล่ือนการ 3 3 1,200.

พฒั นาตามหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง สบื

สานเกษตรทฤษฎใี หม่

เชิงคุณภาพ
- กลมุ่ เปา้ หมายได้รบั ความรูต้ ามแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรูแ้ ละนำหลักของปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เพอ่ื ลดรายจา่ ยเพ่ิมรายได้ในครัวเรือน
- เรียนรู้การทำ ก้อนเชื้อจุลินทรีย์เบญจคุณ เพ่ือนำไปใช้ในแปลงเกษตรของตนเอง

การศึกษาตามอธั ยาศัย
.....................................................................................................................................................

กรอบความคดิ
1. สง่ เสริมการอา่ นให้กบั ประชาชนในพืน้ ท่ี
2. จัดมมุ บา้ นหนงั สือเพ่ือใชเ้ ป็นกลไกส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนรกั การอา่ น

เป้าหมาย
ประชาชนทั่วไป จำนวน 180 คน จัดกจิ กรรม ดังน้ี
1. มุมบา้ นหนังสือชุมชน
2. อาสาสง่ เสริมการอ่าน
3. หอ้ งสมุดเคลื่อนทส่ี ำหรับชาวตลาด

ผลการดำเนินงาน
เชงิ ปรมิ าณส่งเสรมิ การศกึ ษาตามอัธยาศัยอยา่ งต่อเนื่อง ทั่วถงึ ในรูปแบบการรักอ่าน โดยให้

นกั ศึกษายืมหนงั สือกลบั ไปอ่านครัง้ ละ 1 เล่ม แลว้ กลบั มาเล่าให้เพื่อฟงั พรอ้ มทง้ั นำหนงั สอื รูปแบบเชิงรุกเข้า
บรกิ ารในชุมชนทัง้ 9 หมบู่ า้ น

กิจกรรม แผน(คน) ผล(คน/เปอร์เซน็ ต์) งบประมาณทใ่ี ช้ไป
การจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั 180 คน
3,139 คน งบประมาณ

ภาพรวมอำเภอ

เชงิ คณุ ภาพ
- เกดิ สังคมการอ่าน การเรยี นรตู้ ามความต้องการของแต่ละบคุ คล

การพัฒนาตนเอง

…………………………………………………………………………………………………………………

กรอบแนวคิด

เปน็ กจิ กรรมท่มี ุ่งเน้นให้บุคลากรมีการเรยี นรู้อย่างสม่ำเสมอและตอ่ เนื่องเพ่ือนำผลทไ่ี ด้ไปพัฒนาตนเอง

ให้เกดิ ประสิทธิภาพและทันต่อการเปลยี่ นแปลงของโลกปัจจุบัน

เป้าหมาย

เพอ่ื พฒั นาตนเองให้ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงอยา่ งต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงาน

เชิงปริมาณ พฒั นาตนเอง จำนวน 70 ช่ัวโมง

ลำดบั กิจกรรม วนั เดอื นปี ทเี่ ขา้ หน่วยงานจัด สถานท่ี หมายเลขใบ จำนวน
รว่ มกิจกรรม กิจกรรม ประกาศ ชั่วโมง

1. โครงการทบทวนระบบการประกนั คุณภาพ 22-26 พ.ย.64 กศน.อำเภอ กศน.อำเภอ 30
เมอื งพิจิตร เมืองพจิ ิตร
ภายในสถานศึกษา

2. โครงการจดั ทำข้อสอบปลายภาคเรยี นวิชา 31 ม.ค.-1,2 ก.พ. กศน.อำเภอ กศน.อำเภอ 18

เลือกเสรี ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 65 เมืองพจิ ติ ร เมืองพจิ ิตร

จังหวดั พจิ ิตร -

3. โครงการอบรมวิทยากรแกนนำศูนยด์ ิจิทัล 8 - 9 เดอื น สำนกั งาน ศนู ยป์ ระชมุ 12
ชุมชน มนี าคม พ.ศ. 65 กศน.จังหวัด และแสดง
สินคา้ จงั หวัด -
พิจติ ร พจิ ิตร

เชงิ คณุ ภาพ
- มกี ารเรียนรู้อย่างสมำ่ เสมอและตอ่ เนื่องเพ่อื นำผลทไ่ี ด้ไปพัฒนาตนเองใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพและทนั
ต่อการเปลย่ี นแปลงของโลกปัจจบุ ัน
- นำความร้ทู ไ่ี ดม้ าพฒั นาตนเอง

กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผู้สงู อายุ
.....................................................................................................................................................

กรอบความคิด
1. ส่งเสริมคุณภาพชีวติ ใหก้ บั ผสู้ ูงอายุ
2. พฒั นาคุณภาพชีวิตสมอง กาย จติ

เปา้ หมาย
ประชาชนท่ัวไป จำนวน 40 คน จัดกจิ กรรม ดังนี้
1. ผู้สูงอายุตำบลเมืองเก่า
2. ผูก้ ำลังย่างเข้าสวู่ ยั สงู อายุตำบลเมอื งเกา่

ผลการดำเนินงาน
เชิงปรมิ าณส่งเสริมคุณภาพชีวติ ให้กบั ผสู้ งู อายุ สมอง กาย จติ และส่งเสริมกจิ กรรมใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ

ประโยชน์ และส่งเสริมสขุ ภาพ รปู แบบเชงิ รกุ เข้าบริการในชมุ ชนท้งั 9 หมบู่ า้ น

กจิ กรรม แผน(คน) ผล(คน/เปอรเ์ ซ็นต์) งบประมาณที่ใช้ไป
การจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
40 คน 40/100 คน 2,800

เชิงคณุ ภาพ
- ผ้สู งู อายุในตำบลเมอื งเก่า มคี ุณภาพชวี ิตที่ดี ได้พัฒนาสมอง กาย จติ ใจ สง่ เสรมิ กิจกรรมใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิด
ประโยชน์ และสง่ เสริมสุขภาพ ทำใหม้ ีคุณภาพชีวติ ท่ีดี

สว่ นท่ี 4 ภาพกจิ กรรม

โครงการการจดั สวนสร้างสรรค์ พชื พนั ธุแ์ ห่งการเรียนรู้ (หลกั สูตร 6 ชม.)

(กิจกรรมของโซนเมืองติดคลองเล้ียงชา้ งอยกู่ ลางสองดง)

วนั ที่ 9 ธ.ค. 64 กศน.ตาบลคลองคะเชนทร์ ดาเนินการจดั โครงการสวนสร้างสรรค์ พืชพนั ธุ์แห่งการเรียนรู้
โดยมี นางชญาณี ด่านขจรจิตร ครูอาสาสมคั ร กศน. เป็นวิทยากร และมีนางวริ ิญา แกว้ ทา ครูผชู้ ่วย เป็นผนู้ ิเทศ
กิจกรรม ณ กศน.ตาบลคลองคะเชนทร์ หมทู่ ่ี 2 ตาบลคลองคะเชนทร์ อาเภอเมืองพิจติ ร จงั หวดั พิจิตร มีผเู้ ขา้ ร่วม
กิจกรรมจานวน 3 คน หญิง 3 คน ใชง้ บประมาณ 1,200 บาท

โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (กลมุ่ สนใจ 6 ชม.)
วชิ า การทาไก่ยา่ งเลิศรส

วนั ที่ 7 - 8 ม.ค. 65 กศน.ตาบลเมืองเก่า จดั กิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (ไม่เกิน
30 ชว่ั โมง) หลกั สูตรการทาไก่ยา่ งเลิศรส โดยมี นายรันทม หวน่ั แสง เป็นวทิ ยากร จดั ที่ : เลขที่ 3 หมทู่ ่ี 7 ต.เมือง
เก่า อ.เมืองพจิ ิตร มีผเู้ รียนจานวน 6 คน ชาย 0 คน หญงิ 6 คน งบประมาณ 1,700 บาท

โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ 6 ชม.)
วชิ า การทาไก่ยา่ งเลิศรส

โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (กลมุ่ สนใจ 6 ชม.)
วชิ า น้าจิ้มหลากรส

วนั ท่ี 18 - 19 ม.ค. 65 กศน.ตาบลเมืองเก่า จดั กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนื่อง โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (ไม่
เกิน 30 ชวั่ โมง) หลกั สูตรการน้าจิม้ หลากรส โดยมีนางสาล่ี เอ่ียมสะอาด เป็นวทิ ยากร จดั ท่ี : บา้ นผเู้ รียนเลขท่ี
129 หมู่ 2 ต.เมืองเก่า อ.เมืองพจิ ติ ร มีผเู้ รียนจานวน 6 คน ชาย 0 คน หญิง 6 คน งบประมาณ 800 บาท

โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (หลกั สูตร 40 ชม.)
วิชา การทากะหรี่ป้ับ

วนั ที่ 24-31 ม.ค. 65 กศน.ตาบลเมืองเก่า จดั กจิ กรรมการศึกษาตอ่ เน่ือง โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ช้นั
เรียนวิชาชีพ ( 30 ชวั่ โมงข้ึนไป) หลกั สูตรการทากะหรี่ป้ับ โดยมนี .ส.นุจรี รุ่งอินทร์ เป็นวิทยากร จดั ที่ : บา้ น
ผเู้ รียน หมู่ 6 ต.เมืองเก่า อ.เมืองพจิ ิตร มีผเู้ รียนจานวน 6 คน ชาย - คน หญงิ 6 คน งบประมาณ 1,700 บาท

โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (หลกั สูตร 40 ชม.)
วิชา การทากะหร่ีป้ับ

โครงการเรียนรู้ทนั โรคชีวิตปลอดภยั (หลกั สูตร 6 ชม.)

(กิจกรรมของโซนเมืองติดคลองเล้ียงชา้ งอยกู่ ลางสองดง)

วนั ที่ 14 ม.ค. 65 กศน.ตาบลเมืองเก่า จดั กจิ กรรมทกั ษะชีวติ โครงการเรียนรู้ทนั โรคชีวติ ปลอดภยั (หลกั สูตร 6
ชม.) โดยมีนางณฐั วรา ภกั ดีโต เป็นวทิ ยากร จดั ที่ : ท่ีทาการผใู้ หญ่บา้ น
หมทู่ ่ี 3 ต.เมืองเก่า อ.เมืองพจิ ิตร มีผเู้ รียนจานวน 6 คน ชาย 2 คน หญิง 4 คน งบประมาณ 690 บาท

โครงการเรียนรู้ทนั โรคชีวิตปลอดภยั (หลกั สูตร 6 ชม.)

(กิจกรรมของโซนเมืองติดคลองเล้ียงชา้ งอยกู่ ลางสองดง)

โครงการขบั เคล่ือนการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่
(หลกั สูตร 6 ชม.)

(กิจกรรมของโซนเมืองติดคลองเล้ียงชา้ งอยกู่ ลางสองดง)

วนั ท่ี 11 ก.พ. 65 โซนเมืองติดคลองเล้ียงชา้ งอยกู่ ลางสองดง จดั กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการ
ขบั เคลื่อนการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ (หลกั สูตร 6 ชม.) โดยมีนาย
บุญเลิศ ศรีสกุล เป็นวิทยากร จดั ที่ : บา้ นสวนพอเพยี ง หม่ทู ี่ 2 ต.หวั ดง อ.เมือง จ.พจิ ิตร มีผเู้ รียนจานวน 3 คน ชาย
- คน หญงิ 3 คน งบประมาณ 1,200 บาท

กิจกรรมการจดั การเรียนการสอน
รูปแบบออนไลน์และออนไซด์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และตอนปลาย

กิจกรรมการจดั การเรียนการสอน
รูปแบบออนไลนแ์ ละออนไซด์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และตอนปลาย


Click to View FlipBook Version