โครงการ ตรรกศาสตร์ของดิจิตอลคอมพวิ เตอร์
เรื่อง ตู้ไปรษณยี ์แจ้งเตือนทาง LINE
จัดทาโดย
นายนันทพงศ์ แสนเยน็
นายกฤตนัย คงสมบัติ
ระดบั เทคโนโลยบี ัณฑติ ปี พทุ ธศักราช 2563
อาชีวศึกษาบัณฑิต
สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 3
โครงการ ตรรกศาสตร์ของดิจิตอลคอมพวิ เตอร์
เรื่อง ตู้ไปรษณยี ์แจ้งเตือนทาง LINE
จัดทาโดย
นายนันทพงศ์ แสนเยน็
นายกฤตนัย คงสมบัติ
ระดบั เทคโนโลยบี ัณฑติ ปี พทุ ธศักราช 2563
อาชีวศึกษาบัณฑิต
สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 3
กติ ติกรรมประกาศ
โครงการน้ีเสร็จอย่างสมบูรณ์ โดยไดร้ ับความกรุณาอย่างย่ิง จากผูท้ ี่ไดช้ ่วยเหลือทุกท่าน
โดยเฉพาะ อาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงงาน คือ อาจารย์ ประมุข ธรรมศิราลกั ที่ไดใ้ ห้คาปรึกษาและช่วย
แนะนาในการจดั ทาโครงการน้ี และอาจารยท์ ุกท่านที่ให้คาเสนอแนะเพ่ือนามา ปรับปรุงช้ินงาน
ทางคณะผจู้ ดั ทาโครงการขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ี
ขอขอบคุณสมาชิกในกลุ่มที่ให้ความร่วมมือเป็ นอยา่ งดีในการทาโครงงานคร้ังน้ีจนกระทง่ั
ประสบความสาเร็จดว้ ยดี
คณะผจู้ ดั ทา
ชื่อ โครงการ : ตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE
คณะผจู้ ดั ทา : นายนนั ทพงศ์ แสนเยน็
นายกฤตนยั คงสมบตั ิ
อาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงการ : อาจารย์ ประมุข ธรรมศิราลกั
สถานศึกษา : สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 3
ปี การศึกษา :2563
บทคดั ยอ่
ตูไ้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE ท่ีสร้างข้ึนน้ีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือเตือนผูใ้ ชไ้ ม่ให้ลืมจดหมายได้
เพ่ือป้องกนั ความเสียหายของจดหมายได้ และหาประสิทธิภาพดา้ นการใชง้ านของตูไ้ ปรษณียแ์ จง้
เตือนทาง LINE โดยใช้หลกั การ ตรวจสอบจดหมายภายในตู้ดว้ ยเซ็นเซอร์ตรวจจับวตั ถุ เมื่อมี
จดหมายหยอ่ นลงตู้ ระบบส่งขอ้ ความแจง้ เตือนไปยงั LINE ทนั ที
ตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE ประสิทธิผลดงั น้ี ตรู้ ับจดหมายไฮเทคแจง้ เตือนทนั ทีที่มีการ
หยอ่ นจดหมายลงในตมู้ ีประสิทธิภาพคิดเป็ น ร้อย ละ 100 ตูไ้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE สามารถ
ป้องกนั การลืมจดหมายได้ มีประสิทธิภาพคิดเป็ นร้อยละ 100 รองลงมา คือตูร้ ับจดหมายไฮเทค
และ รายการท่ีผตู้ อบแบบสอบถามมีความเห็นนอ้ ยที่สุด คือ ตูร้ ับจดหมายไฮเทคมีรูปร่างสวยงามมี
ประสิทธิภาพ คิด เป็นร้อยละ 70 ซ่ึงสามารถท างานไดต้ ามวตั ถปุ ระสงคไ์ ดอ้ ยา่ งสมบูรณ์
คณะผจู้ ดั ทา
สารบัญ หน้า
เรื่อง ก
บทคดั ย่อ ข
กติ ติกรรมประกาศ ค
สารบญั
สารบัญตาราง 1
สารบัญรูปภาพ 1
บทท่ี 1 1
2
ความเป็ นมาและความสาคญั 2
วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 2-3
ขอบเขตการวิจยั 4
สมมติฐานการวิจยั (ถา้ มี)
คาจากดั ความที่ใชใ้ นงานวิจยั 5-8
ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ
บทที่ 2 9-19
อุปกรณ์ในการประดิษฐ์ตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE
บทท่ี 3
วิธีดาเนินการทดสอบ
บทท่ี 4 20-21
ผลการวจิ ยั
22-24
บทท่ี 5 25
สรุปผลการวิจยั
เอกสารอ้างองิ
ภาคผนวก
สารบัญรูปภาพ
รูปท่ี 2.1 ESP8266 NodeMCU
รูปที่ 2.2 เซ็นเซอร์ตรวจจบั วตั ถุ
รูปท่ี 2.3 สายไฟจมั เปอร์
รูปท่ี 2.4 เบรดบอร์ด (Breadboard)
รูปท่ี 2.5 พาวเวอร์แบงค์
รูปท่ี 2.6 สาย USB
รูปท่ี 2.7 ตไู้ ปรษณีย์
รูปที่ 3.1 แผนผงั ลาดบั ข้นั ตอนการจดั ทาโครงการ
รูปท่ี 3.2 การทางานของตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE
1
บทที่ 1
บทนา
ความเป็ นมาและความสาคัญ
ตรู้ ับจดหมายเป็นอุปกรณ์ที่ยงั คงมีความจาเป็นสาหรับบา้ นเรือนในยคุ ปัจจุบนั เพ่ือใชร้ ับฝาก
ข่าวสาร เอกสารสาคญั ท่ีถูกส่งมาทางไปรษณีย์ เนื่องจากตูร้ ับจดหมายมีลกั ษณะรูปร่างที่ปิ ดทึบ ทา
ใหผ้ ูใ้ ชไ้ ม่ สังเกตจดหมายที่อยภู่ ายในตู้ จึงทิ้งให้จดหมายยงั คงคา้ งอยใู่ นตูร้ ับจดหมายเป็นเวลานาน
อาจส่งผลให้จดหมาย สาคญั ได้รับความเสียหาย เช่น มีน้าฝนร่ัวซึมเขา้ ไปในตู้ หรือหากบุรุษ
ไปรษณียห์ ยอ่ นจดหมายไม่ดี จดหมาย อาจปลิวหลน่ หายได้
ซ่ึงจากปัญหาที่เกิดดงั กล่าว ผูป้ ระดิษฐ์จึงไดค้ ิดคน้ วิธีการป้องกนั การลืมจดหมายในตูร้ ับ
จดหมาย โดยประดิษฐ์ตูร้ ับจดหมายไฮเทคข้ึน โดยใช้หลกั การตรวจเช็คจดหมายภายในตู้ เม่ือมี
จดหมายหย่อน ลงตู้ ระบบจะส่งขอ้ ความแจง้ เตือนไปยงั LINE ทนั ที โดยการนาหลกั การ ของ
เซ็นเซอร์ตรวจจบั ความเคล่ือนไหวมาประยกุ ตใ์ ชง้ าน
วตั ถุประสงค์ของโครงการ
1 เพอ่ื เตือนผใู้ ชไ้ มใ่ หล้ ืมจดหมายได้
2 เพอ่ื ป้องกนั ความเสียหายของจดหมายได้
3 เพื่อเพม่ิ มูลค่าใหก้ บั สินคา่ ได้
4 เพือ่ พฒั นาสู่ผลประโยชน์เชิงพาณิชยไ์ ด้
5 เพอ่ื หาประสิทธิภาพของตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE
2
ขอบเขตของโครงการ
1 จดั สร้างตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE จานวน 1 ช้ิน
2 ตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทางLINEใชส้ าหรับรับจดหมายจากบุรุษไปรษณีย์ หรือ บิลค่าบริการ
รายเดือนไฟฟ้า และน้าประปา
3 ผใู้ ชต้ ไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINEช่วยลดการลืมจดหมายและลดการเสียหายของจดหมาย
ไดจ้ ริง
สมมตฐิ านการวจิ ัย
1.ตวั แปรตน้ ตรู้ ับจดหมาย
2.ตวั แปรตาม สามารถแจง้ เตือนไปท่ี LINE ได้
คาจากดั ความทีใ่ ช้ในงานวจิ ัย
1. บอร์ด ESP8266 NodeMCU คือ แพลตฟอร์มหน่ึงที่ใชช้ ่วยในการสร้างโปรเจค Internet
of Things (IoT) ท่ีประกอบไปด้วย Development Kit (ตัวบอร์ด) และ Firmware (Software บน
บอร์ด) ที่เป็ น open source สามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Lau ได้ ทาให้ใชง้ านไดง้ ่ายข้ึน มา
พร้อมกบั โมดูล WiFi (ESP8266) ซ่ึงเป็ นหัวใจสาคญั ในการใช้เชื่อมต่อกบั อินเตอร์เน็ตนั่นเอง ตวั
โมดูล ESP8266 น้ันมีอยู่ดว้ ยกนั หลายรุ่นมาก ต้งั แต่เวอร์ชันแรกที่เป็ น ESP-01 ไล่ไปเร่ือย ๆจน
ปัจจุบนั มีถึง ESP-12 แลว้ และท่ีฝังอยใู่ นNodeMCU version แรกน้นั ก็เป็ น ESP-12 แต่ใน version2
น้ันจะใช้เป็ น ESP-12E แทน ซ่ึงการใช้งานโดยรวมก็ไม่แตกต่างกันมากนัก NodeMCU น้ันมี
ลกั ษณะคลา้ ยกับ Arduino ตรงท่ีมีพอร์ต Input Output buil in มาในตวั สามารถเขียนโปรแกรม
คอนโทรลอุปกรณ์ I/O ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งผา่ นอปุ กรณ์อ่ืน ๆ และเมื่อไม่นานมาน้ีกม็ ีนกั พฒั นาท่ีสามารถ
ทาให้ Arduino IDE ใชง้ านร่วมกบั Node MCU ได้ จึงทาใหใ้ ชภ้ าษา C/C++ ในการเขียนโปรแกรม
ได้
3
2. เซ็นเซอร์ตรวจจบั วตั ถุสิ่งกีดขวางและเส้นขาวดาแบบอินฟาเรด IR Infrared Obstacle
Detection Sensorเซ็นเซอร์ใช้ตรวจจับวัตถุโดยใช้หลักการสะท้อนของแสงเมื่อไปชนวัตถุ
(Reflective) สามารถปรับความไวในการตรวจจบั ได้ ใชแ้ สงอินฟาเรดในการตรวจจบั
3.สายไฟจมั เปอร์แบบ ผ-ู้ เมีย สายไฟจมั เปอร์แบบ ผ-ู้ เมีย เหมาะสาหรับใชง้ านในวงจรทวั่ ไป
หรือใชก้ บั อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมี PIN ตวั ผู้ เช่น บอร์ด Arduino Nano ที่ตวั Pin ของบอร์ดเป็ น
ตวั ผู้ และนอกจากน้ียงั สามารถใชร้ ่วมกบั สายจมั ป์ แบบ ผ-ู้ ผู้ เพอื่ ตอ่ เพิม่ ความยาวของสายไฟ
4. เบรดบอร์ด (Breadboard) โพรโทบอร์ด (Protoboard) หรืออาจจะเรียกทบั ศพั ท์ว่า เบรด
บอร์ด (Breadboard) สาหรับในประเทศไทยมกั จะนิยมใชค้ าวา่ โพรโทบอร์ด หรือบางคร้ังเพ้ียนเป็ น
คาว่า โฟโตบ้ อร์ด แต่หากนาคาว่า โฟโตบ้ อร์ด ไปคน้ หาในเวบ็ ต่างประเทศ จะไม่พบขอ้ มูลใด ๆ
เลย เน่ืองจากมีเพียงประเทศไทยประเทศเดียวท่ีใชค้ าวา่ โฟโตบ้ อร์ด ส่วนคาวา่ โพรโทบอร์ด เป็นคา
ที่หลาย ๆ ประเทศนิยมใช้ แต่หากจะให้เป็ นสากล เรียกวา่ เบ-รดบอร์ด จะทาให้เขา้ ใจตรงกนั ไดท้ กุ
ชาติ
5. Power Bank (พาวเวอร์แบงค)์ คือแบตเตอร่ีสารอง ท่ีสามารถนามาใชก้ บั สมาร์ทโฟนของ
คุณไดท้ ุกรุ่นท้งั iPhone, Samsung, Android วธิ ีใชง้ าน เพยี งแคเ่ สียบสายชาร์จสมาร์ทโฟนตอ่ เขา้ กบั
Power Bank แคน่ ้ีมือถือของคุณก็ชาร์จไฟเพิม่ ไดท้ กุ ที่ทุกเวลา เวลาเดินทางอยนู่ อกบา้ น
6.สาย USB เป็นอุปกรณ์อิเลค็ ทรอนิกส์ท่ีใชเ้ ช่ือมต่อระหวา่ งอุปกรณ์ 2 ชนิดหรือ
มากกวา่ โดยผา่ นช่องทางการสื่อสารท่ีเรียกวา่ พอร์ต (Port) เช่น เครื่องปริ้นท์ ,โมเดม , เมา้ ส์ ,
คียบ์ อร์ด หรือ กลอ้ งดิจิตอล เป็นตน้
7.ตไู้ ปรษณีย์ เป็นตสู้ าหรับใหป้ ระชาชนนาจดหมายซ่ึงติดแสตมป์ คา่ ส่งแลว้ มาหยอดเขา้ ไป
ในตู้
4
ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ
1. สารมารถแปรสภาพตรู้ ับจดหมายธรรมดาราคาต่ามาเป็นตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE ท่ี
มีมูลคา่ สูงข้ึนได้
2.ตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE สามารถต่อยอดสู่ผลผลิตเชิงพาณิชยไ์ ด้
3.ผใู้ ชต้ ไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE มีประสิทธิภาพ ช่วยลดการลืมจดหมาย และลดการ
เสียหายของ จดหมายไดจ้ ริง
5
บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง
อปุ กรณ์ในการประดิษฐ์ตู้ไปรษณยี ์แจ้งเตือนทาง LINE
1. บอร์ด ESP8266 NodeMCU คือ แพลตฟอร์มหน่ึงที่ใชช้ ่วยในการสร้างโปรเจค Internet of
Things (IoT) ท่ีประกอบไปดว้ ย Development Kit (ตวั บอร์ด) และ Firmware (Software บนบอร์ด)
ท่ีเป็น open source สามารถเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Lau ได้ ทาใหใ้ ชง้ านไดง้ ่ายข้ึน มาพร้อมกบั
โมดูล WiFi (ESP8266) ซ่ึงเป็นหวั ใจสาคญั ในการใชเ้ ชื่อมตอ่ กบั อินเตอร์เน็ตนน่ั เอง ตวั โมดูล
ESP8266 น้นั มีอยดู่ ว้ ยกนั หลายรุ่นมาก ต้งั แตเ่ วอร์ชนั แรกที่เป็น ESP-01 ไล่ไปเรื่อยๆจน
ปัจจุบนั มีถึง ESP-12 แลว้ และท่ีฝังอยใู่ นNodeMCU version แรกน้นั กเ็ ป็น ESP-12 แตใ่ น version2
น้นั จะใชเ้ ป็น ESP-12E แทน ซ่ึงการใชง้ านโดยรวมกไ็ ม่แตกตา่ งกนั มากนกั NodeMCU น้นั มี
ลกั ษณะคลา้ ยกบั Arduino ตรงท่ีมีพอร์ต Input Output buil in มาในตวั สามารถเขียนโปรแกรม
คอนโทรลอุปกรณ์ I/O ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งผา่ นอุปกรณ์อื่นๆ และเมื่อไมน่ านมาน้ีก็มีนกั พฒั นาที่สามารถ
ทาให้ Arduino IDE ใชง้ านร่วมกบั Node MCU ได้ จึงทาใหใ้ ชภ้ าษา C/C++ ในการเขียนโปรแกรม
ได้
รูปท่ี 1 ESP8266 NodeMCU
6
2. เซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุสิ่งกีดขวางและเส้ นขาวดาแบบอินฟาเรด IR Infrared Obstacle
Detection Sensor เซ็นเซอร์ใช้ตรวจจับวัตถุโดยใช้หลักการสะท้อนของแสงเมื่อไปชนวัตถุ
(Reflective) สามารถปรับความไวในการตรวจจบั ได้ ใชแ้ สงอินฟาเรดในการตรวจจบั
รูปท่ี 2 เซ็นเซอร์ตรวจจบั วตั ถุ
3 สายไฟจัมเปอร์แบบ ผ้-ู เมยี
สายไฟจัมเปอร์แบบ ผู้-เมีย เหมาะสาหรับใช้งานในวงจรท่ัวๆไป หรื อใช้กับอุปกณ์
อิเล็กทรอนิกส์ที่มี PIN ตวั ผู้ เช่น บอร์ด Arduino Nano ที่ตวั Pin ของบอร์ดเป็ นตวั ผู้ และนอกจากน้ี
ยงั สามารถใชร้ ่วมกบั สายจมั ป์ แบบ ผ-ู้ ผู้ เพ่ือต่อเพม่ิ ความยาวของสายไฟ
รูปที่ 3 สายไฟจมั เปอร์
7
4 เบรดบอร์ด (Breadboard)
โพรโทบอร์ด (Protoboard) หรืออาจจะเรียกทบั ศพั ทว์ า่ เบรดบอร์ด (Breadboard) สาหรับใน
ประเทศไทยมกั จะนิยมใชค้ าวา่ โพรโทบอร์ด หรือบางคร้ังเพ้ยี นเป็นคาวา่ โฟโตบ้ อร์ด แตห่ ากนาคา
ว่า โฟโตบ้ อร์ด ไปคน้ หาในเวบ็ ต่างประเทศ จะไม่พบขอ้ มูลใด ๆ เลย เนื่องจากมีเพียงประเทศไทย
ประเทศเดียวที่ใชค้ าวา่ โฟโตบ้ อร์ด ส่วนคาวา่ โพรโทบอร์ด เป็ นคาท่ีหลาย ๆ ประเทศนิยมใช้ แต่
หากจะใหเ้ ป็นสากล เรียกวา่ เบ-รดบอร์ด จะทาใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั ไดท้ ุกชาติ
รูปที่ 4 เบรดบอร์ด (Breadboard)
5. Power Bank (พาวเวอร์แบงค์)
คือแบตเตอรี่สารอง ท่ีสามารถนามาใชก้ บั สมาร์ทโฟนของคุณไดท้ ุกรุ่นท้งั iPhone,
Samsung, Android วธิ ีใชง้ าน เพยี งแคเ่ สียบสายชาร์จสมาร์ทโฟนตอ่ เขา้ กบั Power Bank แค่น้ีมือถือ
ของคุณก็ชาร์จไฟเพมิ่ ไดท้ ุกที่ทุกเวลา เวลาเดินทางอยนู่ อกบา้ น
รูปที่ 5 พาวเวอร์แบงค์
8
6.สาย USB เป็นอปุ กรณ์อิเลค็ ทรอนิกส์ที่ใชเ้ ช่ือมตอ่ ระหวา่ งอุปกรณ์ 2 ชนิดหรือ
มากกวา่ โดยผา่ นช่องทางการสื่อสารที่เรียกวา่ พอร์ต (Port) เช่น เครื่องปริ้นท์ ,โมเดม , เมา้ ส์ ,
คียบ์ อร์ด หรือ กลอ้ งดิจิตอล เป็นตน้ สาหรับการใชง้ านน้นั งา่ ยต่อการติดต้งั และใชง้ าน และเราไม่
จาเป็นตอ้ งใชไ้ ฟอื่นๆ เพ่ิมเติม เน่ืองจาก USB มีระบบไฟอยใู่ นตวั (5 Volt) ทาใหง้ ่ายในการเช่ือมตอ่
อุปกรณ์ทุกประเภท ส่งผลใหอ้ ุปกรณ์สาย USB เป็ นที่นิยมอยา่ งมากในทกุ ๆการเชื่อมต่อ
รูปที่ 6 สาย USB
7.ตู้ไปรษณยี ์ เป็นตสู้ าหรับใหป้ ระชาชนนาจดหมายซ่ึงติดแสตมป์ ค่าส่งแลว้ มาหยอดเขา้ ไป
ในตู้ และจะมีบุรุษไปรษณียม์ ารวบรวมจดหมายตามเวลาท่ีกาหนด เพอ่ื ส่งเขา้ ระบบไปรษณียต์ อ่ ไป
มีการนามาใชใ้ นสหราชอาณาจกั รต้งั แต่ พ.ศ. 2398 (ค.ศ. 1855) คิดเป็นเวลา 15 ปี นบั จากการเปิ ด
บริการไปรษณียโ์ ดยใชแ้ สตมป์
รูปท่ี 7 ตไู้ ปรษณีย์
9
บทท่ี 3
วิธีดาเนินงาน
เน้ือหาในบทน้ีจะกล่าวถึง ข้นั ตอน และวิธีดาเนินงาน ในการสร้าง ตูไ้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง
LINE ซ่ึงไดน้ าขอ้ มูลจากการศึกษาเอกสารต่าง ๆ ที่เป็ นประโยชน์เพ่ือประกอบใชใ้ น ข้นั ตอนการ
ดาเนินงาน ตลอดจนถึงวิธีการทางานของตูไ้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE และ อุปกรณ์ต่าง ๆ ให้
เขา้ ใจเสียก่อน เพื่อท่ีจะทาการตูไ้ ปรษณียแ์ จ้งเตือนทาง LINE เพื่อให้ ออกมามีประสิทธิภาพใน
การททางานและใชง้ านไดต้ ามวตั ถุประสงค์ท่ีตอ้ งการและสามารถนาไปใช้ ประกอบการศึกษาให้
เกิดประโยชนส์ ูงสุดซ่ึงมีลาดบั ข้นั ตอนการทางานดงั ต่อไปน้ี
3.1 ลาดบั ข้นั ตอนการจดั ทาโครงการ
3.2 อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการทดลอง
3.1. ลาดับข้นั ตอนการจดั ทาโครงการ
การจดั ทาโครงการน้ีเป็นการศึกษาเกี่ยวกบั แนวทางการสร้าง ตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE
โดยมีลาดบั ข้นั ตอนการดาเนินงานโครงการสามารถเขียนอธิบายเป็ นโปรแกรมแผนผงั งาน ลาดบั
ข้นั ตอนการดาเนินโครงการ (Program Flow Chart) ต้งั แตเ่ ริ่มตน้ จนกระทง่ั ส้ินสุดโครงการ โดยการ
เขียนแผนผงั โปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลกั ษณ์มาตรฐานต่าง ๆ โดย สัญลักษณ์
มาตรฐานที่ถูกอา้ งอิงถึงจดั อยใู่ นมาตรฐาน ANSI หรือเรียกช่ือเต็มวา่ American National Standards
Institute ซ่ึงเป็ นมาตรฐานท่ีนิยมใชใ้ นประเทศสหรัฐอเมริกา ในการสร้างแผนผงั เพ่ือ เป็ นไปตาม
ข้นั ตอนการทางานอยา่ งเป็นระบบ ก่อนการเร่ิมปฏิบตั ิงานจะมีการดาเนินงานดงั ต่อไปน้ี
10
เริ่มตน้
ศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ขอ้ มูลเก่ียวกบั โครงการ
ออกแบบและสร้าง
ทดสอบ
เก็บขอ้ มูล ปรับปรุงแกไ้ ข
วิเคราะห์ขอ้ มลู
สรุปผลขอ้ มลู
จดั ทารูปเล่ม
สิ้นสุด
3.1 แผนผงั ลาดบั ข้นั ตอนการจดั การโครงการ
11
3.2. หลกั การทางานของตู้ไปรษณีย์แจ้งเตือนทาง LINE
เมื่อเปิ ดการทางานของตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE เวลาบรุ ุษไปรษณีย์ นาจดหมายมา
หยอ่ นลงในตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE แลว้ จะมีขอ้ ความส่งไปยงั LINE ทนั ที ดว้ ย LINE
Notify จะแจง้ เตือนทกุ คร้ัง เมื่อมีคนนาจดหมายมาส่งหรือมาหยอ่ นลงในตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง
LINE
12
3.2.1 วิธีการทาตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE
1.ทาการมาร์คตาแหน่งอปุ กรณ์ต่าง ๆลงบนกลอ่ ง เพ่อื เจาะติดต้งั อปุ กรณ์
2.ทาการติดต้งั อุปกรณ์ลงบนตวั ตไู้ ปรษณีย์
13
3.ทาการเช่ือมต่ออุปกรณ์เขา้ กบั วงจรควบคุม
4.เสร็จเรียบร้อย
14
3.2.2 การออกแบบวงจรควบคุม
void Line_Notify1(String message1) ;
#include <ESP8266WiFi.h>
#include <TridentTD_LineNotify.h>
#define WIFI_SSID "FAME101"
#define WIFI_PASSWORD "q11111111"
#define LINE_TOKEN_PIR "gR6PkGLK5ICyKwXIVIJsPhYI7Dg7wYXieObfRu9A8pP"
#define PirPin D6
#define DHTPIN D7
#define DHTTYPE DHT11
String message1 =
"%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%88%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%
B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87"
;
bool beep_state = false;
bool send_state = false;
uint32_t ts, ts1, ts2;
void setup() {
15
Serial.begin(115200);
Serial.println();
pinMode(PirPin, INPUT);
pinMode(LED_BUILTIN, OUTPUT);
digitalWrite(LED_BUILTIN, HIGH);
//dht.begin();
Serial.println("connecting");
WiFi.mode(WIFI_STA);
WiFi.begin(WIFI_SSID, WIFI_PASSWORD);
Serial.print("connecting");
while (WiFi.status() != WL_CONNECTED) {
Serial.print(".");
delay(500);
}
Serial.println();
Serial.print("connected: ");
Serial.println(WiFi.localIP());
delay(10000);
Serial.println("Pir Ready!!");
16
//read_sensor();
ts = ts1 = ts2 = millis();
}
void loop() {
ts = millis();
if (WiFi.status() == WL_CONNECTED) {
digitalWrite(LED_BUILTIN, LOW);
} else {
digitalWrite(LED_BUILTIN, HIGH);
}
//
//if ((ts - ts2 >= 60000) && (WiFi.status() == WL_CONNECTED)) {
//read_sensor();
//}
if ((ts - ts1 >= 5000) && (beep_state == true)) {
beep_state = false;
}
17
if ((digitalRead(PirPin) == HIGH) && (beep_state == false) && (WiFi.status() ==
WL_CONNECTED)) {
while (digitalRead(PirPin) == HIGH) delay(100);
Serial.println("Detect !");
Line_Notify1(message1);
beep_state = true;
}
delay(10);
}
void Line_Notify1(String message) {
WiFiClientSecure client;
if (!client.connect("notify-api.line.me", 443)) {
Serial.println("connection failed");
delay(2000);
return;
}
String req = "";
req += "POST /api/notify HTTP/1.1\r\n";
req += "Host: notify-api.line.me\r\n";
18
req += "Authorization: Bearer " + String(LINE_TOKEN_PIR) + "\r\n";
req += "Cache-Control: no-cache\r\n";
req += "User-Agent: ESP8266\r\n";
req += "Content-Type: application/x-www-form-urlencoded\r\n";
req += "Content-Length: " + String(String("message=" + message1).length()) + "\r\n";
req += "\r\n";
req += "message=" + message1;
// Serial.println(req);
client.print(req);
delay(20);
while (client.connected()) {
String line = client.readStringUntil('\n');
if (line == "\r") {
break;
}
}
}
//
//void read_sensor() {
19
//
//float h = dht.readHumidity();
//float t = dht.readTemperature();
//
//if (isnan(h) || isnan(t)) {
//Serial.println("Failed to read from DHT sensor!");
//return;
//}
//Serial.print("Temperature: ");
//Serial.print(t);
//Serial.println("
20
บทที่ 4
ผลการวจิ ัย
จากการออกแบบ และจดั ทาตูไ้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE คณะผูจ้ ดั ทาไดท้ าการทดสอบ
เพ่ือ หาสมรรถนะของตูไ้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE โดยการ ทาการทดสอบ หาประสิทธิภาพการ
ทางาน โดยมีการออกแบบและสร้างข้ึนไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ และขีด ความสามารถที่ต้งั ไว้ และ
ผลการดาเนินงานจะกล่าวถึง การทดสอบท่ีไดจ้ ากการออกแบบ และสร้างข้ึน คือ ส่วนประกอบของ
แบบเซ็นเซอร์ตรวจจบั วตั ถสุ ิ่งกีดขวาง โดยมีผลการทดสอบในการทาของเซ็นเซอร์ตรวจจบั วตั ถุสิ่ง
กีดขวางดงั น้ี
ผลการทดสอบตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE
สร้างตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE จานวน 1 เครื่อง และมีการสุ่มกลุม่ ตวั อยา่ งเพ่อื การ
ทดลองใชง้ านจานวน 20คน จาแนกดงั น้ี ตารางที่ 4.1 ขอ้ มูลพ้นื ฐาน ของผตู้ อบ แบบสอบถาม
ตารางที่ 4.1
จากตารางท่ี4.1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถาม มีท้งั หมด 20 คน ส่วนใหญเ่ ป็นเพศชาย คิดเป็น
ร้อยละ 85 และเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 15
21
ตารางท่ี4.2 ขอ้ มลู พ้นื ฐานของ ผตู้ อบ
ตารางที่4.2
จากตารางขา้ งตน้ พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีจานวนการรับจดหมายตอ่ สปั ดาห์ ดงั ต่อไปน้ี
1-2 ฉบบั ต่อสัปดาห์ คิดเป็ นร้อยละ 10
3-5 ฉบบั ต่อสัปดาห์คิดเป็ นร้อยละ 50
6-10 ฉบบั ตอ่ สัปดาหค์ ิดเป็นร้อยละ 25
และ มากกวา่ 10 ฉบบั ตอ่ สปั ดาห์คิดเป็นร้อยละ 15
22
บทท่ี 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
จากการศึกษา เร่ืองตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE ทางคณะผจู้ ดั ทาไดม้ ีการกาหนด
วตั ถปุ ระสงค์ ในการดาเนินการเพือ่ ศึกษาขอ้ มลู ดงั ต่อไปน้ี
1 เพอ่ื เตือนผใู้ ชไ้ มใ่ หล้ ืมจดหมายได้
2 เพื่อป้องกนั ความเสียหายของจดหมายได้
3 เพือ่ เพ่ิมมลู คา่ ใหก้ บั สินคา่ ได้
4 เพอ่ื พฒั นาสู่ผลประโยชนเ์ ชิงพาณิชยไ์ ด้
5 เพอื่ หาประสิทธิภาพของตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE
5.1. อภปิ รายผล
จากการวิจยั ในคร้ังน้ี ผวู้ ิจยั ขอกล่าวถึงประสิทธิภาพของตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE ดา้ น
การพฒั นาคุณภาพ ชีวิต เม่ือเปรียบเทียบกบั ตจู้ ดหมายธรรมดาแบบที่ไมม่ ีระบบแจง้ เตือน
ประเด็นท่ี 1 ดา้ นการพฒั นาคุณภาพชีวิต ผทู้ ี่ใชง้ านตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE จะลด
ความเสี่ยงในการลืมจดหมาย และลดความเสียหายที่จะเกิดต่อ จดหมายได้ เมื่อเทียบกบั ตจู้ ดหมาย
ธรรมดา
ประเดน็ ท่ี 2 ดา้ นการส่งเสริมสงั คม ดว้ ยตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE ช่วยส่งเสริมให้
ผใู้ ชด้ ารงชีวติ ในสังคมที่เร่งรีบไดอ้ ยา่ งสอดคลอ้ ง ทาใหไ้ ดร้ ับ ขอ้ มูลข่าวสารที่ทนั เวลาและทนั
เหตุการณ์
23
5.2. สรุปผลการทดลอง
จากการที่ คณะผจู้ ดั ทาไดศ้ ึกษา ออกแบบ และสร้าง เพ่อื หาประสิทธิภาพตไู้ ปรษณียแ์ จง้
เตือนทาง LINE มีขอ้ สรุปการศึกษาดงั น้ี
จากตารางขา้ งตน้ ผตู้ อบแบบสอบถามประเมินประสิทธิภาพของตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง
LINE เมื่อพิจารณา จากรายการประเมิน พบวา่ ตูไ้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE แจง้ เตือนทนั ทีท่ีมี
การหยอ่ นจดหมายลงในตู้ คิดเป็น ร้อยละ 100 ตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE สามารถป้องกนั การ
ลืมจดหมายไดค้ ิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมาคือตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE แจง้ เตือนทกุ คร้ังท่ีมี
คนเดินผา่ นตูจ้ ดหมาย คิดเป็นร้อยละ 95 และรายการท่ีผตู้ อบแบบสอบถามมี ความเห็นนอ้ ยที่สุด
คือ ตรู้ ับจดหมายไฮเทคมีรูปร่างสวยงาม คิดเป็นร้อยละ 70
5.3.ปัญหาในการดาเนินงาน
เกิดปัญหาในการเขียนโค๊ด
24
5.4.ข้อเสนอแนะ
ตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE มีระบบการแจง้ เตือนดว้ ยอินเทอร์เน็ต ในบางสถานการเช่น
บางคร้ังไม่มีระบบอินเทอร์เนต็ ผใู้ ชอ้ าจไม่ทราบถึงการแจง้ เตือนน้นั ได้ ผทู้ ี่ตอ้ งการศึกษาวิจยั ต่อ
ยอดควรเพิ่มระดบั เสียงใหด้ งั ข้ึน หรือ ใชร้ ะบบการแจง้ เตือนโดยตรงไปยงั ผใู้ ช้
25
เอกสารอ้างองิ
- เวบ็ ไซต์ thaieasyelec.com ,NODEMCU[ออนไลน์] http://thaieasyelec.com/article-
wiki/embedded-electronics-application/getting-started-withesp8266-nodemcu.html สืบคน้ วนั ท่ี 15
ตุลาคม 2563
https://robotsiam.blogspot.com/2016/10/ir-infrared-obstacle-avoidance-sensor.html สืบคน้ วนั ท่ี
15 ตลุ าคม 2563
https://sites.google.com/site/somyongregina/academic/electronic/protoboardสืบคน้ วนั ท่ี 15
ตุลาคม 2563
arduinoall.ศึกษาการใชอ้ ุปกรณ์ https://www.arduinoal.com/.สืบคน้ วนั ที่ 15 ตุลาคม 2563
internetdict.อะแดปเตอร์อนั คืออะไร http://www.internetdict.com/th/answers/what-is-an-
acadapter.html. สืบคน้ วนั ท่ี 15 ตลุ าคม 2563
26
ภาคผนวก
วธิ ีการทาตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE
1.ทาการมาร์คตาแหน่งอปุ กรณ์ต่าง ๆลงบนกล่อง เพื่อเจาะติดต้งั อปุ กรณ์
2.ทาการติดต้งั อุปกรณ์ลงบนตวั ตไู้ ปรษณีย์
27
3.ทาการเช่ือมต่ออุปกรณ์เขา้ กบั วงจรควบคุม
4.เสร็จเรียบร้อย
28
รูปเสร็จแบบสมบรู ณ์ ตไู้ ปรษณียแ์ จง้ เตือนทาง LINE
29
30
ชื่อนกั ศึกษาผปู้ ระดิษฐ์
1. นายนนั ทพงศ์ แสนเยน็
2. นายกฤตนยั คงสมบตั ิ