The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทุง มรดกภูมิปัญญาท้องถิ่น, งานบุญมหาชาติ (บุญผะเหวด), พิธีเลี้ยงปีผีกลางบ้าน, วัดภูเขาดิน, พระพุทธรูปปูนปั้นประดับลวดลายบนผ้าสังฆาฏิ จีวรและรัดประคดในเขตเมืองหล่มสัก, ไก่ย่างวิเชียรบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารเพชบุระ ปีที่11 ฉบับที่ 11 _ออนไลน์

ทุง มรดกภูมิปัญญาท้องถิ่น, งานบุญมหาชาติ (บุญผะเหวด), พิธีเลี้ยงปีผีกลางบ้าน, วัดภูเขาดิน, พระพุทธรูปปูนปั้นประดับลวดลายบนผ้าสังฆาฏิ จีวรและรัดประคดในเขตเมืองหล่มสัก, ไก่ย่างวิเชียรบุรี

ขอห าม ส�ำหรับในวันเลี้ยงผีกลางบาน ของบาน ปาเลา ต� ำบลปาเลา อ� ำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัด เพชรบูรณ ๑. คนในหมูบานหามออกนอกบาน  ๒. คนนอกหมูบานหามเขา  ๓. หามผานบริเวณศาล  ๔. หามสวนทางตอนขบวนเเหสงผี เด็ดขาดไมอยางนั้นจะมีอันเปนไปถาผีทวงเเลว อาจจะเจ็บไข หรือเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นตาย  ๕. ตอนสงผีหามชาวบานออกมา มองดูเด็ดขาด เพราะถาผีเห็นเเล วจะต องท� ำพิธี ขอผีเเลกเปลี่ยนกับผีไมงั้นจะมีอันเปนไป วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 51


ปจจุบันถึงแมความเจริญจะคืบคลาน เขามาอยางมากมาย แตเรื่องของความเชื่อความ  ศรัทธาที่ชาวบานป  าเลามีตอผีบรรพบุรุษไมเคย  จางหายไปจากหมูบานเลยกลับยิ่งท� ำใหเกิดความ  ศรัทธาที่แรงกลาตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของหมูบ  าน ซึ่ง  เปนศูนยรวมจิตใจที่คอยยึดเหนียวความเปน น�้ำหนึ่งใจเดียวของผูคนภายในหมูบ าน และคอย ใหความชวยเหลือคุมครองดูแลรักษาหมูบาน ใหปลอดภัย รมเย็น เปนสุข ชาวบ  านจึงจ� ำเปน ตองมีความกตัญูสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่แสดงใหเห็น ถึงความผูกพันของชาวบานตอบรรพบุรุษ และ  ยังเปนการสงเสริมใหเกิดความรักความสามัคคี  จนน�ำไปสูความมั่นคงและเขมแข็งของหมูบาน ตอไป 52 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 53 บรรณานุกรม จีรภัทร หอยสังข. (๒๕๖๕). อายุ ๒๕ ป บานเลขที่ ๒๓/๓ หมู ๒ ต�ำบลปาเลา อ� ำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๖ พฤษภาคม. เชย เกตุแกว. (๒๕๖๕). อายุ ๕๔ ป บานที่เลข ๑๙ หมู ๑ ต�ำบล ปาเลา อ� ำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๖ พฤษภาคม. ชม แกวบาง. (๒๕๖๕). อายุ ๖๔ ป บานเลขที่ ๕๐ หมู ๑ ต�ำบล ปาเลา อ� ำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๖ พฤษภาคม. นพ แสงนก. (๒๕๖๕). อายุ ๕๗ ป บานเลขที่ ๓๒/๓ หมู ๑ ต�ำบล ปาเลา อ� ำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๖ พฤษภาคม.


54 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ----------------------------------- --------------------------------------------------------------- ----------------------------------- --------------------------------------------------------------- ผูเขียน : อาจาร์รักชนก สมศักดิ์ ประธานสาขาวิชานิเทศศาสตร์ เพชรรัตน อินทะชัย วัชรพงษ ค�ำนัด วัดภูเขาดิน แตเดิมมีชื่อวา “วัดคลองศาลา” จากค�ำบอกเลาของ คนรุนเกาเลาวา ที่บริเวณหนาโบสถของวัดแหงนี้มีตนโพธิ์ และมี ศาลาริมนํ้าเพื่อเปนทานํ้าส�ำหรับผูคนที่เดินทางสัญจรไปมายังเมือง เพชรบูรณ จึงเปนที่มาของชื่อวัดคลองศาลาตามชื่อหมูบานคลอง ศาลา ซึ่งตั้งอยูบานคลองศาลา ถนนพระพุทธบาท ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ แตเดิมบานคลองศาลา เปนบริเวณ ชุมชนเกาแกดั้งเดิม ตั้งอยูดานทิศใตของเมืองเพชรบูรณ โดยมีพื้นที่ ตั้งแตวัดภูเขาดินทอดยาวไปตามถนนพระพุทธบาท ในเขตเทศบาล เมืองเพชรบูรณไปจนถึงเขตหมู ๑๓ และหมู ๒ ของต�ำบลสะเดียง ดังนั้น บานคลองศาลาจึงเปรียบเสมือนประตูเขาเมืองเพชรบูรณ เนื่องจากเสนทางดั้งเดิมที่มาจากทางอ�ำเภอวิเชียรบุรี และอ�ำเภอ ตะพานหินจะตองเดินทางผานมาทางบานนายม คลองขุด ชอนไพร แลวจึงผานบานคลองศาลา และวัดคลองศาลา เพื่อเขาสูตัวเมือง เพชรบูรณ วัดภูเขาดิน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 55


สมัยกอนนั้นการสัญจรไปมาในเมือง เพชรบูรณนิยมการสัญจรทางน�้ำทางเรือเปนหลัก เพราะสะดวกและรวดเร็วกวาทางถนน ชาวบาน ทางตอนใตของเมืองเพชรบูรณ เมื่อจะเดินทาง เขาเมือง หรือนักเรียนจะเดินทางเขาไปเรียน หนังสือที่วัดภูเขาดิน และวัดมหาธาตุก็จะพายเรือ มาตามล�ำคลองศาลา และเมื่อถึงฝงกอนเขาเมือง  ก็จะขึ้น ที่ศาลาทาน�้ำอยูหลังวัดภูเขาดิน ซึ่งเปน ศาลาใหคนเดินทางจอดเรือ พักเตรียมความ เรียบรอยกอนเขาเมือง และเปนจุดนัดพบกัน อีกครั้ง เพื่อจะลงเรือกลับบานตามล�ำคลอง ดังกลาว วัดคลองศาลาสรางขึ้นเปนวัดประมาณ  ป พ.ศ. ๒๔๓๐ โดยมีหลวงพอขอม ซึ่งเปนพระ เขมรไดน�ำชาวบานจัดสรางวัดขึ้น แตเดิมพื้นที่ บริเวณวัดเปนปาพงอยูติดตอกับบ านคลองศาลา จึงเรียกวา “วัดคลองศาลา” ตอมาไดมีเจา อาวาสประจ�ำวัดชื่อ “หลวงพอทั่ง” ซึ่งเปนที่ เคารพศรัทธาของพุทธศาสนิกชนเปนอยางมาก หลวงพอทั่งไดสรางพระประธานและอุโบสถ ขึ้นเพื่อใชประกอบพิธีกรรม ทางศาสนา และใน  สมัยของพระอาจารยคูณ เจาอาวาสรูปที่ ๓ ได ชักชวนใหพุทธศาสนิกชนรวมกันสรางมณฑป 56 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


เพื่อเปนที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง จากนั้นพระอาจารยคูณจึงไดเปลี่ยนนามวัดใหม  เปน “วัดภูเขาดิน” และไดรับพระราชทานวิสุง-  คามสีมาในราวป พ.ศ.๒๔๔๐ ซึ่งในขณะนั้นมี พระภิกษุอยูจ�ำพรรษา ๗ รูป สามเณร ๒๐ รูป พื้นที่ตั้งวัดภูเขาดินเปนที่ราบสูง แตเดิมดานหนา วัดอยูทางทิศเหนือ อุโบสถหันหนาไปทางริมน  ํ้า คลองศาลา ปจจุบันดานหนาวัดหันไปทางทิศ ตะวันตก หรือติดถนนพระพุทธบาท


โบสถไมโบราณ ภายในวัดภูเขาดินมีโบสถโบราณที่สราง ดวยไมกึ่งปูน กวาง ๗.๕๐ เมตร ยาว ๑๗ เมตร ฝาผนังกออิฐแดงตอดวยไม หลังคามุงสังกะสี แบบโบราณ มีใบเสมาท�ำดวยหินอยูรอบ ๆ มี พระประธานองคใหญศิลปะอยุธยาฝมือชาง พื้นบาน โบสถหลังนี้เปนหลังเดิมที่สรางไวอยู ดานหนาวัด โดยหันหนาไปยังริมนํ้าหมูบาน คลองศาลา ตอมาการสัญจรของผูคนเปลี่ยนมา  ใชถนนแทน วัดภูเขาดินจึงเปลี่ยนทางเข  าวัดใหม  หันหนามาทางถนนพระพุทธบาท โบสถหลังนี้ จึงอยูดานข างวัดหันหน  าไปทางริมน  ํ้าติดกับซอย เล็ก ๆ ดานข างวัดมีต  นไม  ขึ้นบังเกือบหมด ผู คน ที่สัญจรผานดานหน าวัดจึงมองไมคอยเห็นโบสถ  โบราณซึ่งมีอยูนอยมากในปจจุบัน โบสถวัด ภูเขาดิน นับเปนโบราณสถานเกาแกที่ทรงคุณคา อยูคูกับเมืองเพชรบูรณมายาวนานนับรอยป และ เปนที่นายินดีที่เทศบาลเมืองเพชรบูรณมีนโยบาย ที่จะอนุรักษ และบูรณะใหเปนแหลงเรียนรู ทาง ประวัติศาสตรของจังหวัดเพชรบูรณตอไป และ อาจกลายเปนแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร อีกแหงหนึ่งของเมืองเพชรบูรณตอไป 58 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ใบเสมาหิน บริเวณรอบ ๆ โบสถโบราณวัดภูเขาดินมีใบเสมาหินตั้งอยู โดยรอบ สังเกตเห็นไดวามีรอยสลักบนใบเสมาหิน และยังคงปรากฏ ใหเห็นเปนหลักฐานในปจจุบัน รอยพระพุทธบาท รอยพระพุทธบาทในวัดภูเขาดิน ในอดีตชาวบานไดรวมกัน น�ำดินมากองรวมกันจนพูนขึ้นเปนเนินดินสูง และไดอัญเชิญรอย พระพุทธบาทมาประดิษฐานไวบนเนินดินดังกลาว ตอมาได  มีการสร าง โบสถครอบไวในภายหลัง รอยพระพุทธบาทของวัดภูเขาดินนั้น มี ลักษณะพิเศษคือมีรอยพระบาท ๔ รอยประทับซอนกันอยู ซึ่งไม เหมือนรอยพระพุทธบาทของที่อื่น ๆ ที่มีเพียงรอยประทับพระบาท เพียงรอยเดียว ซึ่งรอยพระบาททั้ง ๔ รอยประทับนั้นมีความหมายถึง รอยประทับของพระพุทธเจาทั้ง ๔ พระองค ที่ไดมาประสูติกาลบน โลกนี้ เมื่อโปรดสัตวทั้งหลายแลวจึงไดมาประทับรอยพระบาทไว 60 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ความหมายของรอยพระพุทธบาท รอยประทับองคแรก คือ พระกกุสันธพุทธเจา รอยประทับ องคที่สอง คือ พระโกนาคมนพุทธเจา รอยประทับองคที่สาม คือ พระกัสสปพุทธเจา รอยประทับองคที่สี่ คือ พระโคตมพุทธเจา หรือ พระพุทธเจาองคปจจุบัน สวนรอยประทับองคที่หานั้นเชื่อกันวาเปน รอยประทับของพระศรีอริยเมตไตรย แตยังไมประสูติขึ้นมาบนโลก ใบนี้ จึงยังไมมีรอยพระพุทธบาทที่หา ตอมาเมื่อป พ.ศ. ๒๔๖๘ พระครูเพชรบูรณคณาวสัย (หลวง พอคูณ) ไดสร างรอยพระพุทธบาทจ� ำลองขึ้น โดยหลอดวย ทองเหลือง  เพื่อใหพุทธศาสนิกชนไดนมัสการในงานเทศกาลกลางเดือน ๓ ซึ่ง เปนงานประจ�ำปของวัดภูเขาดิน และปจจุบันประดิษฐานอยูภายใน มณฑป เมื่อถึงงานเทศกาลกลางเดือน ๓ ของทุกป ทางวัดภูเขาดิน จะเปดโอกาสใหพุทธศาสนิกชนเขานมัสการในงานปดทองรอยพระ พุทธบาทเปนประจ�ำทุกป ในสมัยกอนงานประจ� ำ ปดังกลาวเปนงาน  ที่จะมีการปดถนนพระพุทธบาทตั้งแตสี่แยกสันคูเมือง (ธนาคาร กรุงเทพฯ ในปจจุบัน) เพื่อจัดงานไปจนถึงรอบวัดภูเขาดิน ผูคนจาก ตางต�ำบลและตางอ�ำเภอมาเที่ยวกันเปนจ�ำนวนมากโดยจะมีการ แสดงมหรสพตาง ๆ มากมาย และที่ขาดไมได คือ ลิเก มีการละเลน ตาง ๆ พรอมทั้งอาหารการกิน และรานคาตางๆ มากมายเรียกไดวา เปนงานประจ�ำปที่ชาวบานตางตั้งตารอคอยเพื่อมาเที่ยวในเมือง เพชรบูรณเปนประจ�ำทุก ๆ ป วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 61


พระพุทธรูปส�ำเร็จ พระประธานในโบสถโบราณของวัดภูเขาดิน มีนามวา “พระพุทธส�ำเร็จ” เปนประพุทธรูปปูนปนศิลปะพื้นบานเพชรบูรณ สันนิษฐานวาสรางในราวสมัยกรุงธนบุรีปางมารวิชัย หรือปางสะดุ งมาร (เรียกพระพุทธรูปปางมารวิชัย หรือปางชนะมารวาพระสะดุงมาร) ลักษณะพระพุทธรูปอยูในพระอริยาบถประทับนั่งสมาธิ หรือสมาธิราบ พระหัตถซายหงายวางบนพระเพลา (ตัก) พระหัตถขวาควํ่าลงวางอยู บนพระชานุ (เขา) พระพุทธรูปส�ำเร็จ พระประธานในโบสถโบราณมี ขนาด หนาตักกวาง ๓.๖๐ เมตร ความสูงวัดจากทับเกษตรถึงยอด เกตุสูง ๕.๙๐ เมตร สันนิษฐานวาสรางขึ้นในสมัยหลวงพอทั่ง ขณะ เปนเจาอาวาส จากค� ำบอกเลาของชาวบานคลองศาลาที่เลาตอ ๆ กัน  มาวาชางปนองคพระประธาน ชื่อแสน มาจากเมืองเหนือเปนชาง ชาวพื้นบาน นอกจากนี้ภายในวัดภูเขาดินยังมีพระพุทธรูปเกาแกอีก หลายองค อาทิ พระพุทธรูปหลอดวยทองเหลือง ปางมารวิชัย สมัย กรุงรัตนโกสินทรขนาดหนาตักกวาง ๒๑ นิ้ว เปนพระประจ�ำศาลา การเปรียญเดิม ไมปรากฏหลักฐานวาใครเปนผูสรางและสรางถวาย ไวตั้งแตเมื่อใด และพระพุทธรูปหลอดวยทองเหลือง ปางมารวิชัย เลียนแบบศิลปะสุโขทัย ขนาดหนาตัก ๑๗ นิ้ว ซึ่งทางวัดภูเขาดินได หลอขึ้น เมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๙ มีชื่อวา  “หลวงพอทั่ง” และพระพุทธชินราช จ�ำลอง หลอดวยทองเหลือง ขนาดหนาตักกวาง ๑.๒๕ เมตร โดยมี ผูศรัทธาสรางถวาย เมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๒๕ 62 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ต�ำนานความเชื่อ ความศักดิ์สิทธิ์ จากค�ำร�่ำลือของชาวบานที่เลาตอ ๆ กันมาถึงความศักดิ์สิทธิ์ของ “พระพุทธรูปส�ำเร็จ” ภายในโบสถหลังเกานั้น ชาวบานมักจะมาขอพร  กับองคพระประธาน “พระพุทธรูปส�ำเร็จ” หลัง จากนั้นก็จะประสบผลส�ำเร็จตามที่ขอพรไว บางรายมากราบไหวบนบานศาลกลาวไว  ก็ส� ำเร็จ ดั่งความปรารถนา หลังจากนั้นก็น�ำสิ่งของมา กราบไหว แกบน ท�ำ ใหชาวบานทั้งหลายตางก็ มีความเชื่อและศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์ของ องคพระดังชื่อขององคพระประธาน “พระพุทธ รูปส�ำเร็จ” ซึ่งปจจุบันก็ยังคงมีชาวบานและ พุทธศาสนิกชนจากจังหวัดอื่น ๆ มากราบไหว สักการะบูชาเพื่อความเปนศิริมงคลในชีวิต 64 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 65 บรรณานุกรม พระเพชรบูณณาวสัย. ประวัติวัดภูเขาดิน. เพชรบูรณ : ๒๕๕๑ (เอกสารอัดส�ำเนา) ส�ำนักงานพุทธศาสนาจังหวัดเพชรบูรณ. ขอมูลวัดในจังหวัดเพชรบูรณ. เพชรบูรณ : ม.ป.ป. (เอกสารอัดส� ำเนา) unseen เพชรบูรณ. [online] แหลงเขาถึง : www.youtube.com/  unseenpetchabun [๒๐ เมษายน ๒๕๕๙] ภาพประกอบ ภาพ : Fb วัดภูเขาดิน จังหวัดเพชรบูรณ ภาพ : Blogging : tuk-tuk@korat (เพชรบูรณ - อุโบสถไมวัดภูเขาดิน เมืองเพชรบูรณ) 


66 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ----------------------------------- --------------------------------------------------------------- ----------------------------------- --------------------------------------------------------------- ผูเขียน : จารุพัสตร ทนนาดีนิสิตกลุมประวัติศาสตรสองขางทาง ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ในประเทศไทยเรามีการแบงประเภทอาหารเปนประเภทคาวและหวาน ในประเภทอาหารคาวนี้ ตามปกติที่รับประทานกันทั่ว ๆ ไป ก็จะมีแกง ผัด ทอด ยาง นึ่ง ย�ำ เปนตน ผู เขียนจึงขอยกเอาตัวอยางอาหารงาย ๆ  ที่หารับประทานกันไดทั่วไปขึ้นมาเปนประเด็นในการเขียนครั้งนี้ นั่นคือ “ไกยาง” “ไกยาง” เปนอาหารงาย ๆ ที่หารับประทานไดทั่วไป สามารถ  ท�ำกินในครัวเรือนหรือหาซื้อไดทั่วทุกภาคทุกพื้นที่ แตจะมีมากแคไหน  ที่รานไกยางบางร  านสามารถท� ำใหไกยางธรรมดานี้ กลายเปนอาหาร  ที่ใครไดลิ้มลองแลวตองเอยปากถามถึงอีกครั้ง จนท�ำใหรานไกยาง ธรรมดานี้กลายเปนรานขึ้นชื่อ และถึงขั้นเปนของดีประจ�ำจังหวัดได อยาง “ไกยางวิเชียรบุรี” อาหารขึ้นชื่อของอ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัด เพชรบูรณ ที่มีเครือขายจ�ำหนายทั่วทุกภูมิภาค ไก่ย่างวิเชียรบุรี อาหารธรรมดาในความหมายทางการทองเที่ยว


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 67


ที่มาของไกยางวิเชียรบุรี ในอ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ มีอาหารที่ขึ้นชื่อมากที่สุดนั่นก็คือ “ไกยาง วิเชียรบุรี” ผูที่ริเริ่มขายไกยางและคิดสูตรไกยาง  วิเชียรบุรีเปนทานแรก ก็คือ นายทรวง ซึ่งจาย หรือที่คนสวนใหญรูจักกันดีในนามวา  “ตาแปะ” ตาแปะไดเริ่มขายไกยางเมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๐๕ โดยขายเปนไม ๆ ละ ๕ บาท และขาย เปนตัว ๆ ละ ๒๐ บาท โดยเริ่มจากการหาบเร ตามปายรถเมล และริมถนน ตาแปะเปนผูหาบเร  เองโดยมีนางค�ำเบาผูเปนภรรยาเปนคนยางไก รออยูที่บาน จากที่หาบเรอยูประมาณ ๒ ป ก็มีเงิน เก็บเพียงพอที่จะมาท�ำรานขายไกยางแบบมีโตะ  นั่งรับประทาน จึงไดสรางเปนรานตั้งอยูตรง สามแยก ทางเลี้ยวเขาไปอ� ำเภอวิเชียรบุรี ขาย อยูริมถนนทางซายมือซึ่งในปจจุบันนี้ก็ยังตั้ง ขายอยูที่เดิม ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๐๙ ไกไทย มีราคาเพิ่มมากขึ้นจากเดิม จึงท�ำใหราคาขาย ไกยางจากเดิมที่ขายเปนไม ๆ ละ ๕ บาท เพิ่ม มาเปน ๑๕ บาท จากที่เปนตัว ๆ ละ ๒๐ บาท เพิ่มมาเปน ๕๐ บาท 68 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ไกยางตาแปะเริ่มมีชื่อเสียงและเปนที่ รูจักกันมากขึ้น เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๒๕ โดย คุณสันติ จากแมชอยนางร�ำ ไดมารับประทาน ไกยางที่รานไกยางตาแปะ และเกิดความ ชื่นชอบถูกใจในรสชาติของไกยางวิเชียรบุรี ที่มี รสชาติดีหอมเครื่องเทศ มีน�้ำจิ้มมะขามและ น�้ำจิ้มกระเทียมดองรสเด็ด จึงท�ำใหคุณสันติ จากแมชอยนางร�ำไดมอบปายเปปพิสดารใหไว เพื่อยืนยันในรสชาติความอรอยใหกับนายทรวง  ซึ่งจาย (ปารวี ไพบูลยยิ่ง, ม.ป.ป. : ๑๔๖.) นับ ตั้งแตนั้นมาไกยางวิเชียรบุรีหรือบางทานก็เรียก วา “ไกยางตาแปะ” ก็เริ่มเปนที่รูจักของคน ทั่วไปมากยิ่งขึ้นกวาเดิม ในป พ.ศ. ๒๕๒๙ ไกยางตาแปะไดรับ ความนิยมกันมากยิ่งขึ้น ตาแปะจึงขยายกิจการ เพิ่มรานไกยางตาแปะขึ้นมาอีก ๑ สาขา ไดใช ชื่อรานวา ไกยางตาแปะ ๒ โดยมีนางกนกพรรณ  โพธิ์รัศมี หรือสวนใหญรูจักกันในชื่อ เจนก ซึ่ง เปนลูกสาวคนโตของตาแปะเปนผูดูแลร านไกยาง  ตาแปะ ๒ ตาแปะ รานไกยางตาแปะ ๒ ที่ดูแล กิจการโดยเจนก ก็เปนที่รูจักกันมากและขายดี  ไมแพรานไกยางตาแปะ ๑ และรานอื่น ๆ วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 69


การท�ำไกยางวิเชียรบุรี ไกที่นิยมน�ำมาท�ำเปนไกยางวิเชียรบุรี จะมีดวยกันสองชนิด คือ ไกไทย หรือที่เรียกกัน  วาไกบาน และไกพันธุหรือที่เรียกกันวาไกฟารม  ที่เลือกน�ำไกบานมายางก็เพราะวาไกบ  านจะมีมัน  นอยกวา เนื้อแนนกวา แตก็หายากกวาไกฟารม  และเมื่อยางสุกแลวจะท�ำใหตัวเล็กวาไกฟารม (ปารวี ไพบูลยยิ่ง,ม.ป.ป. : ๑๔๖.) แตไมวา จะเปนไกบานหรือวาไกฟารมก็อรอยไมแพกัน 70 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ขั้นตอนในการท�ำไก่ย่างวิเชียรบุรี เครื่องปรุงรสและวัตถุดิบ ๑. ไก่ ๒ กิโลกรัม ๒. ซอสหอยนางรม ๒ ช้อนโต๊ะ ๓. ใบเตย ๒ ใบ ๔. กระเทียม ๒๐ กลีบ ๕. ตะไคร้ ๓ ต้น ๖. หอมแดง ๔ หัว ๗. รากผักชี ๗ ราก ๘. นมสด ๑ กระป๋อง ๙. เกลือ ๑ ช้อนชา ๑๐. พริกไทยด�ำ ๑ ช้อนโต๊ะ ๑๑.ซีอิ้วขาว ๑ - ๑/๒ ช้อนโต๊ะ วิธีท�ำและขั้นตอนในการท�ำ ๑. ขั้นตอนเริ่มแรกเลยใหลางไกดวยน�้ำเปลาใหสะอาด ตากผึ่งไวใหสะเด็ดน�้ำ ตอจากนั้นใหน�ำหอมแดง รากผักชี พริกไทย ตะไคร กระเทียม ใบเตย มาปนรวมดวยกับนมสดใหละเอียด ๒. ขั้นตอนที่สองตอจากนั้นใหน�ำสวนผสมที่บดละเอียด แลวมาเทใสภาชนะส�ำหรับหมักไก แลวจึงผสมเครื่องปรุงตาง ๆ ผสม คลุกเคลาให เข ากัน แล  วคอยน� ำไกลงไปในภาชนะหมักทิ้งไว ๓๐ นาที  ๓. ขั้นสุดทายหลังจากหมักเสร็จเรียบรอยแลว คอยน�ำไก ไปยางเวลายางไกควรใชไฟออน ๆ แล  วขณะที่ยางให  ทาน�้ ำมันที่ไกตอน เรากลับดานไกด  วย เพราะจะท� ำใหไกมีสีเหลืองนารับประทาน ในสวน  ของน�้ำจิ้ม ไกยางวิเชียรบุรี จะมีดวยกัน ๒ สูตร วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 71


สูตรน�้ำจิ้ม ไกยางวิเชียรบุรี สูตรหนึ่ง วัตถุดิบและเครื่องปรุงรส ๑. ตนหอมซอย ๒ ชอนโตะ ๒. น�้ำมะนาว ๑ - ๒ ชอนโตะ ๓. น�้ำมะขามเปยกตมสุก ๒ ชอนโตะ ๔. ขาวคั่ว ๑ ชอนโตะ ๕. ผักชีฝรั่ง ๖. น�้ำปลา ๒ - ๓ ชอนโตะ ๗. พริกปน ๑ ชอนโตะ ๘. น�้ำตาลปบ ๑ ชอนโตะ ขั้นตอนในการท�ำและวิธีท�ำ ล�ำดับแรกใหน� ำน�้ำ น�้ำปลา น�้ำตาลปบ มะนาว และน�้ำมะขามเปยก มาผสมจนเขากันดีแลวทดลองชิมรสเนนใหไดรส หวาน เปรี้ยว เค็ม แลวจากนั้นใหใสพริกปน ตามดวยขาวคั่ว แลวคอยคนใหเขากันแลว ตามดวยโรยตนหอมซอย และผักชีฝรั่ง สูตรน�้ำจิ้ม ไกยางวิเชียรบุรี สูตรสอง วัตถุดิบและเครื่องปรุงรส ๑. น�้ำตาลทราย ๑/๔ ถวยตวง ๒. กระเทียม ๕ กลีบ ๓. เกลือ ๑ - ๒ ชอนชา ๔. พริกชี้ฟาแดง ๓ เม็ด ๕. กระเทียมดอง ๒ หัว ขั้นตอนในการท�ำและวิธีท�ำ น�ำเครื่องปรุงรสและวัตถุดิบทั้งหมดมาโขลกต�ำใหละเอียด แล  วจึง  น�ำไปตั้งไฟใหน�้ำตาลละลายเปนอันเสร็จเรียบรอย 72 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


การกระจายตัวของผูคารายยอยในลักษณะแฟรนไชส ไกยางวิเชียรบุรีหรือไกยางตาแปะ ไดกลายเปนตนแบบให กับคนอื่น ๆ ไดน�ำสูตรไกยางวิเชียรบุรีไปประกอบอาชีพเพื่อสราง รายไดให กับครอบครัว เปดเปนร  านไกยางวิเชียรบุรีในบริเวณใกล  เคียง  และในตัวอ�ำเภอวิเชียรบุรี เมื่อเราเดินทางบนเสนทางสายสระบุรี- เพชรบูรณทางหลวงหมายเลข ๒๑ กอนเขาตัวอ�ำเภอวิเชียรบุรีเราก็ จะพบรานขายไกยางและรานอาหารมากมายบริเวณทั้งสองฝง เมื่อ ผูคนที่เดินทางผานมาก็จะแวะรับประทานไกยางวิเชียรบุรีกันจนเปน ที่นิยมชื่นชอบถูกอกถูกใจ จึงท�ำใหไกยางวิเชียรบุรีมีชื่อเสียงเพิ่มมาก ขึ้นอีก วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 73


นอกจากนี้รานไกยางบางรานไดคิดสูตรใหม ๆ ขึ้นมาเพื่อ ใหเกิดแรงดึงดูดลูกค  าทั้งยังเปนเอกลักษณเฉพาะร  านไกยางวิเชียรบุรี  ขึ้นมา หรือไมก็สรางสินคาอื่นขึ้นมาใหคูกับการรับประทานไกยาง วิเชียรบุรี อยางรานไกยางบัวตองที่มีการน� ำไกยางมารับประทานคูกับ สมต�ำทอด ซึ่งเปนสมต�ำที่น�ำเอาเสนของมะละกอไปทอดแลวจึงน�ำ มาท�ำเปนสมต�ำ คูกับขาวเหนียว ในการสรางเครือขายการจ�ำหนายไกยางวิเชียรบุรี เกิดขึ้น จากการที่มีชาววิเชียรบุรีหรือบางทานก็อาจจะไมใชคนอ�ำเภอวิเชียรบุรี แตไดน� ำสูตรไกยางวิเชียรบุรีไปขายในพื้นที่จังหวัดตาง ๆ ท�ำใหไกยาง  วิเชียรบุรีมีชื่อเสียงกลายเปนเครือขายจ�ำหนายไกยางไปทั่วเกือบทุก จังหวัดของประเทศไทย


การสรางไกยางวิเชียรบุรีใหเปนสินคาทองเที่ยวของจังหวัด เพชรบูรณ ปจจุบันนี้หากเราเดินทางไปในพื้นที่ใด ในจังหวัดใดก็ตาม ตางก็มักจะพบเห็นรานไกยางวิเชียรบุรีอยูทั่วไป ตามบริเวณเรียบข าง ถนนหรือสองขางทาง แมในวิเชียรบุรีเองปจจุบันนี้ก็มีรานขายไกยาง วิเชียรบุรีเพิ่มมากขึ้นเปนแถวยาวมากกวา ๒๐ รานเลยทีเดียว นอกจากนี้อ�ำเภอวิเชียรบุรีเองไดสร างอัตลักษณเปนค� ำขวัญ ประจ�ำอ�ำเภอขึ้น ดังนี้ “...ศาลนเรศวรรวมใจ ถิ่นไกยางรสอรอย สุสานหอยลานป พุรอนมีใตดิน อุทยานหินโบราณ บอน�้ำมันล�้ำคา...” จากค�ำขวัญขางตนนี้ชี้ใหเห็นถึงความส�ำคัญของไกยาง วิเชียรบุรี อันเปนสินคาทองเที่ยวดานอาหารที่ส�ำคัญของอ�ำเภอ วิเชียรบุรี ทั้งยังเปนอาหารที่มีความนิยมแพรหลายจนท�ำใหเกิดเปน งานประจ�ำปของอ�ำเภอวิเชียรบุรีขึ้น คือ งานเทศกาลกินไกยาง วิเชียรบุรี วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 75


ภายในงานเทศกาลกินไกยางวิเชียรบุรี มีการจัดกิจกรรม อาทิ ๑. มีการแขงขันกินไกยาง สมต�ำ และมีการรับประทาน ไกยางวิเชียรบุรีระหวางชาวไทยและตางชาติ ๒. มีการออกรานจ�ำหนายไกยาง ๔ ภาค และรวมกันชิม รสชาติไกยางทั้ง ๔ ภาค ๓. การเสวนาวิชาการเกี่ยวกับการมีสวนรวมในภาครัฐ เอกชน ประชาชนในหัวขอ “ไกยางยั่งยืน ครัวไทย ครัวโลก” ๔. การจ�ำหนายอาหารอรอย สินคาชุมชน สินคาราคา ประหยัด ๕. การแสดงดนตรีลูกทุงเพื่อชีวิต จากการที่มีการจัดกิจกรรมเทศกาลกินไกยางวิเชียรบุรีนี้ ท�ำใหมีนักทองเที่ยวเขามาเที่ยวรับประทานไกยางวิเชียรบุรีมากขึ้น ทั้งยังเปนการประชาสัมพันธที่ท�ำให ไกยางวิเชียรบุรีเปนของดีประจ� ำ อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณนี้ที่รูจักในหมูนักทองเที่ยวทั้ง ชาวไทยและชาวตางชาติมากขึ้น (ออนไลน, ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๖)


บทสรุป ไกยางวิเชียรบุรีมีที่มาจาก นายทรวง ซึ่งจาย หรือตาแปะ ที่เปนผูริเริ่มในการคิดสูตร และขายไกยางวิเชียรบุรีเปนผูแรก ตลอดจน กลายเปนตนแบบใหคนอื่น ๆ ไดน�ำสูตรไกยาง วิเชียรบุรีไปประกอบอาชีพและคิดคนปรับปรุง สูตรใหเปนสูตรใหมประจ� ำรานตนเอง ตลอดจน กลายเปนของดีประจ�ำจังหวัดเพชรบูรณที่มีผู นิยมกันทั่วทุกภาคในประเทศไทย ผูเขียนเองก็เคยรับประทานไกยาง วิเชียรบุรีมาแลวจึงขอรับรองความอรอย ไมวา  จะเปนรานไกยางตาแปะ รานไกยางบัวตอง รานไกยางรสทิพยและร  านไกยางอื่น ๆ ก็มีความ  อรอยไมแพกัน บางทานที่เคยรับประทานไกยาง  วิเชียรบุรีอยูตามพื้นที่จังหวัดอื่น ๆ แตยังไมเคย มาแวะชิมไกยางวิเชียรบุรีที่รานตนต�ำรับ หรือ บางทานก็ยังไมเคยรับประทานไกยางวิเชียรบุรี เลย ผูเขียนจึงอยากขอเชิญชวนทุกทานไดลอง แวะมารับประทานไกยางวิเชียรบุรีที่รานต นต� ำรับ ในอ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 77


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 79 บรรณานุกรม “ ไกยางตาแปะ ต�ำนานไกยางวิเชียรบุรีแสนอรอยของเมืองไทย”. เว็บไซตหมูหิน : ทองเที่ยว. http://www.moohin.com/trips /phetchabun/kaiyangwichianburi ; สืบคนเมื่อวันที่ ๑๒  สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖. “ไกยางวิเชียรบุรี”. เว็บไซตเมืองไทย ดอท คอม. http://www.muang thai.com/thaidata/๗๑๕๖ ; สืบคนเมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖. “งานเทศกาลกินไกยางวิเชียรบุรี ของดีเมืองเพชรบูรณ”. เว็บไซต งานแสดงสินคาอันดับ ๑ ของประเทศไทย. http://www. thailandexhibition.com/Event-๗๗/๗๓๗๓ ; สืบคน เมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖. ปารวี ไพบูลยยิ่ง. เพชรบูรณ เที่ยวทั่วไทยไปกับ “นายรอบรู”. กรุงเทพฯ : สารคดี, ม.ป.ป. “สูตรไกยางวิเชียรบุรี”. เว็บไซตสูตรอาหาร สูตรอาหารไทย อาหารไทย. http://www.xn--m๓c๒aazhl๙ab๑d.net/๒๐๑๒/๐๓/ blog-post_๑๖.html ; สืบคนเมื่อวันที่ ๑๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖.


80 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ---------------------------------- --------------------------------------------------------------- ----------------------------------- --------------------------------------------------------------- ผูเขียน : ผศ.ดร. ธีระวัฒน แสนค�ำ อาจารยพิเศษ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีลานชาง เมืองหลมสักเปนชุมชนโบราณที่อยูในพื้นที่ลุมแมน�้ำปาสักตอนบน สันนิษฐานวาอาณาเขตของเมืองครอบคลุมพื้นที่ในเขตอ�ำเภอหลมเกา และอ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ภายในพื้นที่ราบลุมของชุมชน โบราณไดมีการพบหลักฐานทางโบราณคดีและสถาปตยกรรมที่แสดง  ใหเห็นถึงความสัมพันธกันกับวัฒนธรรมลานชางในลุมแมน�้ำโขงเขต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน แมแตวิถีชีวิต ภาษาและ วัฒนธรรมของชาวหลมสัก-หลมเกาในปจจุบันก็ยังคลายกับผูคนใน ภาคอีสานและผูคนในประเทศลาว โดยเฉพาะอยางยิ่งชาวเมืองหลวง  พระบางและเวียงจันทน (ธีระวัฒน แสนค�ำ, ๒๕๕๖: ๑๙๕-๒๑๖; วัฒนชัย หมั่นยิ่ง, ๒๕๕๔: ๘๔-๙๔) จึงท�ำใหมีนักวิชาการและผูสนใจ จ�ำนวนหนึ่งตั้งขอสังเกตและพยายามศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร  ของชาวหลมสัก-หลมเกา พระพุทธรูปปูนปนประดับลวดลาย บนผาสังฆาฏิ จีวรและรัดประคด ในเขตเมืองหลมสัก


การที่บริเวณเมืองหลมสักเป ่ นพื้นที่ที่มีผู้คนเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ็ บ้านเรือนช้านาน สันนิษฐานว่าผู้คนยุคแรก ๆ ที่เข้ามาสร้างบ้านแปง เมืองนั้นเป็นชาวล้านช้างที่อพยพหนีภัยจากลุ่มแม่น�้ำโขงข้ามเข้ามา ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตลุ่มแม่น�้ำพุงซึ่งเป็นล�ำน�้ำสาขาส�ำคัญของแม่น�้ำ ป่าสัก ตลอดจนพื้นที่ลุ่มแม่น�้ำป่าสักตอนบน เนื่องจากเป็นพื้นที่รอย ตอของอาณาจักรล้านช้างกับอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ท� ่ำให้มีการพบ รองรอยโบราณสถานและศิลปวัตถุทางพระพุทธศาสนา เช ่ น สิม (โบสถ ่ )์ วิหาร ธรรมาสน์ พระพุทธรูป และเจดีย์โบราณซึ่งได้รับอิทธิพลศิลปะ ล้านช้างกระจายอยู่ตามพื้นที่ราบลุ่มซึ่งเคยเป็นบริเวณชุมชนโบราณ ระดับหมู่บ้านมาก่อน พระพุทธรูปหรือที่คนท้องถิ่นในอ�ำเภอหล่มสักและอ�ำเภอ หลมเก่ าเรียกว ่ า “พระเจ้า”, “รูปพระเจ้า”, “หลวงพ ่ อ” หรือ “หลวงปู่” ่ เป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เป็น ศาสดาของพระพุทธศาสนา พระพุทธรูปสร้างขึ้นจากวัสดุหลายประเภท อาทิ ศิลา ไม้ โลหะ อิฐ ปูน ดินเผา เขาสัตว์ เป็นต้น ตามความนิยม และทรัพยากรทางธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ มารังสรรค์ให้เกิด เป็นงานพุทธศิลป์ที่มีความงดงามและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของฝีมือ ช่าง (ศักดิ์ชัย สายสิงห์, ๒๕๕๖: ๒-๖) วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 81


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสัก แตละองคตางก็มีความส�ำคัญที่แตกตางกัน เปนพระพุทธรูปที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร และพุทธศิลป เปนศูนยรวมศรัทธาของชาวบานใน  ชุมชนหรือทองถิ่นโดยเฉพาะอยางยิ่งพระพุทธรูป  ปูนปนที่มีลวดลายประดับตามผ าสังฆาฏิจีวร และ  รัดประคด ซึ่งมีความนาสนใจทางดานพุทธศิลป  ดังนั้น ผูเขียนจึงรวบรวมขอมูลเบื้องตนที่เกี่ยว กับพระพุทธรูปปูนปนที่มีลวดลายประดับตาม ผาสังฆาฏิ จีวร และรัดประคดในเขตเมือง หลมสักที่เปนพระพุทธรูปที่มีความส�ำคัญทาง ดานประวัติศาสตร มีคุณคาทางดานพุทธศิลป และมีความส�ำคัญทางดานศิลปกรรมที่ประดิษฐาน  อยูตามวัดภายในบริเวณอ�ำเภอหลมเกาและ อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ มาน�ำเสนอ อันจะเปนการเผยแพรองคความรูทางดาน ประวัติศาสตรและศิลปกรรมทองถิ่นใหพี่นอง ชาวจังหวัดเพชรบูรณและประชาชนทั่วไป ไดศึกษาเรียนรู  อันจะน� ำไปสูความกาวหนาทาง วิชาการดานประวัติศาสตรและศิลปวัฒนธรรม ของทองถิ่นจังหวัดเพชรบูรณตอไป 82 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


พระเจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ พระเจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ เปนพระพุทธรูปปูนปนปาง มารวิชัย ลงรักปดทอง ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒ เมตร หันพระ พักตรไปทางทิศตะวันตก ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในวิหาร หลวงวัดศรีภูมิ บานติ้ว ต� ำบลบานติ้ว อ� ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาใหญหลักค� ำ วัดศรีภูมิ ถือเปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบาน ติ้วและละแวกใกลเคียงใหความเคารพศรัทธาเปนอยางมาก (พระครู สิริพัชรากร, สัมภาษณ) วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 83


พระเจาใหญหลักค� ำ วัดศรีภูมิ มีพุทธลักษณะเปนพระพุทธรูปทรงเครื่อง พระพักตร ใหญและเรียว พระกรรณใหญ ไรพระศกตัดตรง พระขนงโกง ขมวดพระเกศาเล็ก แหลมและถี่ พระรัศมีขนาดใหญทรงกรวยแหลม พระโอษฐ เล็ก พระนาสิกใหญและมีสันพระนาสิก พระหัตถ คอนขางใหญไมสมสวนกับพระกร ขัดสมาธิราบ  พระหัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระ หัตถซายวางเหนือพระเพลา ลงรักปดทองทั้ง องค บริเวณผาสังฆาฏิ รัดประคด พระอุระและ ขอบจีวรมีการท�ำลวดลายปูนปนและรักป นเปน  ลายพันธุพฤกษาประดับอยางงดงาม เมื่อพิจารณาจากพุทธลักษณะที่ ปรากฏ สันนิษฐานวาพระเจาใหญหลักค�ำ วัด ศรีภูมิ นาจะสรางขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔  เนื่องจากมีพุทธลักษณะและการประดับลวด ลายปูนปนในรูปแบบใกลเคียงกับพระพุทธรูป ประธานทรงเครื่องในวิหารหลวงวัดใหมสุวรรณ ภูมาราม เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ซึ่งใน ภาษาลาวเรียกวา “พระเอ” (ประภัสสร ชูวิเชียร, ๒๕๕๗: ๑๒๗; วรลัญจก บุณยสุรัตน, ๒๕๕๕: ๑๓๕) 84 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


นอกจากนี้ วิหารที่ประดิษฐานพระเจาใหญหลักค� ำ วัดศรีภูมิ ยังเคยเปนวิหารเกาแกศิลปะลานช างซึ่งมีรูปแบบศิลปกรรมใกล  เคียง  กับสิมหรือสิมวัดเชียงทอง เมืองหลวงพระบาง (เอนก นาวิกมูล และ ธงไชย ลิขิตพรสวรรค, ๒๕๖๕: ๕๙) กอนที่จะไดรับการบูรณะเปน อาคารแบบปจจุบันในราวชวงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ซึ่งสะทอนให เห็นวาพระเจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ อาจไดรับอิทธิพลการประดับ ลวดลายบนองคพระมาจากเมืองหลวงพระบางก็เปนได


พระประธานองคเกา ในสิมวัดศรีฐานปยาราม พระประธานองคเกาในสิมวัดศรีฐาน ปยาราม เปนพระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๓๐ เมตร ประดิษฐานอยูภายในสิมวัดศรีฐานปยาราม บานวังบาล ต� ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัด เพชรบูรณ พระประธานองคเกาในสิมวัดศรีฐาน ปยารามมีพุทธลักษณะพระพักตรคอนขางกลม ใหญ พระกรรณใหญและกาง ไรพระศกโคงเล็ก  นอย พระขนงโกง ขมวดพระเกศาเล็กและถี่ พระรัศมีขนาดใหญทรงกรวยแหลม พระโอษฐ เล็ก พระนาสิกใหญและมีสันพระนาสิก พระ หัตถคอนขางใหญไมสมสวนกับพระกร ขัดสมาธิ  ราบ พระหัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวน พระหัตถซายวางเหนือพระเพลา บริเวณผา สังฆาฏิรัดประคด และขอบจีวรมีการท�ำลวดลาย ปูนปนเปนลายพันธุพฤกษาประดับ กลางฝา พระบาทขวามีการท�ำเปนรูปธรรมจักร พุทธลักษณะเชนนี้เปนรูปแบบที่ถูกจัดเปนพระพุทธ รูปศิลปะลานชาง ที่เปนงานฝมือชางพื้นบาน อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔


ที่นาสนใจคือ มีเรื่องเลาสืบตอกันมาวาพระพุทธนิมิตมงคล ซึ่งเปนพระพุทธรูปส�ำริดที่ประดิษฐานอยูภายในวัดศรีฐานปยาราม เปนพระพุทธรูปที่หลอขึ้นมาเพื่อจ�ำลองพระพุทธรูปประธานองคเกา ในสิมวัดศรีฐานปยารามเพื่อใชในการเสี่ยงทายและสรงน�้ำในวัน สงกรานต เนื่องจากมีการประดับลวดลายบนสังฆาฏิและชายจีวร เชนเดียวกับพระพุทธรูปประธานองคเกาภายในสิมวัดศรีฐานปยาราม (พระครูปริยัติพัชรกิจ, สัมภาษณ) ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงความส�ำคัญ ของพระพุทธรูปประธานองคเกาภายในสิมวัดศรีฐานปยารามที่มีตอ ความศรัทธาของชาวบานได  อีกประการหนึ่ง 


ส�ำหรับพระพุทธนิมิตมงคลนั้น มี พุทธลักษณะพระพักตรรูปไข มีเสนขอบไร พระศก ขมวดพระเกศาเล็กและถี่ พระรัศมี เปลวเปนกลีบบัวงอนซอนกัน พระกรรณกาง พระขนงโกง พระเนตรเรียวเรียวเหลือบลงต�่ำ พระนาสิกและพระโอษฐเล็ก พระหัตถและนิ้ว พระหัตถใหญและปลายนิ้วพระหัตถเทากัน สังฆาฏิเปนแผนใหญ ยาวลงมาจรดพระนาภี มี ลวดลายพันธุพฤกษาประดับบนสังฆาฏิ และ ขอบจีวร ประทับนั่งบนฐานบัวงอนและมีผาทิพย  ดานหน า และมีฐานไม  แกะสลักรองรับอีกชั้นหนึ่ง  สวนที่เปนฐานส�ำริดดานหลังมีจารึกอักษรธรรม  จากการอานเบื้องตนของพระครูสุภัทรพัชรเขต  เจาอาวาสวัดทากกแก อ�ำเภอหลมสัก พบวา จารึกขอมูลเกี่ยวกับการสร  างเมื่อป  พ.ศ. ๒๓๙๐  (พระครูสุภัทรพัชรเขต, สัมภาษณ) 90 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


พระประธานในสิมวัดโพธิ์ทอง พระประธานในสิมวัดโพธิ์ทองเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปาง มารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้างประมาณ ๑.๓๐ เมตร ประดิษฐานเป็น พระประธานอยูภายในสิมวัดโพธิ์ทอง บ้านน�้ ่ำครั่ง ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอ หล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 91


พระประธานในสิมวัดโพธิ์ทองมีพุทธลักษณะพระพักตร คอนขางกลมใหญ พระกรรณใหญและกาง ไรพระศกโคงเล็กนอย พระขนงโกง ขมวดพระเกศาเล็กและถี่ พระรัศมีขนาดใหญทรงเปลว พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก พระหัตถคอนขางใหญไมสมสวนกับ พระกร ขัดสมาธิราบ พระหัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระ หัตถซายวางเหนือพระเพลา บริเวณผ  าสังฆาฏิ พระศอ รัดประคด และ  ขอบจีวรมีการท�ำลวดลายปูนปนประดับ พุทธลักษณะเชนนี้เปนรูปแบบทางพุทธศิลปที่ใกลเคียงกับ พระพุทธรูปปูนปนที่ประทับนั่งบนฐานสิงหอยางมาก ในขณะเดียวกัน  ฐานชุกชีที่ประดิษฐานพระประธานองคนี้ในปจจุบันก็มีการท�ำเปน ฐานสิงห การประดับดวยซุมหน ามุขและประตูหลอก ๓ ด  าน เชนเดียว  กับฐานพระประธานในวิหารวัดโพธิ์ทอง ซึ่งจากการศึกษาของมณฑล ประภากรเกียรติ (๒๕๕๖: ๑๕๕) พบวารูปแบบของขาสิงหมีนองสิงห ท�ำเปนวงโคงหยักเชนเดียวกันขาสิงหวัดพระศรีสรรเพชญ จังหวัด พระนครศรีอยุธยาในสมัยอยุธยาตอนกลาง และเปนรูปแบบเดียวกับ


ขาสิงหในศิลปะลานช างที่พบตัวอยางที่ขาสิงหของธาตุทรงบัวเหลี่ยม  ภายในถ�้ำสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวล�ำภู ราวตนพุทธศตวรรษที่ ๒๓  และยังคงนิยมอยางตอเนื่องในขาสิงหประดับฐานธาตุหรือการท�ำลาย ฉลุฐานพระพุทธรูปหลายองค สวนแขงสิงหที่เพรียวนั้นเปนลักษณะ แขงสิงหสมัยอยุธยาตอนปลายจนถึงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน สวน แนวนอนเหนือทองสิงหคือหลังสิงหคลี่คลายเปนสันที่เอนลาดจนเปน  บัวคว�่ำ แตบัวคว�่ำดังกลาวดังกลาวมีลักษณะตวัดปลายขึ้นหรือที่ เรียกวา “บัวงอน” อันเปนเอกลักษณในศิลปะลานชาง รูปแบบ ที่คลี่คลายของขาสิงหที่เพรียวเล็กและหลังสิงหแบบลาดเอนเชนนี้ นาจะมีอายุหลังจากสมัยอยุธยาตอนปลายแลว และอาจรวมสมัยกับ กรุงรัตนโกสินทรตอนตน หรือราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔ แตอยางไรก็ดี เนื่องจากไมปรากฏหลักฐานชัดเจนวาเปน ฐานเดิมหรือฐานใหมที่ท�ำขึ้นพรอมการสรางสิมเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ ใน เบื้องตนผูเขียนจึงจัดเปนกลุมพระพุทธรูปที่มีการประดับลวดลาย บนสังฆาฏิและจีวร พระประธานในสิมวัดโพธิ์ทองจึงนาจะมีอายุราว พุทธศตวรรษที่ ๒๔ รวมสมัยกับพระประธานในวิหารวัดโพธิ์ทอง


บทส่งท้าย จากการส�ำรวจพระพุทธรูปโบราณ ในเขตเมืองหล่มสักพบว่า มีพระพุทธรูปที่สร้าง ด้วยวัสดุปูนปั้นประดับลวดลายที่งดงามบนผ้า สังฆาฏิ ผ้าจีวรและรัดประคด จ�ำนวน ๓ องค์ ได้แก พระเจ้าใหญ ่ หลักค� ่ำ วัดศรีภูมิ พระประธาน องคเก์ าในสิมวัดศรีฐานป ่ ยาราม และพระประธาน ิ ในสิมวัดโพธิ์ทอง ซึ่งพระพุทธรูปแต่ละองค์จะ มีพุทธลักษณะแตกต่างกันออกไปตามฝีมือช่าง แต่พระพุทธรูปทุกองค์จะมีรูปแบบพุทธศิลป์ ร่วมกันคือมีการประดับตกแต่งลวดลายบนผ้า สังฆาฏิ จีวร และรัดประคด พระพุทธรูปปูนป้นั ที่มีลวดลายประดับตามผ้าสังฆาฏิ จีวร และรัด ประคด ก�ำหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔ พระพุทธรูปกลุ่มนี้ถือเป็นกลุ่มพระพุทธรูปปูน ป้นที่น ั าสนใจอีกกลุ ่ มหนึ่ง เนื่องจากพระพุทธรูป ่ ที่มีพุทธลักษณะเช่นนี้ส่วนใหญ่พบเฉพาะใน เขตเมืองหลมสัก และชุมชนโบราณในลุ ่มแม่ น�้ ่ำ เลยและลุมแม่ น�้ ่ำโขงในท้องที่จังหวัดเลยเทานั้น ่ (ดู ธีระวัฒน์ แสนค�ำ, ๒๕๖๑: ๖-๒๙) 94 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


อย่างไรก็ดี ในการเก็บข้อมูลพระพุทธรูปปูนป้นที่มีลวดลายประดับตามผ้าสังฆาฏิ ั จีวร และรัดประคด ในเขตเมืองหล่มสักยังมี ข้อจ�ำกัดหลายอยาง พระพุทธรูปบางองค ่ อาจได้ ์ รับการบูรณปฏิสังขรณ์โดยฝีมือช่างพื้นบ้านใน ยุคหลัง ท�ำให้ลักษณะทางพุทธศิลปอาจมีความ ์ แตกตางไปจากลักษณะทางพุทธศิลป ่ของพระ- ์ พุทธรูปที่สร้างขึ้นร่วมสมัยในเมืองหล่มสัก ซึ่ง สวนใหญ ่พบว่ าพระพุทธรูปปูนป ่ ้นที่ก� ัำหนดอายุ ราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓/๒๔ ในเขตเมืองหลมสัก ่ จะไมมีการประดับลวดลายปูนป ่ ั้น แต่ส่วนใหญ่ จะนิยมสร้างประดิษฐานบนฐานขาสิงห ประดับ ์ ด้วยซุ้มหน้ามุขและประตูหลอก ๓ ด้าน ใน ขณะเดียวกันก็ไม่สามารถสืบค้นประวัติความ เป็นมาของพระพุทธรูปได้ชัดเจน เนื่องจากเปน็ พระพุทธรูปที่มีความเก่าแก่ มีอายุการสร้างมา ช้านาน รวมไปถึงความขาดแคลนของเอกสาร หลักฐานประวัติศาสตร ข้อมูลทางด้านโบราณคดี ์ และความชัดเจนทางด้านศิลปกรรม จึงท�ำให้ ข้อมูลที่น�ำเสนอในบทความนี้ เป็นเพียงข้อมูล และข้อสันนิษฐานเบื้องต้น ควรที่จะได้รับการ ศึกษาวิเคราะห์ทางด้านพุทธศิลป์อย่างลุ่มลึก ต่อไป วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 95


96 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บรรณานุกรม ธีระวัฒน แสนค�ำ. (๒๕๕๖). “เมืองหลมสัก: ชุมชนโบราณวัฒนธรรม ลานช างที่ถูกลืม”. ใน ไพโรจน ไชยเมืองชื่น และภูเดช แสนสา  (บรรณาธิการ).หมุดหมายประวัติศาสตรลานนา.  กรุงเทพฯ: โรงพิมพตะวันออก. ธีระวัฒน แสนค�ำ. (๒๕๖๑). พระพุทธรูปส�ำคัญในจังหวัดเลย. เลย: ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. ประภัสสร ชูวิเชียร. (๒๕๕๗). ศิลปะลาว. กรุงเทพฯ: มติชน. มณฑล ประภากรเกียรติ. (๒๕๕๖). ศิลปกรรมสะทอนความเปน ชุมชนลาวในเขตอ�ำเภอหลมสัก และอ�ำเภอหลมเกาจังหวัด เพชรบูรณ. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร. วรลัญจก บุณยสุรัตน. (๒๕๕๕). ชื่นชมสถาปตย วัดในหลวงพระบาง.  กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. วัฒนชัย หมั่นยิ่ง. (๒๕๕๔). “ภาษาถิ่นของอ�ำเภอหลมสัก”. ใน ศิลป วัฒนธรรมเพชบุระ. ปที่ ๑ ฉบับที่ ๑. ศักดิ์ชัย สายสิงห. (๒๕๕๖). พระพุทธรูปในประเทศไทย: รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชา ประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. เอนก นาวิกมูล และธงชัย ลิขิตพรสวรรค. (๒๕๖๕). สมุดภาพ เพชรบูรณ. เพชรบูรณ: จังหวัดเพชรบูรณ.


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 97 สัมภาษณ พระครูปริยัติพัชรกิจ. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดศรีฐานปยาราม ต� ำบล วังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๖. พระครูสิริพัชรากร. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดศรีภูมิ ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๖๑. พระครูสุภัทรพัชรเขต. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดทากกแก ต�ำบล ตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๖.


วารสารศิลปวัฒนธรรม โดย ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ เพชบุระ


Click to View FlipBook Version