The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านนาตะกรุด, พระพุทธรูปสำริดในเขตเมืองหล่มสัก, อ่านชีวิตนายเชื้อ สนั่นเมือง(เพชรบูรณ์), วัดไตรภูมิ, ภาษาพื้นถิ่นบ้านนาตะกรุด, เมี่ยงหัวทูน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารเพชบุระ ปีที่10 ฉบับที่ 10_ออนไลน์

ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านนาตะกรุด, พระพุทธรูปสำริดในเขตเมืองหล่มสัก, อ่านชีวิตนายเชื้อ สนั่นเมือง(เพชรบูรณ์), วัดไตรภูมิ, ภาษาพื้นถิ่นบ้านนาตะกรุด, เมี่ยงหัวทูน

การงาน-อาชีพ ครู ดังไดกลาวมาบางแลววาทานเริ่มรับราชการ ครั้งแรกในต�ำแหนงครู เมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ณ โรงเรียนประจ�ำมณฑลพิษณุโลก ทานเจริญกาวหนาในอาชีพนี้โดยล�ำดับ หลัง จากสอบไลไดประโยคครูประถมเปนที่ ๑ ของ  ประเทศ พ.ศ. ๒๔๗๐ เขาใจวามีสวนสงเสริม ใหทานไปเปนครูใหญโรงเรียนประจ�ำจังหวัด เพชรบูรณ พ.ศ. ๒๔๗๒ อันเปนชวงเวลาที่ทาน ไดพบกับคูชีวิตของทาน ชีวิตครูของทานเจริญกาวหน าในต� ำแหนงครูใหญ มาโดยตลอดเขาใจวาสวนหนึ่งมาจากความรู ความสามารถทางดานสติปญญา เชนการสอบ  ชุดประโยคครูมัธยม (ป.ม.) ไดส�ำเร็จในเวลา อันรวดเร็ว และอีกสวนนั้นมาจากคุณธรรม ประจ�ำตนสวนความขยันหมั่นเพียร ทุมเทให กับงาน ดังเชนทานเลาไววาชวงระยะเวลาที่มี ความสุขที่สุด คือการท�ำงานเปนครูใหญโรงเรียน ประจ�ำจังหวัดหลมสัก ระหวาง พ.ศ. ๒๔๗๕- ๒๔๘๓ วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 51


ศึกษาธิการจังหวัด (ในเวลานั้น เรียกวา ธรรมการจังหวัด) ชีวิตการท�ำงานเปลี่ยนแปลงไปอีก เมื่อทาน สมัครสอบคัดเลือกเปนธรรมการจังหวัดไดเปนที่ ๒ ของผูเข าสอบทั้งหมดได  รับแตงตั้งเปนธรรมการจังหวัด  เลย เมื่อ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๔ จากผูบริหารโรงเรียนกลายมาเปนผูบริหาร การศึกษาขนาดใหญทานเลาไววาไดมีผลงานส�ำคัญ หลายเรื่อง เชน อบรมสงเสริมขวัญก�ำลังใจแกบรรดา ครูใหญ ในชวงเวลายากล�ำบากเนื่องจากประเทศอยู ในภาวะสงคราม ระงับการลาออกของครูเนื่องจาก ภาวะตื่นทองในขณะที่ครูลาออกเปนจ�ำนวนมาก เพื่อไปกวานซื้อทองจากชาวบาน เพื่อน�ำไปขายตอ เชนรับซื้อ ๒๕-๓๐ บาท น�ำไปขาย ๖๐ บาท เมื่อ เปรียบเทียบกับเงินเดือนครู ๑๒-๑๖ บาท ท�ำให เกิดการขาดแคลนครู ทานแกไขปญหาโดยการออก ค�ำสั่งหามการลาออกกอนไดรับอนุญาต มิฉะนั้น จะถูกไลออก ความเฉียบขาดท�ำใหแก ไขสถานการณ  โกลาหลนี้ไปได นอกจากนี้ทานยังเลาถึงผลงานการ จัดตั้งโรงเรียนศึกษาผูใหญ การสงเสริมการกีฬา หากดูตามผลงานแลวจะเห็นไดวาทานขยันท�ำงาน 52 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


จากจังหวัดเลยทานไดรับแตงตั้งไป เปนธรรมการจังหวัดลานชางดังที่เคยกลาว มาแลว ทานบันทึกอยางละเอียดเกี่ยวกับความ  ยากล�ำบากของการเดินทางจากเลยไปลานชาง ชีวิตการท�ำงานที่ยากล�ำบากของดินแดนที่หาง ไกลความเจริญแถมยังอุดมไปดวยมาเลเรีย ชวงเวลาการท�ำงานที่ลานชาง พ.ศ. ๒๔๘๖-๒๔๘๘ เขาใจวาทานบริหารงานไปตาม  สภาพ มากกวาการริเริ่มงานใหมดังที่เคยท�ำมา เนื่องความขาดแคลนทางดานตาง ๆ ดังนั้น ขอมูลที่ทานบันทึกไวจึงเต็มไปดวย เรื่องของ สภาพบานเรือน ผู  คน ภูมิประเทศ การเดินทาง  ไปตรวจราชการยังอ�ำเภอตางๆ ของลานชาง นับเปนการใหภาพชีวิตของสังคมทองถิ่นแหง ดินแดนลานชางที่ผูเขียนยังไมเคยพบวามีผูใด บันทึกไดอยางละเอียดเชนนี้ วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 53


นักการเมือง จากชีวิตครูมาสูนักบริหารการศึกษา ชีวิต ก็พลิกผันอีกครั้ง เมื่อทานไดรับการชักชวนใหเขาสู่ วิถีการเมือง ทานเลาไววาเหตุผลที่ตัดสินใจลาออก จากราชการ สมัครผูแทน เนื่องจากเปนชองทางที่ จะพาครอบครัวไปจากลานชาง ดินแดนแหงความ หางไกลและอดอยาก ทางราชการก็มิไดพิจารณาที่จะ  โยกยายให   ทานไดรับเลือกเปนส.ส.เพชรบูรณ และได รับแตงตั้งเปนเลขานุการมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการ แตนับวานาเสียดายที่การเปนเลขานุการ รัฐมนตรีของทานสั้นมาก เมื่อรัฐบาลนายควง อภัย วงศ แพโหวตในสภา ท� ำใหตองลาออก แตสภาพการ เปน ส.ส. ยังคงด�ำรงอยู จนกระทั่งเกิดรัฐประหารเมื่อ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ รวมระยะเวลาที่ทานเปน ผูแทน ๑ ป ๙ เดือน ๑๔ วัน **จากบันทึกของทาน ผูเขียนมีข  อสังเกตบาง  ประการเกี่ยวกับการเปนผูแทนราษฎรในเวลานั้น จึง  อยากจะระบุไว ณ ที่นี้ 54 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ประการแรก การเปนผูแทนในเวลา หากมี “เสียงดี” ยอมเปนอันหวังวาจะได รับเลือก ตางจากยุคสมัยหลังที่เสียงดีอาจจะ ไมเกี่ยวกับการไดคะแนนดี เพราะมีปจจัย แทรกซอน นายเชื้อระบุวาหมดเงินไประมาณ ๔-๕ พันบาท และ “ประชาชนไมไดเรียกร อง อะไรเลย” ทานเพียงแตไปปรากฏตัว เยี่ยมเยียน และกลาวปราศรัย ชางเปนการเลือกผูแทนที่ เรียบงาย และไมสิ้นเปลือง ประการตอไป ส.ส. เวลานั้นมีอิสระ ในการโหวตตามเจตจ�ำนงของตนในสภา ความ เปนอิสระเชนนี้คงหาไดยากขึ้นเรื่อยๆ ในยุค ตอมา ประการสุดทาย ทานบนไวในบันทึก  วา การออกไปเยี่ยมประชาชนหลังจากปดสมัย ประชุม บางครั้งมีความรูสึกคลายเปนลูกหนี้ รายใหญ ยิ่งออกไปบอย ๆ เศรษฐกิจในครอบครัว ก็ยิ่งแยดวยเหตุผลเชนนี้กระมัง ผูแทนไทยยุค สมัยจึงมีวิธีแกไขที่ท� ำใหเศรษฐกิจในครอบครัว  ไมแย แถมมีแตเฟองฟู วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 55


ภายหลังสิ้นสุดบทบาททางการเมือง ทานกลับเขารับราชการ  อีกครั้ง ไดรับการแตงตั้งให  ด� ำรงต�ำแหนงศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อ มกราคม พ.ศ.๒๔๙๐ จากนั้นทานก็เจริญกาวหนาในหนาที่ราชการมาโดยล�ำดับ จากขาราชการชั้นเอก ด�ำรงต�ำแหนงศึกษาธิการจังหวัดใหญ ๆ เชน อุบลราชธานี นครราชสีมา จนกระทั่งไดรับการแตงตั้งเปนขาราชการ ชั้นพิเศษ ต�ำแหนงสุดทายกอนการเกษียณอายุราชการ พ.ศ. ๒๕๑๐  คือ ผูตรวจราชการกระทรวง ชั่วชีวิตของการท�ำงานจากครูชั้นผูนอยจนเลื่อนเปนผู  บริหาร  กระทรวงชั้นพิเศษ เรียกไดวาทานท�ำงานเจริญกาวหนามาโดยล�ำดับ ดวยสติปญญา ความสามารถ และคุณธรรมสวนตน แมภายหลังหมดหน  าที่ในสวนราชการแล  ว ทานยังมีงานอื่นๆ  เชนการเปนกรรมการของคุรุสภา แสดงใหเห็นถึงการยอมรับจากสังคม  นาเสียดายที่บันทึกของทานจบลงดวยเหตุการณในชีวิตชวงเวลา ประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๐ กอนการเกษียณอายุราชการประมาณ ๑๐ ป และกอนการถึงแกกรรมของทานกวา ๓๐ ป หากทานสุขภาพแข็งแรง  สามารถบันทึกเหตุการณตาง ๆ ไวได เราคงมีขอมูลดี ๆ นาสนใจ เกี่ยวกับตัวทาน ครอบครัว และบานเมือง ที่นาสนใจอีกมาก ผูเขียนขอจบบทความนี้โดยน�ำขอเขียนของนักการศึกษา ส�ำคัญ ๒ คน ของเมืองไทย ที่เขียนถึงไวในหนังสืออนุสรณฯ มาเสนอ  ตอผูอาน เพื่อใหทานเขาใจความเปนคนสนั่นเมือง ของทาน 56 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


“ทานศึกษาเชื้อเปนคนซื่อสัตย เปนคนรักงาน เปนคนกตัญู ทานมักจะพูดถึงครูอาจารยและผูบังคับบัญชาเกา ๆ ที่อบรมสั่งสอนทานมา แมขณะนั้นทานเปนศึกษาธิการจังหวัด เปนผูบริหารแตผมก็คิดวาทานท�ำหนาที่ “ครู” ไปพรอม ๆ กัน ทานจะสอนผูใตบังคับบัญชาทุกคน ทุกครั้งที่มีโอกาส ทานสอนพวกเราอยางไร ทานมักจะปฏิบัติอยางนั้น ทานศึกษาเชื่อ สนั่นเมือง นั้นจึงเปนปูชนียบุคคลโดยแท” ดร.จันทร ชุมเมืองปก วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 57


“คุณเชื้อเปนคนขยัน นอกจากจะท�ำงานในหนาที่ใหไดผล เต็มเม็ดเต็มหนวยแลวทานยังทุมเทใหแกกิจกรรมลูกเสือ แมแตจะพน จากหนาที่ทางราชการไปแลว คุณเชื้อยังสนใจและเขารวมในกิจกรรม ลูกเสือเปนบางครั้งบางคราว ส�ำหรับงานทางวิชาการนั้นปรากฏ วาคุณเชื้อหมั่นศึกษาหาความรูเพิ่มเติมอยูเสมอ ถึงแมจะเปนคนรุนเกา คุณเชื้อก็มีความรู และความคิดทันสมัยสามารถรวมงานทางวิชาการ ไดอยางเต็มภาคภูมิเมื่อยอนหลังถึงอดีตที่ผานมา ผมซาบซึ้งถึงผลงาน ที่คนรุนคุณเชื้อ ไดท�ำไวใหแกระบบการศึกษา โดยเฉพาะตัวคุณเชื้อเอง ก็ไดมีสวนในการผสมประสานความคิดเกากับความคิดใหมไดอยาง ละมุนละมอม คุณเชื้อมีสวนในการประคับประคองใหความเปลี่ยนแปลง ขยายไปสูภูมิภาค ไดอยางราบรื่น ถึงแมจะมีความขัดแยงกันบาง ทานก็ ชวยขจัดปดเปาใหไดอยางแนบเนียน” ศ.ดร.กอ สวัสดิพาณิชย 58 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 59 บรรณานุกรม จิราภรณ สถาปนะวรรธนะ. (บก.) (๒๕๔๒). บันทึกของคนทองถิ่น. โครงการทองถิ่นศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ นายเชื้อ สนั่นเมือง. ๔ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๓๔ รายงานการเก็บขอมูลประวัติศาสตรและวัฒนธรรมของ ๙ จังหวัด ภาคเหนือตอนลาง. โครงการทองถิ่นศึกษา มหาวิทยาลัย นเรศวร พ.ศ. ๒๕๓๘-๒๕๔๐


วัดไตรภูมิเปนวัดเกาแกของจังหวัดเพชรบูรณนับตั้งแตสมัยอยุธยา ตอนกลาง ตั้งอยูใจกลางเมือง มีก�ำแพงเมืองกอดวยอิฐโดยรอบ เนื่องจากวัดไตรภูมิตั้งอยูติดริมแมน�้ำปาสัก ซึ่งเปนแมน�้ำที่อยูตรง ใจกลางเมือง จึงกลายเปนศูนยกลางในการสรางก� ำแพงเมืองเพชรบูรณ ในสมัยอยุธยานับตั้งแตนั้นมา และปจจุบันวัดไตรภูมิตั้งอยูเลขที่ ๑๑๐ ถนนเพชรรัตน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ สังกัด คณะสงฆ มหานิกาย มีเนื้อที่ ๗ ไร ๓ งาน วัดไตรภูมิแหงนี้เปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คูบานคูเมือง เพชรบูรณมาตั้งแตครั้งโบราณกาล ตามต�ำนานที่เลาตอ ๆ กันมาวา ในระหวางที่ชาวบานออกหาปลาตามล� ำนํ้าปาสักก็ไดพบพระพุทธรูป  เกาแกองคหนึ่ง ปางสมาธิเนื้อผิวสัมฤทธิ์ สมัยขอมหรือลพบุรีมีชื่อวา “พระพุทธมหาธรรมราชา” ที่ล�ำน�้ำแหงนี้ บริเวณหนาวังมะขามแฟบ  จากนั้นชาวบานไดพากันอัญเชิญองคพระมาประดิษฐานที่วัดไตรภูมิ แหงนี้ และในทุก ๆ ป จะมีการจัดงานประเพณีอุมพระ “พุทธมหา ธรรมราชา” ลงสรงนํ้าเปนประจ�ำทุกป ตามต�ำนานความเชื่อของ ชาวบานที่ไดปฏิบัติสืบทอดตอ ๆ กันมาจนถึงปจจุบัน วัดไตรภูมิ ผู้เขียน : อาจารย์ ดร.รักชนก สมศักดิ์, ประธานสาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ภูสุดา สืบสาคร และคณะ ------------------------------------ --------------------------------------------------------------- ----------------------------------- --------------------------------------------------------------- 60 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 61


ภายในวัดไตรภูมิมีโบราณสถานที่ ส�ำคัญ คือ โบสถโบราณ ตั้งอยูในลักษณะดาน หนาหันเฉียงมาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งแตกตางจากโบสถทั่วไปตรงที่โบสถของวัด ไตรภูมิจะหันหนาไปทางแมน�้ำซึ่งอยูทางดาน ประตูทิศตะวันออก ประตูดังกลาวเปนประตู ที่ชาวบานขนศพออกไปเพื่อเผานอกเมือง หรือ  เรียกวา “ประตูผี” โดยมีที่มาจากคติความเชื่อ มาแตโบราณวา การสรางสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในเมือง ตองให  หันหน  าไปยันประตูผีไว  เพื่อปองกันไมให   สิ่งอัปมงคลเขามาในเมือง เจดียโบราณ วัดไตรภูมิ มีเจดียโบราณที่แมจะปรัก  หักพังไปมากแลว แตก็ยังพอเหลือหลักฐานให เห็นเปนองคเจดียกออิฐถือปูน ยอดปรางคทรง เหลี่ยม ย่อมุมไมสิบสองเปนศิลปะสมัยอยุธยา ตั้งอยูบริเวณดานหลังโบสถ สอดคลองจาก หลักฐานที่คนพบทางประวัติศาสตรตั้งแตการ สรางก�ำแพงเมือง ท�ำใหทราบไดวาเจดียทรง ปรางคภายในวัดไตรภูมิแหงนี้ เปนโบราณสถาน เกาแกในสมัยอยุธยาตอนกลาง 62 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 63


64 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ก�ำแพงเมือง ก�ำแพงเมืองเพชรบูรณไดสรางมาตั้งแตสมัย กรุงศรีอยุธยา เมื่อประมาณ ๕๐๐ ป ที่แลว แนวคิดการสรางก�ำแพงเมืองที่มั่นคงถาวรโดย การกออิฐถือปูนเริ่มมีขึ้นมาตั้งแตสมัยกรุงศรี อยุธยาตอนกลาง โดยก�ำแพงเมืองประกอบ ดวยแนวก� ำแพงปอมปราการ และประตูเมือง ในแตละดาน ซึ่งจะมีทั้งหมด ๔ ดาน แตละ ดานจะมีประตูที่มีความส�ำคัญตามการใชสอย ประกอบดวย แนวก� ำแพงเมืองทั้ง ๔ ดานมีปอม  ปราการทั้ง ๔ มุม คือ ๑) ปอมศาลหลักเมือง ๒) ปอมถนนหลักเมือง ๓) ปอมสนามชัย และ ๔) ปอมศาลเจาแม ซึ่งปอมปราการทั้ง ๔ นี้ จะมีประตูอยูกึ่งกลางก�ำแพงเมืองแตละดาน ทั้ง ๔ ทิศ ไดแก ๑) ประตูโพธิ์เย็น ๒) ประตู ดาว หรือประตูผี ๓) ประตูประชาสรรค และ ๔) ประตูชุมพล วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 65


ประตูผี วัดไตรภูมิไมมีการประกอบพิธีกรรมการเผาศพ เนื่องจากวัดไตรภูมิเปนวัดหลวง หากมีคนตาย ในบริเวณใกลเคียงฝงแมน�้ำทางหนาวัดไตรภูมิ ชาวบานก็จะน�ำศพออกไปเผาที่วัดโพธิ์เย็น ซึ่ง ในอดีตเรียกวา “วัดศพ” โดยจะไมมีการน�ำศพ ขามแมน�้ำเด็ดขาด สวนอีกฝงแมน�้ำทางดาน การประปา หากมีคนตายชาวบานก็จะน� ำศพไป เผาที่วัดประตูดาว “ประตูผี” เปนประตูที่ใชน�ำศพคนตายออกไป นอกเมือง และเปนประตูที่กองทัพทหารจะใชใน การเดินทัพออกจากเมืองไปสูรบในศึกสงคราม ตามความเชื่อเพื่อเปนเคล็ดวา “ทุกคนไดตาย ไปหมดแลวจึงสู  รบได  อยางไมต  องกลัวตายอีก”  สวนดานที่อยูตรงกับประตูผีนั้น จะต  องเปนที่ตั้ง  ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญที่สุดของเมือง (นั่นก็คือ วัดไตรภูมิ ซึ่งมีโบสถหันหนายันประตูผี) เพื่อ เปนการปองกันยันไมใหสิ่งชั่วร  าย หรือสิ่งที่เปน  อัปมงคลเขามาในเมืองได  สวนประตูเมืองหลัก  ที่ถือเปนดานหน าของเมือง คือ ประตูชุมพลเปน  ปอมประตูที่อยูทางทิศตะวันตก หันหนาไปยัง บริเวณตัวเมืองเพชรบูรณเดิมตั้งแตสมัยสุโขทัย 66 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 67


68 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


หลวงพอใหญ พระประธานภายในโบสถวัดไตรภูมิ ชาวบาน ตางพากันเรียกวา “หลวงพอใหญ” เปนพระ พุทธรูปโบราณ ปนโดยชางเพชรบูรณ หรือ ชางปนชาวบานที่รวมมือกันปนองคพระขึ้นมา ศิลปะการปนแบบชาวบานนั้นเนื้อปูนปนจะมี ลักษณะหยาบ ไมละเอียดสวยงามวิจิตรบรรจง เทากับชางสกุลชาง ซึ่งมีวิธีการท�ำปูนปน โดย ใชกอนหินเผาไฟ เพื่อไหไดขี้เถาจากหินมผสม กับเปลือก หอย และทราย ปูนที่ไดจะมีลักษณะ  เนื้อละเอียด เปนสีขาว แสดงถึงความละเอียด ประณีต พิถีพิถันของชางสกุลชางที่ถือวาเปน ผูมีบารมีในการสรางองคพระพุทธรูป วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 69


พระพุทธรูปโบราณ ภายในวัดไตรภูมิมีพระพุทธรูปโบราณ เปนพระพุทธรูปปางยืนศิลปะ สมัยอยุธยา ทรงเครื่องนอย ประดิษฐานอยูบนศาลาการเปรียญ สันนิษฐานวา เปนพระพุทธรูปรุนเดียวกันกับวัดชางเผือก ต� ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ 70 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ต�ำนานอุมพระด�ำน�้ำ วัดไตรภูมิเปนที่ประดิษฐาน “พระพุทธมหาธรรมราชา” พระคูบานคูเมืองเพชรบูรณมา ตั้งแตครั้งโบราณกาล ตามประวัติศาสตรที่ เลาสืบตอกันมาหลายชั่วอายุคนวา ประมาณ ๔๐๐-๕๐๐ ป ที่ผานมามีชาวบ  านกลุมหนึ่งออก  หาปลาในล�ำน�้ำปาสัก อยูมาวันหนึ่งชาวบานก็ ไดออกหาปลาตามปกติ และไดเกิดเหตุการณ ประหลาดขึ้น ตั้งแตเชาถึงบายไมมีใครจับปลา และสัตวน�้ำอื่นๆ ไดเลยแม สักตัวเดียวคล  ายกับ  วาใตพื้นนํ้าไมมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูเลย สราง ความงุนงงแกพวกเขาเปนอยางมาก ตางพากัน นั่งปรึกษาหารือกันวาจะท�ำอยางไรดีเมื่อหาปลา ไมได ในระหวางที่ชาวบานก�ำลังปรึกษาหารือ กันอยูนั้น บริเวณหนาวังมะขามแฟบ ซึ่งอยูทาง  ทิศเหนือของเมืองเพชรบูรณ เกิดกระแสน�้ำใน แมน�้ำไดหยุดไหลนิ่งสงบ แลวกลายเปนวังน�้ำ วนใหญและลึกมากยิ่งๆ ขึ้น ชาวบานตางมองดู  ดวยความมึนงง ไมสามารถหาค� ำตอบไดวาเกิด  อะไรขึ้น วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 71


เหตุการณด�ำเนินตอไปจนกระทั่งกระ แสนํ้าวนนั้นเริ่มคืนสูสภาพเดิมและดูดเอา พระพุทธรูปองคหนึ่งลอยขึ้นมาจากใตพื้นนํ้า และลอยขึ้นมาอยูเหนือผิวนํ้าในลักษณะอาการ ด�ำผุดด�ำวายอยูตลอดเวลา เหมือนอาการของ เด็ก ๆ ที่ก�ำลังเลนน�้ำ ชาวบานกลุมนั้นได  เห็นถึง  ความศักดิ์สิทธิ์จึงไดรวมกันอัญเชิญพระพุทธรูป  องคนี้ขึ้นฝง และอัญเชิญไปประดิษฐานไวที่วัด ไตรภูมิแหงนี้จนถึงปจจุบัน 72 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ในปตอมา เมื่อถึงเทศกาลสารทไทย พระพุทธรูปองคนี้ไดหายไปอยางไรรองรอย ชาวบานได  ออกตามหากันจ  าละหวั่น แล  วในที่สุด  ก็ไปพบพระพุทธรูปบริเวณที่พบองคพระครั้ง แรกที่วังมะขามแฟบในลักษณะอาการเดิม คือ ก�ำลังด�ำผุดด�ำวายอยูกลางล�ำนํ้า และชาวบาน ก็ไดพากันอัญเชิญ องคพระกลับมาประดิษฐาน ที่วัดไตรภูมิอีกครั้ง ในปตอมาชาวบานจึงจัด ประเพณีอุมพระด�ำนํ้าขึ้นและไดปฏิบัติเชนนี้ เปนประจ�ำทุก ๆ ป จนกลายเปนที่มาของ ประเพณีอุมพระด�ำน�้ำที่ไดสืบทอด สืบสาน กันจนถึงปจจุบัน โดยพิธีกรรมเริ่มจากการถวายภัตตาหาร เชาแกพระภิกษุสงฆ และเจาเมืองเพชรบูรณ พรอมดวยขาราชการ นิสิตนักศึกษา พอคา ประชาชน และ คหบดีชาวจังหวัดเพชรบูรณได รวมกันอัญเชิญพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องคนี้ไป ประกอบพิธีอุมพระด�ำน�้ำที่วังมะขามแฟบ หรือ บริเวณหนาวัดโบสถชนะมารเปนประจ� ำทุกปี วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 73


ชาวเพชรบูรณตางมีความเชื่อกันวามี เทพสิงสถิตยอยูในองคพระพุทธมหาธรรมราชา ์ ซึ่งสรางในยุคสมัยลพบุรี ตอมาเมื่อกรุงสุโขทัย แผอ�ำนาจขยายอาณาเขตออกไปอยางกวางขวาง “พระพุทธมหาธรรมราชา” ไดถูกอัญเชิญไป ประดิษฐานไวที่กรุงสุโขทัย จนถึงสมัยพระมหา-  ธรรมราชาลิไท (กษัตริยองคที่ ๖ ในราชวงศ พระรวง) เปนชวงที่จังหวัดเพชรบูรณเวนวางจาก  ผูครองนคร (หรือเจาเมือง) จึงโปรดใหออกญา ศรีเพชรรัตนานัคราภิบาลมาเปนเจาครองเมือง  เพชรบูรณ ขึ้นตรงตอกรุงสุโขทัย พรอมได พระราชทานพระพุทธรูป “พระพุทธมหาธรรม ราชา” เปนพระคูบานคูเมืองโดยมีพระกระแส รับสั่งไววา ใหมาทางล�ำนํ้า หากแวะที่ใดก็ให สรางวัดขึ้นใหมใหเปนที่ประดิษฐานองคพระ เมื่อเดินทางมาถึงเมืองเพชรบูรณมีด�ำริจะน�ำ “พระพุทธมหาธรรมราชา” ประดิษฐาน ที่วัด มหาธาตุ แตเนื่องจากเกรงวาจะเปนการขัดตอ พระบรมราชโองการจึงสรางวัดขึ้นใหม และตั้ง ชื่อวา “วัดไตรภูมิ” เพื่อเฉลิมพระเกียรติแก พระรวงที่ไดพระราชนิพนธ เรื่องไตรภูมิพระรวง  พรอมกับอัญเชิญองคพระขึ้นประดิษฐานไว ณ วัดไตรภูมิ 74 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สวนความเชื่ออีกดานหนึ่งเชื่อกันวา “พอขุนผาเมือง” เจาเมืองราด ได  รับพระราชทาน  จาก “พระเจาชัยวรมันที่ ๗” กษัตริยนครธม ผูเปนพอตา ให  อันเชิญองคพระพุทธมหาธรรม-  ราชา ไปประดิษฐานไว้เปนพระคูบานคูเมือง ภายหลังอภิเษกสมรสกับ “พระนางสิงขรมหาเทวี” ราชธิดา แตหลังจาก “พอขุนผาเมือง” รวมกับ “พอขุนบางกลางหาว” เจาเมืองบางยาง  ซึ่งเปนพระสหายยกทัพเขายึดครองกรุงสุโขทัย  ไวได พอขุนผาเมืองจึงยกเมืองให  กับพระสหาย  ปกครอง จึงท�ำให “พระนางสิงขรมหาเทวี” โกรธแคนและไดเผาเมืองราด จากนั้นพระนาง ไดโดดลงแมน�้ำปาสักปลงพระชนมชีพ เหลา เสนาอ�ำมาตยไดพากันอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาลงแพลองไปตามแมน�้ำปาสักเพื่อหนี เปลวเพลิง แตเนื่องจากแมน�้ำปาสักมีความคด เคี้ยวเชี่ยวและกรากท�ำใหแพอัญเชิญองคพระ แตก เปนเหตุใหองคพระพุทธมหาธรรมราชา จมลงสูแมนํ้า กระทั่งตอมากลุมชาวบานหาปลา  ไดไปพบองคพระที่วังมะขามแฟบตาม ต�ำนาน เลาขานไว วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 75


ประเพณีอุมพระด�ำน�้ำ วัดไตรภูมิ เปนสถานที่ประกอบพิธีกรรมส�ำคัญในงานประเพณี อุมพระด� ำน�้ำ โดยมีการอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชา ที่ประดิษฐาน อยูภายในมณฑปของวัดไตรภูมิ เพื่อประกอบพิธีอุมพระด�ำน�้ำ ซึ่งจัด ขึ้นในวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๐ ของทุก ๆ ป เปนงานประเพณีเกาแก ของจังหวัดเพชรบูรณ และนับเปนประเพณีที่มีความแปลกแตกตาง จากจังหวัดอื่น ๆ ซึ่งไมมีที่ไหนในโลก ประเพณี “อุมพระด�ำนํ้า” จึง นับวาเปนประเพณีหนึ่งเดียวในโลกนอกจากมีเรื่องราวเชิงอิทธิปาฏิหาริย เขาไปผูกพันแลว ยังนับเปน “มรดกทางวัฒนธรรม” ที่แฝงไวดวย ภูมิปญญา ทองถิ่นเพชรบูรณ โดยบรรพบุรุษได  น� ำความเชื่อและความ ศรัทธาจากชาวบานที่มีตอพุทธศาสนา และองคพระพุทธมหาธรรมราชา  มาบอกกลาวเพื่อใหชาวบานรวมกันดูแลรักษาแมนํ้าล�ำคลองตอไป ในวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๐ ของทุกป เจาเมืองหรือผูวา ราชการจังหวัดเพชรบูรณ พรอมดวยพอคา คหบดี และประชาชน จะตองรวมกันอัญเชิญองคพระพุทธมหาธรรมราชาไปประกอบพิธี “อุมพระด�ำนํ้า” ณ บริเวณวังมะขามแฟบ ซึ่งไดสืบทอดมาจนกระทั่ง ปจจุบัน โดยมีขอก�ำหนดวา ผูที่จะอุมพระด�ำน�้ำไดนั้น จะตองเปน เจาเมือง หรือผู  วาราชการจังหวัดเพชรบูรณคนเดียวเทานั้น เนื่องจาก มีต�ำแหนงเทียบเทากับเจาเมืองในสมัยโบราณ ซึ่งจะใหผูอื่นกระท�ำ แทนมิได และหลังจากการประกอบพิธีกรรมแลวชาวบานเชื่อกันวา องคพระจะไมหาย ไปด�ำนํ้าเอง ฝนก็จะตกตองตามฤดูกาล บ านเมือง  76 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ก็จะมีแตความสงบสุข รมเย็น พืชผลอุดมสมบูรณ พระพุทธรูปที่อัญเชิญ ประกอบพิธีอุมพระด� ำนํ้าเปนองค “พระพุทธมหาธรรมราชา” พระพุทธ รูปปางสมาธิ ศิลปะสมัยลพบุรี หลอดวยทองสัมฤทธิ์ หนาตักกวาง ๑๓ นิ้ว สูง ๑๘ นิ้ว ไมมีฐาน พุทธลักษณะเปนทรงเทริด พระพักตร กวาง พระโอษฐแบะ พระหนุปาน พระกรรณยาวย  อยจนจรดพระอังสา  ที่พระเศียรทรงเครื่องชฎาเทริด หรือมีกระบังหนาทรงสรอยพระศอ พาหุรัด และประคตเปนลวดลายงดงามยิ่ง วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 77


ในพิธีอุมพระด� ำน�้ำจะมีผูท� ำหนาที่อุ  มพระด� ำน�้ำ ประกอบดวย กรมเวียง กรมวัง กรมคลัง กรมนา และผูวาราชการจังหวัดเพชรบูรณ  ยืนตรงกลางปะร�ำพิธีกลางนํ้า อุมพระด� ำนํ้า เพียง ๒ ทิศ ทิศละ ๓ ครั้ง คือ หันหนาทวนนํ้า (ทิศเหนือ) และหันหนาตามนํ้า (ทิศใต) ทิศละ ๓ ครั้ง แสดงถึงการใหความส�ำคัญกับแมนํ้าของชาวบาน และปริมาณ นํ้าที่เปนปจจัยส�ำคัญในการท�ำมาหากินในชีวิตประจ�ำวัน หลังจาก เสร็จพิธีด�ำน�้ำ จะมีกิจกรรมที่แสดงใหเห็นถึงการมีปฏิสัมพันธทาง สังคมของชาวบาน เชน การโยนขาวตมลูกโยน และผลไมในพิธีให กับชาวบานที่เขารวมพิธีสองฟากฝงแมน�้ำปาสักระหวางขบวนเรือ ที่แหไปรวมพิธีเปนคติค�ำสอนใหรูจักการพึ่งพาและรูจักการแบงปน กันในงานประเพณีดังกลาว จะมีการแขงเรือทวนน�้ำระหวางชาวบาน หมูบานตาง ๆ ในล� ำนํ้าปาสัก เพื่อเปนการฝกการท�ำงานเปนทีม รูจัก แบงหนาที่กันท�ำงาน และสรางความสามัคคีในหมูคณะ 78 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 79 บรรณานุกรม ถนัดศรี สวัสดิวัตน, ม.ร.ว. (๒๕๕๘) ประเพณีอุมพระด�ำนํ้าเพชรบูรณ.. ไทยรัฐออนไลน. สืบคนเมื่อ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ จาก : https://www.thairath.co.th วิศัลย โฆษิตานนท (๒๕๕๘). มหัศจรรยเพชรบูรณ (Unseen Phet chabun). กรุงเทพฯ : ทริปเปล บี เพลส. วิศัลย โฆษิตานนท. ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดเพชรบูรณ ให สัมภาษณ, วันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๙. ภูสุดา สืบสาคร ผูสัมภาษณ. ประวัติวัดไตรภูมิ. หอภูมิปญญาและวิถี ชาวบานเพชรบูรณ. ประเพณีอุมพระด�ำน�้ำ https://paikondieow.com


80 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ภาษาพื้นถิ่น บานนาตะกรุด ต�ำบลศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ ผูเขียน : อาจารย์สมศักดิ์ ภู่พรายงาม อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชานาฏศิลป์และศิลปะการแสดง นางสาวปวีณา บัวบาง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางสาวสุพิชญา พูนมี เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ------------------------------------ --------------------------------------------------------------- ------------------------------------ --------------------------------------------------------------- อ�ำเภอศรีเทพมีกลุมชาติพันธุไทยเบิ้ง หรือไทย เดิ้ง อพยพเขามาตั้งรกรากถิ่นฐานอยูอาศัยที่ มีภาษาซึ่งใชภาษาถิ่นไทยเบิ้งหรือไทยเดิ้งในการ  สื่อสารพูดคุยกันภายในชุมชนที่มีเอกลักษณ ทางภาษาที่แตกตางจากกลุมชนอื่นเปนกลุมที่ใช ภาษาไทยภาคกลางเพี้ยน เหนอ น�้ำเสียงหว สั้น  ภาษาพูดนิยมลงทายประโยคดวยค�ำวา “เบิ้ง” หรือ “เดิ้ง” ชาวไทยเบิ้ง หรือชาวไทยเดิ้ง เปน กลุมชนกลุมหนึ่งที่ตั้งบานเรือนอยูบริเวณลุม แมน�้ำลพบุรีและลุมแมน�้ำปาสักและกระจัด กระจายอยูในหลายจังหวัด ไดแก ลพบุรี สระบุรี  เพชรบูรณ บุรีรัมย ชัยภูมิ และนครราชสีมา เปนตน มีหลักฐานยืนยันวา มีการตั้งถิ่นฐานตั้ง แตยุคกอนประวัติศาสตรตอนปลาย


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 81 มีเอกลักษณทางวัฒนธรรมที่โดดเดน งดงามทั้ง ในแงของคติความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปญญาและการละเลน ตลอดจนวัฒนธรรม ทางสังคมอื่น ๆ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก ไดท�ำการศึกษาสืบคนวัฒนธรรม พื้นบานนาตะกรุด โดยแบงหมวดหมูของการ ศึกษาดานวัฒนธรรมเปน ๔ ดาน ไดแก ดาน วัฒนธรรมทางสังคมและความเปนอยู ดาน วัฒนธรรมคติความเชื่อ ดานวัฒนธรรมขนบ ธรรมเนียมประเพณี และดานวัฒนธรรมภูมิ ปญญาการละเลนพื้นบาน พบวาชุมชนนตะกรุด  ซึ่งตั้งอยูบนที่ลุมแมน�้ำปาสักตอจากลุมน�้ำลพบุรี เปนกลุมคนสวนใหญที่อพยพมาจากจังหวัด นครราชสีมา และจังหวัดลพบุรี เปนชุมชนหนึ่ง ที่สืบทอดเชื้อสายมาจากชาวไทยเบิ้งมีเอกลักษณ ทางวัฒนธรรมตามแบบชาวไทยเบิ้งในอดีต และมีการสืบทอดเอกลักษณทางวัฒนธรรมมา ยาวนาน แตเมื่อกาลเวลาเปลี่ยนแปลง สังคมก็ มีการเปลี่ยนไปตามยุคสมัย สิ่งแวดลอมทาง วัฒนธรรมที่เคยสืบทอดวัฒนธรรมกันมายาวนาน อยางงดงามมีแนวโนมที่จะเสื่อมสลายลงตาม กาลเวลา (ฉัตรทิพย นาถสุภา. ๒๕๓๔ :๓ - ๕)


82 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยเบิ้งคือเปนภาษาที่เหมือนกับ ภาษาไทยภาคกลางแตมีค�ำลงทายประโยคเปนลักษณะเฉพาะท  องถิ่น  มีหนวยเสียงพยัญชนะ ๒๑ หนวยเสียง เสียงสระ ๑๘ หนวยเสียง และเสียงวรรณยุกต ๕ หนวยเสียง การอธิบายหนวยเสียงตาง ๆ โดย เฉพาะหนวยเสียงพยัญชนะและหนวยเสียงสระไดอาศัยวิธีการวิเคราะห  ตามแนวภาษาศาสตร หนวยเสียงพยัญชนะมี ๒๑ หนวยเสียง ดังนี้ กลุมที่ ๑ พยัญชนะระเบิดและพยัญชนะกัก ไดแก ป ต จ ก อ พ(ผ) ท(ถ) ช(ฉ) ค(ข) บ ด กลุมที่ ๒ พยัญชนะนาสิก ไดแก ม น ง กลุมที่ ๓ พยัญชนะขาง ไดแก ล กลุมที่ ๔ พยัญชนะรัว ไดแก ร (ชาวไทยเบิ้งสามารถออกเสียง ร ได ชัดเจนมาก) กลุมที่ ๕ พยัญชนะแทรก ไดแก ฟ(ฝ) ฮ(ห) ซ(ส) กลุมที่ ๖ พยัญชนะครึ่งสระ ไดแก ย ว หนวยเสียงสระมี ๒๑ หนวยเสียง ดังนี้ กลุมที่ ๑ สระเดี่ยว มีทั้งสระเสียงสั้นและสระเสียงยาวรวม ๑๘ หนวย เสียง คือ อะ อา อิ อี อึ อื อุ อูเอะ เอ แอะ แอ เออะ เออ โอะ โอ เอาะ ออ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 83 กลุมที่ ๒ สระประสมมี ๓ หนวยเสียง มีเสียงยอยหนวยละ ๒ เสียง เปนสระเสียงสั้นและยาว คือ หนวยประสม เอีย มีเสียงยอย คือ เอียะ เอีย หนวยประสม เอือ มีเสียงยอย คือ เอือะ เอือ หนวยประสม อัว มีเสียงยอย คือ อัวะ อัว หนวยเสียงวรรณยุกต มีหนวยเสียงที่แตกตางกัน ๕ หนวย เสียง ไดแก เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา แตชาวไทยเบิ้งออกเสียงสูงต�่ำตางจากการออกเสียงวรรณยุกตใน ภาษาไทยภาคกลางเปนลักษณะของเสียงเหนอซึ่งถาจะน�ำมาเปรียบ เทียบกับการออกเสียงวรรณยุกตในภาษาไทยภาคกลางแลวเสียงที่ แตกตางกันจะมีดังนี้ ภาษาไทยเบิ้ง ภาษาไทยภาคกลาง เสียงวรรณยุกตตรี (ซิบ) เสียงวรรณยุกตเอก (สิบ) เสียงวรรณยุกตโท (น�่ำ, ไม) เสียงวรรณยุกตตรี (น�้ำ, ไม) เสียงวรรณยุกตเอก (ฝน) เสียงวรรณยุกตจัตวา (ฝน)


84 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หมวด ก กะหมวง ภาชนะส�ำหรับใสปลา กะปง ถังน�้ำ กาด (ค�ำกริยา) หั่น (หั่นประเภทผัก) กะเติ่ง (ค�ำกริยา) กระโดดขาเดียว กะบม (ค�ำกริยา) เอามือดันกนบุคคลที่ขึ้นที่สูง เชน ขึ้นตนไม กระเดียด ใชตะโพกและมือถือของหนักไวขางเอว โกงโคง ยืนอยูแลวกลับตัวและหัวถึงพื้น กรอก ซอย หรือทางเดินแคบ ๆ กระโดกกระเดก กริยาแขงกระดาง กระเถิบ ขยับ (ขยับเขามาใกล ๆ) กอกน เริ่มตน ตั้งตน หรือเริ่มท�ำงานครั้งแรก แกม เอา มีสวนรวม กับจวด ไมขีด กับแจด ไมขีด หมวด ข ขะเหนอก คันกั้นน�้ำซึ่งท�ำขึ้นชั่วคราว ขะหยืด กลัว (กลัวเกี่ยวกับความสูง) ขะหยอน การหามของหนาแล วเดินเร็วเปนจังหวะ  ขี้สีก น�้ำคล�ำ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 85 ขี้ปด โกหก แขะ แคะ (ค�ำกริยา) ขอเดิ้ง ขอบาง แขยงขน ขนลุก หมวด ค คดขาว ตักขาวออกจากหมอใสจาน คางน�้ำ ตั้งหมอตมน�้ำ คางหมอขาว ตั้งหมอขาวบนเตาเพื่อหุงขาว คอยคอย เบาเบา หมวด ง โหงย ลมลง (ค� ำกริยา) ตั้งสิ่งของไวแลวของลม หมวด จ จน งานมาก เชน มีงานท�ำหลายงานขณะเดียวกัน จั๊กกะแร รักแร จั๊กกะลืน ขยะแขยง จั๊กกะเดียม จั๊กกะจี้ โจงเล็ง รสชาติของอาหารไมเขมขน เจิ่น เปลี่ยนทิศทาง (กริยา) ขวางสิ่งของ จก ลวง หรือ จับ (เชนจกฉลาก)


86 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หมวด ฉ เฉด ค�ำที่ใชไลสุนัข หมวด ซ ซง คลาย ๆ เชน ซงเหมือนจะมีอาการเปนไข   ซีก ชิ้น (ใชเรียกการผาผลไมเปนชิ้น) ซอก ทางเดินแคบ ๆ ลงแมน�้ำหรือล�ำคลอง ซอกแซ็ก แอบรู แอบเห็น เซี่ยม ท�ำใหปลายแหลม เชน เซี่ยดินสอ เซา คอยยังชั่ว เบาลง หมวด ฐ ฐาน สวมของพระสงฆ หมวด ด ดะ กั้น (กริยา) การปองกันตัว เด ค�ำลงทาย ค�ำบอกเลา เชน ไปโนนเด ดอย กมเดินยอง เดินชา เพื่อแอบไป เดิ่น ลานกวาง เชน ลานบาน ลานวัด ดอก ค�ำลงทายค�ำปฏิเสธ เชน ไมมีดอก เดอ ค�ำลงทายค�ำกลาวลา เชน ไปแลวเดอ เดิ้ง บาง


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 87 หมวด ต ตะกูง กอดคอดานหลัง เชน ตะกูงเด็ก เอาคนขี่หลัง  ตลุกหลุม (หลุมเล็กกลางทุง) ตาว บอกย�้ำเพื่อความแนนอน สงขาว ตูน ทู หรือไมแหลม ตูย ใชปายของกินขึ้นมากิน (ใชนิ้วชี้ปาย) ตึ่ง อาการบวม ตอน ชิ้น (ประเภทชิ้นเนื้อ) โตงโมง โต ใหญ เตลิด เลย เชน เดินเตลิดบาน (เดินเลยบาน) ตอมะแน็ด ตอแหล ตื้อกัน เทากัน เสมอกัน (การเปรียบเทียบ) ตกกะใจ ตกใจ ตกละโลก ตกโคลนซึ่งมีน�้ำแฉะชื้น ตกคลัก ปลาตกคลัก (ปลาอาศัยอยูในที่ที่มีน�้ำนอย) หมวด ถ ถมถืด มากมาย (เชน มีถมถืด) หมวด ท ที่โอ ที่สุดทาย ที่โหล ที่สุดทาย ที่โป ที่สุดทาย เทิน วางไวขางบน


88 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หมวด น นั่งสอ เด็กนั่งฟงผูใหญคุยกัน หนอไมสม หนอไมดอง หมวด บ บานเอง บานของเรา บานฉัน บอง เจาะใหเปนรูเล็กรูใหญรูยาว ผา เบิ้ง บาง (ของสิ่งของ) ขอบาง เบย เปนค�ำตัดพอ หรือ ทอถอย อุทาน “วา...” บอก หองสวม บวก แองน�้ำที่มีน�้ำอยูเล็กนอย เชน ปลาอยูในบวก  หมวด ป ปาหวะ ปลีกเวลา ปาด หั่น (หั่นเนื้อหมู เนื้อไก เนื้อปลา) ปง หนังสือ ปงหนึ่งหัว หนังสือหนึ่งเลม เปย ค�ำอุทาน (เปนค�ำทอถอย) ไปกะไร ไปไหน ไปท�ำอะไร ไปหยองดู ไปแอบดู ปอลอ โผล (เชน โผลหัวปอลอ) ปะเหลาะ ปลอบโยน ปลอบใจ


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 89 หมวด พ พอแก คุณตา พูดเดิม การพูดนินทาผูอื่น พิลึกพิลือ มากมาย หมวด ม มะแวง มะเขือพวง มุนของไว ซอนของไว มุบโหม ผลุบโผล โมม กินอาหารค�ำโต ๆ มอด ลอด เชน มอดไปใตโตะ แมแก คุณยาย ไมแกงกน ไมเช็ดกน (ใชไมแทนกระดาษช�ำระ) ไมสวง ไมสบาย หรือรูสึกมีอาการไมสบาย ไมสานัดสาเน ไมละเอียดถี่ถวน ไมแจม ไมชัดเจน เมาะ ฟุบ เชน คุณงวงก็เมาะลงที่ตัวฉันสิ หมวด ย หยาย ไมเชื่อหรือไมแนใจกับค�ำบอกเลา แยงไปฉาย สองไฟฉาย ยิ้มแปแหว ยิ้มแฉง ยอดสะหมิด ยอดตนไมที่สูงที่สุดหรือสูงมาก


90 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หมวด ร ระหรูด ไดทั้งหมด หรือ ไดทุกอยาง ระวังโหงย ระวังลม หมวด ล หลัน หลาน (เด็ก ๆ ใชพูดแทนตัวเองกับ ลุง ปา นา อา) ลิเหลอ อางวาง หรือ วาเหว หนาเดอดา ละเหลย ทะลึ่ง หรือ มากเกินไป หมวด ว เหวย ค�ำลงทายค�ำนาม (มีของไมเหวย) ละ เหวี่ยง ขวาง ไวถา ไวคอย เว็ด หองสวม หมวด ส เสียบทอง อาการปวดทอง สาระดอง สอดสอง หรือ สอดแนม สุมปา เผาปา สมเพด สงสาร


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 91 หมวด ห หัวขี้แต ดินที่เปนกอนเล็ก ๆ สูงเทาพื้นที่ในทองนา ขี้ไถ(กอนดิน) หัวไมกรงฟา คนเกียจครานนอนไมยอมลุกขึ้น เหื่อ เหงื่อ หมวด อ อี้ว......อี้ว ออกเสียงไลไก เอิ้น เรียก เอื้อยเตื้อย เชื่องชา ออยอิ่ง / อาการคนขี้เกียจ ไอเณร เด็กผูชาย อีนาง เด็กผูหญิง จากตัวอยางค�ำศัพทภาษาถิ่นในชุมชนที่กลาวมาแลวขางตน ซึ่งเปนภาษายอยที่ใชพูดคุยสื่อสารกันภายในชุมชน เกิดจากการใช ภาษาเพื่อการสื่อความหมายความเขาใจกันระหวางผูคนที่อาศัยอยู ในชุมชนนั้น ๆ การใชค�ำ ภาษาถิ่น เปนภาษาที่มีลักษณะเฉพาะ ทั้ง ถอยค�ำที่ท�ำใหเราทราบถึงความเปนมาของภาษาถิ่นจน ท�ำใหเห็น ความส�ำคัญของภาษา และเกิดความรูสึกรักหวงแหนภาษานั้นไวให ลูกหลานไดสืบทอดตอไปในอนาคต และสมควรที่จะอนุรักษใหคงอยู คูชุมชนสืบไป


92 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บรรณานุกรม ปรุงศรี กลิ่นเทศ. (๒๕๖๔). อายุ ๘๒ ป บานเลขที่ ๒๑๒ หมู ๒ บานนาตะกรุด ต� ำบลศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๑ มกราคม. ปอน สีชุมพร. (๒๕๖๔). อายุ ๘๒ ป บานเลขที่ ๑๐๓ หมู ๑๕ บานนาตะกรุด ต� ำบลศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๑ มกราคม. เปรียว บัวกลา. (๒๕๖๔). อายุ ๗๓ ป บานเลขที่ ๓๕ หมู ๑ บานนาตะกรุด ต� ำบลศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๑ มกราคม. มะลิวรรณ ขึ้นทันตา. (๒๕๖๔). อายุ ๕๓ ป บานเลขที่ ๘ หมู ๒ บานนาตะกรุด ต� ำบลศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๑ มกราคม. สมพงษ โตมะนิตย. (๒๕๖๔). อายุ ๗๗ ป บ านเลขที่ ๓๖ หมู ๑๕  บานนาตะกรุด ต� ำบลศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๐ มกราคม. สมหวัง คุรุเจริญ. (๒๕๖๔). อายุ ๖๘ ป บ านเลขที่ ๙๗/๑ หมู ๒  บานนาตะกรุด ต� ำบลศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๑ มกราคม.


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 93 เสงี่ยม ศรีไพร. (๒๕๖๔). อายุ ๖๒ ป บานเลขที่ ๑ หมู ๕ ต�ำบล ศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๔ มกราคม. เสมอ โตมะนิตย. (๒๕๖๔). อายุ ๗๘ ป บานเลขที่ ๓๖ หมู ๑๕ บานนาตะกรุด ต� ำบลศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๐ มกราคม. เสมียน ตะกรุดราช. (๒๕๖๔). อายุ ๘๑ ป บานเลขที่ ๙๘/๑ หมู ๘ ต�ำบลศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๔ มกราคม. แสนสุข บุญชวย. (๒๕๖๔). อายุ ๖๕ ป บานเลขที่ ๑๑๒ หมู ๒ บานนาตะกรุด ต� ำบลศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๑ มกราคม.


94 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เมี่ยงหัวทูน ผูเขียน : อาจารย์ใจสคราญ จารึกสมาน รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม นางสาวกัญญาภัค ดีดาร์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ------------------------------------ --------------------------------------------------------------- ------------------------------------ --------------------------------------------------------------- ทูน เปนพืชตระกูลบอน มีหัวอยูใตดิน ใบเลี้ยง เดี่ยวขนาดใหญ รูปรางเปนลูกศร มีนวลเคลือบ แผนใบ กานใบยาวกลมมีนวลเคลือบ กานใบสี เขียวอมขาว มีกาบหุมจนมิด ในบางพื้นที่ที่มี ความชื้นสูงจะสงเสริมการปลูกเปนแปลงเพราะ สามารถเก็บกานและใบมากินได  ตลอดป  ใชกาน ทูนดิบมาประกอบอาหาร มักใชกานที่โตเต็มที่ ลอกเอาเปลือกเขียวที่หุมอยูออก กินเปนผักสด  จิ้มน�้ำพริก แกลมแกงรสจัด และน�ำมากินกับ สมต


สวนประกอบ ๑. หัวทูน ๒. ปลานิลหรือปลาดุก ๓. มะเขือเครือ ๔. ปลารา ๕. น�้ำปลา ๖. ชูรส ๗. ถั่วลิสง ๘. งา ๙. เกลือปน ๑๐. ขิง ๑๑. ตนหอม – ผักชี


96 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ วิธีการและขั้นตอนการท�ำเมี่ยงหัวทูน ๑. น�ำหัวทูนมาปอกเปลือกออกใหหมดแลว น�ำมาลางน�้ำเปลาใหสะอาด แลวน�ำหัวทูนมา สับใหละเอียดเสร็จแลวน�ำเกลือปนมาเคลากับ ทูนเพื่อใหน�้ำของทูนออก แลวปนใหน�้ำออกให สนิทเสร็จแลวพักไว ๒. น�ำถั่วลิสงกับงา คั่วไฟออน ๆ เสร็จแลว น�ำมาพักไว ๓. น�ำหอมแดงกับกระเทียมคั่วไฟใหสุก แลวน� ำมาต�ำรวมกันใหละเอียดแล  วน� ำมาพักไว ๔. ซอยขิงสด พรอมกับตนหอม - ผักชี ให ละเอียดแลวน�ำมาพักไว ๕. ตมน�้ ำปลาราให เดือดเสร็จแล  วน� ำปลานิล หรือปลาดุก ตมใหสุก เสร็จแลวใหน�ำปลาออก พักไวแลวกรองกากออกใหหมด ๖. เริ่มน�ำของทุกอยางที่เตรียมไวมาเคลา ใหเขากัน เปนอันวาเสร็จเรียบรอยหลังจากนั้น จึงน�ำมารับประทานรวมกับผักพื้นบาน เชน ใบชะพลู ผักไชยา กะหล�่ำ เปนตน


เมี่ยงหัวทูนจึงเปนที่นิยมท�ำขึ้นกันภายใน ชุมชนโดยรวมตัวกันน�ำวัตถุดิบตาง ๆ ที่หามา ไดน�ำมารวมกันท�ำเพื่อเปนอาหารวางทานกัน เลน ๆ นอกจากเมี่ยงหัวทูนจะเปนอาหารที่ทาน กันเลน ๆ แลวยังเปนอาหารที่มากด วยสรรพคุณ อยางมากมาย ซึ่งในปจจุบันจะหาทานกันยาก ขึ้นไปทุกที ซึ่งจะยังคงมีใหพบเห็นบางสวนที่ ยังคงนิยมท�ำรับประทานกันในกลุมครอบครัว หรือเวลาเดินทางไปท�ำไรท�ำสวนกันเพียงเทานั้น


98 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บรรณานุกรม ขันทอง ศรีมูล. (๒๕๖๔). อายุ ๘๐ ป ต� ำบลหลมเกา อ�ำเภหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๕ กุมภาพันธ. ค�ำพูน ทอนแกว. (๒๕๖๑). อายุ ๖๙ ป  บ านเลขที่ ๖๑ หมู ๓ ต� ำบล วังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๖ กรกฎาคม. จรัส ทองแกน. (๒๕๖๑). อายุ ๗๐ ป บ านเลขที่ ๔๖/๑ หมู ๘ ต� ำบล หลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๐ เมษายน. จ�ำเนียร บุญสิงห. (๒๕๖๔). อายุ ๗๙ ป บานเลขที่ ๒ หมู ๓ ต�ำบล หลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๕ กุมภาพันธ. เฒา ทองเติม. (๒๕๖๑). อายุ ๘๐ ป บ านเลขที่ ๓๒ หมู ๘ ต� ำบล หลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๐ เมษายน.


วารสารศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๐ 99 ตาน ชนะแพง. (๒๕๖๔). อายุ ๗๓ ป ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๕ กุมภาพันธ. นารี บุญเหลือ. (๒๕๖๑). อายุ ๗๑ ป บานเลขที่ ๔๓ หมู ๘ ต�ำบล หลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๐ เมษายน. นิตยา อินฑูรย. (๒๕๖๑). อายุ ๔๙ ป บานเลขที่ ๑๙/๑ หมู ๘ ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๒๐ เมษายน. บรรจง เพชระบูรนิน. (๒๕๖๔). อายุ ๖๕ ป บานเลขที่ ๗๖ หมู ๗ ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๕ กุมภาพันธ. บุษบา โถเมือง. (๒๕๖๑). อายุ ๗๘ ป บานเลขที่ ๑๒๘ หมู ๕ ต�ำบลนาแซง อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๕ มกราคม.


วารสารศิลปวัฒนธรรม โดย ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ เพชบุระ


Click to View FlipBook Version