RatchRaapthchruaepkhrJuoeukrnJaolurVnoal.l16VoNlo.1.63 N(Soe.3pt(eSmepbteerm-beDrec-emDebceerm2b0e1r8)201918-)29 19
วารสาวรารราสชาพรฤรากชษพ์ ฤปกีทษี่ ์ 1ป6ที ฉ่ี บ16บั ทฉี่ บ3ับท(ก่ี ัน3ย(ากยันนยา-ยธนัน-วาธคนัมวา2ค5ม61)25169-1)29
ความท้าทายของการประยุกต์ใช้ภาษาองั กฤษในฐานะภาษาสากล
ในบรบิ ทการเรยี นการสอนของไทย
The Challenge of Applying English as International Language
Instructional Context of Thailand
เอษณ ยามาลี 1,*
Eason Yamalee 1,*
บทคดั ย่อ
บทความน้ีมุ่งให้ความรู้แก่ผู้อ่าน ในการประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากล ในบริบทของการเรียน
การสอนของไทย ภาษาอังกฤษนับว่ามีบทบาทส�ำคัญในความเป็นภาษาสากลที่มีผู้คนท่ัวโลกใช้ หลายประเทศให้ส�ำคัญ
ในการพฒั นาขดี ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษของประเทศตน ประเทศไทยเองกเ็ ชน่ เดยี วกนั ทม่ี งุ่ สง่ เสรมิ ใหค้ นไทย
มขี ดี ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษทสี่ งู ขน้ึ การสอนภาษาองั กฤษในประเทศไทยจดั อยใู่ นประเภทภาษาตา่ งประเทศ
ท่ียึดรูปแบบของเจ้าของภาษาตามแบบฉบับอังกฤษหรืออเมริกาเป็นส�ำคัญ ซึ่งมุมมองของนักวิชาการเห็นว่า การยึดติด
อยู่กับรปู แบบว่าจะตอ้ งถกู ต้องตามแบบของเจ้าของภาษา เปน็ เหตใุ หน้ กั เรียนไทยที่ศกึ ษาภาษาอังกฤษ เกรงกลัววา่ จะใช้
ภาษาอังกฤษได้ไม่ถูกต้องอย่างเจ้าของภาษาใช้ และไม่กล้าพอท่ีจะใช้ภาษาอังกฤษทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
ในขณะเดียวกันภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากล มีความหลากหลายท้ังในรูปแบบของการใช้และวัฒนธรรมการใช้ที่
แตกตา่ งกนั ทเ่ี นน้ การสอ่ื สารถงึ กนั อยา่ งเขา้ ใจมากกวา่ ยดึ ตดิ กบั รปู แบบทางภาษาของเจา้ ของภาษา ครผู สู้ อนตอ้ งตระหนกั
ถึงความหลากหลายของภาษาองั กฤษในฐานะภาษาสากล โดยปรับเปล่ียนการเรยี นการสอน ไมย่ ดึ ตดิ อยูก่ บั รปู แบบของ
เจ้าของภาษา เปิดกว้างให้เกดิ พฒั นาการทางภาษา มุ่งเน้นให้สามารถประยุกตใ์ ชเ้ พอ่ื ส่อื สารถึงกันได้อย่างง่าย และเขา้ ใจ
คำ� ส�ำคัญ: ภาษาสากล เจ้าของภาษา ขีดความสามารถในการใช้ภาษา
ABSTRACT
This article aims to provide knowledge to readers for applying English, which is considered as
an international language in the instructional context of Thailand. English has its important role as it is
international language which is used by people all around the world. Many countries have realized its
importance in developing English using capabilities of citizens within their countries as found in Thailand.
Thailand has encouraged its citizens to improve their English skills. It has been taught as foreign language and
imitated the original styles of native speakers like the American and the English. The aspects of scholars reveal
that holding on the original style of correctness of native speakers is the reason for intimidation Thai students
1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รตั นบณั ฑิต, กรงุ เทพฯ 10240
Faculty of Education, Rattana Bundit University, Bangkok 10240 Thailand
*Corresponding author, E-mail: [email protected]
20 Ratchaphruek Journal Vol.16 No.3 (September - December 2018)
วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 16 ฉบับท่ี 3 (กันยายน - ธนั วาคม 2561)
to study English because they are afraid to use it in classes and outside classes. Meanwhile, English as the
international language has various styles of usage and different culture which concentrate on understanding
of communications more than sticking to the original styles of native speakers. Instructors need to realize its
diversity. They need to adapt and apply their teaching in classes and do not concentrate on using only some
original formats of native speakers. They have to be open-minded to evolve the use of the language in order to
be able to apply it for real-life communications for easy understandings.
Keywords: International language, Native speakers, English using capabilities
บทน�ำ พัฒนาขีดความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของ
ประเทศตน (Swales,1987) ซึ่งประเทศเหล่าน้ีได้ส่ง
ภาษาอังกฤษ ปัจจุบันนับว่าเป็นภาษาที่มีความ นักศึกษาเป็นจ�ำนวนมากไปศึกษาในประเทศท่ีใช้ภาษา
ส�ำคัญ และมีบทบาทของความเป็นภาษาสากล (Global อังกฤษเป็นภาษาหลัก เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ
Language) ในท่ีน้ีหมายความว่า บทบาทความเป็นผู้น�ำ ออสเตรเลีย แคนนาดา เป็นต้น (J. Cho, 2014) โดยความ
ภาษาโลก (World Leading’s Language) ทั้งนี้สืบเน่ือง เป็นจรงิ แลว้ สถานภาพของภาษาองั กฤษมีฐานะเป็นภาษา
จากว่า ภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีถูกใช้กันแพร่หลาย สากล (Global Language or International Language)
ท้ังในทางธุรกิจ วิทยาศาสตร์ การเมืองและการปกครอง นน่ั หมายความวา่ การใช้ภาษาองั กฤษเปน็ สื่อกลางในการ
(Crystal, 2003) ภาษาองั กฤษจึงเปรยี บเสมอื นใบเบกิ ทาง สื่อสารข้ามวัฒนธรรม และรูปแบบภาษาอังกฤษที่เป็น
เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารศกึ ษาทด่ี กี วา่ และโอกาสการมหี นา้ ทกี่ ารงาน ข้อความมุ่งส�ำหรับส่ือการสื่อความให้ผู้รับสารในระดับ
ท่ดี ี ภาษาอังกฤษนับวา่ มบี ทบาทท่ีสำ� คญั ท่ีจะสานต่อโลก นานาชาติ (Crystal, 2003) ดว้ ยเหตนุ ี้ ท�ำใหม้ ผี คู้ นทว่ั โลก
ใหเ้ ปน็ หนงึ่ เดยี่ ว ในเกอื บทกุ ประเทศทว่ั โลก ทไี่ มไ่ ดใ้ ชภ้ าษา ถึงหนึ่งในส่ีต่างก็ใช้ภาษาอังกฤษ และในเอเชียใต้ และ
อังกฤษเปน็ ภาษาหลัก (English as a native language) เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ กลา่ ววา่ อาจะมีสงู ถงึ 812 ล้านคน
ภาษาอังกฤษจะมีสถานะเป็นภาษาท่ีสอง (English as ในภูมภิ าคใชภ้ าษาองั กฤษ (Bolton, 2008) ในบทความน้ี
second language) หรือในฐานะภาษาต่างประเทศ ผู้เขยี นมงุ่ เสนอแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ แยกประเด็นออกเป็น
(English as a foreign language) ภาษาอังกฤษเป็น สามสว่ นอันประกอบด้วย
ภาษาเดียวที่ใช้อย่างเป็นภาษาทางการ ในส�ำนักงาน 1. การสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
เลขาธกิ าร องคก์ ารสหประชาชาติ และภาษาองั กฤษยงั เปน็ 2. นานาภาษาอังกฤษโลก (World Englishness)
ภาษาที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ในการประชุมการค้าระหว่าง และความหลากหลายของภาษาอังกฤษ (English Variety)
ประเทศ ปัจจุบันมีนักศึกษาจากนานาประเทศ ไปศึกษา 2.1 English as native language (ENL)
ยังประเทศท่ีใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักเพิ่มขึ้น ภาษาอังกฤษในฐานะเจ้าของภาษา
เป็นจ�ำนวนมาก แสดงให้เห็นว่าแทบทุกประเทศท่ัวโลก
ให้ความส�ำคัญกับภาษาอังกฤษ จากการศึกษาค้นคว้า 2.2 English as second language (ESL)
พบว่า มีต้นฉบับเอกสารงานวิจัยจ�ำนวนหลายล้านช้ิน ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาท่สี อง
ท่ีเขียนและพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ และก็คาดว่าภาษา
อังกฤษจะยงั คงเป็นภาษาหลกั ทใ่ี ชใ้ นงานวจิ ยั ตา่ ง ๆ ตอ่ ไป 2.3 English as a foreign language (EFL)
กวา่ ทศวรรษทผี่ า่ นมา หลายประเทศทไ่ี มไ่ ดใ้ ชภ้ าษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ
เป็นภาษาหลัก ได้ใช้เงินลงทุนเป็นจ�ำนวนมหาศาลเพื่อ
Ratchaphruek Journal Vol.16 No.3 (September - December 2018) 21
วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 (กนั ยายน - ธันวาคม 2561)
3. ความท้าทายของภาษาอังกฤษในฐานะภาษา จากที่กล่าวมาข้างต้น ท�ำให้เห็นว่า การสอน
สากล หรอื Global English หรือ English as international ภาษาองั กฤษในประเทศไทยจดั อยใู่ นประเภทภาษาองั กฤษ
language (EIL) กับการประยุกต์เข้ากับการเรียนการสอน ในฐานะภาษาต่างประเทศหรือ English as a foreign
ของไทย language (EFL) หรือใช้ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษ
3.1 การสอนและอุดมคติของครูผู้สอนภาษา แบบ EFL มาโดยตลอดเช่นเดียวกับการสอนในประเทศ
องั กฤษในประเทศไทย อ่ืน ๆ อีกมากมายท่ัวโลก (Talebinezhad & Aliakbari,
3.2 รูปแบบของภาษาอังกฤษ ( English 2002) เพราะประเทศไทยไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็น
Language Form) ภาษาแม่ ภาษาราชการ หรอื ภาษาทสี่ องสำ� หรบั การสอื่ สาร
3.3 ส่ือการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ หรือการเรียนการสอน ซ่ึงสอดคล้องกับความหมาย
(English Teaching and Learning Materials) อย่างเป็นทางการของค�ำว่า EFL ถึงแม้ว่ารัฐบาลไทย
จะพยายามส่งเสริมให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีสองใน
ทฤษฎีท่เี ก่ยี วข้อง แวดวงของธรุ กจิ ไปนานแลว้ และมแี ผนการทจี่ ะผลกั ดนั ให้
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีสองในการเรียนการสอนของ
1. การสอนภาษาองั กฤษในประเทศไทย ประเทศ แตน่ กั เรยี นไทยสว่ นใหญ่ ไดค้ ะแนนภาษาองั กฤษ
ภาษาองั กฤษทใ่ี ชใ้ นราชอาณาจกั รไทยอยา่ งเปน็ กันน้อยมากจากผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติ
ทางการ เริ่มข้ึนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้า (Matden & Charumanee, 2017)
เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลท่ี 3) แหง่ กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ (ครสิ ตศกั ราช สถานการณเ์ ชน่ นแี้ ตกตา่ งจากอกี หลายประเทศ
1824-1851) เนื่องจากสมัยน้ันมีความจ�ำเป็นในการเจรจา ในเอเชยี ทสี่ ว่ นใหญเ่ คยเปน็ อาณานคิ มของจกั รวรรดอิ งั กฤษ
ต่อรองกับสหราชอาณาจักรที่แผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาใน เชน่ สงิ คโปร์ มาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ อนิ เดยี ซง่ึ ใชภ้ าษาองั กฤษ
รูปแบบการล่าอาณานิคม แนวโน้มน้ีด�ำเนินต่อเน่ืองมา เป็นภาษาราชการหรือไม่ก็ภาษาที่สอง ดังนั้นการสอน
ยังรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบ EFL ในประเทศไทยจงึ หมายถงึ การสอนภาษาองั กฤษ
(รัชกาลท่ี 4) และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า ให้แก่ผู้เรียนเฉพาะในห้องเรียน เม่ือออกจากห้องเรียน
อยู่หัว (รัชกาลท่ี 5) มากไปกว่านี้ ในปีพุทธศักราช 2539 ไปแลว้ ผเู้ รยี นกห็ าโอกาสทจี่ ะใชภ้ าษาองั กฤษไดน้ อ้ ยเตม็ ที
กระทรวงศึกษาธิการได้ก�ำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษา หรอื แทบไมไ่ ด้ใชเ้ ลย (ไพสิฐ บริบรู ณ์, 2554)
ต่างประเทศท่ีนักเรียนทุกคนต้องเรียนในระดับการศึกษา แนวทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใน
ขั้นพื้นฐาน โดยเร่ิมเรียนต้ังแต่ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ประเทศไทย ซ่ึงได้รับการบอกเล่าจากผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษ
เปน็ ตน้ ไป (Wongsothorn, Hiranbura & Chinnawongs, ในฐานะเจ้าของภาษาว่า อิทธิพลทางอุดมคติของการใช้
2003) ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรที่ไม่ได้ตกเป็น ภาษาเป็นสิ่งท่ีท�ำให้นักศึกษาไทยขาดความเช่ือมั่น
เมืองขึ้นของลัทธิการล่าอาณานิคมมาก่อน ด้วยเหตุนี้ ในตนเองและเป็นสาเหตุท่ีท�ำลายอัตลักษณ์ของตัวเองที่มี
ภาษาอังกฤษในประเทศไทย จึงมีการใช้บรรทัดฐาน อย่างสิ้นเชิง ด้วยเหตุนี้ จึงมีผลกระทบต่อการเรียนภาษา
ข้ึนอยู่กับการใช้ภาษาของเจ้าของภาษา จึงไม่เกิดภาษา อังกฤษให้ประสบความส�ำเร็จโดยทางอ้อม (Boriboon,
อังกฤษในรูปแบบไทย หรือมีรูปแบบภาษาอังกฤษของ 2011) อุดมคติในการใช้ภาษาอังกฤษท่ีต้องการให้ถูกต้อง
ตนเอง อย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษในปัจจุบันนี้ได้น�ำมา ในแบบเจ้าของภาษาท้ังของอังกฤษและสหรัฐอเมริกา
ใช้ในไทย หลายสถานะ เช่น เป็นวิชาบังคับในโรงเรียน ในประเทศไทย เป็นตัวส่งเสริมผ่านกระบวนการสอน
เป็นส่ือการเรียนการสอนในหลักสูตรการศึกษานานาชาติ โดยผา่ นตำ� รา ระเบยี บวธิ กี ารทดสอบ การออกแบบนโยบาย
ใช้ในการประชุมระดับนานาชาติ ด้านการท่องเที่ยว ท่ีมีมายังครูผู้สอน สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดถูกถ่ายทอดไปยัง
การถา่ ยทอดทางเทคโนโลยแี ละวทิ ยาศาสตร์ (Foley, 2005)
22 Ratchaphruek Journal Vol.16 No.3 (September - December 2018)
วารสารราชพฤกษ์ ปที ี่ 16 ฉบบั ที่ 3 (กนั ยายน - ธนั วาคม 2561)
นักเรียน ผู้เรียนและสังคมโดยรวม ซ่ึงครูไทยส่วนใหญ่ ครูอาจารย์และนกั วชิ าการ ดา้ นการสอนภาษา
เช่ือว่าเป้าหมายสูงสุดของการเรียนภาษาอังกฤษ คือการ องั กฤษควรมคี วามตระหนกั รเู้ กย่ี วกบั เรอื่ งเหลา่ นเ้ี พราะอาจ
ช่วยให้นักเรียนประสบความส�ำเร็จในการเรียนได้แบบ จะช่วยสะท้อนสถานการณ์ท่ีเป็นจริงของการสอนภาษา
เจ้าของภาษาหรือ ENL ทป่ี ระกอบไปด้วยทัง้ การออกเสียง อังกฤษในประเทศไทย และอาจน�ำไปสู่การปรับเปลี่ยน
และวัฒนธรรมการใช้ภาษา (Choomthong, 2014) กระบวนทศั น์การสอน (paradigm shift in teaching) ของ
อุดมคติน้ีเป็นส่ิงท่ีทั้งผู้เรียน และผู้สอนซึมซับมานาน ครูอาจารย์เอง รวมทั้งเพิ่มพูนการศึกษาวิจัยเก่ียวกับ
ดังงานวิจัยที่มีการส�ำรวจความมุ่งหวังของนักศึกษาไทย อุดมการณ์ของภาษาอังกฤษที่สร้างความรู้ความเข้าใจ
ในระดับมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการออกเสียงภาษาอังกฤษ ที่ลึกซึ้งมากข้ึนเก่ียวกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
จ�ำนวนทั้งส้ิน 387 คน ผลปรากฏว่า แม้ว่าผู้เรียนเหล่านี้ การออกแบบวิธีการสอน และส่ือการสอนในช้ันเรียนท่ีมี
ตระหนักถึงรูปแบบภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากล ประสิทธิภาพและดงึ ดูดใจต่อไป (McGroarty, 2010)
พวกเขายงั คงมที ศั นคตใิ นทางบวกตอ่ รปู แบบการออกเสยี ง 2. นานาภาษาองั กฤษโลก (World Englishes) และ
ทเ่ี หมอื นกบั เจา้ ของภาษาหากเปน็ ไปได้(Kanoksilapatham, ความหลากหลายของภาษาอังกฤษ (English Variety)
2013) อยา่ งไรก็ตาม ยังคงมที ัศนะที่หกั ล้างวา่ หากผสู้ อน แนวคิดของนานาภาษาอังกฤษโลก แรกเริ่ม
ยงั คงยดึ ตดิ กบั การสอนแบบดง้ั เดมิ ผลทไ่ี ดค้ อื นกั เรยี นไทย เสนอโดยนักวิชาการ ช้ีให้เห็นว่ามีการแบ่งแยกภาษา
เกรงกลัวการพูดภาษาอังกฤษ เกิดความเครียด ท�ำให้ อังกฤษออกเป็น 3 วงกลมร่วมศูนย์กลางเดียวกัน (three
พวกเขามองตัวเองต่�ำต้อยเนื่องด้วยเป็นคนท่ีไม่ได้ใช้ concentric circles) โดยใชบ้ ริบททางประวตั ิศาสตร์ และ
ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาหลกั (Non-nativeEnglishspeakers) สถานะของภาษาอังกฤษในภูมิภาคที่หลากหลาย โดยเริ่ม
และเกรงกลัวการผดิ พลาดวา่ จะพูดภาษาองั กฤษแตกตา่ ง ต้ังแต่วงกลมที่มีขนาดเล็กสุดซ่ึงอยู่ช้ันในสุดไปยัง
ออกไปถ้าพวกเขาไม่สามารถพูดได้อย่างส�ำเนียงของ วงกลมใหญส่ ดุ ทอ่ี ยวู่ งนอกสดุ ซง่ึ สามารถดปู ระกอบไดจ้ าก
เจา้ ของภาษา (Boriboon, 2011) ภาพที่ 1 ท่แี สดงมาพรอ้ มน้ี สงิ่ น้ที �ำใหเ้ ห็นถึงองค์ประกอบ
การให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมากกับรูปแบบ ของวงกลมร่วมศูนย์กลางเดียวกัน ประกอบไปด้วย
(Form) ของการใชภ้ าษาอยา่ งเจา้ ของภาษา สามารถสง่ ผล 1) ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก (Native
ใหเ้ กิดความคิดท่วี ่า ผูท้ ีไ่ มไ่ ด้พดู ภาษาองั กฤษแบบเจา้ ของ English speaking countries) จดั อยู่ในวงกลมส่วนในสดุ
ภาษา อาจไมเ่ ปน็ ทยี่ อมรบั ได้ มคี วามสามารถทางภาษาตำ�่ (Inner Circle) เช่น อังกฤษ อเมริกา และออสเตรเลีย
หรอื ระดบั การใชภ้ าษาตำ�่ ขณะทผ่ี ใู้ ชไ้ ดอ้ ยา่ งเจา้ ของภาษา 2) ประเทศที่เคยตกเป็นอาณานิคมของประเทศท่ีใช้ภาษา
จะเปน็ ผูท้ ีถ่ กู มองว่าใช้ภาษาไดอ้ ย่างสูงสง่ (Jindapitak & องั กฤษเปน็ ภาษาแม่ จดั อยู่ในวงกลมส่วนรอบนอก (Outer
Teo, 2013) สิ่งน้ีแสดงให้เห็นว่าการเรียนภาษาอังกฤษ Circle) เชน่ อินเดีย สิงคโปร์ ไนจีเรีย และ 3) ประเทศท่ี
ของไทย ไมส่ ามารถทจี่ ะเปลย่ี นแปลงมมุ มองไปในรปู แบบ ได้รับอิทธิพลจากโลกตะวันตก และใช้ภาษาอังกฤษใน
อ่ืนได้ บริบทของการด�ำเนินงานทางธุรกิจ การศึกษาและ
นอกจากน้ียังได้มีการตั้งข้อสังเกตว่า ความ เทคโนโลยี จัดอยใู่ นวงกลมสว่ นขยาย (Expanding Circle)
ไม่สามารถน�ำเสนอภาษาอังกฤษได้อย่างหลากหลายใน เช่น ญป่ี ุ่น จนี ไทย และตรุ กี (Kachru, 1997) เพอ่ื ให้เกิด
ชั้นเรียนของไทย ที่จะน�ำไปสู่การเปลี่ยนรูปแบบทางภาษา ความเขา้ ใจมากขนึ้ ผเู้ ขียนขอขยายความดงั ต่อไปน้ี
อังกฤษเป็นอีกแบบหน่ึงได้อย่างที่ละน้อย หรืออธิบาย
งา่ ย ๆ คือ ภาษาอังกฤษแบบไทย ๆ ถกู ปฏิเสธและไม่เป็นที่
ยอมรับในสังคม ท�ำให้เกิดความกลัวของนักเรียนท่ีจะพูด
ภาษาองั กฤษทงั้ ในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น (Boriboon,
2011)
Ratchaphruek Journal Vol.16 No.3 (September - December 2018) 23
วารสารราชพฤกษ์ ปที ่ี 16 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2561)
Expanding Circle
Quter Circle
eIngn. eUrKC&ircUleS
eg. &SiInngdaiapore
ReuVgsi.esCtinahaaimnnad
ภาพท่ี 1: Three concentric circles (World Englishes): จาก Jenkins (2015, p.17)
English as native language (ENL) คือความ ส�ำหรบั English as foreign language (EFL) หรอื
หลากหลายทางภาษาอังกฤษ ที่ถูกสื่อสารหรือพูดออกมา การใช้ภาษาองั กฤษในรูปแบบภาษาต่างประเทศ จัดอยใู่ น
โดยคนทใ่ี ชภ้ าษาองั กฤษเปน็ ภาษาแรกหรอื ภาษาหลกั หรอื รปู แบบ Expanding Circle เช่นประเทศไทย จีน ตรุ กี และ
เรียกอีกนัยหน่ึงคือคนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ ญี่ปุ่น จะเห็นได้ว่า การใช้ภาษาอังกฤษในประเทศท่ี
การใช้ภาษาอังกฤษแบบ ENL โดยทั่วไปแล้วถูกจ�ำแนก กล่าวมานี้ เป็นการใช้ภาษาอังกฤษ ของผู้ที่ไม่ได้ใช้ภาษา
ออกจากภาษาอังกฤษของคนที่ใช้แบบ ESL หรือ EFL อังกฤษเป็นภาษาหลักหรือภาษาแม่ รูปแบบการเรียน
(Nordquist, 2017) มีอยู่หลายประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ การสอนแบบ EFL น้ัน กล่าวคือยึดมาตรฐานของเจ้าของ
แบบ ENL เช่น ออสเตรเลยี แคนนาดา สหราชอาณาจกั ร ภาษาเป็นหลัก และยังใช้แบบฉบับนของเจ้าของภาษา
และสหรัฐอเมริกาและในกลุ่มประเทศที่มีคนที่ใช้ภาษา มาเป็นรูปแบบมาตรฐานในการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
องั กฤษแบบ ENL อพยพเขา้ ไปอยจู่ ำ� นวนมากและยาวนาน ผู้เรียนด้วย ท้ังน้ี ครูผู้สอนในบริบทการสอนภาษาอังกฤษ
จนกลืนภาษาท้องถิ่นไปโดยสิ้นเชิงก่อนสถาปนาข้ึนเป็น ของกระบวนทัศน์ EFL จะเน้นอย่างมากถึงการท่ีผู้เรียน
ประเทศอย่างประเทศ Belize และ จาไมก้า เป็นต้น จะต้องมีหลักการใช้ไวยากรณ์ และการออกเสียง
(Roger, 2003) (pronunciation) ได้เฉกเช่นเดียวกับการใช้ภาษาของ
English as second language (ESL) หรอื การใช้ เจ้าของภาษา เพราะผู้สอนมีความคิดว่าภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาทีส่ อง ตามรูปแบบของวงกลม แบบ อังกฤษ หรอื อเมรกิ นั คือ Standard English (ภาษา
สามวงรว่ มศนู ยก์ ลางเดยี วกนั จดั อยใู่ นรปู แบบOuter Circle องั กฤษแบบมาตรฐาน) (Wright, 2010)
ซึ่งหมายความว่า ประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมมาก่อน อย่างไรก็ตาม ในชว่ งหลายปีทผี่ า่ นมา นักวิชาการ
ที่ซ่ึงภาษาอังกฤษไม่ได้เป็นภาษาแม่ แต่ภาษาอังกฤษ ดา้ นนานาภาษาองั กฤษโลกหลายคน ไดช้ ใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ขอ้ จำ� กดั
มีความสำ� คญั ในด้านการศึกษา เป็นภาษาราชการ และถูก ของรปู แบบวงกลมสามวงรว่ มศนู ยก์ ลาง (Three concentric
ซึมซับส่งผ่านในวัฒนธรรมของประเทศเหล่านั้น เช่น circles: Inner, Outer และ Expanding Circle) เพราะว่า
ประเทศอินเดีย สิงคโปร์ และไนจเี รีย รูปแบบนี้ท่ีใช้แบ่งภาษาอังกฤษยึดติดกับหลักภูมิศาสตร์
24 Ratchaphruek Journal Vol.16 No.3 (September - December 2018)
วารสารราชพฤกษ์ ปีท่ี 16 ฉบบั ท่ี 3 (กันยายน - ธนั วาคม 2561)
และประวัติศาสตร์มากเกินไป ตัวอย่างเช่น เด็กที่เกิดใน แตกต่างกัน (Dewey, 2007; Jenkins, 2000; Seidlhofer,
ประเทศจนี หรอื ญป่ี นุ่ แลว้ อพยพไปอยปู่ ระเทศออสเตรเลยี 2001) หรือบางคนเรียกว่า “ภาษาอังกฤษในฐานะภาษา
ตง้ั แตอ่ ายุ 10 ปี เขายังจดั อยู่ในประเภทวงกลมสว่ นขยาย ของโลก” (English as a global or world language)
(Expanding Circle) ได้หรือไม่ ทง้ั ๆ ทเ่ี ขาสามารถพูด อา่ น (Crystal, 2003; Kayman, 2004; Nunan, 1999 อ้างถึง
เขียนได้เฉกเช่นเจ้าของภาษา นอกจากน้ี ในประเทศท่ีใช้ ใน Talebinezhad & Aliakbari, 2002; Seargeant, 2009
ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาที่สอง (Outer Circle) ภาษา cited in Boriboon, 2011) เปน็ ตน้
อังกฤษอาจเป็นภาษาแรกที่เรียนรู้ส�ำหรับหลาย ๆ คน ภาษาอังกฤษในปัจจุบันนับว่ามีบทบาทของความ
และใชใ้ นการพดู ทบ่ี า้ นดว้ ย ไมใ่ ชแ่ คใ่ นบรบิ ทของการศกึ ษา เป็นภาษาสากล (Crystal, 2003) สืบเน่ืองจากว่า ภาษา
เท่านนั้ (Jenkins, 2015) องั กฤษถกู ใชก้ นั ทง้ั ในทางธรุ กจิ วทิ ยาศาสตร์ การเมอื งและ
การปกครอง เวลาพูดถึงภาษาอังกฤษ มักจะสันนิษฐาน
3. ความท้าทายของภาษาอังกฤษในฐานะ ไว้ก่อนว่าก�ำลังพูดถึงภาษาอังกฤษในแบบมาตรฐานของ
ภาษาสากลหรือ Global English หรือ English as คนอังกฤษหรือคนอเมริกัน ภาษาอังกฤษมีการใช้กันอยู่
International Language กบั การประยกุ ตเ์ ขา้ กบั การเรยี น ทั่วไปทั้งในประเทศแถบแอฟริกา เอเชียและเอเชีย
การสอนของไทย ตะวันออกเฉียงใต้ หลายคนคิดว่า ครูสอนภาษาอังกฤษ
English as International Language (EIL) คือ ต้องสอนภาษาอังกฤษในแบบมาตรฐานของอังกฤษหรือ
ภาษาองั กฤษในฐานะภาษาสากล Larry E. Smith ใช้ค�ำวา่ สหรฐั อเมรกิ า เพราะวา่ ผเู้ รยี นตอ้ งการเรยี นแบบนนั้ อยา่ งไร
“ภาษานานาชาต”ิ เพอื่ บอกถงึ สถานภาพของภาษาองั กฤษ ก็ตามประเทศฟิลิปปินส์และประเทศสิงคโปร์ ใช้ภาษา
ในฐานะที่เป็นภาษาสากล ใช้ในการติดต่อส่ือสารระหว่าง องั กฤษท่เี ป็นแบบของตวั เอง ไมเ่ ปน็ ไปตามแบบมาตรฐาน
ผู้คนทั่วทุกมุมโลกมาหลายศตวรรษ เป็นสื่อสารข้าม ของคนอังกฤษหรืออเมริกัน (Farell & Martin, 2009)
พรมแดนทางกายภาพและวัฒนธรรมน้ัน นอกจากน้ีแล้ว ตัวอย่างเช่น ภาษาอังกฤษแบบสิงคโปร์ (Singlish)
ยงั มนี กั วชิ าการอกี หลายทา่ นทใ่ี ชค้ ำ� นเี้ พอื่ อภปิ รายเกยี่ วกบั โดยเฉพาะภาษาพูด (spoken language) จะไม่มีการใช้
รูปแบบ EIL และหลักการด้านการเรียนการสอนภาษา กริยาท่ีบ่งช้ีถึงอดีต (Past tense marking) หรืออธิบาย
อังกฤษจากกระบวนทัศน์น้ี (Nattheeraphong, 2004) ง่าย ๆ คือไม่เปล่ียนรูปกริยาภาษาอังกฤษเป็นอดีตกาล:
โดยหลักการพ้ืนฐาน รูปแบบภาษาอังกฤษในฐานะภาษา “What happen yesterday?” ที่ถูกควรจะต้องเป็น What
นานาชาติ คือ ไม่มีการกล่าวอ้างถึงสถานะความเป็น happened yesterday? หรือ What did happen
เจา้ ของหรอื กรรมสทิ ธข์ิ องภาษาองั กฤษโดยชาตใิ ดชาตหิ นง่ึ yesterday? (Farrell & Tan, 2008)
แต่ให้ถือว่า ผู้ใช้ภาษาอังกฤษในโลกใบน้ีสามารถใช้แล้ว เม่ือพูดถึงมาตรฐานภาษาอังกฤษ คนส่วนใหญ่
จรรโลงสร้างสรรค์ภาษาอังกฤษในรูปแบบของตัวเองได้ แสดงความเข้าใจท่ีคล้ายคลึงกันว่าหมายถึงอะไร ซ่ึงไม่ใช่
ใช้งาน เพ่ือสื่อการสื่อความกันรู้เรื่อง การเรียนการสอน เรื่องง่ายท่ีจะอธิบายในเร่ืองน้ี เหตุผลหน่ึงมาจากยังไม่มี
ในรูปแบบ EIL นั้นมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษ องค์กรใดที่จะรับรองมาตรฐานนี้ได้ อย่างไรก็ตามได้มี
ในรปู แบบทแ่ี ตกตา่ งกันบนโลกใบนี้ ไปในหลักนานาภาษา นักภาษาบางท่านในฐานะครผู สู้ อนภาษาองั กฤษ ได้ศกึ ษา
อังกฤษโลก (World Englishes) มากไปกวา่ น้ี นักวชิ าการ จากงานวจิ ยั ต่าง ๆ โดยหวงั ว่าจะคน้ พบค�ำตอบวา่ อะไรคอื
อี ก ห ล า ย ค น ยั ง ไ ด ้ น� ำ เ ส น อ แ น ว คิ ด ที่ ค ล ้ า ย ค ลึ ง กั บ มาตรฐานภาษาอังกฤษ ท่ีควรยึดถือส�ำหรับใช้ในการสอน
กระบวนทศั น์ EIL เช่น นกั วิชาการในยุโรปเรยี กวา่ “ภาษา แตส่ งิ่ ทพ่ี บกบั รสู้ กึ วา่ ยงิ่ เพม่ิ ความสบั สนมากยง่ิ ขน้ึ การสอน
อังกฤษในฐานะภาษากลางส�ำหรับการส่ือสาร” (English ภาษาองั กฤษแบบรกั ษามาตรฐานดงั้ เดมิ แบบเจา้ ของภาษา
as a lingua franca: ELF) ซ่งึ หมายถึง การใช้ภาษาองั กฤษ อย่างเหนียวแน่น ในความจริงแล้วให้ผลทางลบตามมา
เป็นส่ือในการติดต่อส่ือสารระหว่างบุคคลที่มีภาษาแม่ ต่อผเู้ รยี นภาษามากกว่า (Tollefson, 2002)
Ratchaphruek Journal Vol.16 No.3 (September - December 2018) 25
วารสารราชพฤกษ์ ปที ่ี 16 ฉบับที่ 3 (กนั ยายน - ธันวาคม 2561)
จะเหน็ ไดว้ า่ ความนยิ มและแพรห่ ลายอยา่ งรวดเรว็ ภาษาไทยอยู่ในตระกูลภาษากะได (Kadai) แต่ภาษา
ของภาษาอังกฤษ เป็นแรงบันดาลใจให้ผู้ศึกษาภาษา อังกฤษอยู่ในตระกูลเจอร์แมนิก (Germanic Familiy)
องั กฤษ ตอ้ งมองลกึ ลงไปถงึ ความเปลย่ี นแปลงทอี่ าจเปน็ ไป ความไมเ่ หมือนกันท้งั สองภาษานี้ แสดงออกมาในรูปแบบ
ของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจากแบบเดิมหรือ เชน่ Subject-verb agreement (การใชป้ ระธานและกริยา
แบบ ENL ไปสู่ EIL การร่วมกนั ก�ำหนดเป้าหมายของการ ใหส้ อดคลอง้ กนั ), Passive voice (กรรมวาจก), relative
เรียนการสอนภาษาอังกฤษในปัจจุบันน้ี ด้วยมุมมอง EIL clause (ประโยคสัมพัทธ์), และ Pro-drop languages
สู่การตระเตรียมผู้เรียนให้ใช้ภาษาอังกฤษในฐานะเป็น ( ภ า ษ า ที่ ส า ม า ร ถ ล ะ ค� ำ ส ร ร พ น า ม บ า ง ป ร ะ เ ภ ท ไ ด ้ )
ส่วนหน่ึงของโลกยุคโลกาภิวัตน์ ซ่ึงมีความเปลี่ยนแปลง (Thep-Ackrapong, 2005) จากทก่ี ลา่ วมาน้ี สง่ ผลให้ ผเู้ รยี น
ทั้งบริบทและวัฒนธรรมของการใช้ภาษา ด้วยเหตุน้ี จึงไม่ได้รับการสอดแทรกทักษะด้านการฟัง และการพูด
ครูผู้สอนและหลักสูตรการสอน EILควรให้ผู้ศึกษาได้ อย่างเพียงพอ แนวคิดน้ีไปในแนวเดียวกันกับแนวคิด EIL
ตระเตรยี มความพรอ้ มสำ� หรบั ความเปลยี่ นแปลงและซมึ ซบั เพราะว่าการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากลนั้น
ภาษาองั กฤษในแบบหลากหลายมากวา่ การยดึ มน่ั ในความ ตอ้ งสอนทง้ั รูปแบบภาษาองั ฤษท่ีปรากฏในแบบมาตรฐาน
คงท่ขี องภาษา (Jenkins, 2009) (Standard English) และสิ่งท่ีปรากฏต่าง ๆ ในรูปแบบ
ถงึ อยา่ งไรกต็ ามสง่ิ ทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ นี้ นบั เปน็ ความ ภาษากลางทม่ี คี วามหลากหลาย ทงั้ สท่ี กั ษะ คอื ฟงั พดู อา่ น
ทา้ ทายและ ยงั คงเปน็ สงิ่ ทย่ี ากยง่ิ ในบรบิ ทการเรยี นการสอน เขียน (Mackenzie, 2013) กระนั้นก็ตาม ผู้เขียนเห็นด้วย
ของไทย ซึ่งผู้เขียนขออธิบายเหตุผลประกอบแยกออกเป็น กับแนวคิดนี้ และขอสอดแทรกมุมมองเพ่ิมเติม เพราะ
ประเด็นย่อย คอื การสอนและอดุ มคตขิ องครูผู้สอนในไทย, ผู้เขียนในฐานะที่สอนภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษาคิดว่า
รปู แบบของภาษา และ สอ่ื การเรยี นการสอน วิธีการท่ีเหมาะสมคือ ครูต้องแนะน�ำภาษาอังกฤษใน
3.1 การสอนและอุดมคติของครูผู้สอนภาษา รูปแบบมาตรฐานก่อน และต้องแน่ใจว่าผู้เรียนมี
องั กฤษในประเทศไทย องคค์ วามรเู้ พยี งพอในดา้ นความเทยี่ งตรงของการใชภ้ าษา
ประการแรก นักการศึกษาจ�ำนวนมาก หลังจากน้ันจึงเป็นเวลาที่เหมาะสมในการแนะน�ำภาษา
เชื่อว่า ความล้มเหลวในการสอนภาษาอังกฤษในไทย อังกฤษในรูปแบบต่างๆ (Singlish หรือ Indian English)
เป็นเพราะว่าเรามุ่งเน้นการสอนในด้านไวยากรณ์มาก มิเช่นนั้น หากสอนในรูปแบบที่หลากหลายตั้งแต่เริ่มต้น
เกินไป ซ่ึงหมายถึง ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษน้ันเป็น โดยที่ผู้เรียนไม่ได้รับความรู้ด้านภาษาอังกฤษที่ถูกต้อง
ศูนย์กลางแห่งความสนใจในการสอนภาษาอังกฤษใน อย่างเพียงพอ ในอนาคตเมื่อผู้เรียนไปเจอสถานการณ์
ประเทศไทยเป็นเวลาช้านาน ครูไทยโดยมากน้ันคิดว่า ต่าง ๆ อาจเกิดความสับสนในรูปแบบของภาษาได้
ปญั หาภาษาองั กฤษของเดก็ ไทยนน้ั เกดิ มาจาก เดก็ นกั เรยี น ยกตัวอย่างเช่น หากผู้เขียนได้รับมอบหมายให้สอนใน
ไทยขาดความรดู้ า้ นค�ำศพั ท์ และไวยากรณ์ น่เี ป็นเหตผุ ลที่ รายวิชาไวยากรณ์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน และต้องสอน
ครูไทยส่วนมากประเมินความส�ำเร็จในการเรียนภาษา เกี่ยวกับการใช้ Question Tag (วลีค�ำถาม) ผู้เขียนก็ต้อง
อังกฤษด้วยการประเมินในด้านความรู้ไวยากรณ์ท่ีผู้เรียน มั่นใจว่าผู้เรียนเข้าใจเพียงพอในรูปแบบการใช้วลีค�ำถาม
ได้รับ ดังนั้นบทเรียนจึงต้องเน้นสอนไปในด้านค�ำศัพท์ ท่ีถูกต้องเสียก่อน ตรงนี้สามารถประเมินได้จากการ
และไวยากรณ์ (Kongkerd, 2013) โดยความเป็นจรงิ แลว้ ถามตอบในหอ้ งเรยี น การทำ� แบบฝกึ หดั รว่ มกนั หลงั จากนน้ั
หลักไวยากรณ์อังกฤษเป็นส่วนท่ียากท่ีสุดส�ำหรับผู้เรียน จึงสามารถที่จะสอดแทรกรูปแบบต่างๆของวลีค�ำถาม
ท่ีเป็นคนไทย สืบเนื่องมาจากอิทธิพลเชิงลบของภาษาแม่ ในรูปแบบภาษาอังกฤษแบบอินเดีย (Indian English)
ทมี่ ตี อ่ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษมรี ปู แบบ ซ่ึงใช้วลีค�ำถามค�ำว่า “isn’t it” ในรูปน้ีในตอนท้ายของ
ท่ีต่างกันในเชิงตระกูลภาษาศาสตร์ (linguistic families) ทุกประโยคบอกเล่าโดยไม่ค�ำนึงถึง Tense และรูปแบบ
26 Ratchaphruek Journal Vol.16 No.3 (September - December 2018)
วารสารราชพฤกษ์ ปที ี่ 16 ฉบับที่ 3 (กนั ยายน - ธันวาคม 2561)
ความสอดคลอ้ งระหวา่ งประธานกบั กรยิ าของประโยคภาษา กลวั ทีจ่ ะแพ้ หรอื กลัวทจ่ี ะเสยี เปรยี บ และในขณะเดยี วกนั
อังกฤษ ภาษาอังกฤษในรูปแบบน้ีเป็นที่ยอมรับในอินเดีย ค�ำดังกล่าวกลับเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการด้านการส่ือสาร
เช่น “The ladies are beautiful, isn’t it?.” (Stenstrom, และการเขียน (Farell & Martin, 2009)
Anderson & Hasund, 2002) 3.3 สื่อการเรียนการสอน (Teaching and
3.2 รูปแบบของภาษา (Language Form) Learning Materials)
รูปแบบของภาษาท่ีสื่อออกมา ก็เป็นอีก ส่ือการเรียนการสอนเป็นส่ิงท่ีไม่อาจ
ปัจจัยหน่ึงท่ีเป็นความท้าทายของ ภาษาอังกฤษในฐานะ มองข้ามได้ในการเปิดโลกทัศน์ผู้เรียนต่อภาษาสากล
ภาษาสากล (EIL) ในการเรยี นการสอนของไทย นกั วชิ าการ เพราะเป็นสิ่งที่ผู้สอนภาษาใช้มากที่สุดในห้องเรียน และ
บางทา่ นกลา่ ววา่ ผ้สู อนควรใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม พอควร ปจั จบุ นั นก้ี ลา่ วอยา่ งไมส่ งสยั เลยวา่ ผสู้ อนมกั ใชส้ อื่ การสอน
ส�ำหรับรูปแบบภาษาอังกฤษแบบภาษาแม่ (ENL forms) หนังสือท่ีมาจากส�ำนักพิมพ์ท่ีข้ึนช่ือจากสหราชอาณาจักร
ท่ีไม่ค่อยได้ใช้ในภาษาอังกฤษท่ีมีความหลากหลายอ่ืน ๆ หรอื สหรัฐอเมรกิ า (Farrell & Martin, 2009) ในทน่ี ้ี จะเห็น
และในขณะเดียวกัน ไม่ควรลงโทษ ผู้เรียนท่ีไม่ได้เป็น ไดว้ า่ หนงั สอื สว่ นใหญใ่ นการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษมา
เจา้ ของภาษา แตม่ กี ารปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลงรปู แบบภาษา จากส�ำนักพมิ พ์ท่มี ีชอื่ เสียง เช่น Oxford หรือ Mac Millian.
ท่ีท�ำให้เข้าใจได้ง่าย มากไปกว่านี้ เป็นส่ิงที่ไม่สมควร อันท่ีจริง หากผู้สอนต้องการให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้
ที่ครูใช้เวลาหลายชั่วโมงเรียนติดต่อกันแก้ไขข้อผิดพลาด เกี่ยวกับค�ำศัพท์ท่ีหลากหลายในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
ของผู้เรียนในด้านการออกเสียง และการเน้นเสียง ในภาษาองั กฤษแบบสงิ คโปร์ (Singlish) โดยทภี่ าษาองั กฤษ
(pronunciation and stress) โดยยึดกับบรรทัดฐานของ แบบสิงคโปร์น้ันมีค�ำศัพท์บางค�ำที่ได้รับอิทธิพลจาก
ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ หรืออเมริกัน (Dewey, 2012) วัฒนธรรมอ่ืน ๆ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นการยืมค�ำศัพท์ (loan
ในทางกลับกัน ยังมีแนวคิดบางส่วนท่ีเห็นว่าเป็นสิ่งท่ียาก words) ยกตัวอย่างค�ำว่า mee rebus (ภาษามาลายู:
ในบางบริบทท่ีจะมีรูปแบบ ภาษาอังกฤษในฐานะ กว๋ ยเตยี๋ ว), และ tudung (ภาษามาลาย:ู ชดุ ยาวทคี่ ลมุ มดิ ชดิ
ภาษากลาง (ELF: English as Lingua Franca) เพอ่ื เปน็ การ ของหญิงมุสลิมชาวมาเลย์) ผู้สอนสามารถหาสื่อหรือ
ส่งเสริมการมุ่งสู่ภาษาสากล โดยเฉพาะเมื่อรูปแบบภาษา เนื้อเรื่องการอ่านที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศนั้น ๆ
อังกฤษที่ใช้ในท้องถ่ินนั้นยังไม่ได้ถูกจัดให้เป็นระบบ ได้จากส่ือทางอินเตอร์เน็ตในยุคปัจจุบันน้ี หรือส่ือวีดีโอ
(McKay, 2012) ยกตัวอย่างเช่น การทับศัพท์ภาษา หรือ จาก youtube ไม่ใช่มุ่งแต่ใช้ส่ือที่มาจากส�ำนักพิมพ์ของ
การถอดตัวอักษร (Transliteration) เช่นค�ำว่าอาจารย์ ประเทศเจ้าของภาษาท่ีมุ่งเน้นในวัฒนธรรมเฉพาะชาติน้ัน
ในภาษาไทย (บางคนเขียนภาษาอังกฤษว่า “Ajarn” ท่ี เช่น คริสต์มาส หรือ ฮาโลวีน ผู้เขียนในฐานะท่ีเคย
ถูกต้องภาษาอังกฤษใช้ค�ำว่า “lecturer, หรือ teacher” เ ป ็ น อ า จ า ร ย ์ พิ เ ศ ษ ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ห ่ ง ห นึ่ ง ใ น
แมแ้ ตก่ ารเขยี นโดยรปู แบบคำ� วา่ “Ajarn” กย็ งั ไมไ่ ดน้ ำ� ไปสู่ กรุงเทพมหานคร เม่ือ 2-3 ปีก่อนหน้านี้ ขอยกตัวอย่าง
ระดับการสะกดค�ำที่ม่ันคง (ซ่ึงหมายถึงสังคมน้ันยอมรับ เพิ่มเติม กรณีศึกษารายวิชา “ภาษาและวัฒนธรรม
ได้ว่า ภาษาอังกฤษแบบนั้นผิดในภาษาอังกฤษแบบ ส�ำหรับครู” ซ่ึงเป็นวิชาบังคับส�ำหรับนิสิตครูทุกสาขาวิชา
บรรทดั ฐาน แตเ่ ปน็ สง่ิ ทย่ี อมรบั ไดใ้ นสงั คมนนั้ ๆ) การเขยี น และโดยส่วนมากนิสิตจากมหาวิทยาลัยน้ี 80% มีพื้นเพ
โดยใชร้ ูปแบบ “Ajarn, Achan หรอื Archarn” ไม่สามารถ มาจากตา่ งจงั หวดั และไมเ่ คยเดนิ ทางโดยสารโดยเครอ่ื งบนิ
น�ำมาใช้ได้ในงานเขียนเชิงวิชาการ เพราะนักวิชาการ แตเ่ นอื้ หาจำ� นวนมากของหนงั สอื เรยี นยงั ยดึ รปู แบบทไ่ี มไ่ ด้
จ�ำนวนมากยังไม่ให้การยอมรับในจุดน้ี ไม่เหมือนกับ มีการดูบริบทของผู้เรียน เช่น การสนทนาระหว่างคนไทย
รูปแบบของภาษาอังกฤษแบบสิงคโปร์ท่ีมีการยืมค�ำศัพท์ กับเจ้าของภาษาที่สนามบินในเรื่องการเดินทางโดยสาร
ภาษาจีนแบบฮกเก้ียนมาเช่นค�ำว่า “Kiasu” ซ่ึงแปลว่า ด้วยเครื่องบิน และ เอกสารที่ให้ผู้โดยสารผ่านขึ้นเคร่ือง
Ratchaphruek Journal Vol.16 No.3 (September - December 2018) 27
วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 (กนั ยายน - ธนั วาคม 2561)
(boarding pass) ผู้เขียนเห็นว่าน่าจะเป็นการเหมาะ ผู้เรียน) จะต้องก้าวไปข้างหน้าในทิศทางที่บูรณาการ
มากกว่า หากปรับเนื้อหาในสิ่งท่ีผู้เรียนพอมีความคุ้นเคย อัตลักษณ์ไทยเข้าไปสู่ภาษาอังกฤษ (Kanoksiapatham,
เชน่ บทสนทนาภาษาองั กฤษในสถานการณพ์ านกั ทอ่ งเทย่ี ว 2016) ในบทความนี้ผู้เขียนหวังว่าจะเป็นประโยชน์ท้ังต่อ
ไปยังตลาดน้�ำด�ำเนินสะดวก (ธานินทร์ คงอินทร์, ผู้เรียนและผ้สู อน ในการเสนอรปู แบบในการเรียนการสอน
พฐั ฬภรณ์ พรชุติ และ สายสนุ ยี ์ อลุ ิส, 2554) รวมตลอดถงึ การเปดิ กวา้ งของววิ ฒั นาการทางภาษาทอี่ าจ
เปล่ยี นแปลงไป ให้ความสำ� คญั ในแก่นสารของการสือ่ สาร
สรปุ และขอ้ เสนอแนะ ทางภาษาที่เข้าใจ มากกว่าการยึดติดอยู่กับรูปแบบของ
เจา้ ของภาษา ในบรบิ ทการเรียนการสอนภาษาในไทยน้นั
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่มีผู้คนทั่วโลกใช้ จากที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ผู้เขียนไม่ได้ต้องการสื่อความว่า
จงึ เป็นภาษาทม่ี คี วามหลากหลาย (English variety) ทง้ั ใน ให้ละทิ้งรูปแบบภาษาอังกฤษแบบฉบับของเจ้าของภาษา
รูปแบบของการใช้ภาษาและวัฒนธรรมการใช้ภาษา (English Native Speaker Model) จากบริบทการเรียน
ครผู สู้ อนนน้ั เปรยี บเสมอื นแมแ่ บบของผเู้ รยี น (Role model) การสอนโดยสิ้นเชิง ในทางตรงกันข้าม ครูผู้สอนต้องให้
ดังนั้นจึงต้องตระหนักถึงความแตกต่างและความ ผเู้ รยี นตระหนกั ถงึ รปู แบบภาษาองั กฤษทใี่ ชก้ นั หลายหลาย
หลากหลายของภาษาอังกฤษ ไมค่ วรยดึ ตดิ อยู่กบั รปู แบบ (diverse English varieties) ซึง่ เปน็ บริบทที่มีความสมจรงิ
(Form) ทเี่ ปน็ ของเจา้ ของภาษา และอยา่ คาดหวงั วา่ ผเู้ รยี น ในการสอื่ สารขา้ มวฒั นธรรม และการสอื่ สารในระดบั สากล
ภาษาอังกฤษจะต้องมีสมรรถนะและศักยภาพในแบบของ
เจ้าของภาษา การตระเตรียมการเรียนการสอนควรเน้น เอกสารอา้ งอิง
และเปิดกว้างให้เกิดการโต้ตอบระหว่างกัน (face-to-face
interactions) เรม่ิ จากการประเมินสมรรถนะของผู้เรียนบน ธานนิ ท์ คงอินทร์, พฐั ฬภรณ์ พรชตุ ิ และ สายสุนยี ์ อลุ ศิ .
พน้ื ฐานของการสอื่ สารท่ีเกิดประสิทธผิ ล (communicative (2554). ภาษาและเทคโนโลยีสำ� หรับครู.
effectiveness) มากกว่าการให้น�้ำหนักไปที่ความถูกต้อง กรงุ เทพฯ: โปรแกรมภาษาองั กฤษ คณะครุศาสตร์
ของไวยากรณ์ในแบบของเจ้าของภาษา และกระตุ้นให้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา:โรงพมิ พ์
นกั เรยี นใชภ้ าษาใหม้ ากขนึ้ เพอ่ื สรา้ งใหเ้ กดิ ความคนุ้ เคยใน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา
การใช้ภาษา และสร้างความมั่นใจในประสิทธิภาพของ ไพสฐิ บรบิ รู ณ์ (2554). ภาษา อดุ มการณ์ และการครอบงำ� :
สื่อสาร หมายถึง เน้นประสิทธิผลในการสื่อสารมากกว่า ปัญหาการสอนภาษาองั กฤษ ในประเทศไทยและ
ความถูกต้องอย่างเจ้าของภาษา หรือมุ่งไปที่การส่ือสาร แนวทางแกไ้ ข, วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
ขา้ มวฒั นธรรม (intercultural communication) เชน่ ต�ำรา นครพนม, คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
การเรยี นการสอน ควรมมี าจากหลายหลาย ไมย่ ดึ ตดิ อยกู่ บั มหาวิทยาลัยราชภฏั นครพนม, 3(6), น. 2-11.
เฉพาะต�ำราเรียนท่ีมาจากของเจ้าของภาษา(Matsuda, Bolton, K. (2008). English in Asia, Asian Englishes and
2003) ทงั้ น้ี เพอื่ จะชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความ the issue of proficiency. English Today, 24(2),
คุ้นเคยกับลักษณะของภาษาได้หลากหลายมากขึ้น pp. 3-12.
การจะให้เกิดการยอมรับความหลากหลายของภาษา Boriboon, P. (2011). Language, Ideology and
องั กฤษนนั้ มสี งิ่ ทต่ี อ้ งตระหนกั อยสู่ องประการ ประการแรก Domination: Problems of English Language.
คือ เราต้องยกย่อง และไม่ละเลย หรือดูแคลนต่อความ Teaching in Thailand and Solutions.
หลากหลายของภาษาอังกฤษในรูปแบบต่าง ๆ ประการ Songklanakarin Journal of Social Sciences
ที่สองคือ การทีจ่ ะน�ำไปสู่การเปลย่ี นผา่ นน้อี ย่างสรา้ งสรรค์ and Humanities, 17(6), pp. 23-59.
ถึงเวลาท่ีทุกภาคส่วน (ระดับผู้วางนโยบาย ผู้สอน และ
28 Ratchaphruek Journal Vol.16 No.3 (September - December 2018)
วารสารราชพฤกษ์ ปีท่ี 16 ฉบับท่ี 3 (กันยายน - ธนั วาคม 2561)
Choomthong, D. (2014). Preparing Thai Students’ Jindapitak, N. & Teo, A. (2013) Accent Priority in
English for the ASEAN Economic Community: a Thai University Context: A Common Sense
Some Pedagogical Implications and Trends. Revised. English Language Teaching. 6(9),
Language Education and Acquisition Research pp. 193-204.
Network (LEARN) Journal. 7(1). Kachru, B.B. (1997). World Englishes and English-
Crystal, D. (2003). English as a global language. Using Communities. Annual Review of Applied
(2nd ed). Cambridge: Cambridge University Linguistics, 17, 66-87.
Press. Kanoksilapatham, B. (2013). Thai university students’
Dewey, M. (2007). English as a Lingua franca: an values heard: Aspired pronunciation model.
empirical study of innovation in lexis and Journal of English Studies, 8, pp. 124-153.
grammar. Unpublished Ph.D. Thesis, King’s ________. (2016). Towards Global English Horizons.
College London. Language Education and Acquisition
Dewey, M. (2012). “Towards a post-normative Research Network (LEARN Journal), 9(2).,
approach: learning the pedagogy of EFL”. pp. 44-48.
Journal of English as a Lingua Franca I/I: Kayman, M.A. (2004). The state of English as a
pp. 141-70. global language: communicating culture.
Farell T.S. & Martin, S. (2009). To Teach Standard Textual practice.18(1), pp.1-22.
English or World Englishes, A Balanced Kongkerd, W. (2013). Teaching English in the Era
Approach to Instruction. English Teaching of English Used as a Lingua Franca in
Forum. (2). Thailand. Executive Journal. 33(4), pp. 1-12.
Foley, J. (2005). English in Thailand. RELC Journal, Mackenzie, I. (2013). English as a Lingua Franca
36(2), pp. 223-234. Theorizing and Teaching English, New York,
J. Cho. (2014). University of Nebraska-Lincoln, United States of America.
Understanding the Importance of English Matden, K. & Charumanee, N. (2017). Ability and
Education in South Korea and Exploring the Relationships between Grammar Ability
the Reasons Why South Korean Students Reading and Writing Skills. Journal of
come to a University in the Midwest. Humanities: Naresuan University. 14(2),
Jenkins, J. (2000). The phonology of English as an pp. 33-45.
international language, Oxford University Press. Matsuda, A. (2003). Incorporating World Englishes
Jenkins, J. (2009). English as a lingua franca: in Teaching English as an International
Interpretations and attitudes. World Englishes, Language. TESOL Quarterly. pp. 719-729.
28, 200-207. McGroarty, M.E. (2010). Language and Ideologies.
Jenkins, J. (2015). Global Englishes. (3rd ed). In N.H. Hornberger, & S.L. McKay (Eds),
Routledge Taylor & Francis Group, London Sociolinguistics and Language Education
and New York. (pp.3-39). Bristol, UK: Multilingual Matters.
Ratchaphruek Journal Vol.16 No.3 (September - December 2018) 29
วารสารราชพฤกษ์ ปีท่ี 16 ฉบบั ท่ี 3 (กนั ยายน - ธนั วาคม 2561)
McKay, S.L. (2002). Teaching English as an Talebinezhad, M.R. and Aliakbari, M. (2002). ESL, EFL,
international language. Oxford: Oxford EIL Revisited: Investigation, Evaluation and
University Press. Justification of a shift in the Current ELT Models
Nattheeraphong, A. (2004). Teachers’ Understanding in Iran. Journal of Social Sciences Humanities
of English as an International Language of Shiraz University. 8(1).
(Unpublished Master’s Thesis). National Thep-Ackrapong, T. (2005). Teaching English in
Institution of Development Administration, Thailand: An Uphill Battle. Manutsat Paritat:
Bangkok. Journal of Humanities. 27(1), 51-62.
Nordquist, R. (2017). Standard English Definitions and Tollefson, J.W. (2002). Reconsidering “target
Controversies. Retrieved April 22, 2018 from language”. Language Research Bulletin.17,
http://www.thoughtco.com/what-is-standard- pp. 143-52.
english-1691016. Wongsothorn, A., Hiranburana, K., & Chinnawongs
Nunan, D. (1999). Second language teaching and (2003). English language teaching In Thailand
learning. Boston: Heinle & Heinle. today. In H Wah Kam, and Wong, R.L. (Ed),
Roger, M.T. (2003). Filipino English and Taglish English language teaching in East Asia Today:
Language, Switching from Multiple Changing policies and practices (pp. 441-453).
perspectives. John Benjamins. Singapore: Eastern Universities.
Seargeant, P. (2009). The idea of English in Japan: Wright, W.E. (2010). Foundations for Teaching
ideology and the evolution of a global language. English Language Learners: Research,
Bristol: Multilingual Matters. Theory, Policy and Practice. Philadelphia:
Seidlhofer, B. (2001). Closing a conceptual gap: The Calson.
case for a description of English as a lingua
franca. International Journal of Applied
Linguistics. 11(2), pp. 133-58.
Shaik, R.A. (2016) Importance of English
Communication Skills, International Journal
of Applied Research, 2(3), pp. 478-480.
Stenstrom, A-B., G. Nndersen, G. and Hasund, I.K.
(2002). Trends in Teenager Talk: Corpus
Compilation, Analysis and Findings.
Amsterdam: John Benjamins.
Swales, J. (1987). Utilizing in literatures in teaching
a research paper. TESOL Quarterly, 31(1),
pp. 41-68.