The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มบูรณาการรรรรรรรรรรรรรร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aruneetubtim2004, 2021-09-23 09:28:34

กลุ่มบูรณาการรรรรรรรรรรรรรร

กลุ่มบูรณาการรรรรรรรรรรรรรร

คํานํา

สื่อฉบับน้ีเป็ นส่วนหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์(ชีววิทยาและเคมี)ชั้น
มัธยมศึกษาปี ท่ี5โดยมีจดุ ประสงค์ เพ่ือการศึกษาความรทู้ ่ีไดจ้ ากเร่ือง
โครงสรา้ งของปอดและกลไกการหายใจของมนษุ ย์
แก๊สและสมบัติของแกส๊ ทง้ั นใ้ี นส่ือนมี้ ีเนอ้ื หาประกอบดว้ ยความรเู้ กี่ยวกับ
โครงสรา้ ง,การหายใจและแกส๊ ,สมบัติของแกส๊ ตลอดจนการประยกุ ตใ์ ชใ้ น
การศึกษา

ผจู้ ดั ทาํ ไดเ้ ลือกหัวขอ้ น้ีในการทาํ ส่ือ เนอ่ื งมาจากเป็ นเร่ืองที่นา่ สนใจ
รวมท้ังแสดงใหเ้ ห็นถึงความตัง้ ใจของผจู้ ัดทาํ ตอ้ งขอขอบคณุ อาจารยท์ ี่
ปรึกษารายวิชาชีววิทยาเเละเคมีผใู้ หค้ วามรู้ แนวทางการศึกษา หวังว่า
สื่อฉบับน้ีจะให้ความรู้ และเป็ นประโยชน์แก่ผูอ้ ่านทกุ ๆ ท่าน หากมี
ขอ้ เสนอแนะประการใด ผจู้ ดั ทาํ ขอรบั ไวด้ ว้ ยความขอบพระคณุ ย่ิง

เน้ือหา หนา้
คาํ นาํ A
สารบญั B
เน้ือหาเคมี
สมบตั ขิ องแกส๊ 1
แกส๊ สมบรู ณ์ แกส๊ จริง 2
01 ความสมั พนั ธข์ อง ปริมาตร ความดนั 3
02 อณุ หภมู ิ ของแกส๊
เครื่องมอื วดั ความดนั ของแกส๊ 4
กฎของชารล์ , กฎของเกย-์ ลสู แซก, 7-10
กฎของบอยล,์ กฎของอาโวกาโดร
กฎรวมแกส๊ , แกส๊ อดุ มคติ 11-13
กฎความดนั ยอ่ ยของดอลตนั 14-16
ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ 17
การแพรข่ องสาร 18-19
กฎการแพรข่ องแกรแฮม 20
เน้ือหาชีววิทยา
โครงสรา้ งของปอด 22
ความจปุ อด 23
ปริมาณของอากาศท่ีหายใจ การแลกเปล่ยี นกา๊ ซภายในปอด 24
โครงสรา้ งท่ีใชแ้ ลกเปล่ียนแกส๊ ของมนษุ ย์ 25
กลไกการหายใจ 26
ระบบหายใจ
ปริมาตรของอากาศในปอด 27
การแลกเปลี่ยนแกส๊
การควบคมุ การหายใจ 28
ความผดิ ปกตทิ ีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั ปอด 29
บรรณานกุ รม 30
ภาคผนวก 31
รายชอ้ื ผจู้ ดั ทาํ 32

chemistry

01 แกส๊
และ
สมบตั ิของแกส๊

แกส๊ และสมบตั ิ ทฤษฎขี องแกส๊
ของแกส๊
-แกส๊ ประกอบไปดว้ ยอนุภาคจาํ นวนมาก
ประกอบดว้ ยอนุภาคที่เคลื่อนไหวอย่าง ท่ีมีขนาดเล็กมากๆ อนุภาคแก๊สไม่มี
รวดเร็วตลอดเวลาไมม่ ีความเป็ นระเบียบ ปรมิ าตรทแี่ น่นนอน -โมเลกุลของแกส๊ อยู่
แต่ละอนุภาคอยู่ห่างกนั มากซึ่งแก๊สทุก
ชนิ ด จ ะมี คุณ สม บัติบา ง ป ระ ก า ร ที่ หา่ งกนั มาก ทาํ ใหแ้ รงดงึ ดูดและแรงผลกั
คล้ายกันทําใหน้ ํามาซึ่งการศึกษาทิศ
ทางการเคล่ือนที่ของโมเลกุลแก๊สและ ระหวา่ งโมเลกุลนน้ั นอ้ ย จนถือวา่ ไม่มีแรง
ลกั ษณะโมเลกุลแกส๊ เรยี กวา่ กระทาํ ต่อกนั -โมเลกุลของแกส๊ เคลื่อนที่
ทฤษฎขี องแกส๊
อย่างรวดเร็วในแนวเสน้ ตรงเป็ นอิสระ
ทฤษฎจี ลสามารถใชอ้ ธิบายสมบตั บิ างประการ ด้วยอัตราเร็วคงที่แต่ไม่มีความเป็ น
ของแกส๊ ไดด้ งั น้ี ระเบียบ แต่จะเปลี่ยนทิศทางและ
1.รูปรา่ งปรมิ าตรไม่แน่นอน อตั ราเร็วก็ต่อเม่ือไปชนกบั โมเลกุลอ่ืน
2.ความหนาแน่นตาํ่
3.อตั ราการแพรต่ า่ งกนั หรือชนกบั ผนงั -โมเลกุลของแก๊สถา้ ชน

กนั เองหรือชนเขา้ กบั ผนงั จะเกิดการถ่าย

โอนพลงั งานใหแ้ ก่กนั แต่พลงั งานรวม
ของระบบมีค่าคงที่ เรียกวา่ การชนแบบ

ยืดหยุ่น Elastic ณ อุณหภูมิเดียวกัน
โมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคลื่อนท่ี

ดว้ ยความเร็วไม่เท่ากนั แต่จะมีพลงั งาน
จลน์เฉลี่ยเท่ากนั โดยพลงั านจลน์เฉลี่ย

ของแกส๊ จะแปรผนั ตรงกบั

อณุ หภมู ิเคลวิน T(K) = °C+273

แกส๊ สมบรู ณ์ (Ideal Gas)
แกส๊ จรงิ (Real Gas)

แกส๊ สมบรู ณ์ (Ideal Gas) แกส๊ จรงิ (Real Gas)
แกส๊ ในอุดมคติ แก๊สจริงแก๊สท่ีมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
-แก๊สที่มีสมบตั ิตามทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
โมเลกุล มีขนาดโมเลกุล ส่งผลให้มี
ทกุ ประการ(ไมพ่ บในธรรมชาต)ิ
-โมเลกุลมีปริมาตร=0เนื่องจากไม่มี ป ริ ม า ต ร ต า ม ไ ป ด ้ว ย จ ะ มี คุ ณ ส ม บ ัติ
ขนาดโมเลกุลไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ ง ใกลเ้ คียงแก๊สสมบูรณ์ ก็ต่อเมื่อท่ีความ
อนุภาค โมเลกุลเคล่ือนที่เป็ นเสน้ ตรง ดนั ตาํ่ อุณภูมิสูง
ดว้ ยความเร็วคงที่

การเปรยี บเทียบลกั ษณะต่าง ๆ ของแกส๊ จรงิ และแกส๊ สมบรู ณ์

แกส๊ จรงิ แกส๊ สมบรู ณ์

-มีโมเลกุลขนาดเล็กเมื่อเทียบ -มีโมเลกุลขนาดเล็กมากจนถือ
กบั ระยะหา่ งระหวา่ งโมเลกุล ไดว้ า่ ไมม่ ีปรมิ าตร
-ปริมาตรภาชนะ-ปรมิ าตรแกส๊ -ปริมาตร เทา่ กบั ภาชนะทบี่ รรจุ
-แรงระหวา่ งโมเลกุลคอื แรงแวน (V = 0)
เดอรว์ าลส์ -แรงระหวา่ งโมเลกุล ไมม่ ีแรง
-ลกั ษณะการชนกนั คือ การชน กระทาํ ตอ่ กนั
แบบไมย่ ืดหยุน่ -ลกั ษณะการชนกนั คอื การชน
-การควบแน่น เกิดไดเ้ มื่อลด กนั แบบยดื หยุน่
อุณหภมู ิ (ไอนาํ้ ) -การควบแน่น ไมเ่ กิด

ความสมั พนั ธข์ อง ปรมิ าตร(V)
ความดนั (P) อณุ หภมู ิ(T) ของแกส๊

ปรมิ าตร (V) V
ปริมาตรของภาชนะทบี่ รรจแุ กส๊ นน้ั
หนว่ ยของปริมาตรทนี่ ิยมคอื

-ลุกบาศกเ์ ดซเิ มตร (dm*3)

-ลติ ร (L)

-ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร (Cm*3)

ความดนั (P) P
แรงทกี่ ระทาํ ตอ่ หน่วยพ้ืนทที่ ต่ี ง้ั ฉากกบั แรงนน้ั
หน่วยทใี่ ชว้ ดั ความดนั ของแกส๊
-1 บรรยากาศ (atm) = 760 mmHg
= 760 Torr
= 14.696 Psi
= 1.01325 x 105 (Pa)
= 1.01325 x 105 (Nm-2)
= 1.01325 (bar)

อณุ หภมู ิ (T) T
มาตราสว่ นทใี่ ชบ้ อกระดบั ความรอ้ น-เย็นของสาร
หนว่ ยของอุณหภมู ิทนี่ ิยมใช้

-เคลวนิ (K)

-องศาเซลเซยี ส (°C)

-องศาฟาเรนไฮต์ ( °F)

-องศาโรเมอร์ (°R)

เครอื่ งมือวดั ความดนั ของแกส๊

บารร์ อมิเตอร์ (Barometer)
ประกอบดว้ ยหลอดแกว้ ยาว 80-100 Cm
ปลายขา้ งหนึ่งปิดสนิท ภายในบรรจปุ รอทไวเ้ ต็ม
เมื่อควาํ่ หลอดแกว้ ลงในภาชนะทมี่ ปี รอทบรรจุอยู่
ความสูงของปรอทในหลอดแกว้ จะลดลงเมื่อ
ความสูงของปรอทที่อยู่ในหลอดแกว้ คงที่ ความ
สูงของปรอทที่เหลือในหลอดแกว้ จะมีค่าเท่ากบั
ความดนั บรรยากาศ ความดนั บรรยากาสที่ระ
ดบั บนาํ้ มคี า่ เทา่ กบั 760 มิลลเิ มตรปรอท

มานอมิเตอร์ (Manometer)
มานอมิเตอรแ์ บบปลายปิด
ความดนั ของแกส๊ (Pgas) = ความสงู ปรอท (h)
ถา้ Pgas ท่บี รรจุมีคา่ นอ้ ยกวา่ Patm ปรอทจะ
อยู่ในรูปตวั u ทางดา้ นที่ติดปลายที่เปดจะตํา่
กวา่ อกี ดา้ น Pgas – Patm = h
มานอมิเตอรป์ ลายเปิด
ถา้ Pgas ท่ีบรรจมุ ีค่ามากกวา่ Patm ปรอทใน
หลอดรูปตวั u ทางดา้ นที่ติดปลายท่ีเปิ ดจะสูง
กวา่ อีกดา้ น Pgas = Patm + h เป็ นหลอดแกว้
รูปตวั u ภายในบรรจุปรอท ปลายดา้ นหนึ่งตอ่
กบั กระเปาะทมี่ ีแกส๊ ทต่ี อ้ งการวดั ความดนั

เศษสว่ นโมล (Mole fraction)

คอื อตั ราสว่ นจาํ นวนโมลของสารนนั้ ตอ่ จาํ นวนโมลรวมของสารทงั้ หมดในสารละลายโดย
เศษสว่ นโมลของสารทง้ั หมดรวมแลว้ จะมีคา่ เทา่ กบั 1
ใชส้ ญั ลกั ษณ์ X เชน่ สารละลายชนิดหนึ่งประกอบดว้ ยสาร A a mol, B b mol และ C c
mol จะไดเ้ ศษสว่ นโมลของสาร A, B และ C ดงั น้ี
เศษสว่ นโมลของสาร A (XA) = a / ( a + b + c )
เศษสว่ นโมลของสาร B (XB) = b / ( a + b + c )
เศษสว่ นโมลของสาร C (XC) = c / ( a + b + c )
ผลรวมของเศษสว่ นโมลของสารองคป์ ระกอบทงั้ หมดคอื XA + XB + XC มีคา่ เทา่ กบั 1
และเม่อื นาํ คา่ เศษสว่ นโมลของแตล่ ะสารมาคณู ดว้ ยรอ้ ย จะไดค้ วามเขม้ ขน้ ในหนว่ ยรอ้ ยละ
โดยมวลของสารนน้ั
รอ้ ยละโดยมวลของสาร A = เศษสว่ นโมลของสาร A * 100
รอ้ ยละโดยมวลของสาร B = เศษสว่ นโมลของสาร B * 100
รอ้ ยละโดยมวลของสาร C = เศษสว่ นโมลของสาร C * 100

การจดั เรยี งอนภุ าคของสารที่อยู่ในสถานะ

ของแขง็ (Solid) ของเหลว(liquid) แกส๊ (Gas)

ระยะห่างระหว่างอนุภาค : ของแข็ง นอ้ ยกว่า ของเหลว นอ้ ยกว่า แกส๊

ปริมาตร : ของแขง็ นอ้ ยกว่า ของเหลว นอ้ ยกว่า แกส๊

ความหนาแน่น : ของแข็ง มากกว่า ของเหลว มากกว่า แกส๊

กฎของชารล์ กฎของเกย-์ ลสู แซก
(Chares’s Law) (Gay-Lussac)

กฎของบอยล์ กฎของอาโวกาโดร
(Boyle’s Law) (Avogadro's law)

กฎของชารล์
(Chares’s Law)

กฎของชารล์ กล่าววา่ เมื่อเพิ่ม
ความดันและจํานวนโมลของ
แก๊สคงท่ีปริมาตรของแก๊สจะ
แปรผนั ตรงกบั อุณหภูมเิ คลวนิ

Vα T

V = kT

ในการทดลองจมุ่ กระบอกฉีดยาซงึ่ บรรจนุ าํ้ จาํ นวนหนึ่งลงในนาํ้ รอ้ น นาํ้ ในกระบอกฉีด
ยาจะถูกดนั ออก ในทางตรงกนั ขา้ ม ถา้ จุม่ กระบอกฉีดยาลงในนาํ้ เย็น นาํ้ จากภายนอก
จะเขา้ ไปแทนทีอ่ ากาศในกระบอกฉีดยา นนั่ คือ การเพิ่มอุณหภูมิมีผลใหป้ ริมาตรของ
แกส๊ เพิ่มข้นึ และการลดอุณหภูมิมีผลใหป้ ริมาตรของแกส๊ ลดลงดว้ ย แสดงวา่ อุณหภูมิ
มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส การเปลี่ยนแปลงน้ีใชท้ ฤษฎีจลนข์ องแกส๊
อธิบายไดว้ า่ การเพิ่มอุณหภูมิมีผลทาํ ใหพ้ ลงั งานจลนเ์ ฉลี่ยของแก๊สเพ่ิมข้ึน โมเลกุล
ของแก๊สจึงเคลื่อนที่เร็วข้ึน ทาํ ใหโ้ มเลกุลชนกนั เองและชนผนงั ภาชนะมากข้ึน รวมทง้ั
พลงั งานในการชนกนั สูงข้ึนดว้ ย เป็ นผลใหค้ วามดนั ของแก๊สในกระบอกฉีดยาสูงข้ึน
ดว้ ย จึงดนั นาํ้ ออกจากกระบอกฉีดยาจนความดนั ของแกส๊ ภายในเท่ากบั ภายนอก จึง
สงั เกตเห็นว่าแก๊สในกระบอกฉีดยามีปริมาตรเพิ่มข้ึน ในกลบั กนั เมื่อลดอุณหภูมิ
พลงั งานจลน์เฉลี่ยของแก๊สในกระบอกฉีดยาจะลดลง ทาํ ใหก้ ารชนกนั เองระหว่าง
โมเลกุลของแกส๊ และการชนผนงั ภาชนะนอ้ ยลง รวมทงั้ พลงั งานในการชนลดลง ความ
ดนั ของแกส๊ ในกระบอกฉีดยาจึงตาํ่ อากาศภายนอกซึง่ มีความดนั สูงกวา่ จึงดนั นาํ้ ใหเ้ ขา้
ไปในกระบอกฉีดยา ความดนั ภายในจึงเพิ่มข้ึนจนเท่ากับความดนั ภายนอก จึง
สงั เกตเห็นว่าปริมาตรของแก๊สในกระบอกฉีดยาลดลงจนกระทงั่ คงท่ี จึงสรุปไดว้ ่า
อุณหภูมเิ ป็ นอกี ปัจจยั หนึ่งทมี่ ีผลตอ่ การเปลีย่ นปรมิ าตรของแกส๊

กฎของเกย-์ ลสู แซก ในปี พ.ศ. 2531 โซเซฟ-ลุย-เก-
(Gay-Lussac)
ลูซกั ไดท้ ดลองวดั ปริมาตรของ
กฎของเกย-์ ลูสแซก กลา่ ววา่ ท่ี ก๊าซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันและ
อุณหภูมิและความดนั เดียวกนั ป ริ ม า ต ร ข อ ง ก๊ า ซ ท่ี ไ ด้จ า ก
ป ริ ม า ต ร ข อ ง แ ก๊ ส ที่ เ ข ้า ทํ า
ปฏิกิรยิ ากบั ปรมิ าตรของแกส๊ ท่ี ปฏิกิริยา ณ อุณหภมิและความ
ไดจ้ ากปฏิกิรยิ าจะเป็ นปริมาตร
ท่ีลงจวั นอ้ ยๆ กฎของอโวกา ดนั เดยี วกนั แลว้ สรุปเป็นกฎการ
โดร กล่าวว่า ท่ีอุณหภูมิและ
ความดนั เดยี วกนั โมลของแกส๊ รวมปริมาตรของก๊าซว่า "ใน
ท่ีเขา้ ทําปฏิกิริยากับโมลของ ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี ที่ เ ป็ น ก๊ า ซ
แก๊สท่ีไดจ้ ากปฏิกิริยาจะเป็ น อตั ราสว่ นโดยปรมิ าตรของก๊าซท่ี
โมลทล่ี งตวั นอ้ ยๆ
ทํา ป ฏิ กิ ริ ย า พ อ ดี กัน แ ล ะ
ป ริ ม า ต ร ข อ ง ก๊ า ซ ที่ เ กิ ด จ า ก
ปฏิกิริยาท่ีอุณหภูมิและความดนั

เดียวกนั จะเป็ นเลขจาํ นวนเต็ม

ลงตวั นอ้ ย ๆ“

กฎของบอยล์
(Boyle’s Law)

กฎของบอยล์ กลา่ ววา่ เมื่ออุณหภูมิ
แล ะ จํา นวนโ ม ล ข อ ง แก๊สค ง ที่
ปริมาตรของแก๊สจะแปรผกผนั กยั
ความดนั กฎของชาร์ล กล่าวว่า
เมื่อเพิ่มความดันและจํานวนโม
ลของแก๊สคงที่ปริมาตรของแก๊สจะ
แปรผนั ตรงกบั อุณหภูมิเคลวนิ

เมื่อทดลองโดยใชก้ ระบอกฉีดยาและปิ ดปลายกระบอกฉีดยา เมื่อกดกา้ นกระบอกฉีดยาทาํ
ใหป้ ริมาตรของแก๊สในกระบอกฉีดยาลดลง และเมื่อปล่อยมือกา้ นกระบอกฉีดยาจะเล่ือน
กลบั สตู่ าํ แหนง่ เดมิ ในทาํ นองเดยี วกนั เมือ่ ดงึ กา้ นกระบอกฉีดยาข้ึน ทาํ ใหป้ ริมาตรของแกส๊
ในกระบอกฉีดเพิ่มข้ึน และเมื่อปล่อยมือกา้ นกระบอกฉีดยาจะเลื่อนกลบั สู่ตาํ แหน่งเดิม
สามารถใชท้ ฤษฎีจลนข์ องแก๊สอธิบายไดว้ า่ เมื่อปริมาตรของแกส๊ ในกระบอกฉีดยาลดลง
ทาํ ใหโ้ มเลกุลของแกส๊ อยูใ่ กลก้ นั มากข้ึน จงึ เกิดการชนกนั เองและชนผนงั ภาชนะมากข้ึน เป็ น
ผลใหค้ วามดนั ของแก๊สในกระบอกฉีดยาเพิ่มข้ึนเม่ือเทียบกบั ตอนเร่ิมตน้ ในทางตรงกนั
ขา้ มการเพิ่มปริมาตรของแก๊สในกระบอกฉีดยาทาํ ใหโ้ มเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกนั การชน
กนั เองของโมเลกุลของแกส๊ และการชนผนงั ภาชนะนอ้ ยลง ความดนั ของแกส๊ ในกระบอกฉีด
ยาจงึ ลดลง

กฎของอาโวกาโดร
(Avogadro's law)

กฎของอโวกาโดร กล่าวว่า ที่
อณุ หภูมิและความดนั เดยี วกนั
โมลของแกส๊ ทเ่ี ขา้ ทาํ ปฏิกิรยิ ากบั โม
ลของแก๊สท่ีไดจ้ ากปฏิกิริยาจะเป็ น
โมลทล่ี งตวั นอ้ ยๆ
การเกิดความดนั ของแกส๊ ในลูกโป่ ง
เมื่ออนุภาคแก๊สเคล่ือนที่ชนผนัง
ของภาชนะจะทาํ ใหเ้ กิดแรงกระทาํ
ตอ่ พ้ืนผิวภายในของภาชนะท่บี รรจุ
ซงึ่ ผลรวมของแรงทง้ั หมดทอ่ี นุภาค
แกส๊ กระทาํ ตอ่ พ้ืนที่
เรยี กวา่ ความดนั
Pressure หน่วยในรูปแบบ SI คอื
ปาสคลั (Pascal ; pa)
สาร 1 โมล มีจํานวนอนุภาค
เทา่ กบั 6.02 x10^23 อนุภาค”
และเรียกจาํ นวนอนุภาคดงั กลา่ ววา่
“เลขอาโวกาโดร

กฎรวมแกส๊ (Combined gas law)

เป็นการนาํ กฎของบอยลแ์ ละกฎของชารล์ มารวมกนั มีผลใหห้ าปริมาตรของ
แกส๊ ท่ีมีจาํ นวนโมล (หรอื มวล) คงท่ี แตม่ ีการเปลี่ยนแปลงทงั้ อุณหภูมิและ
ความดนั พรอ้ มกนั

บอยล์ n , T คงท่ี V แปรผกผนั กบั P
ชารล์ n , P คงท่ี V แปรผนั ตรงกบั T เคลวนิ
เกย-์ ลสู แซก P แปรผนั ตรงกบั T
กฎรวมแกส๊ n คงท่ี V จะเป็นอยา่ งไรเม่อื P และ T เปลี่ยนแปลงพรอ้ มกนั

จากการทดลองทาํ ใหท้ ราบวา่ เม่ือใหจ้ าํ นวนโมล (n) ของแก๊สคงท่ี จากนนั้
ทําให้ P และ T เปลี่ยนแปลงไปพรอ้ ม ๆ กัน ปริมาตรของแก๊สก็จะ
เปลยี่ นแปลงไปคา่ หน่ึง แตพ่ บวา่ อตั ราสว่ นระหวา่ ง PV : T หรอื
PV/T = K (กรณีทจ่ี าํ นวนโมลคงท)ี่

แกส๊ อดุ มคติ (The ideal gas)

เมื่อนาํ กฎของบอยลแ์ ละกฎของชารล์ มารวมกนั ไดเ้ ป็นกฎรวมแกส๊ ซงึ่
เขยี นความสมั พนั ธ์ ไดเ้ ป็น (ปรญิ ญา อรุณวสิ ทุ ธ,์ิ 2553 : 5-6)

กฎของบอยล์ ( n และ T คงท่ี )

กฎของชารล์ ( n และ P คงท่ี )

เมื่อ
P1 = ความดนั ทส่ี ภาวะทห่ี น่ึง
V1 = ปรมิ าตรทส่ี ภาวะทหี่ นึ่ง
T1 = อุณหภูมิทส่ี ภาวะทหี่ น่ึง
P2 = ความดนั ทส่ี ภาวะทส่ี อง
V2 = ปรมิ าตรทส่ี ภาวะทส่ี อง
T2 = อุณหภมู ิทส่ี ภาวะทส่ี อง

เพิ่มเติม**

ในกฎแกส๊ รวมเป็นการศกึ ษาการเปลยี่ นแปลงสมบตั ขิ องแกส๊ เกย่ี วกบั ความดนั ปริมาตร
และอุณหภูมิ แต่ยงั มีสมบตั ิที่ควรคาํ นึงถึงอีกอย่างหนึ่งคือ ปริมาตรหรือจาํ นวนโมล
(n)ของแก๊สในระบบ จากกฎของอาโวกาโดรซ่ึงกล่าวไวว้ ่า “ท่ีอุณหภูมิและความดนั
เดียวกนั แก๊สที่มีปริมาตรเท่ากนั จะมีจาํ นวนอนุภาคเท่ากนั ”นอกจากน้ีจาํ นวนโมลของ
แกส๊ ยงั มีความสมั พนั ธโ์ ดนตรงกบั จาํ นวนอนุภาคและปรมิ าตรของแกส๊ อกี ดว้ ย กล่าวคอื
แก๊ส 1 โมลจะมีจาํ นวน 6.02 x 1023 อนุภาคและปริมาตร 22.4 ลติ รหรือลูกบาศก์
เดซเิ มตรท่ี STP จงึ สามารถเขียนนิยามของกฎอาโวกาโดรไดว้ า่ ท่อี ุณหภูมิและความดนั
คงท่ี ปรมิ าตรของแกส๊ ใด ๆ จะเป็นสดั สว่ นโดยตรงกบั จาํ นวนโมลของแกส๊ นนั้ ๆ

PV=nRT

โดยที่
V เป็นปรมิ าตรของแกส๊ หน่วยเป็นลกู บาศกเ์ มตร
P เป็นความดนั ของแกส๊ หน่วยเป็นปาสกาล (หรอื พาสคลั )
T เป็นอณุ หภมู ิอุณหพลวตั หน่วยเป็นเคลวนิ
n เป็นจาํ นวนโมลของแกส๊
R เป็นคา่ คงตวั แกส๊ อุดมคติ (ประมาณ 8.3145 จลู ตอ่ (โมล เคลวนิ )

กฎความดนั ยอ่ ยของดอลตนั
(Dalton’s law of partial pressures)

ในปี ค.ศ.1766-1844 จอรน์ ดอลตนั (John Dalton) ไดศ้ กึ ษาความดนั รวมของแก๊สที่มี
ความสมั พนั ธก์ บั ความดนั ยอ่ ย โดยพบวา่ ความดนั รวมของแกส๊ ผสมจะเทา่ กบั ผลรวมของ
ความดนั ย่อย ทงั้ หมด เรียกว่า กฎความดนั ย่อยของดอลตนั แสดงดงั ภาพประกอบที่
5.8 (ทวชี ยั อมรศกั ดช์ิ ยั และ คณะ, 2560 : 190; รานี สุวรรณพฤกษ,์ 2559 : 416) ซง่ึ
เขียนความสมั พนั ธไ์ ดเ้ ป็น

PT = P1 + P2 + P3 + ……….

เม่ือ
PT = ความดนั รวม
P1 = ความดนั ยอ่ ยขององคป์ ระกอบท่ี 1
P2 = ความดนั ยอ่ ยขององคป์ ระกอบท่ี 2
P3 = ความดนั ยอ่ ยขององคป์ ระกอบท่ี 3

กฎความดนั ยอ่ ยของดอลตนั
(Dalton’s law of partial pressures) ต่อ

1) ใชส้ มการกฎของแกส๊ อดุ มคติ PV = nRT
(P1 + P2 + P3 + …. + Pi )V = (n1 + n2 + n3 + …. + ni )RT 2)
2) ใชส้ มการ Pi = XiPt

เมื่อ Pi = ความดนั ยอ่ ยของแกส๊ I
Xi = เศษสว่ นโมลของแกส๊ I = ni/nt
Pt = ความดนั รวม

3) ใชก้ ฎของบอยล์
กอ่ นผสม หลงั ผสม
P1V1 = PAVผสม
P2V2 = PBVผสม

เมอ่ื นาํ แกส๊ A ผสมกบั แกส๊ B ไดแ้ กส๊ ผสมทม่ี ีความดนั ยอ่ ย PA และ PB ตามลาํ ดบั
PT = PA + PB

ปฏกิ ริ ยิ าการสลายตวั ดว้ ยความรอ้ นของ KClO3 ไดแ้ กส๊ O2 และ H2O เป็ นผลติ ภณั ฑ์

แสดงปฏิกิรยิ าการสลายตวั ดว้ ยความรอ้ นของโพแทสเซยี มคลอเรต
(KClO3) ไดแ้ กส๊ ออกซเิ จน (O2) และไอนาํ้ (H2O) เป็นผลติ ภณั ฑร์ ว่ ม ซงึ่ มีการผสม MnO2 รว่ มกบั
KClO3 ทาํ ใหป้ ฏิกิรยิ าเกดิ เร็วข้ึน ซงึ่ เป็นการเก็บแกส๊ ออกซเิ จนทเ่ี ป็นผลติ ภณั ฑโ์ ดยการแทนทน่ี าํ้ โดย
ฟองแกส๊ ออกซเิ จนจะลอยข้ึนผวิ นาํ้ และแทนทน่ี าํ้ ทอ่ี ยใู่ นขวด แตแ่ กส๊ ออกซเิ จนน้ีจะไมบ่ รสิ ุทธเ์ พราะมี
ไอนาํ้ รวมอยดู่ ว้ ย ซง่ึ ความดนั ของแกส๊ จรงิ จะรวมอยกู่ บั ความดนั ของไอนาํ้ ทเ่ี กดิ จากโมเลกุลของนาํ้
ระเหยไป โดยความดนั แกส๊ ทเ่ี ก็บเหนือนาํ้ เรยี กวา่ ความดนั แกส๊ ช้นื
(Zumdahl, S.S. and Zumdahl, S.A., 2007 : 198) ซง่ึ แสดงความสมั พนั ธไ์ ดเ้ ป็น

PT = Pแกส๊ + Pนาํ้

Pแกส๊ = PT - Pนาํ้
เมื่อ PT = ความดนั รวม

Pแกส๊ = ความดนั ของแกส๊

Pนาํ้ = ความดนั ของไอนาํ้

ความดนั ย่อยของแกส๊ Pi = ความดนั ย่อยของแกส๊ i
Pรวม = P1 + P2 + P3 + … Xi = เศษสว่ นโมลของแกส๊ i
PรวมVรวม = nรวมRT
Pi = XiPรวม
PรวมVรวม = P1V1 + P2V2 + …

ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊
( kinetic theory of gases )

เป็ นทฤษฎีท่ีพยายามอธิบายสมบตั ิตา่ ง ๆ ของแก๊สโดยศึกษาจากทิศทาง
เคล่ือนที่ของโมเลกุลแก๊สและลกั ษณะของโมเลกุลแก๊สในชว่ งแรก การเร่ิม
ศึกษาทฤษฎีน้ีโดยเจมส์ คลาร์ก แมกซ์เวลล์ นับเป็ นจุดเริ่มตน้ ของ
การศกึ ษาอุณหพลศาสตรใ์ นมุมมองจลุ ภาค คอื ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
พลงั งาน อุณหภูมิ และการเคลื่อนทข่ี องอะตอม โดยใชก้ ฎการเคลื่อนท่ขี อง
นิวตนั โดยตรง แทนท่จี ะเป็ นการศึกษาอุณหพลศาสตรแ์ บบดงั้ เดมิ ทีท่ าํ กนั
ในมุมมองของระดบั มหภาค คือการศึกษาความสมั พนั ธข์ องค่าเฉลี่ยของ
คุณสมบตั ิต่าง ๆ ในระบบท่ีสามารถวดั ได้ เช่น ความดนั หรือปริมาตร
ความสาํ เรจ็ ของทฤษฎนี ้ี ทาํ ใหน้ กั วทิ ยาศาสตรใ์ นสมยั นนั้ เรม่ิ เชอื่ วา่ อะตอม
มอี ยูจ่ รงิ

การแพรข่ องสาร ( Diffusion )

คือการเคลื่อนท่ีของโมเลกุลหรือการ
กระจายตวั ของอนุภาคภายในสสาร จาก
บริเวณท่ีมีความเขม้ ขน้ สูงไปยงั บริเวณที่
มีความเขม้ ขน้ ตาํ่ โดยอาศยั พลงั งานจลน์
(Kinetic Energy) ข องโ มเลกุ ลหรือ
ไอออนของสาร ให้เกิดการกระจาย
ตวั อย่างสมาํ่ เสมอ เพื่อสรา้ งสมดุลใหท้ ง้ั
สองบริเวณมีความเขม้ ขน้ ของสารเทา่ กนั
หรือท่ีเรียกว่า “สมดุลของการแพร่”
(Diffusion Equilibrium) โดยการแพร่
นนั้ เกิดข้ึนไดใ้ นทุกสถานะของสสาร ทง้ั
ของแข็ง ของเหลว และกา๊ ซ

ประเภทของการแพร่

การแพร่ (Diffusion) คือ กระบวนการซึ่งแก๊สชนิดหนึ่งกระจายไปทวั่ ระหว่าง
โมเลกุลของแกส๊ อกี ชนิดหน่ึง

การแพร่ผ่าน (Effusion) คอื กระบวนการซง่ึ โมเลกุลของแกส๊ ภายใตค้ วามดนั
ในภาชนะใบหน่ึงหลุดผา่ นรูเล็ก ๆ ไปยงั อกี ภาชนะหนึ่งทเี่ ป็นสญุ ญากาศ

ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการแพร่

1. สถานะของสาร: สารที่มีสถานะเป็ นก๊าซจะมีอนุภาคเป็ นอิสระมากกวา่
ส่งผลใหเ้ กิดการแพร่ไดร้ วดเร็วยิ่งกว่าสารในสถานะของเหลวและ
ของแข็ง

2. สถานะของตวั กลาง: ตวั กลางท่ีมีความหนืดสูงหรือมีอนุภาคอื่นเจอื ปน
มกั ทาํ ใหก้ ระบวนการแพร่เกิดข้ึนไดช้ า้ ดงั นนั้ ตวั กลางที่มีสถานะเป็ น
กา๊ ซจงึ มกั มีแรงตา้ นทานตาํ่ ทสี่ ุด สง่ ผลใหม้ อี ตั ราการแพรส่ งู สุด

3. ขนาดอนุภาค: สารที่มีขนาดของอนุภาคเล็กมกั เคล่ือนที่ไดด้ ี ส่งผลให้
อตั ราการแพรเ่ กิดข้ึนไดง้ ่ายและรวดเรว็

4. อณุ หภูม:ิ ในบรเิ วณทม่ี ีอุณหภูมิสูง อนุภาคของสารสามารถเคล่ือนทไ่ี ด้
รวดเร็วข้ึน จากการไดร้ บั พลงั งานจลนท์ ส่ี งู ข้นึ

5. ความดนั : ความดนั สงู สง่ ผลใหส้ ารมีอตั ราการแพรเ่ พ่ิมสงู ข้ึน
6. ความเขม้ ขน้ ของสาร: บริเวณที่มีความเขม้ ขน้ ของสารแตกต่างกนั มาก

การแพรม่ กั จะเกิดข้ึนไดด้ ี
7. ความสามารถในการละลายของสาร: สารที่สามารถละลายไดด้ ีจะส่งผล

ใหก้ ระบวนการแพรเ่ กิดข้ึนไดร้ วดเร็วยง่ิ ข้นึ

กฎการแพรข่ องแกรแฮม
( Graham’s Law )

กล่าวว่า เมื่อเปรียบเทียบอตั ราการ
แพร่ผ่านของแก๊สสองชนิด ภายใต้
ความดนั และอุณหภูมิเดียวกนั อตั รา
การแพร่ของแก๊สหน่ึงผกผนั กบั รากท่ี
สองของความหนาแน่นของแกส๊ นนั้

เม่ือ dA และ dB เป็ นความหนาแน่น
ของแกส๊ A และ B ตามลาํ ดบั

เม่ือ MA และ MB เป็ นจาํ นวนโมเลกุล
ของแกส๊ A และ B ตามลาํ ดบั

== เม่ือ R มีอตั ราการแพร่ผ่าน d : ความ
หนาแน่น M : มวลโมเลกุล

Biology

02 โครงสรา้ งของปอด
และ
กลไกการหายใจของมนษุ ย์

ปอด ของผูใ้ หญ่หนกั ประมาณ 1 กิโลกรมั ลกั ษณะคลา้ ย
ฟองนํา้ เมื่อแรกเกิดปอดจะมีสีชมพูเหมือนดอกกุหลาบ
ตอ่ มาจะคอ่ ยๆ เปล่ยี นเป็นสเี ทาหรอื สดี าํ ปอดจะถูกหุม้ ดว้ ย
เยื่อหุม้ ปอดท่ีมีลกั ษณะชุ่มช้ืน มันจะพองเต็มช่องอกอยู่

ต ล อ ด เ ว ล า จึง มี รู ป ค ล้า ย กับ รู ป ร่า ง ข อ ง ช่อ ง อ ก

ปอดข้างขวาจะแบ่งออกเป็ น 3 ยวง ข้างซา้ ย 2 ยวง
ในปอดผูใ้ หญ่ ถา้ นบั จาํ นวนพ้ืนท่ีของถุงลม (ซง่ึ ทาํ หนา้ ท่ีใน
การแลกเปลี่ยนอากาศดกี บั อากาศเสีย) รวมๆ กนั แลว้ จะมี
ถึง 70 ตารางเมตร นบั เป็ นจาํ นวนท่ีมากกว่าพ้ืนท่ีของ

ผวิ หนงั ถึง 40 เทา่

ความ จุปอด หมายถึง ความสามารถของปอด ที่จะรบั ปริมาณของอากาศเขา้ สู่ปอด
หรอื ระบายอากาศออกจากปอด ซงึ่ ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะของการหายใจ โดยมีรายละเอยี ด

ดงั น้ี
-ปรมิ าของอากาศขณะทห่ี ายใจเขา้ ออกตามปกติ (Tidal volume, TV)

มปี รมิ าณ 500 มิลลลิ ติ
-ปริมาณ ของอากาศที่หายใจเขา้ เต็มที่ ลบดว้ ยปริมาณของอากาศที่หายใจเขา้ ออก

ตามปกติ (Inspiratory reserve volume, IRV) มีปรมิ าณ 2,500 มิลลิลติ ร
-ปริมาณ ของอากาศท่ีหายใจออกเต็มท่ี ลบดว้ ยปริมาณของอากาศท่ีหายใจเขา้ ออก

ตามปกติ (Expiratory reserve volume, ERV) มีปรมิ าณ 1,000 มลิ ลลิ ิตร
-ปรมิ าณของอากาศทีเ่ หลืออยูใ่ นปอด หลงั จากหายใจออกอยา่ งเต็มทีแ่ ลว้ (Residual

volume, RV) มปี รมิ าณ 1,500 มิลลลิ ิตร
- ปริมาณของอากาศที่หายใจเขา้ เต็มท่ีหลงั จากการหายใจออกอย่างเต็มท่ี (Vital

capacity, VC) มีปรมิ าณ 4,500 มิลลิลิตร
- ปริมาณของอากาศที่หายใจเขา้ เต็มที่ หลงั จากหายใจออกตามปกติ (Inspiratory

capacity ; IC) มปี รมิ าณ 3,000 มลิ ลลิ ิตร
- ปริมาณของอากาศในปอดหลงั จากหายใจเขา้ เต็มที่ (Total lung capacity, TLC)

มปี รมิ าณ 6,000 มิลลลิ ติ ร
- ปริมาณของอากาศที่เหลืออยู่ในปอด หลังจากการหายใจออกตามปกติ

(Functional reaidual capacity, FRC) มีปรมิ าณ 2,500 มิลลิลิตร
- ปรมิ าณของอากาศทไ่ี ม่ไดเ้ ขา้ ไปในถุงลมในปอด (Dead apace) คือ อากาศที่คา้ ง

อยตู่ ามจมูก หลอดลม กา้ นปอด มีปรมิ าณ 150 มลิ ลิลิตร

ปรมิ าณของอากาศท่ีหายใจ

ปกติ แลว้ การหายใจเขา้ ออกเราจะวดั ปริมาตรเป็ นอตั ราตอ่ นาทีใน
ขณะทร่ี า่ งกายพกั จะมีปรมิ าณของอากาศทหี่ ายใจ
ประมาณ 5 – 8 ลติ รตอ่ นาที โดยการหายใจนาทลี ะ
ประมาณ 12 – 20 ครง้ั แตข่ ณะที่ออกกาํ ลงั กายหรือทาํ งานหนกั
ปริมาณจะเพ่ิมข้ึนถึง 130 ลิตรตอ่ นาทีในเพศหญิง และ 180 ลิตร
ต่อนาทีในเพศชาย ส่วนนกั กีฬาที่ไดร้ บั การฝึ กอย่างดี ขณะออก
กาํ ลงั กายหนกั ๆ อาจจะมีปริมาณของอากาศท่หี ายใจถึง 200 ลิตร
ตอ่ นาที และอตั ราการหายใจจะเพิ่มข้นึ ถึง 50 – 60 ครงั้ ตอ่ นาที

การแลกเปลย่ี นกา๊ ซภายในปอด

การแลกเปล่ียนก๊าซระหว่างถุงลมในปอดกบั เลือด ซึ่งอยู่ในเสน้
เลือดฝอยรอบ ๆ ถุงลมในปอด เป็ นไปตามกฎของการ
แพรก่ ระจาย คือก๊าซท่ีมีความดนั มากจะแพรไ่ ปสูท่ ี่มีความดนั นอ้ ย
กวา่ การหาความดนั ของกา๊ ซแตล่ ะชนิดคิดตามรอ้ ยละของสว่ นผสม
ของก๊าซแต่ละชนิดใน บรรยากาศ ซึ่งเป็ นตามกฎของดัลตัน
(Dalton’s Law) เมื่อบรรยากาศในความดนั 760 มิลลเิ มตร

1. รจู มูก เป็ นทางผ่านของอากาศ
2. คอหอย เชื่อมทางเดนิ อาหารและระบบหายใจ
3. กล่องเสยี ง ทางผ่านของอากาศ
4. หลอดลม มีท่อยาวกลวง ผนงั เป็ นกระดกู อ่อน
5. ขว้ั ปอด แยกปอดซา้ ย – ขวา นาํ อากาศเขา้ ปอด
6. แขนงปอด (หลอดลมฝอย) กลา้ มเน้ือเรยี บ แทรก

ทวั่ ไปในเน้อื ปอดแตกแขนงเป็ นถุงเลก็ ๆ เรยี กว่า
Alveolus
7. ถุงลม มีผนงั บางมาก มีหลอดเลอื ดฝอยมากเพอ่ื ใช้
แลกเปลยี่ นแกส๊

กลไกการหายใจ

เกดิ ข้นึ เนอ่ื งจากการทาํ งานร่วมกนั กระบงั ลม (Diaphragm)
กลา้ มเน้อื ระหว่างซโ่ี ครง (Inter – costal muscle)
และกระดกู ซโ่ี ครง (Ribs)

กะบงั ลมหดตวั กะบงั ลมคลายตวั จะยกตวั สงู ข้นึ
กะดกู ซโ่ี ครงยกตวั ข้นึ กระดูกซโ่ี ครงลดตาํ่ ลง

ปรมิ าตรชอ่ งอกเพิ่มข้ึน ปรมิ าตรในชอ่ งอกลดลง
ความดนั ในชอ่ งอกลดลง ความดนั ในชอ่ งอกเพ่ิมข้นึ

หาย ปริมาตร ความดนั กระดูก กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อยดึ
ใจ ปอด ปอด ซ่ีโครง กระบงั ลม ซ่ีโครง

แถบ แถบ
นอก ใน
เขา้ เพม่ิ ลด ยกข้ึน หด หด คลาย

ออก ลด เพ่มิ กดต่าํ คลาย คลาย หด

สงิ่ มชี วี ติ ตอ้ งการออกซเิ จน เพอ่ื ผลติ
เป็ นพลังงานในรูปของ ATP จงึ มี
กระบวนการนาํ ออกซเิ จนเข้าแล้วขับ
คารบ์ อนไดออกไซต์ เรียกว่า การ
หายใจหรือการแลกเปลยี่ นแก๊ส

การหายใจ แบง่ ได้ 2 ระดบั

การหายใจภายใน การหายใจ
หรือการหายใจระดบั เซลล์ เป็ น ภายนอก
เป็ นการแลกเปลย่ี นแก๊ส
กระบวนการการสลายสาร ของสง่ิ มชี วี ติ
โมเลกุลใหญ่เป็ นโมเลกุลเล็ก

และใหพ้ ลังงาน

ปรมิ าตรอากาศในปอดขณะหายใจเขา้ ออกปกตแิ ละขณะหายใจเขา้ ออกเต็มที่

การแลกเปลย่ี นแกส๊

เกิดได้ 2 แหง่ คอื 1.ทปี่ อด :ถุงลมกบั หลอดเลือดฝอย
2.ทเ่ี ซลลข์ องเน้ือเยื่อ :เน้ือเยือ่ กบั หลอดเลือดฝอย

ระบบประสาทโดยมีการควบคมุ 2 สว่ นคอื

1.การควบคุมแบบอตั โนมตั ิ

- บงั คบั ไมไ่ ด้
- สมองสว่ นพอนส์ และเมดลั ลากระตุน้ กลา้ มเน้ือที่

เก่ียวขอ้ งกบั การหายใจ

2.การควบคุมภายใตอ้ าํ นาจจติ ใจ

- บงั คบั ได้
- สมองสว่ นซรี บี รมั ไฮโพทาลามสั และซรี เี บลลมั

ควบคมุ การหายใจ

ความผดิ ปกติท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ปอด

และโรคของระบบทางเดนิ หายใจ

โรคปอดบวม

ภาวะปอดซง่ึ เกิดการอกั เสษ ซง่ึ อาจเป็นเช้อื แบคทเี รยี เช้อื ไวรสั
ซง่ึ ในสภาวะทผี่ ิดปกตอิ าจจะเกิดจาก เช้อื ราและพยาธิ เม่ือเป็น
ปอดบวมจะมีหนอง
และสารนาํ้ อยา่ งอนื่ ในถุงลม ทาํ ใหร้ า่ งกาย
ไมส่ ามารถรบั ออกซเิ จนทาํ ใหร้ า่ งกาย
ขาดออกซเิ จนและอาจถึงแกช่ วี ติ ได้

โรคถุงลมโป่ งพอง

-เป็นโรคในกลุม่ ของโรคปอดอดุ กน้ั เร้อื รงั
-เกิดจากการอกั เสบและแตกของเน้ือปอดทาํ ใหเ้ น้ือปอด
กลายเป็นถุงลมขนาดใหญส่ ง่ ผลใหม้ ีพ้ืนผวิ ในการแลกเปลี่ยน
ออกซเิ จนในปอดลดลง
ซง่ึ หากเกิดความผิดปกตมิ ากข้นึ
ก็จะทาํ ใหผ้ ปู้ ่ วยถุงลมโป่ งพอง
มีอาการผดิ ปกติ คอื มีอาการหายใจต้นื

1.นงนภสั แกว้ เนตร ปีท่ีพิมพ์ พ.ศ.2560 กลไกการหายใจของมนษุ ย์
วนั จนั ทร์ 6 กนั ยายน พ.ศ.2564 จาก

https://sites.google.com/site/systembody302/respiratory_syste

m

2.ภทั จิรา หตั กกอง ปีท่ีพิมพ์ พ.ศ.2559 การแลกเปล่ียนแก๊ส
วนั จนั ทร์ 6 กนั ยายน พ.ศ.2564 จาก

https://sites.google.com/site/phatjira47731/system/app/pages/r

ecentChanges

3.รุง่ กญั ญา เนียมกลาง ปีท่ีพิมพ์ พ.ศ.2561 โครงสรา้ งของปอด
วนั จนั ทร์ 6 กนั ยายน พ.ศ.2564 จาก

https://sites.google.com/site/fah95567/khorngsrang-khxng-pxd

4.พิธิวตั ศรมี านพ ปีท่ีพิมพ์ พ.ศ.2556 ความรอ้ นและทฤษฎีจลนข์ อง
แก๊ส วนั จนั ทร์ 6 พ.ศ.2564 จาก

https://sites.google.com/site/kdkaes/kaes-xudmkhti/kd-khxng-

charl?fbclid=IwAR2KDBx810ZRnR6fD0b5lQ5gNWH2yi4cMHN94s
sUw3Lf23FA62fYDR4bNvY

5.อนสุ ิษธฐ์ เกือ้ กลู ปีท่ีพิมพ์ พ.ศ.2560 กฎของแก๊สจรงิ และ
แก๊สอดุ มคติ วนั จนั ทร์ 6 กนั ยายน พ.ศ.2564 จาก

https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/7199-2017-06-

09-12-53-25

ภาคผนวก



นางสาวปนดั ดา อาํ นวยพานชิ เลขที่ 19 ม.5/8
นางสาวกญั ญาภคั มาลาพงค์ เลขที่ 29 ม.5/8

นางสาววศนิ ี เขยี วสะอาด เลขที่ 31 ม.5/8
นางสาวอรณุ ี ทบั ทิม เลขที่ 32 ม.5/8


Click to View FlipBook Version