The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cfo trg, 2019-12-13 02:59:03

คู่มือ Consensus

คู่มือ Consensus

Keywords: คู่มือ Consensus

การสารวจความคดิ เหน็ ด้านเศรษฐกิจจากผเู้ ชีย่ วชาญ (Consensus)
สานักงานคลงั จังหวัดตรงั

นางศภุ ลกั ษณ์ ชูเจรญิ
นกั วชิ าการคลงั ชานาญการ

คานา

คูม่ ือฉบับนี้จัดทาขึ้นเพ่ือให้บุคลากรท่ีปฏิบัติงานด้านเศรษฐกิจของสานักงานคลังจังหวัดตรัง สามารถ
ใช้เป็นแนวทางในการสารวจความคดิ เห็นด้านเศรษฐกิจจากผู้เช่ยี วชาญ (Consensus) ในการจดั ทารายงาน
ประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั โดยวธิ ี Management Chart ได้อย่างถูกต้อง และสามารถคาดการณ์เศรษฐกิจ
ของจงั หวัดตรังได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ สะทอ้ นภาพเศรษฐกิจทแ่ี ทจ้ ริงของจงั หวัดได้

นางศภุ ลกั ษณ์ ชเู จรญิ
นกั วชิ าการคลงั ชานาญการ

สารบญั หนา้
1
หลกั การและเหตุผล 1
วตั ถปุ ระสงค์ 1
ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ 2
ขัน้ ตอนการสารวจความคดิ เห็นดา้ นเศรษฐกจิ จากผู้เช่ยี วชาญ (Consensus)

[1]

บทท่ี 1
บทนำ

1. หลกั กำรและเหตุผล
ตามมติคณะรฐั มนตรเี ม่อื วนั ท่ี 30 กันยายน 2546 เห็นชอบให้ปรบั บทบาทและภารกิจของ

บุคลากรสานกั งานคลงั จงั หวดั เป็นนกั บรหิ ารเศรษฐกจิ การคลงั จงั หวดั (Chief Financial Officer : CFO)
เพ่อื สนับสนุนการบรหิ ารงานของผวู้ ่าราชการจงั หวดั โดยมภี ารกจิ 5 ดา้ น คอื ดา้ นศูนยข์ อ้ มูลเศรษฐกจิ
การคลงั จงั หวดั ด้านเศรษฐกิจการคลงั ด้านบรหิ ารงบประมาณ ด้านบรหิ ารการเงนิ และด้านการ
ดาเนินตามนโยบายกระทรวงการคลงั โดยปัจจุบนั บทบาททางดา้ นเศรษฐกจิ การคลงั จงั หวดั สานักงาน
คลงั จงั หวดั ไดใ้ ห้ขอ้ เสนอแนะและให้คาปรกึ ษาแก่ผู้ว่าราชการจงั หวดั ในเร่อื งเศรษฐกจิ การคลงั จงั หวดั
รวมทงั้ จดั ทารายงานเศรษฐกิจการคลงั จงั หวดั ประกอบด้วย รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลงั จงั หวดั
(รายเดอื น) และรายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั (รายไตรมาส) โดยพฒั นาแบบจาลองประมาณ
การเศรษฐกจิ จงั หวดั โดยวธิ ี Management Chart เพ่อื เป็นเครอ่ื งมอื ใหส้ านกั งานคลงั จงั หวดั ใชว้ เิ คราะห์
ประมาณการเศรษฐกจิ ซง่ึ ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากหน่วยงานต่างๆ ในจงั หวดั ทงั้ ภาคราชการ ภาคเอกชน
ตลอดจนผสู้ นใจทวั่ ไปไดใ้ ชเ้ ป็นขอ้ มลู เพ่อื การบรหิ ารจดั การเศรษฐกจิ

จากการดาเนินการจดั ทารายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั ตรงั โดยวธิ ี Management Chart
ในช่วงท่ผี ่านมาพบว่าในขนั้ ตอนของการสารวจความคดิ เห็นจากผู้เช่ยี วชาญ (Consensus) ยงั ไม่ได้
ดาเนินการ ซ่งึ หากไม่ดาเนินการในส่วนน้ีอาจส่งผลให้การประมาณการเศรษฐกจิ ของจงั หวดั ตรงั ขาด
ความน่าเช่อื ถอื และ ไม่สะทอ้ นภาพเศรษฐกจิ ทแ่ี ทจ้ รงิ ของจงั หวดั ได้ ดงั นนั้ สานักงานคลงั จงั หวดั ตรงั
จงึ ไดจ้ ดั ทาคู่มอื การสารวจความคดิ เหน็ ด้านเศรษฐกจิ จากผูเ้ ช่ยี วชาญ (Consensus) เพ่อื ให้เจา้ หน้าท่ี
ผู้ปฏบิ ตั งิ านด้านเศรษฐกจิ มคี วามรู้ความเขา้ ใจและสามารถใช้เป็นแนวทางในการสารวจความคดิ เหน็
จากผู้เช่ยี วชาญ (Consensus) เพ่อื ให้ การตดิ ตามวเิ คราะหป์ ระมาณการเศรษฐกจิ การคลงั จงั หวดั
ตรังมีความถูกต้อง น่าเช่ือถือ และสะท้อนสภาพเศรษฐกิจท่ีแท้จริงของจังหวัดตรงั ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

2. วตั ถปุ ระสงค์
เพ่อื ใช้เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั งิ านในการสารวจความคดิ เหน็ ด้านเศรษฐกจิ จากผูเ้ ช่ยี วชาญ

(Consensus) ในการจดั ทารายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั โดยวธิ ี Management Chart ได้อย่าง
ถูกต้อง รวมทงั้ เพ่อื ให้สานักงานคลงั จงั หวดั สามารถทาหน้าท่ใี นการเป็นท่ปี รกึ ษาให้กบั ผู้ว่าราชการ
จงั หวดั ทางดา้ นเศรษฐกจิ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

3. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รบั
บุคลากรของสานักงานคลงั จงั หวดั ท่ปี ฏิบตั ิงานด้านเศรษฐกิจการคลงั จงั หวดั มคี วามรู้ความ

เขา้ ใจและสามารถปฏบิ ตั ิงานในการสารวจความคดิ เห็นด้านเศรษฐกจิ จากผู้เช่ยี วชาญ (Consensus)
เพ่อื ให้การจดั ทารายงานการประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั โดยวธิ ี Management Chart มคี วามถูกต้อง

[2]

น่าเช่อื ถอื เป็นเครอ่ื งมอื ช่วยในการตดิ ตามสถานการณ์ทางดา้ นเศรษฐกจิ จงั หวดั และประเมนิ ผลกระทบ
ของปัจจยั ต่างๆ ทม่ี ตี ่อเศรษฐกจิ ของจงั หวดั ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ

การสารวจความคิดเหน็ ดา้ นเศรษฐกจิ จากผู้เช่ียวชาญ (Consensus)
การสารวจความคิดเห็นด้านเศรษฐกิจจากผู้เชี่ยวชาญ (Consensus) เป็นข้ันตอนในการจัดทารายงาน
ประมาณการเศรษฐกิจการคลังจังหวัด ซ่ึงถือเป็นข้ันตอนท่ีสาคัญข้ันตอนหน่ึงท่ีต้องดาเนินการ เพื่อให้
การติดตามและประมาณการเศรษฐกิจการคลังจังหวัดได้ใกล้เคียงกับสถานการณ์ ท่ีเกิดขึ้นจริงในจังหวัด
มขี น้ั ตอนการจัดทาดงั น้ี
1. คัดเลือกเครือ่ งชภ้ี าวะเศรษฐกจิ การคลงั ที่ตอ้ งการจะสอบถามกบั ผูเ้ ชีย่ วชาญในจงั หวดั ตรัง

[3]

2. จัดเตรียมรายชื่อผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจของเคร่ืองชี้เศรษฐกิจจังหวัดในแต่ละด้านเพ่ือจัดส่ง
แบบสอบถามและลงพนื้ ทแี่ ลกเปล่ยี นความคดิ เหน็

ท่ี ผเู้ ชย่ี วชาญ แบบสอบถาม
1. นายกสมาคมชาวสวนปาลม์ นา้ มนั จังหวัดตรงั
2. เกษตรจังหวัดตรงั ภาคเกษตร
3. ปศุสตั วจ์ งั หวัดตรัง ภาคเกษตร
4. นายกสมาคมชาวสวนยางจงั หวดั ตรงั ภาคเกษตร
ภาคเกษตร

[4]

5. ผูอ้ านวยการการยางแหง่ ประเทศไทย จงั หวดั ตรัง ภาคเกษตร
6. ประมงจงั หวดั ตรัง ภาคเกษตร
7. เกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั ตรัง ภาคเกษตร
8. อตุ สาหกรรมจงั หวดั ตรัง ภาคอตุ สาหกรรม
9. ประธานสภาอตุ สาหกรรมจงั หวดั ตรงั ภาคอตุ สาหกรรม
10. ผจู้ ดั การการไฟฟ้าส่วนภมู ิภาคจงั หวัดตรงั ภาคอุตสาหกรรม , การบรโิ ภค , บรกิ าร
11. สถิติจังหวดั ตรงั การจา้ งงาน
12. ประธานหอการค้าจงั หวัดตรัง ภาคบริการ , การบรโิ ภคภาคเอกชน ,
การลงทุนภาคเอกชน , ดชั นีราคาผบู้ ริโภค
13. ขนส่งจงั หวดั ตรงั การบริโภคภาคเอกชน , ภาคบรกิ าร
14. ผ้อู านวยการการทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย สานักงานตรัง ภาคบรกิ าร
15. สรรพากรพื้นทต่ี รงั ภาคบริการ , การบริโภคภาคเอกชน
16. นายกเทศมนตรีนครตรัง การลงทุนภาคเอกชน
17. ประธานชมรมธนาคารจังหวัดตรัง การลงทนุ ภาคเอกชน
18. จดั หางานจงั หวัดตรงั การจ้างงาน
19. ประกนั สงั คมจังหวดั ตรงั การจ้างงาน
20. ผจู้ ดั การธนาคารพฒั นาวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแหง่ การลงทนุ ภาคเอกชน

ประเทศไทย สาขาตรงั ภาคบรกิ าร
ภาคบริการ
21. นายกสมาคมธรุ กิจการท่องเที่ยวจงั หวดั ตรงั ภาคบรกิ าร
22. ทอ่ งเท่ียวและกีฬาจงั หวดั ตรัง การจา้ งงาน
23. ผอู้ านวยการท่าอากาศยานตรัง ภาคบริการ
24. แรงงานจังหวดั ตรงั ภาคเกษตร
25. นายกสมาคมการท่องเทย่ี วและโรงแรมจังหวดั ตรัง ภาคเกษตร
26. ผอู้ ำนวยกำรสำนกั งำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 9 ภาคเกษตร
27. นายกสมาคมประมงจงั หวดั ตรงั การลงทนุ ภาคเอกชน
28. ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดตรงั ภาคเกษตร
29. โยธาธกิ ารและผงั เมอื งจังหวดั ตรงั ภาคเกษตร
30. ประธานชมรมผเู้ ลยี้ งกุง้ จังหวดั ตรงั
31. ประธานกรรมการสหกรณเ์ พาะเลยี้ งสัตวน์ ้าจงั หวดั ตรัง จากดั

3. จดั ทาแบบสอบถามประมาณการเศรษฐกจิ แต่ละดา้ นเพื่อจัดสง่ ใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญ

[5]

(1) แบบสอบถามความคิดเห็น (Focus Group) จากผู้เช่ียวชาญด้านเศรษฐกิจของเคร่อื งช้ี
เศรษฐกิจจงั หวดั ในแต่ละด้าน จะสอบถามประมาณการว่าทงั้ ปี จะเจรญิ เติบโต (ขยายตวั ) ก่ี
เปอรเ์ ซน็ ต์ (%) เพอ่ื คานวณหา Min (%) Consensus (%) Max (%)
(2) ควรมขี อ้ มลู ปรมิ าณ และอตั ราการเปลย่ี นแปลงของเครอ่ื งชฯ้ี ปีทผ่ี ่านมา (ยอ้ นหลงั 1 – 3 ปี)
ขอ้ มลู ปรมิ าณ
(3) ควรมรี ายละเอียดเหตุผล ของคาดการณ์การเปล่ยี นแปลงของเคร่อื งช้ีฯ ท่สี อบถามจาก
ผเู้ ชย่ี วชาญ
(4) แบบสอบถามอาจมกี ารปรบั เปลย่ี นไดเ้ พอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์และผเู้ ชย่ี วชาญ

ตวั อย่ำงแบบสอบถำม

[6]

[7]

[8]

[9]

[10]

[11]

[12]

[13]

[14]

[15]

[16]

[17]

4. จัดทาแผนการลงพ้นื ท่ีสอบถามความคดิ เหน็ จากผู้เช่ยี วชาญ

[18]

5. จัดทาหนงั สอื ลงพ้ืนทสี่ อบถามความคดิ เหน็ จากผู้เช่ยี วชาญ

[19]

6. ลงพ้ืนท่สี อบถามความคดิ เหน็ จากผเู้ ช่ยี วชาญด้านเศรษฐกจิ ในพื้นท่ี

[20]

7. รวบรวบและคัดเลอื กแบบสอบถามจากผเู้ ชย่ี วชาญแตล่ ะด้าน

[21]

[22]

[23]

[24]

[25]

[26]

[27]

8. จัดทาตาราง Consensus
นาข้อมูลจากแบบสอบถามมาบันทึกลงในตาราง Consensus เพ่ือคานวณหา ค่า Min (%)
Consensus (%) และMax (%) ซ่งึ ช่วงของการหาค่า Min และ Max ในการประมาณการครงั้
แรกอาจจะกว้าง แต่จะมกี ารปรบั ลดลงของช่วงการประมาณการ ควรจะอยู่ในช่วง +/- ไม่เกนิ
0.5 จากค่า Consensus ซ่งึ จะทาให้ภาพรวมของการประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั จะช่วงการ
ประมาณการ +/- ไมเ่ กนิ 0.5

[28]

9. ตรวจสอบสตู รการคานวณหา Min (%) Consensus (%) และMax (%) และการเชอ่ื มโยงการ

คานวณไปยงั ตารางแบบจาลองเศรษฐกจิ จงั หวดั โดยวธิ ี Management chart ใน Worksheet
main

[29]

*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*


Click to View FlipBook Version