ภำวะเศรษฐกิจจงั หวดั ตรงั ขยำยตวั รอ้ ยละ 1.4
เศรษฐกิจจงั หวดั ตรงั ในเดือนมีนำคม 2565 มีสญั ญาณขยายตวั เพ่ิมขนึ้ พิจารณาจาก
ดา้ นอปุ ทาน(การผลิต) ขยายตัว สะทอ้ นจากการขยายตัวของภาคบริการ และภาคเกษตร
ส่วนภาคอตุ สาหกรรม ยังคงหดตัว ขณะเดียวกันดา้ นอปุ สงค์ (การใชจ้ ่าย) ขยายตัว จาก
การขยายตัวของการใช้จ่ายภาครัฐ เป็ นสาคัญ สาหรับด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อตั ราเงนิ เฟ้ อทวั่ ไปและการจา้ งงานปรบั ตวั เพิ่มขน้ึ
1.ดำ้ นกำรผลิต +5.7 • ภาคบริการ +15.2
• ภาคเกษตรฯ +4.5
• ภาคอตุ สาหกรรม -5.7
2.ดำ้ นกำรใชจ้ ่ำย +0.4 • การบริโภค -2.6
• การลงทนุ -1.3
• การใชจ้ า่ ยภาครฐั +7.8
3.รำยไดเ้ กษตรกร +12.4 • ผลผลติ เกษตรฯ +4.5
• ราคาผลผลติ เกษตรฯ +7.6
4.เสถียรภำพทำงเศรษฐกิจ • อตั ราเงนิ เฟ้ อ +5.9
• การจา้ งงาน +0.6
รำยงำนฉบบั สมบรู ณ์
สำนกั งำนคลงั จงั หวดั ตรงั ศำลำกลำงจงั หวดั ตรงั ถ.พระรำมหก อ.เมือง จ.ตรงั 92000
โทร.0-7521-8022 โทรสำร 0-7521-0828 E-mail : [email protected] http://www.cgd.go.th/trg
รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลังจงั หวัดตรงั
TRANG Economic& Fiscal Report
ฉบับที่ 3/2565
รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลงั จงั หวัดตรังประจำเดือนมีนาคม 2565
เศรษฐกิจจังหวัดตรัง ในเดือนมีนาคม 2565 มีสัญญาณขยายตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน พิจารณาจาก
ด้านอุปทาน(การผลิต) ขยายตัว สะท้อนจากการขยายตัวของภาคบริการ และภาคเกษตร ส่วนภาคอุตสาหกรรม ยังคงหดตัว
ขณะเดยี วกนั ดา้ นอปุ สงค์ (การใชจ้ า่ ย) ขยายตวั จากการขยายตวั ของการใชจ้ ่ายภาครัฐ เปน็ สำคญั สำหรบั ดา้ นเสถยี รภาพ
เศรษฐกจิ อตั ราเงนิ เฟอ้ ทั่วไปและการจา้ งงานปรบั ตวั เพม่ิ ขนึ้
เศรษฐกิจด้านอุปทาน(การผลิต) มีสัญญาณขยายตัวร้อยละ 5.7 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สะท้อนจาก
ดัชนีผลผลิตภาคบริการ ขยายตัวร้อยละ 15.2 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคาร ร้อยละ
66.1 และดชั นีผลผลติ ภาคเกษตรกรรม ขยายตัวร้อยละ 4.5 ตามผลผลติ ยางพารา และปาล์มน้ำมัน ทีข่ ยายตวั เพ่ิมขึ้นร้อยละ
3.6 และ 4.0 ตามลำดับ ในขณะทด่ี ัชนีผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม หดตวั รอ้ ยละ -5.7 จากทนุ จดทะเบยี นของอุตสาหกรรม หดตัว
ร้อยละ -6.8
เครือ่ งชเ้ี ศรษฐกจิ ด้านอุปทาน ปี 2564 Q1 ม.ค. ปี 2565 YTD
-41.8 -21.6 62.5 ก.พ. มี.ค. 67.0
(Supply Side) (สดั ส่วนต่อ GPP) 1.0
ดัชนผี ลผลิตภาคบรกิ าร 173.4 15.2 -3.1
(โครงสร้างสดั ส่วน 50.5% )
ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม -2.6 46.2 -0.3 1.0 4.5
(โครงสร้างสัดสว่ น 30.8% )
ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม 1.5 -1.3 -0.9 -2.4 -5.7
(โครงสร้างสัดส่วน 18.7% )
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์(การใช้จ่าย) มีสัญญาณขยายตัวร้อยละ 0.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน
พิจารณาจากดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ ขยายตัวร้อยละ 7.8 จากการเบิกจ่ายรายจ่ายประจำ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 13.3 ในขณะที่
ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน หดตัวร้อยละ -2.6 จากการลดลงของภาษีมูลค่าเพิ่ม และจำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่
รอ้ ยละ -5 และ -0.1 ตามลำดบั และดัชนกี ารลงทุนภาคเอกชน หดตวั รอ้ ยละ -1.3 จากสนิ เชอ่ื เพ่ือการลงทุน หดตวั ร้อยละ -1.4
2
เครื่องชี้ด้านอปุ สงค์ (Demand Side) ปี 2564 Q1 ปี 2565
ม.ค. ก.พ. มี.ค. YTD
ดัชนกี ารบริโภคภาคเอกชน(%yoy)
ดชั นีการลงทนุ ภาคเอกชน(%yoy) -4.0 -3.6 15.5 64.6 -2.6 18.8
ดัชนกี ารใช้จา่ ยภาครฐั (%yoy)
-0.8 0.3 0.4 -2.0 -1.3 -1.3
1.1 3.2 0.5 6.0 7.8 4.9
ด้านรายไดเ้ กษตรกรจังหวดั ตรงั ขยายตวั ร้อยละ 12.4 เมือ่ เทียบกบั เดอื นเดียวกันของปกี ่อน ตามการปรับตวั เพิม่ ขึ้น
ของราคาและปรมิ าณปาล์มน้ำมนั และยางพารา เปน็ สำคัญ
ด้านการเงิน สภาพคล่องในระบบสถาบันการเงินขยายตัวได้ดี พิจารณาจาก ปริมาณเงินฝากรวม ขยายตัวร้อยละ
3.7 ในขณะทป่ี รมิ าณสินเช่อื รวม หดตวั ร้อยละ -1.4
เคร่อื งชี้ดา้ นรายได้เกษตรกรและด้านการเงิน ปี 2564 ปี 2565
Q1 ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. YTD
ดัชนรี ายได้เกษตรกร(%yoy) 19.7
ปริมาณเงินฝากรวม(%yoy) 5.0 34.7 3.1 6.2 12.4 6.0
ปริมาณสนิ เชอ่ื รวม(%yoy) -0.8 3.7 0.9 5.6 3.7 3.7
-1.4 0.4 -2.0 -1.4 -1.4
ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของจังหวัดตรังขยายตัวร้อยละ 5.9 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน
จากหมวดอ่ืนๆ ไม่ใชอ่ าหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 6.0 จากการสงู ข้นึ ของหมวดพาหนะการขนสง่ และการสอ่ื สารสูงขึ้น
ร้อยละ 11.7 ตามการสูงขึ้นของน้ำมันเชื้อเพลิงร้อยละ 27.6 และค่าโดยสารสาธารณะร้อยละ 0.6 แต่มีการลดลงของ
การสื่อสารร้อยละ 0.1 หมวด เคหสถานสูงขึ้นร้อยละ 3.4 (ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ผงซักฟอก น้ำยาปรับผ้านุ่ม
น้ำยาล้างจาน)หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมี แอลกอฮอล์สูงขึ้นร้อยละ 3.0 (บุหรี่ เบียร์) ขณะที่หมวดการบันเทิง การอ่าน
การศึกษา และการศาสนาลดลงร้อยละ 0.9 (ค่าเล่าเรียน ค่าอาหารสัตว์) ส่วนหมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล
และหมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าดัชนีราคาโดยเฉลี่ยไม่เปลี่ยนแปลง หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้น
รอ้ ยละ 5.9 จากการสูงข้ึนของอาหารบรโิ ภค-ในบา้ นสูงขึ้นร้อยละ 8.2 (กับขา้ วสำเร็จรปู ปลากระป๋อง) เนอ้ื สตั ว์ เป็ดไก่ และ
สัตว์น้ำสงู ขน้ึ รอ้ ยละ 7.6 ตามการสงู ขึ้นของเน้ือสัตวร์ ้อยละ 16.8 (เนือ้ สุกร) เป็ด ไก่ร้อยละ 7.2 ปลาและสตั ว์น้ำร้อยละ 1.8
ไข่และผลิตภัณฑ์นมสูงขึ้นร้อยละ 7.5 (ไข่ไก่ นมผง นมถั่วเหลือง) อาหารบริโภค-นอกบ้าน สูงขึ้นร้อยละ 6.7 (อาหารเช้า
อาหารกลางวัน) เครื่องประกอบอาหารสูงขึ้นร้อยละ 6.6 (น้ำมันพืช ขนมหวาน ซีอิ๊ว กะปิ น้ำปลา) ผักและผลไม้ สูงข้ึน
ร้อยละ 4.2 ตามการสูงขึ้นของผักสดร้อยละ 7.8 (ผักคะน้า กะหล่ำปลีกะหล่ำดอก ผักกวางตุ้ง มะเขือ) แต่มีการลดลงของ
ผลไม้สด รอ้ ยละ 1.1 (ส้มเขียวหวาน มะม่วง) และเคร่ืองด่มื ไม่มแี อลกอฮอลส์ งู ขึ้นร้อยละ 0.2 (น้ำผลไม้) ขณะทข่ี า้ ว แป้งและ
ผลติ ภณั ฑจ์ ากแปง้ ลดลงรอ้ ยละ 1.4 (ข้าวสารเจา้ แปง้ ข้าวเจ้า) สำหรับการจา้ งงาน ขยายตวั รอ้ ยละ 0.6
เครอ่ื งช้ดี ้านเสถยี รภาพเศรษฐกจิ ปี 2564 Q1 ปี 2565
ม.ค. ก.พ. มี.ค YTD
อัตราเงนิ เฟอ้ (%yoy) -0.3 0.6 3.7 4.4 5.9 4.6
การจ้างงาน (%yoy) -0.1 0.6 0.8 0.03 0.6 0.6
3
ด้านการคลัง เดือนมีนาคม 2565 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรวมจากคลังจำนวนทั้งสิ้น 1,815.0 ล้านบาท
ชะลอตวั ทร่ี อ้ ยละ 3.2 เม่ือเทียบกับเดือนเดยี วกันของปีก่อนที่ขยายตวั ร้อยละ 7.4 จากรายจ่ายประจำขยายตวั รอ้ ยละ 13.3
สำหรับอัตราการเบิกจ่ายในภาพรวมสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2565 อยู่ที่ร้อยละ 45.3 และอัตราการเบิกจ่ายรายจ่าย
ลงทุนสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2565 อยู่ที่ร้อยละ 17.6 โดยเป็นการเบิกจ่ายรายจา่ ยประจำ จำนวน 1,430.1 ล้านบาท
และการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน จำนวน 566.8 ล้านบาท ด้านผลการจัดเก็บรายได้มีจำนวนทั้งสิ้น 109.4 ล้านบาท หดตัวที่
ร้อยละ -8.0 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากสรรพากรพื้นที่ตรัง ด่านศุลกากรกันตัง ธนารักษ์พื้นที่ตรัง สรรพสามิต
พื้นทีต่ รัง และส่วนราชการอน่ื จัดเกบ็ รายไดล้ ดลง ดลุ เงินงบประมาณขาดดุล จำนวน -1,774.5 ล้านบาท
เครื่องชี้ภาคการคลัง ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ(FY) พ.ศ. 2565
(FY)
รายไดจ้ ดั เก็บ(ลา้ นบาท) Q1/FY65 Q2/FY65 ม.ค.65 ก.พ.65 ม.ี ค.65 YTD(FY)
พ.ศ. 2564
(%yoy) 329.0 331.1 127.6 94.1 109.4 660.1
1,419.7 0.4 5.6 16.9 10.2 -8.0 3.0
ความแตกตา่ งเทยี บกับประมาณการ 8.7 170.4 6.2 12.5 -15.5 9.2 -5.6
รอ้ ยละความแตกตา่ งเทยี บกับประมาณการ 107.4 1.9 10.9 -14.1 9.1 -990.6
249.6 106.7 104.7 32.9 31.3 40.4 211.4
รายได้นำส่งคลัง(ล้านบาท) (18.1) -9.1 26.7 157.6 15.0 -5.1 5.7
387.8 4,626.5 5,089.1 1,588.1 1,686.0 1,815.0 9,715.6
(%yoy) 1.6 4.9 4.1 7.4 3.2 3.3
-3.0 -4,519.8 -4,984.4 -1,555.2 -1,654.7 -1,774.5 -9,504.2
รายจ่ายเงนิ งบประมาณรวม(ลา้ นบาท) 19,476.7
(%yoy) 12.6
-19,088.9
ดลุ เงนิ งบประมาณ (ล้านบาท)
4
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
เดอื นมีนาคม 2565
รายการ งบประมาณทไี่ ดร้ บั ผลการเบกิ จา่ ยจรงิ ร้อยละ เปา้ หมายการ
1. รายจา่ ยจรงิ ปีงบประมาณปจั จุบนั การเบกิ จา่ ย เบกิ จา่ ย
จดั สรร (รอ้ ยละ)
40.3
4,953.0 1,996.9 93.0
1.1 รายจา่ ยประจำ 1,739.4 1,430.1 82.2 98.0
1.2 รายจา่ ยลงทุน 3,213.6 566.8 17.6 75.0
2. รายจ่ายงบประมาณเหลือ่ มปี 1,042.9 722.0 69.2 100.0
2.1 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1,042.9 722.0 69.2 100.0
3. รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 5,995.9 2,719.0 45.3 93.0
ท่ีมา : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)
กราฟผลการเบกิ จา่ ยเงนิ งบประมาณภาพรวม ประจำปงี บประมาณ 2565
เดือนมีนาคม 2565
ร้ อยละ 93
100
90
80 72
70
60 51
50 45.3
36.0
40 30 31.0
30
20 9.6 25.9
10 18.5
0
เดือน
0
ต.ค.-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ.-65 มี.ค.-65 เม.ย.-65 พ.ค.-65 ม.ิ ย.-65 ก.ค.-65 ส.ค.-65 ก.ย.-65
เปา้ หมาย ผลการเบกิ จา่ ย
ทีม่ า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)
5
กราฟผลการเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณงบลงทุน ประจำปงี บประมาณ 2565
เดือนมีนาคม 2565
ร้ อยละ
100
90
80 75
70
60
50 46
40 29
30 13 17.6
4.0
20 10.1
ธ.ค.-64 6.9
10
0 0 1.6 2.1 เดือน
ต.ค.-64 พ.ย.-64
ม.ค.-65 ก.พ.-65 มี.ค.-65 เม.ย.-65 พ.ค.-65 มิ.ย.-65 ก.ค.-65 ส.ค.-65 ก.ย.-65
เปา้ หมาย ผลการเบกิ จ่าย
ท่ีมา : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลังภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)
ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของหน่วยงานทีไ่ ด้รับงบประมาณจัดสรรตัง้ แต่ 100 ล้านบาทขึ้นไป
ปงี บประมาณ 2565 ประจำเดือนมนี าคม 2565 หนว่ ย : ลา้ นบาท
ลำดับท่ี หนว่ ยงาน งบประมาณท่ี ก่อหนี้ ร้อยละ ผลการ ร้อยละการ
ไดร้ ับจัดสรร การก่อหนี้ เบกิ จ่ายจรงิ เบิกจ่าย
1 โรงพยาบาลตรัง 606.0 506.4 83.6 99.5 16.4
2 สำนักงานสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ 593.6 109.7 18.5 109.7 18.5
จงั หวดั
3 แขวงทางหลวงตรัง 565.2 463.7 82.0 66.6 11.8
4 โครงการชลประทานตรงั 479.9 232.9 48.5 107.2 22.3
5 แขวงทางหลวงชนบทตรัง 221.9 166.9 75.2 44.6 20.1
6 งปม.จว.-สำนักงานจงั หวดั ตรงั 167.2 33.6 20.1 2.9 1.7
รวม 2,633.8 1,513.2 57.5 430.5 16.3
ทม่ี า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)
หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทุน วงเงินตั้งแต่ 100 ล้านบาทขึ้นไป จำนวน 6 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน 2,633.8 ล้านบาท
คิดเปน็ รอ้ ยละ 82.0 ของงบรายจา่ ยลงทนุ ทไ่ี ด้รับทง้ั ส้ิน 3,213.6 ล้านบาท
6
ผลการเบกิ จ่ายงบลงทนุ ของหน่วยงานทไ่ี ด้รบั งบประมาณจัดสรรตัง้ แต่ 10 ถึง 100 ลา้ นบาท
ปงี บประมาณ 2565 ประจำเดือนมีนาคม 2565
หน่วย : ลา้ นบาท
ลำดับท่ี หน่วยงาน งบประมาณ กอ่ หนี้ รอ้ ยละ ผลการ รอ้ ยละการ
ท่ไี ด้รับ การก่อ เบกิ จา่ ย เบกิ จา่ ย
จัดสรร หนี้ จรงิ
1 ท่ีทำการปกครองจงั หวดั ตรัง 60.1 55.5 92.3 4.6 7.6
2 สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง 55.0 14.3 26.1 17.1 31.1
3 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัด 48.5 32.3 66.5 15.7 32.4
4 สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง 45.9 0.4 0.9 0.4 0.9
5 มหาวทิ ยาลยั การกฬี าแห่งชาติ วิทยาเขตตรัง 40.9 7.9 19.2 1.4 3.5
6 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ตรัง 32.4 11.2 34.6 0.0 0.0
7 สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาตรัง 28.6 0.0 0.0 0.0 0.0
8 ตำรวจภธู รจงั หวดั ตรงั ภ.9 26.4 26.4 100.0 0.0 0.0
9 โรงพยาบาลโรคผวิ หนงั เขตร้อนภาคใต้ จังหวัด 25.1 9.6 38.1 0.4 1.6
10 สำนกั ทรพั ยากรน้ำบาดาล เขต 6 (จ.ตรงั ) 20.6 12.9 62.7 12.9 62.9
11 สำนักงานธนารกั ษพ์ ืน้ ท่ีตรงั 20.0 20.0 100.0 0.0 0.0
12 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั วทิ ยาเขตตรงั 19.9 9.5 47.6 8.7 43.5
13 ศูนย์ขยายพันธ์พุ ชื ท่ี 2 จังหวัดตรงั 14.5 13.5 93.3 0.0 0.0
14 โรงเรยี นกีฬาจงั หวดั ตรงั 14.0 8.9 63.5 4.2 30.1
รวม 451.9 222.3 49.2 65.5 14.5
ทีม่ า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)
หน่วยงานที่มรี ายจ่ายลงทุน วงเงนิ ต้งั แต่ 10 ถงึ 100 ลา้ นบาท จำนวน 16 หนว่ ยงาน รวมรายจ่ายลงทนุ 451.9
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.1 ของงบรายจ่ายลงทุนท่ีไดร้ บั ท้งั สน้ิ 3,213.6 ลา้ นบาท
7
มาตรการภาครฐั
- บตั รสวสั ดกิ าร
การใช้จ่ายผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐในจังหวัดตรัง มีจำนวน 59.874 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว
ร้อยละ -86.7
การใช้จา่ ยผ่านบัตรสวัสดิการแหง่ รัฐในจงั หวัดตรงั หน่วย : บาท
รอ้ ยละ
ประจำเดอื นมนี าคม 2565
-86.8
ลำดบั ที่ รายการ มี.ค.-64 ม.ี ค.-65 -21.1
-30.9
1 คา่ ใช้จ่ายในครวั เรอื น 449,589,181.2 59,241,418.2 -30.3
2 ค่าโดยสารรถไฟ 464,122.0 366,211.0 -86.7
3 คา่ โดยสารรถ บขส. 174,274.0 120,395.0
4 ค่าก๊าซหงุ ตม้ 210,033.0 146,399.5
59,874,423.7
รวม 450,437,610.2
8
เครอ่ื งชี้ภาวะเศรษฐกจิ การคลงั จงั หวัด(Economic and Fiscal)
ตารางท่ี 1 เครือ่ งชี้เศรษฐกจิ
ปี 2565
เครื่องชเี้ ศรษฐกิจจังหวดั weight หนว่ ย ปี 2564 Q1 ม.ค. ก.พ. มี.ค. YTD
-21.8 1.9 27.9 45.3 5.7 26.3
เศรษฐกิจด้านอุปทาน(Supply Side) 60.0 %yoy -2.6
(สัดส่วนต่อ GPP) 28.5 46.2 -0.3 1.0 4.5 1.0
ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรม ตัน
%yoy
(โครงสร้างสัดสว่ น 30.8% ) ตัน
%yoy
ปริมาณผลผลิต : ยางพารา 91.3 ตัว 279,283.0 58,653.0 24,415.0 26,841.0 7,397.0 58,653.0
%yoy -2.9 0.2 -0.8 0.3 3.6 0.2
ปรมิ าณผลผลิต : ปาล์มนำ้ มนั 2.6 ตัน
%yoy 490,094.5 117,911.7 30,050.7 35,726.0 52,135.0 117,911.7
จำนวนอาชญาบัตร : สกุ ร 1.4 %yoy -1.6 1.6 -1.8 1.3 4.0 1.6
ปริมาณผลผลิต : กุ้งขาว 4.7 ลา้ นกโิ ลวตั ต์ 43,972.0 12,400.0 4,127.0 4,137.0 4,136.0 12,400.0
15.6 %yoy 14.4 29.7 28.4 28.9 31.8 29.7
ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม แห่ง/โรง
(โครงสรา้ งสัดสว่ น 18.7% ) 34.3 %yoy 18,321.3 4,013.7 1,387.8 1,288.0 1,337.9 4,013.7
ล้านบาท -8.6 27.1 29.0 69.5 1.1 27.1
ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอตุ สาหกรรม %yoy 1.5 -1.3 -0.9 -2.4 -5.7 -3.1
%yoy
จำนวนโรงงานในจงั หวดั 25.5 590.8 151.7 52.4 48.7 50.6 151.7
ลา้ นบาท 4.5 0.6 5.9 2.3 -5.9 0.6
ทนุ จดทะเบยี นของอตุ สาหกรรม 40.2 %yoy
55.9 ลา้ นกโิ ลวตั ต์ 467.0 467.0 465.0 468.0 467.0 467.0
ดชั นีผลผลติ ภาคบริการ %yoy 0.2 0.2 0.0 0.6 0.2 0.2
(โครงสรา้ งสัดสว่ น 50.5% )
12,914.7 13,004.2 12,976.0 13,004.0 13,004.2 13,004.2
-7.4 -6.8 -7.0 -6.8 -6.8 -6.8
-41.8 -21.6 62.5 173.4 15.2 67.0
3.9 2.2 1.0 0.7 0.5 2.2
ภาษีมลู คา่ เพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคาร 50.0 -57.6 148.2 95.5 872.9 66.1 148.2
10.1 3.0 1.0 1.0 1.0 3.0
ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าในโรงแรมและทีพ่ กั 50.0 -6.96 2.7 10.6 20.6 -16.0 2.7
9
เครื่องชี้เศรษฐกจิ จังหวัด weight หนว่ ย ปี 2564 Q1 ม.ค. ปี 2565 ม.ี ค. YTD
5.2 ก.พ. 0.4 5.6
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์(Demand Side) 40.0 %yoy -1.3 -0.4 15.5 -2.6 18.8
ดัชนกี ารบริโภคภาคเอกชน 41.2 12.9 35.1
33.8 %yoy -4.0 -3.6 26.1 64.6 -5.0 108.7
ภาษีมูลคา่ เพิ่ม 32.5 25.0
38.6 ลา้ นบาท 395.3 108.7 1,373.0 86.9 1,663.0 4,563.0
จำนวนรถจกั รยานยนต์จดทะเบยี นใหม่ %yoy -8.0 25.0 0.4 1,527.0 -0.1 1.0
2.8 992.0
จำนวนรถยนต์น่ังส่วนบคุ คลไมเ่ กนิ 19.4 คัน 16,877.0 4,563.0 418.0 265.0 309.0
7 คนจดทะเบยี นใหม่ %yoy -5.6 1.0 5.3
ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน -4.8 26.2 5.5 -1.3
คนั 2,442.0 992.0 0.4 -2.0 -1.3 11,692.0
พน้ื ท่อี นญุ าตก่อสร้างในเขตเทศบาล 42.0 19.3 5.3 4,578.0 5,223.0 1,891.0 37.0
-1.1 401.2 -34.0 808.0
จำนวนรถยนตเ์ พือ่ การพาณชิ ย์จดทะเบียนใหม่ %yoy 335.0 216.0 257.0 23.2
-5.4 55.4 57.7
สินเชือ่ เพอ่ื การลงทนุ 39.2 %yoy -0.81 -0.3
ดชั นีการใชจ้ า่ ยภาครัฐ ตรม. 64,868.0 11,692.0
0.01
รายจ่ายประจำ %yoy 50.7 37.0
รายจา่ ยลงทุน คัน 1,738.0 808.0
1.0
ดา้ นรายได้ (Income) %yoy 28.1 23.2
ดัชนรี ายไดเ้ กษตรกร
ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม ล้านบาท 21,083.2 21,059.4 21,131.6 20,799.7 20,826.4 20,826.4
ดชั นีราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรม 98.9 %yoy
ดา้ นการเงนิ (Financial) -0.8 -0.3 0.4 -2.0 -1.4 -1.4
ปรมิ าณเงินฝากรวม 27.0 %yoy 1.1 3.2 0.5 6.0 7.8 4.9
ปรมิ าณสนิ เช่ือรวม 77.9 ล้านบาท 16,150.1 4,002.0 1,224.7 1,264.9 1,512.4 4,002.0
%yoy 5.2 4.9 -3.4 4.4 13.3 4.9
ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ(Stability)
ดัชนีราคาบรโิ ภคทั่วไป 22.1 ล้านบาท 3,398.7 1,087.2 363.5 421.1 302.6 1,087.2
อตั ราเงนิ เฟ้อ (Inflation Rate) %yoy 39.9 4.7 41.5 17.5 -28.6 4.7
-อาหารและเครอื่ งดืม่ %yoy 19.7 34.7 3.1 6.2 12.4 6.0
-ไม่ใชอ่ าหารและเครอ่ื งดมื่
ดัชนรี าคาผบู้ รโิ ภคพนื้ ฐาน %yoy -2.6 46.2 -0.3 1.0 4.5 1.0
อตั ราเงนิ เฟ้อพน้ื ฐาน
ดชั นีราคาผ้ผู ลติ %yoy 22.9 -8.6 3.4 5.2 7.6 5.4
อัตราการเปลย่ี นแปลง
การจา้ งงาน (Employment) ล้านบาท 80,655.8 80,863.5 77,203.7 80,836.2 80,863.5 80,863.5
%yoy 5.0 3.7 0.9 5.6 3.7 3.7
ลา้ นบาท
%yoy 70,277.3 69,421.2 70,438.7 69,332.4 69,421.2 69,421.2
-0.8 -1.4 0.4 -2.0 -1.4 -1.4
139.0 139.4 143.7 144.8 147.0 145.2
%yoy -0.3 0.6 3.7 4.4 5.9 4.6
%yoy -1.2 4.4 2.7 4.6 5.9 4.4
%yoy 1.3 5.1 4.5 4.7 6.0 5.1
100.3 101.4 100.5 101.0 102.6 101.4
%yoy -1.1 1.2 0.3 0.8 2.5 1.2
102.3 109.3 107.4 108.6 112.0 109.3
%yoy 2.4 9.8 8.7 9.4 11.4 9.8
คน 41,553.0 41,907.0 41,894.0 41,802.0 41,907.0 41,907.0
%yoy -0.1 0.6 0.8 0.03 0.57 0.57
10
ตารางที่ 2 เครอื่ งช้กี ารคลงั
เคร่ืองชภ้ี าคการคลงั หน่วย ปีงบ ปีงบประมาณ(FY)
ประมาณ(FY) พ.ศ. 2565
รายได้จดั เก็บ(ลา้ นบาท) ล้านบาท Q1/FY65 Q2/FY65 ม.ี ค.65 YTD (FY)
%yoy พ.ศ.2564 329.0 331.1 ม.ค.65 ก.พ.65 109.4 660.1
ประมาณการ ลา้ นบาท 1,419.7 0.4 5.6 127.6 94.1 -8.0 3.0
ความแตกตา่ งเทยี บกับประมาณการ ล้านบาท 8.7 158.6 324.8 16.9 10.2 100.3 483.5
รอ้ ยละความแตกต่างเทียบกบั %yoy 1,170.1 170.4 6.2 115.0 109.5 9.2 -5.6
ประมาณการ 249.6 12.5 -15.5
ลา้ นบาท 107.4 1.9 9.1 -990.6
สรรพากรพน้ื ท่ีตรงั %yoy (18.1) 10.9 -14.1
ล้านบาท 303.9 298.5 100.1 602.4
สรรพสามติ พ้นื ที่ตรงั %yoy 1,273.8 3.4 11.7 115.1 83.3 -4.7 7.3
ล้านบาท 10.3 7.2 5.0 26.4 17.1 1.9 12.2
ดา่ นศลุ กากรกนั ตัง %yoy 23.9 -2.6 -19.2 1.8 1.4 -4.6 -10.2
ลา้ นบาท 8.8 0.4 0.3 -10.8 -39.6 0.1 0.7
ธนารกั ษ์พน้ื ที่ตรัง %yoy 1.6 12.9 -21.3 0.1 0.1 -36.2 -5.2
ลา้ นบาท -17.7 2.7 5.3 -35.7 55.0 0.3 8.0
ส่วนราชการอืน่ %yoy 26.9 -23.3 -0.5 0.8 4.2 -12.5 -9.7
ล้านบาท 155.3 14.7 21.9 -74.0 124.1 7.0 36.7
รายไดน้ ำสง่ คลัง %yoy 93.6 -34.0 -36.0 9.8 5.2 -38.4 -35.2
ลา้ นบาท -19.4 106.7 104.7 -23.8 -48.9 40.4 211.4
รายจา่ ยเงินงบประมาณรวม %yoy 387.8 -9.1 26.7 32.9 31.3 -5.1 5.7
ลา้ นบาท -3.0 4,626.5 5,089.1 157.6 15.0 1,815.0 9,715.6
ดลุ เงนิ งบประมาณ %yoy 1.6 4.9 1,588.1 1,686.0 3.2 3.3
19,476.7 -4,519.8 -4,984.4 4.1 7.4 -1,774.5 -9,504.2
12.6 1.9 4.5 -1,555.2 -1,654.7 3.4 3.2
2.8 7.2
-19,088.9
13.0
สำนกั งานคลงั จงั หวดั ตรงั ศาลากลางจงั หวัดตรงั ถ.พัทลุง ต.ทบั เท่ียง อ.เมือง จ.ตรงั 92000
โทร. 0-7521-8022 , มือถือ 088-792-9591 โทรสาร 0-7521-0828
E-mail : [email protected] http://www.cgd.go.th/trg