The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cfo trg, 2019-12-13 02:28:58

รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดตรัง ประจำเดือนกันยายน 2562

รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดตรัง

Keywords: รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดตรัง

ภาวะเศรษฐกิจจงั หวดั ตรงั ขยายตวั รอ้ ยละ 9.1

จากเครื่องชี้เศรษฐกิจดำ้ นอปุ ทำน(กำรผลิต) ขยำยตวั ตามภาคบริการ ภาคเกษตร
และภาคอตุ สาหกรรม ขณะเดียวกนั ดำ้ นอปุ สงค์ (กำรใชจ้ ่ำย) ขยำยตวั ตามดชั นี
การลงทนุ ภาคเอกชน ดชั นกี ารบริโภคภาคเอกชน และดชั นกี ารใชจ้ า่ ยภาครฐั สำหรบั
ดำ้ นเสถียรภำพเศรษฐกิจ เงนิ เฟ้ อทวั่ ไปและการจา้ งงาน ขยายตวั เพ่ิมขนึ้

• ภาคบริการ +9.4 •การบรดิโภำ้ คนภาอคปเุ อสกชงนค+์ 9-.61.2
• ภาคเกษตรกรรม +2.8
• ภาคอตุ สาหกรรม +9.6 •การลงทนุ ภาคเอกชน +11.8
•การใชจ้ า่ ยภาครฐั +5.4

อปุ ทำน +8.1 อปุ สงค์ +9.7

เสถียรภำพ รำยไดเ้ กษตรกร
ทำงเศรษฐกิจ +6.6

• อตั ราเงนิ เฟ้ อ +0.7 • ผลผลติ เกษตรกรรม +2.8
• การจา้ งงาน +2.9 • ราคาผลผลิตเกษตรกรรม +3.7

สำนกั งำนคลงั จงั หวดั ตรงั ศำลำกลำงจงั หวดั ตรงั ถ.พระรำมหก อ.เมือง จ.ตรงั 92000

โทร.0-7521-8022 โทรสำร 0-7521-0828 E-mail : [email protected] http://www.cgd.go.th/trg

รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลงั จงั หวดั ตรงั
TRANG Economic& Fiscal Report

ฉบบั ท่ี 9/2562
รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลงั จงั หวัดตรังประจำเดอื นกนั ยายน 2562

เครื่องชภ้ี าวะเศรษฐกิจจังหวัดตรัง ในเดือน กันยายน 2562 บ่งชเี้ ศรษฐกิจโดยรวมขยายตวั พจิ ารณาจากเคร่ืองช้ี
เศรษฐกิจด้านอุปทาน(การผลิต) ขยายตัว จากภาคบริการ ภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม ในขณะที่ด้านอุปสงค์
(การใช้จ่าย) ขยายตัว ตามดัชนีการลงทุนภาคเอกชน ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน และดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ สำหรับ
ดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกจิ เงินเฟอ้ ทวั่ ไป ขยายตวั เพิม่ ขึ้น การจา้ งงานขยายตวั เพม่ิ ข้ึน

เศรษฐกิจด้านอุปทาน(การผลิต) พบว่า มีสัญญาณขยายตัว เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากดัชนีผลผลิต
ภาคบริการ ขยายตัวร้อยละ 9.4 จากการเพิ่มขึ้นของภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมภัตตาคาร ร้อยละ 12.6 ดัชนีผลผลิต
ภาคเกษตรกรรม ขยายตวั รอ้ ยละ 2.8 ตามปริมาณผลผลิตยางพารา ปาลม์ นำ้ มัน และกงุ้ ขาวแวนนาไมท์ท่ีออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น และ
ดัชนผี ลผลติ ภาคอุตสาหกรรม ขยายตวั รอ้ ยละ 9.6 จากการขยายตวั ของทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมใหม่ และจำนวนโรงงาน ร้อยละ
18.3 และ 3.2 ตามลำดบั

เครือ่ งชเ้ี ศรษฐกิจดา้ นอุปทาน ปี 2561 Q1 Q2 Q3 ปี 2562 ก.ย. YTD
-19.7 -6.3 -24.6 -19.3 ก.ค. ส.ค. 9.4 -15.5
(Supply Side) (สัดส่วนต่อ GPP) -0.5
ดัชนีผลผลติ ภาคบริการ -1.3 -30.9 -34.6
(โครงสรา้ งสดั ส่วน 50.5% )
ดชั นผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม 3.2 -0.2 2.5 2.3 2.5 2.8 1.9
(โครงสรา้ งสัดส่วน 30.8% )
ดัชนผี ลผลิตภาคอตุ สาหกรรม 11.4 13.5 10.1 11.2 9.5 9.6 11.6
(โครงสรา้ งสัดสว่ น 18.7% )

เศรษฐกิจด้านอุปสงค์(การใช้จ่าย) พบว่า มีสัญญาณขยายตัว เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ตามดัชนี

การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 11.8 จากการขยายตัวของสินเชื่อเพื่อการลงทุน ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน

ขยายตวั ร้อยละ 9.6 สะทอ้ นจากจำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และภาษมี ูลค่าเพิ่มจากการขายปลีก ขยายตัวร้อยละ

21.5 และ 19.6 ตามลำดับ และดัชนีการใชจ้ ่ายภาครฐั ขยายตวั ร้อยละ 5.4 จากการเพม่ิ ขึ้นของรายจ่ายลงทุนเป็นสำคัญ

เคร่ืองช้ดี ้านอปุ สงค์ (Demand Side) ปี 2561 Q1 Q2 Q3 ปี 2562 YTD
ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ดชั นกี ารบรโิ ภคภาคเอกชน(%yoy) -10.1 -2.4 -5.5 11.8 20.7 6.6 9.6 0.9

ดัชนีการลงทนุ ภาคเอกชน(%yoy) 1.5 8.9 10.4 11.8 11.4 12.0 11.8 10.4

ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ(%yoy) -7.0 4.5 -4.1 4.7 6.3 2.5 5.4 1.7

2

ด้านรายได้เกษตรกรจังหวัดตรัง พบว่ารายได้เกษตรกรในเดือนนี้ขยายตัวร้อยละ 6.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน
ของปีกอ่ น ตามราคาและปรมิ าณยางพาราทปี่ รบั ตัวเพิม่ ขึน้

ด้านการเงิน พบว่า สภาพคล่องในระบบสถาบันการเงินปรับตัวอยู่ในเกณฑ์ดี พิจารณาจาก ปริมาณเงินฝากรวม
ขยายตวั ร้อยละ 4.7 และปริมาณสนิ เชื่อรวม ขยายตวั ร้อยละ 11.9

เคร่อื งชด้ี ้านรายได้เกษตรกรและด้านการเงิน ปี 2561 Q1 Q2 ปี 2562 YTD
Q3 ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ดัชนรี ายได้เกษตรกร(%yoy) -25.6 1.0 15.6 5.2 11.1 -1.7 6.6 7.2

ปรมิ าณเงินฝากรวม(%yoy) 0.5 2.1 3.4 4.7 2.7 4.4 4.7 4.7

ปริมาณสินเชอ่ื รวม(%yoy) 7.1 10.0 11.2 11.9 11.4 12.0 11.9 11.9

ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของจังหวัดเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกี ่อน
หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 4.7 จากการสูงขึ้นของเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำสูงขึ้นร้อยละ
12.7 ตามการสูงขึ้นของเนื้อสตั ว์ร้อยละ 21.6 (เน้อื สกุ ร ลูกชิน้ หมู/ไก)่ ปลาและสตั วน์ ำ้ ร้อยละ 11.7 (ปลาลัง ปลาทู ปลาแดง
หอยแครง หอยลาย ปูม้า) ผักและผลไม้สูงขึ้นร้อยละ 10.7 ตามการสูงขึ้นของผักสดร้อยละ 12.6 (ถั่วฝักยาว แตงกวา ผักชี
มะเขือเทศ มะละกอดิบ มะนาว พริกสด ต้นหอม) ผลไม้สดร้อยละ 5.5 (สับปะรด เงาะ ชมพู่ แอปเปิ้ล แตงโม) ไข่และ
ผลิตภัณฑ์นมสูงขึ้นร้อยละ 2.0 (ไข่ไก่) ขณะที่ เครื่องประกอบอาหารลดลงร้อยละ 1.8 (น้ำมันพืช มะพร้าว(ผลแห้ง/ขูด)
มะขามเปียก) ข้าว แป้งและผลติ ภณั ฑ์จากแปง้ ลดลงร้อยละ 1.1 อาหารบรโิ ภค-นอกบา้ นลดลงรอ้ ยละ 0.5 ส่วนเคร่ืองดืม่ ไม่มี
แอลกอฮอล์ และอาหารบรโิ ภค-ในบ้านดชั นีโดยเฉล่ยี ไม่เปล่ยี นแปลงหมวดอ่ืนๆ ไมใ่ ชอ่ าหารและเคร่ืองดื่ม ลดลงร้อยละ 2.1
จากการลดลงของหมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสารลดลงร้อยละ 4.9 ตามการลดลงของน้ำมันเชื้อเพลิงร้อยละ 10.2
หมวดเครอื่ งนุ่งห่มและรองเท้าลดลงร้อยละ 0.5 ขณะทห่ี มวดการตรวจรกั ษาและ บรกิ ารสว่ นบุคคลสูงขึ้นร้อยละ 0.8 (ยาแก้
ปวดลดไข้ ยาหอม ค่าคมุ กำเนดิ แปรงสฟี นั โฟมลา้ งหนา้ ) หมวดการบนั เทงิ การอา่ น การศกึ ษา และการศาสนาสงู ข้ึนร้อยละ
0.4 หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์สูงขึ้นร้อยละ 0.2 และหมวดเคหสถานสูงขึ้นร้อยละ 0.1 สำหรับการจ้างงาน
ขยายตัว ร้อยละ 2.9

เครอื่ งชดี้ า้ นเสถียรภาพเศรษฐกจิ ปี 2561 ปี 2562
Q1 Q2 Q3 ก.ค. ส.ค. ก.ย. YTD
อตั ราเงินเฟ้อ (%yoy)
การจา้ งงาน (%yoy) 1.1 0.9 1.7 1.3 1.9 1.5 0.7 1.3

11.8 7.4 4.0 2.9 -11.5 -11.9 2.9 2.9

3

ด้านการคลัง เดือนกันยายน 2562 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรวมจากคลังจำนวนทั้งสิ้น 1,615.5 ล้านบาท
ขยายตัวท่ีรอ้ ยละ 10.0 เมื่อเทียบกับเดอื นเดียวกนั ของปีก่อนท่ีขยายตวั ร้อยละ 6.1 จากรายจ่ายลงทุนขยายตวั ร้อยละ 89.1
และรายจ่ายประจำหดตัวรอ้ ยละ-0.6 สำหรับอัตราการเบิกจ่ายในภาพรวมสะสมตั้งแต่ต้นปงี บประมาณ 2562 อยู่ที่ร้อยละ
75.0 และอตั ราการเบิกจา่ ยรายจ่ายลงทุนสะสมต้ังแต่ต้นปงี บประมาณ 2562 อยทู่ ่รี ้อยละ 72.4 โดยเปน็ การเบกิ จ่ายรายจ่าย
ประจำ จำนวน 1,287.0 ล้านบาท และการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน จำนวน 328.5 ล้านบาท ด้านผลการจัดเก็บรายได้มี
จำนวนทั้งสิ้น 109.8 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -24.5 จากสรรพากรพื้นที่ตรัง ธนารักษ์พื้นที่ตรัง และส่วนราชการอื่น ที่จัดเก็บ
รายได้ลดลง ขณะท่ีสรรพสามิตพื้นที่ตรัง ด่านศุลกากรกนั ตัง จัดเก็บรายได้เพิ่มข้ึน เม่อื เทยี บกับเดอื นเดียวกนั ของปีก่อน ดุลเงิน
งบประมาณขาดดลุ จำนวน -1,597.3 ล้านบาท

ปีงบประ ปีงบประมาณ(FY)
มาณ พ.ศ. 2562

เครอ่ื งชภ้ี าคการคลงั (FY) Q1/FY62 Q2/FY62 Q3/FY62 Q4/FY62 ก.ค.62 ส.ค.62 ก.ย.62 YTD (FY)
รายได้จัดเก็บ(ล้านบาท) พ.ศ.
2561 329.7 390.0 407.3 326.1 89.8 126.5 109.8 1,453.1
185.2 1.6 -8.9 37.2 -29.4 14.5 -24.5 -7.2
1,565.9 282.6 330.0 112.6 27.1 81.4 22.1 8.4 1,076.4
198.1 550.0 608.6 323.5 970.5 21.1 8.3 285.7
(%yoy) -8.4 59.5 125.0 110.3 103.4 42.6 42.6 18.3 398.3
14.9 -19.5 -28.6 8.3 -19.4 -0.2 -56.5 -32.9
ความแตกต่างเทยี บกบั ประมาณการ 1,354.5 3987.4 4145.3 4065.7 4350.0 1,337.4 1,397.1 1,615.5 16,548.3
13.1 2.4 -4.0 68.6 5.9 6.1 10.0 4.4
รอ้ ยละความแตกตา่ งเทยี บกบั ประมาณการ 359.9 -3,927.8 -4,020.3 -3,955.3 -4246.5 -1,294.8 -1,354.5 -1,597.3 -16,150.0
594.0
รายไดน้ ำสง่ คลัง(ล้านบาท) -7.6
(%yoy)

รายจา่ ยเงินงบประมาณรวม(ลา้ นบาท) 15,855.6

(%yoy) 1.0

ดลุ เงินงบประมาณ (ล้านบาท) -15,261.6

4

ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
เดอื นกันยายน 2562

รายการ งบประมาณท่ีไดร้ บั ผลการเบกิ จ่ายจริง รอ้ ยละ เป้าหมายการ
จัดสรร การเบกิ จา่ ย เบิกจา่ ย
(ร้อยละ)
1. รายจ่ายจริงปีงบประมาณปัจจบุ ัน 4,792.4 3,930.2 82.0 100.0
91.4 100.0
1.1 รายจา่ ยประจำ 2,424.8 2,216.1 72.4 100.0
53.6 0.0
1.2 รายจา่ ยลงทนุ 2,367.6 1,714.1 58.3 0.0
31.6 0.0
2. รายจา่ ยงบประมาณเหลอ่ื มปี 1,574.9 843.9 75.0 100.0

2.1 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 1,295.4 755.5

2.2 กอ่ นปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 279.5 88.5

3. รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 6,367.3 4,774.1

ทม่ี า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)

กราฟผลการเบิกจา่ ยเงินงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ 2562
เดอื นกนั ยายน 2562

ร้ อยละ 100
100

90
77

80

70 75.0
54 70.9
60 64.5

50 56.1 61.7

32 51.4
40

39.5
30 36.9

30.8
20 28..0

20.2 เดือน
10 0 10.6

0

ต.ค.-61 พ.ย.-61 ธ.ค.-61 ม.ค.-62 ก.พ.-62 ม.ี ค.-62 เม.ย.-62 พ.ค.-62 มิ.ย.-62 ก.ค.-62 ส.ค.-62 ก.ย.-62

เปา้ หมาย ผลการเบกิ จา่ ย

ทีม่ า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลังภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

5

กราฟผลการเบิกจา่ ยเงินงบประมาณงบลงทุน ประจำปีงบประมาณ 2562
เดอื นกันยายน 2562

ร้ อยละ 100
100

90

80 65

70
72.4

60
45 60.9

50 52.9
48.9

40

30 20 41.1
34.7

20 28.6

10 2.2 8 19.1
13.5 12.6
เดือน
00

ต.ค.-61 พ.ย.-61 ธ.ค.-61 ม.ค.-62 ก.พ.-62 มี.ค.-62 เม.ย.-62 พ.ค.-62 มิ.ย.-62 ก.ค.-62 ส.ค.-62 ก.ย.-62

เปา้ หมาย งบลงทนุ

ทมี่ า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)

ผลการเบิกจ่ายงบลงทนุ ของหนว่ ยงานทไ่ี ด้รบั งบประมาณจดั สรรตงั้ แต่ 100 ล้านบาทขึ้นไป

ปีงบประมาณ 2562 ประจำเดือนกันยายน 2562 หนว่ ย : ล้านบาท

ลำดับท่ี หนว่ ยงาน งบประมาณที่ กอ่ หน้ี ร้อยละ ผลการ ร้อยละการ
ไดร้ ับจดั สรร การก่อหนี้ เบิกจ่าย
เบกิ จา่ ยจรงิ
1 กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ 369.6 286.8 77.6 286.8 77.6
368.6 99.9
2 กรมชลประทาน 368.8 368.6 99.9 253.7 76.9
259.9 94.6
3 กรมทางหลวง 329.8 253.7 76.9 74.3 30.2
126.0 52.8
4 กรมทางหลวงชนบท 274.8 259.9 94.6 83.6 47.0
1,452.9 72.4
5 สนง.ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 246.0 171.7 69.8

6 สนง.คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 238.8 126.0 52.8

7 ตรัง 177.8 83.6 47.0

รวม 2,005.5 1,550.2 77.3

ท่ีมา : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

6

หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทุน วงเงินตั้งแต่ 100 ล้านบาทขึ้นไป จำนวน 7 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทนุ 2,005.5ล้านบาท
คิดเป็นรอ้ ยละ 84.7 ของงบรายจ่ายลงทนุ ทไ่ี ด้รับท้งั ส้นิ 2,367.6 ล้านบาท

ผลการเบกิ จ่ายงบลงทุนของหน่วยงานท่ไี ด้รบั งบประมาณจัดสรรตง้ั แต่ 10 ถงึ 100 ล้านบาท
ปีงบประมาณ 2562 ประจำเดอื นกนั ยายน 2562

หนว่ ย : ล้านบาท

ลำดับที่ หนว่ ยงาน งบประมาณท่ี กอ่ หน้ี รอ้ ยละ ผลการ รอ้ ยละการ
การก่อหนี้ เบกิ จ่ายจรงิ เบิกจา่ ย
ไดร้ บั จดั สรร 41.6
58.1 31.7 98.6
1 กรมทรัพยากรนำ้ บาดาล 76.3 44.3 98.6 52.1 82.4
82.4 63.3 38.8
2 มหาวทิ ยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ 52.8 52.1 61.2 13.0 90.7
90.7 20.1 99.7
3 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชัย 76.8 63.3 99.7 15.3 100.0
100.0 13.2 71.9
4 สนง.ตำรวจแห่งชาติ 33.6 20.6 78.9 208.7

5 กรมการปกครอง 22.1 20.1

6 สนง.คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา 15.3 15.3

7 กรมพัฒนาทด่ี ิน 13.2 13.2

รวม 290.2 228.9

ท่มี า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

หนว่ ยงานทมี่ ีรายจา่ ยลงทุน วงเงินต้งั แต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท จำนวน 7 หนว่ ยงาน รวมรายจ่ายลงทนุ 290.2
ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.3 ของงบรายจา่ ยลงทนุ ทไี่ ด้รับทั้งส้นิ 2,367.6 ลา้ นบาท

มาตรการภาครัฐ

- บัตรสวสั ดกิ าร

การใช้จ่ายผ่านบัตรสวัสดกิ ารแหง่ รัฐในจังหวดั ตรัง มีจำนวน 72.33 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปที ีแ่ ล้ว

รอ้ ยละ 177.7 จากมาตรการพยงุ การบรโิ ภคสำหรบั ผู้มีบตั รสวัสดิการแหง่ รัฐ 500 บาทต่อคนต่อเดอื น และมาตรการเพิ่มเบี้ยยังชีพ

สำหรับผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 500 บาทต่อคนต่อเดือน โดยส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน จำนวน

70.24 ลา้ นบาท รองลงมาเปน็ ค่าโดยสารรถไฟ จำนวน 1.34 ล้านบาท ค่าโดยสารรถ บขส. จำนวน 0.51 ล้านบาท และคา่ ก๊าซหุงต้ม

จำนวน 0.23 ล้านบาท

การใชจ้ ่ายผ่านบตั รสวัสดกิ ารแหง่ รัฐในจังหวัดตรัง หน่วย : บาท
ประจำเดือนกนั ยายน 2562

ลำดบั ท่ี รายการ ก.ย.-61 ก.ย.-62 ร้อยละ

1 คา่ ใช้จ่ายในครวั เรือน 25,294,041.2 70,242,757.5 177.7

2 ค่าโดยสารรถไฟ 458,696.0 1,340,094.0 192.2

3 คา่ โดยสารรถ บขส. 232,227.0 513,738.0 121.2

4 ค่ากา๊ ซหุงตม้ 48,555.0 234,450.0 382.9

รวม 26,033,519.2 72,331,039.5 177.8

7

- มาตรการส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวภายในประเทศ ชิมชอ้ ปใช้

จังหวัดตรังมีนักท่องเที่ยวสนใจมาใช้สิทธิ จำนวน 128,509 คน (เฟส 1 =76,563 เฟส 2 = 51,946 ) ในขณะที่
ประชาชนในจังหวัดตรังไปใช้สิทธิในจังหวัดอื่นจำนวน 170,388 คน (เฟส 1 = 101,741 เฟส 2 = 68,647 ) มีจำนวน
ร้านคา้ เข้ารว่ ม จำนวน 1,068 ร้านคา้ (รา้ นชิม = 582 รา้ นช้อป = 106 รา้ นใช้ = 58 ร้านทั่วไป = 322 )

มียอดการใช้จ่ายรวม จำนวน 107.22 ล้านบาท เป็นลำดับที่ 8 ของภาคใต้ และลำดับที่ 38 ของประเทศ แบ่งเป็น
การใช้จ่ายจากเป๋าตังค์ 1 จำนวน 101.03 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 78.62 ของเป้าหมายการเบิกจ่าย โดยส่วนใหญ่เป็น
การใช้จา่ ยท่ีร้านค้าช้อป (ร้าน OTOP วิสาหกจิ ชมุ ชน ร้านคา้ ธงฟ้าประชารัฐ) จำนวน 75.08 ลา้ นบาท รองลงมาเป็นร้านค้าทั่วไป
จำนวน 12.73 ล้านบาท ร้านชิม (ร้านอาหารและเครื่องดื่ม) จำนวน 12.07 ล้านบาท และร้านใช้ (โรงแรม/รีสอร์ท โฮมสเตย์)
จำนวน 1.15 ล้านบาท สำหรับกระเป๋าตังค์ 2 มียอดการใช้จ่าย จำนวน 6.19 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.62 ของเป้าหมาย
การเบิกจา่ ย โดยเป็นการใช้จ่ายทรี่ า้ นชอ้ ป จำนวน 3.88 ลา้ นบาท ร้านชมิ 1.72 ล้านบาท และร้านใช้ จำนวน 0.58 ลา้ นบาท

การใช้จา่ ยตามมาตรการสง่ เสริมการทอ่ งเท่ยี วภายในประเทศ ชิม ช้อป ใช้ หน่วย : บาท
ตง้ั แต่ 27 กันยายน 2562 – 7 พฤศจกิ ายน 2562
รวม
ประเภทร้านคา้ กระเป๋า 1 กระเป๋า 2

ชิม 12,067,256 1,721,255 13,788,511

ชอ้ ป 75,082,656 3,885,138 78,967,794

ใช้ 1,154,766 585,943 1,740,709

ทว่ั ไป 12,728,403 0 12,728,403

รวม 101,033,080 6,192,336 107,225,416

เป้าหมาย 128,509,000 385,527,000 514,036,000

หมายเหตุ เปา๋ ตัง 1 : รบั เงนิ สนบั สนนุ 1,000 บาท เปา๋ ตงั 2 : ไดเ้ งินชดเชยคืน 15% ต้งั เปา้ ใชจ้ า่ ยเฉล่ยี คนละ 3,000 บาท

การใชจ้ ่ายชมิ ชอ้ ปใช้ เป้ าหมายการเบิกจา่ ยชมิ ชอ้ ปใช้

รา้ นคา้ ทวั่ ไป 107,225,416 ลา้ นบาท 514.04
11.87%
รา้ นชมิ 520 คดิ เป็ น 385.53 คิดเป็ น
20.86%
12.86% 420 78.62% คดิ เป็ น
107.22
320 1.61%

220 128.51 6.19
120 101.03

20

-80 กระเป๋ า1 กระเป๋ า2 รวม

รา้ นใช้ รา้ นชอ้ ป เป้ าหมาย ใชจ้ ่ายจริง
1.62% 73.65%

8

เครือ่ งช้ีภาวะเศรษฐกจิ การคลังจังหวดั (Economic and Fiscal)
ตารางที่ 1 เครอื่ งชเ้ี ศรษฐกจิ

เคร่ืองช้ีเศรษฐกจิ จังหวัด weight หน่วย ปี 2561 Q1 Q2 Q3 ปี 2562 ส.ค. ก.ย. YTD
เศรษฐกิจด้านอปุ ทาน(Supply Side) ก.ค. -16.4 8.1 -8.7
(สดั ส่วนต่อ GPP) 60.0 -14.6 -3.1 -16.0 -7.6 -13.8 2.5 2.8 1.9
ดัชนีผลผลติ ภาคเกษตรกรรม
(โครงสรา้ งสัดสว่ น 30.8% ) 30.8 %yoy -0.5 3.2 -0.2 2.5 2.3
ปริมาณผลผลิต : ยางพารา
91.3 ตัน 288,548.1 60,947.9 61,590.1 94,710.8 31,298.4 33,083.4 30,329.0 217,248.8
ปริมาณผลผลติ : ปาลม์ น้ำมนั %yoy -0.8 3.6 -0.5 2.1 2.0 2.1 2.3 1.8

จำนวนอาชญาบัตร : สุกร 2.6 ตัน 468,792.0 118,681.4 169,415.3 118,068.0 39,513.0 39,236.0 39,319.0 406,164.7
%yoy 5.6 2.8 10.8 7.7 7.5 7.8 7.7 7.5
ปริมาณผลผลติ : กงุ้ ขาว
ดชั นผี ลผลิตภาคอตุ สาหกรรม 1.4 ตัว 47,606.0 10,934.0 9,148.0 11,983.0 3,686.0 4,142.0 4,155.0 32,065.0
(โครงสรา้ งสัดสว่ น 18.7% ) %yoy 9.3 -6.6 -38.0 9.6 -3.3 14.7 18.4 -14.2
ปริมาณการใช้ไฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม
4.7 ตนั 20,445.3 4,151.5 3,742.5 4,888.4 1,232.8 1,657.3 1,998.3 12,782.4
จำนวนโรงงานในจังหวดั %yoy -6.2 -14.8 -30.7 0.5 -6.8 -1.6 7.5 -15.5
11.2 9.5 9.6 11.6
ทนุ จดทะเบยี นของอตุ สาหกรรม 18.7 %yoy -1.3 11.4 13.5 10.1
42.8
ดชั นีผลผลติ ภาคบริการ ล้าน 502.4 126.4 124.7 125.4 0.4 42.4 40.2 376.6
(โครงสรา้ งสัดส่วน 50.5% ) 672.0 -3.1 -3.3 -0.8
35.9 กโิ ลวตั ต์ -2.1 -1.6 1.4 -2.0 4.7 672.0 670.0 670.0
ภาษีมลู คา่ เพ่มิ หมวดโรงแรมภตั ตาคาร %yoy 3.5 3.2 -88.4
22,233.3
ปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ ในโรงแรมและทพ่ี กั 25.1 แห่ง/โรง 666.0 678.0 674.0 670.0 22,233.3 22,224.6 22,224.6
%yoy 6.7 7.1 4.8 3.2 19.1
-30.9 18.4 18.3 -86.5
ล้าน 21,842.0 21,892 22,218 22,225 -34.6 9.4 -15.5
39.0 บาท 0.9

%yoy 21.7 20.9 25.7 18.3 -38.8
1.2
50.5 %yoy -19.7 -6.3 -24.6 -19.3 -6.9

ลา้ น 31.3 11.6 7.2 3.4 0.9 1.6 22.1
50.0 บาท
-42.8 12.6 -16.6
%yoy 0.8 -6.0 -26.9 -23.5 1.2 1.1 10.9
-9.2 -1.3 -8.8
ล้าน 15.4 3.8 3.7 3.4

50.0 กิโลวัตต์
%yoy -3.35 -9.3 -10.7 -6.0

9

เคร่ืองช้ีเศรษฐกิจจงั หวัด weight หนว่ ย ปี 2561 Q1 Q2 ปี 2562
Q2 ก.ค. ส.ค. ก.ย. YTD

เศรษฐกิจด้านอุปสงค์(Demand Side) 40.0 %yoy -3.2 5.3 3.6 10.0 11.8 8.6 9.7 6.3

ดชั นีการบรโิ ภคภาคเอกชน 32.2 %yoy -10.1 -2.4 -5.5 11.8 20.7 6.6 9.6 0.9

ภาษีมลู คา่ เพ่มิ จากการขายส่งขายปลกี 33.0 ลา้ นบาท 183.6 54.8 39.2 48.8 16.1 15.9 16.8 142.8
-6.7 5.8 13.7 10.2 23.2 -7.3 19.6 9.4
%yoy

จำนวนรถจกั รยานยนต์จดทะเบียนใหม่ 21.2 คนั 23,931.0 5,511.0 5,333.0 6,336.0 2,005.0 2,343.0 1,988.0 17,180.0
%yoy 0.1 -9.6 -24.0 16.3 4.4 23.8 21.5 -7.4

จำนวนรถยนตน์ ่งั สว่ นบคุ คลไม่เกิน 7 45.8 คัน 3,037.0 769.0 798.0 759.0 231.0 277.0 251.0 2,326.0
คนจดทะเบยี นใหม่ %yoy 14.2 -11.6 -16.7 12.9 21.6 25.9 -4.2 -7.0

ดชั นีการลงทุนภาคเอกชน 40.5 %yoy 1.5 8.9 10.4 11.8 11.4 12.0 11.8 10.4

พื้นทอี่ นญุ าตกอ่ สรา้ งในเขตเทศบาล 0.01 ตรม. 52,158.0 11,953.0 40,269.0 16,010.0 2,618.0 3,209.0 10,183.0 124,511.0
%yoy 9.8 -10.9 388.0 38.2 93.8 -45.8 136.0 274.5

จำนวนรถยนตเ์ พอ่ื การพาณิชยจ์ ด 1.2 คนั 1,538.0 413.0 373.0 409.0 145.0 140.0 124.0 1,195.0
ทะเบยี นใหม่ %yoy 11.5 -13.2 -14.3 11.7 42.2 6.1 -6.1 -6.4

สนิ เชอ่ื เพือ่ การลงทนุ 98.8 ล้านบาท 18,637.7 510.8 518.0 527.6 525.5 527.3 530.1 518.8
0.0 8.9 10.5 11.8 11.4 12.0 11.9 10.4
%yoy

ดัชนีการใช้จ่ายภาครฐั 27.3 %yoy -7.0 4.5 -4.1 4.7 6.3 2.5 5.4 1.7

รายจา่ ยประจำ 75.6 ลา้ นบาท 13,930.9 3,657.2 3,387.4 3,686.7 1,214.4 1,185.3 1,287.0 10,731.3
8.2 7.6 -4.3 1.2 6.9 -2.2 -0.6 1.4
%yoy

รายจา่ ยลงทุน 24.4 ลา้ นบาท 2,387.6 488.2 678.3 663.3 123.0 211.9 328.5 1,829.7
2.4 -24.7 -2.2 63.4 -3.1 101.1 89.1 4.7
%yoy

ดา้ นรายได้ (Income)

ดัชนีรายไดเ้ กษตรกร %yoy -25.6 1.0 15.6 5.2 11.1 -1.7 6.6 7.2

ดัชนผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม %yoy -0.5 3.2 -0.2 2.5 2.3 2.5 2.8 1.9

ดชั นรี าคาผลผลิตภาคเกษตรกรรม %yoy -25.2 -0.4 14.3 2.8 8.6 -4.1 3.7 5.6

ดา้ นการเงนิ (Financial)

ปริมาณเงนิ ฝากรวม ล้านบาท 66,224.1 67,602.1 68,917.5 68,387.0 68,299.6 68,343.0 68,387.0 68,387.0
%yoy 0.5 2.1 3.4 4.7 2.7 4.4 4.7 4.7

ปรมิ าณสนิ เชือ่ รวม ลา้ นบาท 65,566.2 67,870.0 68,936.1 69,615.6 69,017.5 69,260.6 69,615.6 69,615.6

%yoy 7.1 10.0 11.2 11.9 11.4 12.0 11.9 11.9

ดา้ นเสถยี รภาพเศรษฐกจิ (Stability)

ดัชนีราคาบริโภคท่ัวไป 142.2 142.7 144.6 144.4 144.5 144.5 144.2 143.9

อตั ราเงินเฟอ้ (Inflation Rate) %yoy 1.1 0.9 1.7 1.3 1.9 1.5 0.7 1.3

-อาหารและเคร่ืองด่ืม %yoy -0.6 1.3 3.8 5.5 6.3 5.4 4.7 3.5

-ไมใ่ ช่อาหารและเครือ่ งด่ืม %yoy 2.5 0.5 0.3 -1.7 -1.5 -1.5 -2.1 -0.3

ดชั นรี าคาผู้บรโิ ภคพนื้ ฐาน 101.6 101.9 101.8 101.6 101.3 101.8 101.7 101.7

อตั ราเงินเฟ้อพ้ืนฐาน %yoy 1.0 0.6 0.2 -0.3 -0.5 -0.2 -0.2 0.2

ดัชนีราคาผ้ผู ลิต 102.5 101.3 102.6 101.5 102.0 101.3 101.3 101.8

อัตราการเปล่ยี นแปลง %yoy 0.4 -0.4 -0.1 -1.6 -1.2 -1.7 -1.9 -0.7

การจ้างงาน (Employment) คน 79,224.0 78,896.0 81,031.0 82,241.0 69,903.0 70,137.0 82,241.0 82,241.0

%yoy 11.8 7.4 4.0 2.9 -11.5 -11.9 2.9 2.9

10

ตารางท่ี 2 เครือ่ งชกี้ ารคลงั

เครอื่ งชภี้ าคการคลงั หน่วย ปีงบ Q1/FY62 Q2/FY62 ปงี บประมาณ(FY) ก.ย.62 YTD
ประมาณ 329.7 พ.ศ. 2562 (FY)
รายไดจ้ ดั เก็บ(ล้านบาท) ล้านบาท 390.0
ประมาณการ (FY) 1.6 Q3/FY62 Q4/FY62 ก.ค.62 ส.ค.62 109.8 1,453.1
พ.ศ. 60.0
ความแตกตา่ งเทยี บกับประมาณการ 2561 330.0 407.3 326.1 89.8 126.5
550.0 -8.9 37.2 -29.4 14.5
ร้อยละความแตกตา่ งเทยี บกับประมาณการ 1,565.9 336.1 55.5 214.2 8.4 104.4
5.1 112.6 27.1 81.4 22.1
สรรพากรพนื้ ท่ีตรัง %yoy -8.4 185.2 5.5 608.6 323.5 970.5 21.1 -24.5 -7.2
ลา้ นบาท 211.4 47.1 10.7 354.5 283.0 76.3 104.8
สรรพสามิตพ้ืนท่ีตรงั 0.3 -11.7 37.7 -31.2 10.6 101.4 376.8
-57.6 4.2 5.0 1.8 1.7
ดา่ นศลุ กากรกันตัง ลา้ นบาท 1,354.5 282.6 2.4 -12.5 50.4 10.6 -0.6 8.4 1,076.4
ธนารักษ์พน้ื ที่ตรัง -68.6 1.0 0.3 0.07 0.07
สว่ นราชการอ่นื %yoy 359.9 198.1 45.7 206.0 17.4 -56.8 -13.8 8.3 285.7
รายได้นำส่งคลัง -10.0 4.1 2.5 1.0 1.1
รายจา่ ยเงนิ งบประมาณรวม ล้านบาท 1,354.0 270.2 125.0 90.7 28.5 14.9 3.2 102.0 1,243.9
ดุลเงินงบประมาณ -19.5 43.5 35.3 10.7 18.8
%yoy -7.2 177.9 4,145.3 12.8 33.1 -22.0 46.5 -21.2 -8.1
2.4 110.3 103.4 42.6 42.6
ลา้ นบาท 22.0 6.8 -4,020.3 1.5 21.5
3.3 -28.6 8.3 -19.4 -0.2
%yoy 53.9 94.0 4,065.7 4,350.0 1,337.4 1,397.1 0.7 -2.2
ล้านบาท 1.8 0.3
-4.0 68.6 5.9 6.1 0.14 1.9
-3,955.3 -4,246.5 -1,294.8 -1,354.5
%yoy -15.8 297.9 4.6 2.4
ลา้ นบาท 14.7 3.1 -3.0 70.9 7.0 6.3
0.4 12.0

%yoy 9.3 294.3 -62.9 -18.2
ล้านบาท 173.3 49.3
5.8 173.9

%yoy -21.5 251.4 -56.2 0.3
ลา้ นบาท 594.0 59.5
18.3 398.3

%yoy -7.6 14.9 -56.5 -32.9
ลา้ นบาท 15,855.6 3,987.4 1,615.5 16,548.3

%yoy 1.0 13.1 10.0 4.4

ลา้ นบาท -15,261.6 -3,927.8 -1,597.3 -16,150.0

%yoy 1.3 16.3 12.0 5.8

สำนกั งานคลงั จังหวดั ตรัง ศาลากลางจงั หวัดตรงั ถ.พัทลุง ต.ทบั เท่ียง อ.เมือง จ.ตรัง 92000
โทร. 0-7521-8022 , มอื ถือ 088-792-9591 โทรสาร 0-7521-0828
E-mail : [email protected] http://www.cgd.go.th/trg


Click to View FlipBook Version