The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มาตรการรักษาความปลอดภัย สพป.กจ.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มาตรการรักษาความปลอดภัย สพป.กจ.1

มาตรการรักษาความปลอดภัย สพป.กจ.1

ประกาศสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 1
เร่ือง มาตรการรักษาความปลอดภยั ภายในสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 1

.....................................................................................

ปัจจุบัน ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ มแี นวโน้มทีจ่ ะเกิดขึ้นอย่างต่อเน่ือง และทวีความรุนแรงซบั ซ้อนมาก
ยิ่งขึ้น เนื่องจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ประกอบกับ ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และการ
เปลย่ี นแปลงของสังคม โดยมกี ารเคลื่อนย้ายสังคมจากชนบทไปส่สู ังคมเมืองอย่างรวดเร็ว ทำให้ประชาชนมีถิ่นที่อยู่ใน
พื้นที่เสี่ยงภัยมากยิง่ ขึ้น ทั้งภัยจากธรรมชาติและภัยที่เกิดจากการกระทำของสังคม การบริหารจัดการด้านการป้องกัน
ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ผ่านมา มีปัจจัยที่เป็นจุดอ่อนอยู่หลายประการ จำเป็นต้องยกระดับและพัฒนาการป้องกันภัย
พบิ ัตทิ างธรรมชาติไปสู่สากล

เพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวนโยบายหลักของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นไปตามคู่มือการปฏิบัติงานของกลุ่มอำนวยการ งานรักษาความปลอดภยั สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรี เขต 1 จึงได้ออกมาตรการรักษาความปลอดภัยภายในสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เพื่อสร้างความเข้าใจและลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการป้องกันภัย
พิบัติทางธรรมชาติ และสามารถร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหา นับแต่ก่อนเกิดภัย ระหว่างเกิดภัยและหลังเกิดภัย ได้
อย่างสัมฤทธ์ผิ ลสูงสุด ตามเอกสารแนบท้าย

ทงั้ น้ี ตงั้ แตบ่ ัดนีเ้ ปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วันท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ.2564

(นายสมหมาย เทยี นสมใจ)
ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

มาตรการรักษาความปลอดภยั
ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 1

ในปัจจุบนั ทั่วโลกเผชิญกับปัญหาภัยพิบตั ิและสาธารณภยั ทเ่ี กิดขึ้นบ่อยครงั้ และรนุ แรงมากขึ้น
ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินแก่ประชาชนเป็นอย่างมาก แนวทางหนึ่งในการป้องกันและล ด
ผลกระทบจากภัยพบิ ตั ิและสาธารณภัยอย่างมีประสิทธิภาพและย่งั ยืน คือการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยซึ่งเป็น
วิธีการที่สามารถปฏิบัติได้ตั้งแต่ในระดับครอบครัวชุมชน สังคม และประเทศ การประเมินความเสี่ยงเป็น
กระบวนการที่ต้องมีการส่ือสารกันระหว่างผู้เชย่ี วชาญ ทเ่ี ปน็ ผปู้ ระเมินความเสี่ยงและผู้ทจี่ ะนำผลของการประเมิน
ไปใชอ้ ย่างเป็นประจำและต่อเน่ือง น่นั หมายความว่าทุกข้ันตอนในการประเมินความเส่ยี งมีความสำคัญและไม่ควร
เกดิ ขนึ้ แบบแยกสว่ น แต่จะตอ้ งมีการปรกึ ษาและสรา้ งความเขา้ ใจระหวา่ งผ้ปู ระเมินฯ และผูใ้ ชผ้ ลการประเมนิ ฯ ไป
พร้อมกัน แม้กระบวนการและขัน้ ตอนทีน่ ำเสนอไวใ้ นมาตรการนี้ไม่จำเป็นต้องเกิดข้ึนตามลำดบั ที่นำเสนอ แต่การ
ดำเนินงานและผลที่ได้ในขั้นตอนหนึ่งจะเป็นข้อมูลสำหรับการดำเนินงานในขั้นตอนอื่น ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการทั้งหมดในภาพรวม สง่ิ สำคญั คือผู้อา่ นควรสรา้ งความเข้าใจในเหตแุ ละผล รวมถึงจดุ ประสงคข์ องแต่ละ
ขนั้ ตอน เพอื่ ใหส้ ามารถตัดสินใจไดว้ ่าควรจะดำเนนิ การตามขั้นตอนท่ีนำเสนอ หรือประยกุ ต์ใชเ้ พียงบางข้ันตอนให้
เกิดความเหมาะสมกับบริบทของตน ทั้งนี้ ในการดำเนินงานจริงอาจไม่สามารถปฏิบัติตามกระบวนการประเมิน
ความเส่ยี งแบบท่ีนำเสนอในมาตรการได้ทุกกรณี ข้าราชการครูและบุคลากรทางกากรศึกษา สามารถประยุกต์การ
นำมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ไปใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและ
เงอ่ื นไขของพ้นื ทใ่ี ห้ไดม้ ากทส่ี ุด

มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขอุบตั เิ หตุ อุบัตภิ ัย และปัญหาทางสงั คม

สาเหตุ มาตรการป้องกันและแก้ไข ผู้รบั ผิดชอบ
1. อบุ ัติเหตุจากบรเิ วณ
1.ติดตั้งไฟฟา้ ส่องสว่าง ผอ.สพป.กจ.1
สำนักงาน
2.จดั ให้มรี ะบบการขออนญุ าตออกนอกสถานท่รี าชการ รอง ผอ.สพป.กจ.1
2. อบุ ัติเหตุจาก
สภาพแวดล้อมของ 3.จดั ให้มกี ารบำรงุ ดแู ลรักษาความสะอาดโดยรอบสมำ่ เสมอ กลมุ่ อำนวยการ
สำนกั งาน
4.จัดให้มีถังขยะแยกประเภทเพื่อสะดวกในการจัดเกบ็ และ

ทำลาย

1.มกี ารสำรวจสภาพปญั หาด้านส่ิงแวดล้อม มลภาวะใน ผอ.สพป.กจ.1

สถานที่ราชการ เพ่ือหาแนวทางแกไ้ ข รอง ผอ.สพป.กจ.1

2.แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อให้มีส่วนร่วมในการหาแนวทาง กล่มุ อำนวยการ

ป้องกันและแกไ้ ข

3.ประสานงานกบั หน่วยงานอนื่

4.จัดกิจกรรมสรา้ งจิตสำนกึ และความตระหนักต่อปัญหา

สิง่ แวดล้อมใหก้ บั บุคลากรทางการศกึ ษาในสำนักงาน

-2-

สาเหตุ มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไข ผรู้ บั ผดิ ชอบ

ด้านการป้องกนั และ 1.ตรวจสอบโครงสร้างและส่วนประกอบอาคารอย่าง ผอ.สพป.กจ.1

แก้ไขอบุ ัติเหตุ สมำ่ เสมอ รอง ผอ.สพป.กจ.1

3. อุบัตเิ หตุจากอาคาร 2.แตง่ ต้ังบุคลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่ กลุม่ อำนวยการ

สำนกั งาน 3.สร้างความตระหนักและให้ความรู้การรักษาความปลอดภัย

แก่บคุ ลากรในสงั กดั

4.จดั ทำปา้ ยข้อควรระวงั ดา้ นความปลอดภยั ในจดุ อนั ตราย

5.ซ่อมแซมสว่ นประกอบอาคารใหอ้ ยใู่ นสภาพทปี่ ลอดภยั

6.จัดให้มีแผนการป้องกันและการเคลื่อนย้ายกรณีเกิดเหตุ

ฉุกเฉนิ

4. อุบตั เิ หตจุ าก 1.ตรวจสอบเคร่ืองมอื เครือ่ งใช้ และอุปกรณต์ ่างๆ ผอ.สพป.กจ.1

เครือ่ งมอื เครื่องใช้ และ ก่อนใช้ทกุ คร้ัง รอง ผอ.สพป.กจ.1

อปุ กรณ์ ต่างๆ 2.หา้ มใชเ้ ครอ่ื งมือ เคร่ืองใช้ และอปุ กรณ์ต่างๆ ท่ชี ำรุด กลมุ่ อำนวยการ

3.แนะนำ สาธิต และควบคุมการใช้อย่างถูกวิธีตามประเภท บคุ ลากรทุกคนในสังกดั

ของอุปกรณ์

4.จัดเก็บเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ในที่เก็บทุกครั้งอย่าง

เป็นระเบียบปลอดภัย

5.กำกับ และดูแลบุคลากรในการใช้เครื่องมือ เครื่องใช้

อุปกรณใ์ ห้ ถกู ต้องเหมาะกับประเภทกจิ กรรม

ดา้ นการปอ้ งกันและ 1.แต่งตั้งกรรมการรับผิดชอบตรวจสอบอุปกรณ์อย่าง ผอ.สพป.กจ.1

แกไ้ ขอุบตั ิภัย สมำ่ เสมอ รอง ผอ.สพป.กจ.1

1. อคั คภี ัย 2.ให้บุคลากรในสังกัดตรวจสอบการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าให้ กล่มุ อำนวยการ
สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างสม่ำเสมอ หาก

พบว่ามีอุปกรณ์ชำรุดใหเ้ รง่ ดำเนนิ การซอ่ มแซมทนั ที

3.ให้ความรู้บุคลากรเกี่ยวกบั การดบั ไฟ หนีไฟ

4.จัดให้มเี จ้าหน้าท่ีอยู่เวรรกั ษาสถานท่รี าชการอยา่ งเครง่ ครัด

5.วางแผนรับสถานการณ์ไวล้ ่วงหนา้

6.จัดแหล่งข้อมูลที่สามารถติดต่อขอความช่วยเหลือไว้

ลว่ งหน้า

7.ขจัดสงิ่ รกรงุ รังในบริเวณสำนกั งาน อาคารและหอ้ งตา่ งๆ

8.รายงานต้นสังกัดทนั ที

-3-

สาเหตุ มาตรการป้องกนั และแก้ไข ผรู้ ับผดิ ชอบ
2. วาตภัย
3. อทุ กภัย 1.ใหค้ วามร้ใู นการปฏิบตั ิตนแก่บคุ ลากรใหพ้ ้นจากอนั ตราย ผอ.สพป.กจ.1
4. ธรณพี ิบตั ิภยั
5. สาธารณภยั 2.จดั ให้มกี ารอยเู่ วรรักษาสถานที่ราชการ รอง ผอ.สพป.กจ.1

6. โรคอุบัติใหม่ 3.ตรวจสอบสภาพอาคารตา่ ง ๆ อยา่ งสมำ่ เสมอ กลมุ่ อำนวยการ

4.ตัดแต่งก่ิงไม้ทอี่ ยู่ใกล้อาคาร

5.ติดตามข่าวพยากรณอ์ ากาศสม่ำเสมอ

6.จัดใหม้ ีเวชภัณฑ์ทจ่ี ำเปน็ ในการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้

1.ใหค้ วามรู้ในการปฏบิ ตั ิตนใหแ้ กบ่ คุ ลากรใหพ้ น้ จากอนั ตราย ผอ.สพป.กจ.1

2.จัดใหม้ ีการอยเู่ วรรกั ษาสถานทร่ี าชการ รอง ผอ.สพป.กจ.1

3.ตรวจสอบสภาพอาคารตา่ ง ๆ อย่างสมำ่ เสมอ กลมุ่ อำนวยการ

4.ติดตามข่าวพยากรณอ์ ากาศสม่ำเสมอ

5.จดั ให้มีเวชภณั ฑ์ทจี่ ำเปน็ ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

1.ใหค้ วามร้ใู นการปฏิบัติตนใหแ้ ก่บุคลากรให้พ้นจากอนั ตราย ผอ.สพป.กจ.1

2.จดั ใหม้ กี ารอย่เู วรรกั ษาสถานทรี่ าชการ รอง ผอ.สพป.กจ.1

3.ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆอยา่ งสมำ่ เสมอ กลมุ่ อำนวยการ

4.ตัดแต่งกง่ิ ไม้ทอี่ ยู่ใกลอ้ าคาร

5.ตดิ ตามข่าวพยากรณอ์ ากาศสม่ำเสมอ

6.จัดใหม้ ีเวชภณั ฑท์ ่ีจำเป็นในการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้

1.ชี้แจงให้บุคลากรทางการศึกษา ศึกษาและปฏิบัติตาม ผอ.สพป.กจ.1

ระเบียบว่าด้วยการเดนิ ทางไปราชการอย่างเคร่งครัด รอง ผอ.สพป.กจ.1

2.ตรวจสอบสภาพรถยนต์ของทางราชการให้พร้อมใช้งานอยู่ กลุ่มอำนวยการ

เสมอ บคุ ลากรทุกคนในสงั กัด

3.ตรวจสอบสภาพร่างกายของพนักงานขบั รถยนต์ และกำชับ

ให้ปฏบิ ัตติ ามพระราชบัญญัติจราจรทางบกอย่างเคร่งครดั

4.ตดั แตง่ กิ่งไม้ที่อยใู่ กลอ้ าคาร

5.ศกึ ษาเสน้ ทาง และสถานทีใ่ นการเดินทางไปราชการ

1.เตรียมหาขอ้ มูลของโรคนัน้ ๆ ว่าคือโรคอะไร มวี ธิ กี ารรักษา ผอ.สพป.กจ.1

หรือไม่ และจะต้องปฏิบัติตัวยังไงเพื่อป้องกันตัวเองให้ รอง ผอ.สพป.กจ.1

ห่างไกลจากโรคท่เี กดิ ขึ้น กลุ่มอำนวยการ

บคุ ลากรทุกคนในสงั กัด

-4-

สาเหตุ มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไข ผู้รับผดิ ชอบ

2.เตรียมปรบั เปลย่ี นวิถีชวี ิตเพื่อใหส้ อดรับกบั สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรค เพราะเมื่อมีการระบาดของโรคเกิดข้ึน
มักจะส่งผลต่อการดำเนินชีวิตหลังจากนี้แน่นอน ไม่ว่าจะ
new normal หรือ next normal การเตรียมตัวและปรับตัว
ตอ่ สถานการณท์ เี่ ปลยี่ นแปลงไปคือสง่ิ ทเี่ ราเล่ยี งไมไ่ ด้
3.เตรียมสุขภาพร่างกายและจิตใจให้พร้อม และหันมาดูแล
เร่ืองสุขภาพและสุขอนามัยให้มากขึ้น กินอาหารที่ดีต่อ
รา่ งกาย และดูแลจติ ใจตัวเองให้เบกิ บาน ไม่กงั วลจนเกินไป

วิธกี ารรบั มือตอ่ ภยั พิบตั ิ

ภยั พิบัติ หมายถงึ ส่ิงท่ีเกดิ สิง่ ที่เกิดจากการกระทำ ของมนุษย์ทเ่ี ขา้ ไปคกุ คามโดยการทำลายปา่ ไม้หรือแหล่ง
ทรพั ยากรธรรมชาติทส่ี ำคญั ทำใหธ้ รรมชาติเสียสมดุลจนเกดิ ภยั พิบัติตา่ ง ๆ ภยั ธรรมชาตกิ ม็ มี ากมาย เชน่

วาตภัย คอื ภัยทเ่ี กดิ จากพายุ พายมุ ีหลายรูปแบบ คอื พายุแถบเสน้ ท่มี แี หลง่ กำเนิดในมหาสมทุ ร
อุทกภยั พายุหมนุ ท่ีมีแหลง่ กำเนดิ บนบก พายุฟ้าคะนอง
แผน่ ดนิ ไหว
คอื ภยั ทเี่ กิดข้ึนเน่ืองจากมนี ้ำเปน็ สาเหตุ อาจจะเป็นน้ำทว่ ม นำ้ ป่า หรืออื่น ๆ
อัคคภี ยั
เป็นปรากฎการณ์การส่ันสะเทอื นหรือเขยา่ ของพ้ืนผิวโลกเพือ่ ปรบั ตวั ให้อยู่ในสภาวะสมดลุ
ซ่งึ แผน่ ดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภยั พิบตั ิตอ่ บา้ นเมือง ที่อยู่อาศยั สิ่งมีชีวิต
ส่วนสาเหตขุ องการเกดิ แผ่นดินไหวนัน้ สว่ นใหญเ่ กดิ จากธรรมชาติ โดยแผน่ ดนิ ไหวบาง
ลักษณะสามารถเกดิ จากการกระทำของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าทีเ่ กิดขน้ึ เอง
จากธรรมชาติ

ภยั อนั ตรายที่เกิดจากการควบคุมดูแล ทำให้เกดิ การติดต่อลกุ ลามไปตามบรเิ วณที่มี
เชอื้ เพลงิ เกดิ การลุกไหม้ต่อเนื่อง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากข้ึนถ้าการลุกไหม้ท่ีมี
เช้อื เพลงิ หนนุ เนื่อง

-5-

วธิ ปี ้องกนั ภัย
วิธปี ้องกันวาตภัย

- ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคำเตือนจากกรมอตุ ุนิยมวทิ ยาอยา่ งสม่ำเสมอ

- สอบถาม แจ้งสภาะอากาศรา้ ยแกก่ รมอตุ นุ ิยมวทิ ยา
- ซอ่ มแซม อาคารให้แขง็ แรง เตรยี มป้องกนั ภยั ใหส้ ัตว์เลี้ยงและพชื ผลการเกษตร
- ฝึกซ้อมการปอ้ งกันภัยพิบตั ิ เตรียมพรอ้ มรับมอื และวางแผนอพยพหากจำเปน็
- เตรียมเครือ่ งอปุ โภค บรโิ ภค ไฟฉาย แบตเตอร่ี วทิ ยกุ ระเป๋าหิ้ว ติดตามขา่ วสาร
- เตรยี มพรอ้ มอพยพ เมือ่ ไดร้ ับแจง้ ใหอ้ พยพ

วธิ ปี อ้ งกันภัยจากอุทกภยั
- ควรติดตามฟังข่าวอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาอย่างสม่ำเสมอ เมื่อใดที่กรมอุตุนิยมวิทยาเตือน ให้

อพยพ ทั้งคนและสตั วเ์ ล้ยี งควรรบี อพยพไปอยู่ในท่สี ูง อาคารทม่ี นั่ คงแข็งแรง
- ถ้าอยู่ที่ราบให้ระมัดระวังน้ำป่าหลากจากภูเขาทีร่ าบสูงลงมา กระแสน้ำจะรวดเรว็ มาก ควรสังเกตเม่อื มี

ฝนตกหนกั ตดิ ตอ่ กนั บนภูเขาหลาย ๆ วัน ใหเ้ ตรยี มตวั อพยพขนของไว้ที่สงู
- ถ้าอยรู่ ิมนำ้ ใหเ้ อาเรอื หลบเขา้ ฝงั่ ไว้ในทีจ่ ะใช้งานไดเ้ มื่อเกดิ นำ้ ท่วม เพอ่ื การคมนาคม ควรมกี ารวางแผน

อพยพว่าจะไปอยทู่ ่ีใด พบกนั ทไ่ี หน อย่างไร
- กระแสน้ำหลากจะทำลายวสั ดุกอ่ สร้าง เส้นทางคมนาคม ต้นไม้ และพืชไร่ ต้องระวังกระแสน้ำพดั พาไป

อยา่ ขับรถยนต์ฝ่าลงไปในกระแสนำ้ หลาก แมบ้ นถนนก็ตาม อย่าลงเล่นนำ้ อาจจะประสบอบุ ตั ภิ ยั อ่ืนๆ กไ็ ด้
- หลังจากน้ำท่วม จะเกิดโรคระบาดในระบบทางเดินอาหารทั้งคนและสัตว์ ให้ระวังน้ำบริโภค ควรต้มให้

เดือนเสยี ก่อน

วิธีป้องกันภัยจากแผ่นดินไหว

ก่อนเกดิ แผน่ ดนิ ไหว
- เตรียมเครอ่ื งอปุ โภค บริโภคที่จำเป็น เช่น ถ่านไฟฉาย ไฟฉาย อปุ กรณ์ดบั เพลงิ นำ้ ด่ืม น้ำใช้ อาหารแห้ง

ไว้ใช้ในกรณไี ฟฟา้ ดับหรือกรณีฉกุ เฉนิ อืน่ ๆ
- จัดหาเครื่องรับวิทยุ ที่ใช้ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอรี่ สำหรับเปิดฟังข่าวสารคำเตือน คำแนะนำและ

สถานการณ์ตา่ ง ๆ
- เตรยี มอุปกรณ์นิรภยั สำหรับการช่วยชีวิต
- เตรยี มยารักษาโรคและเวชภณั ฑใ์ ห้พร้อมท่จี ะใชใ้ นการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้
- จัดให้มีการศึกษาถึงการปฐมพยาบาล เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ หรือ

อนั ตรายใหพ้ น้ ขีดอันตรายก่อนที่จะถึงมือแพทย์
- จัดตำแหน่งของวาลว์ เปดิ -ปิดน้ำ ตำแหน่งของสะพานไฟฟา้ เพ่ือตดั ตอนการส่งน้ำและไฟฟ้า

-6-

- ยึดเครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้สอย ภายในบ้าน ที่ทำงาน และในสถานศึกษา ให้มั่นคงแน่นหนา ไม่โยกเยก
โคลงเคลงไปทำความเสียหายแกช่ วี ติ และทรัพย์สิน

- ไมค่ วรวางสง่ิ ของที่มีน้ำหนักมาก ๆ ไว้ในท่สี งู เพราะอาจรว่ งหล่นมาทำความเสียหายหรือเป็นอันตรายได้
- เตรยี มการอพยพเคลอ่ื นย้าย หากถึงเวลาท่จี ะตอ้ งอพยพ
- วางแผนป้องกันภยั สำหรบั ครอบครัว ทที่ ำงานและสถานศึกษา มีการชแี้ จงบทบาทที่สมาชิกแต่ละบุคคล
จะต้องปฏิบัติ มีการฝึกซ้อมแผนที่จัดทำไว้ เพื่อเพิ่มลักษณะและความคล่องตัวในการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณ์
ฉุกเฉนิ

ขณะเกิดแผ่นดินไหว
- ตัง้ สติ อยใู่ นท่ที ่ีแขง็ แรงปลอดภยั ห่างจากประตู หนา้ ตา่ ง สายไฟฟ้า เป็นต้น

- ปฏิบตั ิตามคำแนะนำ ข้อควรปฏิบตั ขิ องทางราชการอย่างเครง่ ครดั ไมต่ ่ืนตระหนกจนเกนิ ไป
- ไม่ควรทำให้เกดิ ประกายไฟ เพราะหากมีการร่ัวซมึ ของแก๊สหรอื วัตถุไวไฟ อาจเกดิ ภยั พบิ ตั ิจากไฟไหม้
ไฟลวก ซ้ำซ้อนกบั แผน่ ดินไหวเพิ่มขนึ้ อีก
- เปิดวทิ ยรุ ับฟังสถานการณ์ คำแนะนำตักเตอื นต่าง ๆ จากทางราชการอย่างตอ่ เน่ือง
- ไมค่ วรใช้ลิฟท์ เพราะหากไฟฟ้าดบั อาจมีอันตรายจากการตดิ อยภู่ ายใตล้ ิฟท์
- มดุ เขา้ ไปนอนใตเ้ ตียงหรอื ตั่ง อย่าอยู่ใตค้ านหรอื ที่ท่ีมีนำ้ หนกั มาก
- อยู่ใต้โตะ๊ ทแ่ี ขง็ แรง เพ่อื ป้องกันภยั อันตรายจากสง่ิ ปรกั หกั พังร่วงหล่นลงมา
- อยหู่ า่ งจากสิ่งทไ่ี ม่มนั่ คงแขง็ แรง
- ใหร้ ีบออกจากอาคาร เมื่อมีการสง่ั การจากผ้ทู คี่ วบคมุ แผนปอ้ งกนั ภยั หรอื ผทู้ ่ีรบั ผิดชอบในเรื่องนี้
- หากอยใู่ นรถ ใหห้ ยดุ รอจนกวา่ แผ่นดนิ จะหยดุ ไหวหรอื สนั่ สะเทอื นหลังเกิดแผน่ ดนิ ไหว
- ตรวจเช็คการบาดเจ็บ และทำการปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ แล้วรีบนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
เพอ่ื ใหแ้ พทย์ได้ทำการรักษาต่อไป
- ตรวจเช็คระบบน้ำ ไฟฟ้า หากมีการรั่วซึมหรือชำรุดเสียหาย ให้ปิดวาล์ว เพื่อป้องกันน้ำท่วมเอ่อ ยก
สะพานไฟ เพือ่ ปอ้ งกันไฟฟา้ รั่ว ไฟฟา้ ดูด หรอื ไฟฟ้าช๊อต
- ตรวจเชค็ ระบบแกส๊ โดยวิธกี ารดมกลิน่ เท่านั้น หากพบวา่ มีกล่ินการร่ัวซมึ ของแก๊ส (มกี ลิ่น) ให้เปิดประตู
หน้าตา่ ง แล้วออกจากอาคาร แจ้งเจา้ หน้าทปี่ ้องกันภัยฝ่ายพลเรือนผทู้ ร่ี บั ผิดชอบได้ทราบ ในโอกาสตอ่ ไป
- เปดิ ฟังข่าวสารและปฏบิ ัติตามคำแนะนำ จากทางราชการโดยตลอด
- ไม่ใชโ้ ทรศัพทโ์ ดยไมจ่ ำเป็น
- อย่ากดนำ้ ลา้ งสว้ ม จนกว่าจะมกี ารตรวจเช็คระบบท่อเป็นทเี่ รียบร้อย เพราะอาจเกดิ การแตกหักของท่อ
ในสว้ ม ทำใหน้ ้ำท่วมเออ่ หรือสง่ กลน่ิ ที่ไม่พงึ ประสงค์
- ออกจากอาคารทีช่ ำรดุ โดยดว่ น เพราะอาจเกดิ การพังทลายลงมา
- สวมรองเทา้ ยางเพอ่ื ปอ้ งกันสิง่ ปรกั หักพัง เศษแก้ว เศษกระเบ้อื ง
- รวมพล ณ ที่หมายท่ไี ด้ตกลงนัดหมายกันไว้ และตรวจนับจำนวนสมาชกิ วา่ อย่คู รบหรือไม่

-7-

- ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ในการเข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณที่ได้รับความเสียหาย และผู้ไม่มีหน้าที่หรือไม่
เกย่ี วข้อง ไมค่ วรเข้าไปในบริเวณนนั้ ๆ หากไม่ไดร้ ับอนญุ าต

- อย่าออกจากชายฝ่ัง เพราะอาจเกดิ คลนื่ ใต้นำ้ ซัดฝง่ั ได้ แม้ว่าการสนั่ สะเทือนของแผ่นดินจะส้ินสุดลงแล้ว
กต็ าม

วิธปี อ้ งกันภัยจากอคั คภี ัย
- การจัดระเบียบเรียบร้อยดี หมายถึง การป้องกันการติดต่อลุกลาม โดยจัดระเบียบในการเกบ็ รักษา สาร

สมบัติที่น่าจะเกิดอัคคีภัยได้ง่าย ให้ถูกต้องตามลักษณะการเก็บรักษา สารสมบัตินั้น ๆ ทั้งภายในและภายนอก
อาคารให้เรียบร้อย โดยไม่สะสมเชื้อเพลิงไว้เกินปริมาณที่กำหนด เพราะเมื่อเกิดเพลิงไหม้อาจทำใหเ้ กิดการติดตอ่
ลกุ ลามได้

- การตรวจตราซ่อมบำรุงดี หมายถึง การกำจัดสาเหตุในการกระจายตัวของเชื้อเพลิงและความร้อน เชน่
การตรวจตราการไหลรั่วของเชื้อเพลิงต่าง ๆ พร้อมทั้งการควบคุมดูแลมิให้เกิดการกระจายตัวของความร้อนของ
เครื่องทำความรอ้ น

- การมีระเบียบวินัยดี หมายถึง การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวกับการป้องกัน
อัคคีภัย เชน่ สถานท่ีใดที่ให้มีไว้ซ่งึ เคร่ืองดบั เพลิง

- ความร่วมมือที่ดี หมายถึง การศึกษาหาความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและระงับอัคคีภัย โดยการฝึก
การใช้อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในการดับเพลิง ตลอดจนการฝึกซ้อมในการปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินเมื่อเกิดเพลิง
ไหม้

*********************************


Click to View FlipBook Version