The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มอำนวยการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มอำนวยการ

คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มอำนวยการ

คำนำ

คู่มือการปฏิบัติงาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ฉบับน้ี จัดทาข้ึน
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในระยะที่มีการปรับเปล่ียนระบบบริหารและการจัดการศึกษาตาม
โครงสร้างใหม่ของกระทรวงศึกษาธิการโดยยึดหลักการ “กำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของ
ประชำชนโดยใช้วิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี” อันจะส่งผลให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เป็นองค์กรที่มีระบบการทางานท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความ
คล่องตัว ยืดหย่นุ และสามารถปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสงั คม มีการวัดผลสาเร็จของงานได้อย่าง
เป็นรูปธรรมและสามารถตรวจสอบได้ ทาให้ผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและประชาชนทั่วไปได้รับ
บรกิ ารท่ีดีและมีคุณภาพ เป็นท่ีเชอื่ ถือและศรัทธาของประชาชน

เพื่ อให้ ก ารป ฏิ รูป ระบ บ บ ริห ารและการจัดก ารศึก ษ าบ รรลุผ ลต ามเจต น ารมณ์ ขอ ง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และตามคาสั่งหัวหน้า
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 เร่ือง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ
ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 หลักการดังกล่าว สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
จึงได้จัดทา “คู่มือกำรปฏิบัติงำน สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำ” ขึ้น เพ่ือเป็นคู่มือให้ผู้ปฏิบัติงานและ
ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายได้มีความเขา้ ใจในสาระสาคัญท่ีเป็นแนวคิด วตั ถุประสงค์ ขอบข่าย/ภารกจิ ข้ันตอนและ
แนวปฏิบตั ิ ผลสาเร็จท่คี าดหวงั และกฎหมาย ระเบียบและเอกสารที่เกีย่ วข้อง ตามโครงสร้าง องค์กรและการ
แบ่งส่วนราชการของสานักงานเขตพื้นที่ ซึ่งบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสามารถ
นาไปกาหนดรายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ใหเ้ หมาะสมกับการปฏิบัติงานในหนา้ ทไ่ี ด้

สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 1
กลุ่มอานวยการ

กล่มุ อำนวยกำร



กลุ่มอำนวยกำร

แนวคดิ

งานอานวยการของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเป็นงานที่เก่ียวข้องกับการจัดระบบบริหาร
องค์กร การประสานงานและใหบ้ รกิ าร สนบั สนุน ส่งเสริม ใหก้ ลุ่มภารกิจและงานตา่ ง ๆ ในสานักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษา สามารถบรหิ ารจดั การและดาเนินงานตามบทบาทภารกิจ อานาจ หน้าที่ ไดอ้ ย่าง
เรียบร้อย มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลบนพ้ืนฐานของความถูกตอ้ งและโปร่งใส ตลอดจนสนับสนุน
และให้บริการข้อมูลข่าวสาร เอกสาร ส่ือ อุปกรณ์ทางการศึกษา และทรัพยากรที่ใช้ในการจัด
การศึกษาแก่สถานศึกษาเพ่ือให้สถานศึกษาบริหารจัดการได้อย่างสะดวก คล่องตัว มีคุณภาพ
ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล

วตั ถปุ ระสงค์

๑. เพ่ือให้บริการ สนับสนุน ส่งเสริม ประสานงานและอานวยการให้การปฏิบัติงานของ
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาและสถานศกึ ษาเป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย มปี ระสทิ ธภิ าพ

๒. เพื่อให้บริการและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลงานเก่ียวกับการจัดการศึกษาของ
เขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดต่อสาธารณชน ก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
การดาเนนิ งาน เกิดความเลอื่ มใสและศรทั ธา และให้การสนบั สนุนการจัดการศกึ ษา

ขอบข่ำย/ภำรกิจ

๑. งำนสำรบรรณ

๑.๑ งานรับ-สง่ หนังสือราชการ
๑.๒ งานการจัดทาหนังสือราชการ
๑.๓ งานจัดเกบ็ หนังสือราชการ
๑.๔ งานการยมื หนงั สือราชการ
๑.๕ งานการทาลายหนังสอื ราชการ

๒. งำนช่วยอำนวยกำร

๒.๑ งานรับ-ส่งงานในหนา้ ทรี่ าชการ
๒.๒ งานมอบหมายหน้าท่กี ารงาน
๒.๓ งานเลขานุการผู้บริหารสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา
๒.๔ งานประชมุ ภายในสานักงาน

๓. งำนอำคำรสถำนทีแ่ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

๓.๑ งานปรับปรุง พฒั นาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
๓.๒ งานบรกิ ารอาคารสถานท่ี
๓.๓ งานรกั ษาความปลอดภยั



๔. งำนยำนพำหนะ
๕. งำนกำรจดั ระบบบริหำรสำนักงำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำ

๕.๑ งานจัดระบบบรหิ าร
๕.๒ งานพัฒนาคุณภาพการใหบ้ รกิ าร
๕.๓ งานมาตรฐานสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา
๕.๔ งานคารบั รองปฏบิ ัติราชการสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา
๕.๕ งานควบคมุ ภายในสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา
๕.๖ งานพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั

๖. ประสำนกำรดำเนินงำนระหว่ำงหน่วยงำนภำยในและภำยนอกเขตพืน้ ท่กี ำรศึกษำ
๗. งำนกำรสรรหำกรรมกำรและอนุกรรมกำร

๗.๑ งานเลือกตงั้ คณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา
(ก.ต.ป.น.) เขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 1

๘. งำนประชำสัมพนั ธ์

๘.๑ งานสรา้ งเครือขา่ ยประชาสัมพันธ์
๘.๒ งานเผยแพร่ขอ้ มูลขา่ วสารของหน่วยงานตอ่ สาธารณชน

๙. งำนสวสั ดกิ ำรสวสั ดภิ ำพครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ
๑๐.งำนอืน่ ๆ ท่ีได้รบั มอบหมำย

ขอบข่ำยภำรกิจงำนตำมอำนำจหน้ำที่ ๔
กลมุ่ อำนวยกำร

งานสารบรรณ 1. งานรับ-สงหนงั สอื ราชการ
สพป.กาญจนบุรี เขต 1 2. งานการจดั ทาหนังสือราชการ
3. งานจดั เกบ็ หนงั สือราชการ
4. งานการยมื หนงั สือราชการ
5. งานการทาลายหนังสือราชการ

งานชว่ ยอานวยการ 1. งานรบั ส่งงานในหนา้ ทีร่ าชการ
2. งานมอบหมายหน้าทก่ี ารงาน
3. งานเลขานุการผบู้ รหิ ารสานักงาน
เขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
กาญจนบุรี เขต 1

4. งานประชุมภายในสานักงาน

งานอาคารสถานที่ 1. งานปรบั ปรงุ และพัฒนาอาคาร
และส่งิ แวดล้อม สถานท่แี ละสง่ิ แวดลอ้ ม
2. งานบริการอาคารสถานที่
3. งานรักษาความปลอดภัย

งานยานพาหนะ งานยานพาหนะ
งานจดั ระบบบริหาร
1. งานจดั ระบบบรหิ าร
2. งานพัฒนาคุณภาพการให้บริการ
3. งานมาตรฐานสานกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา
4. งานคารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการ
5. งานควบคุมภายใน
6. งานพัฒนาคุณภาพการบรหิ าร
จัดการภาครัฐ



ขอบขำ่ ยภำรกจิ งำนตำมอำนำจหน้ำที่
กลุ่มอำนวยกำร (ตอ่ )

งานการประสานงาน งานการประสานงานภายในและ
ภายนอกสานกั งานเขตพ้นื ท่ี
งานเลอื กต้ังและสรรหา การศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี
กรรมการและอนกุ รรมการ เขต 1

งานเลือกต้ังคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบประเมินผล และนเิ ทศ
การศึกษา (ก.ต.ป.น.)

งานประชาสัมพันธ์ 1. งานสร้างเครอื ข่ายประชาสัมพันธ์
2. งานเผยแพรข่ ้อมลู ข่าวสารและ
งานสวสั ดกิ ารสวัสดภิ าพครู ผลงาน
และบุคลากรทางการศึกษา
งานสวัสดิการและสวสั ดิภาพ
ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการ
ศึกษา

งานอ่นื ๆ ที่ไดร้ ับมอบหมาย งานอื่น ๆ ท่ีผบู้ งั คับบัญชา
มอบหมาย



๑.๑ งำนสำรบรรณ

(๑) งำนรับ – สง่ หนังสือรำชกำร

ขน้ั ตอนและแนวกำรปฏิบตั ิ
๑. วิเคราะห์โครงสร้างการบริหารงานของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
และสถานศึกษา
๒. ออกแบบระบบการรับ – ส่ง หนังสือราชการให้สอดคล้องสัมพันธ์กัน และ
สามารถเช่ือมโยงระหว่างหน่วยงานภายในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาได้ โดยนา
ระบบเครือข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (ICT) มาใช้ในการดาเนนิ งาน
๓. จั ด ห าแ ล ะ พั ฒ น า Hardware แ ล ะ Software ให้ ส าม ารถ รอ งรับ
การปฏิบตั งิ านตามระบบการรบั – ส่ง หนังสอื ราชการท่ีออกแบบไว้ได้
๔. รับ - ส่งหนงั สอื ราชการตามระบบทีก่ าหนด
๕. ประเมนิ ผลการใช้ระบบการรับ – ส่งหนังสอื ราชการและปรับปรงุ เปน็ ระยะ ๆ

ผลสำเร็จท่ีคำดหวงั
การรับ-ส่งหนังสือราชการเป็นระบบท่ีทันสมัย ลดข้ันตอนการปฏิบัติงานและลด
กาลังคน มีหลักฐานการดาเนินงานท่ีถูกต้อง ตรวจสอบได้ สามารถจาแนกตามความเร่งด่วน และช้ัน
ความลบั นาไปส่กู ารปฏิบตั ไิ ด้อย่างรวดเรว็ ถูกตอ้ ง

กฎหมำย ระเบียบและเอกสำรท่เี กี่ยวขอ้ ง
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ .ศ.๒๕๒๖ และ

ทแ่ี ก้ไขเพ่มิ เติม

(๒) งำนกำรจัดทำหนงั สือรำชกำร

ข้ันตอนและแนวกำรปฏิบัติ
๑. ศึกษาระเบียบงานสารบรรณท่เี กี่ยวข้องกับชนิดของหนังสอื ราชการ
๒. ออกแบบหนังสือราชการให้หน่วยงานในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาใช้ให้เป็น
แนวเดียวกัน โดยนาเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) มาใชด้ าเนนิ งาน
๓. วิเคราะห์สภาพสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาในส่วนที่เก่ียวกับการพิมพ์และ
การสาเนาหนงั สอื
๔. ออกแบบระบบการพิมพ์และสาเนาหนังสือให้เหมาะสมกับสภาพของ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาโดยยึดหลักความถูกต้อง รวดเร็วและประหยัด ใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่อย่าง
เหมาะสมและคมุ้ คา่ โดยนาเครอื ขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (ICT) มาใช้ดาเนินงาน
๕. จัดบคุ ลากรรับผิดชอบดาเนินการพิมพ์และการสาเนาหนงั สือตามระบบท่ีกาหนด
๖. พิจารณาหาบุคคลภายนอกรับดาเนินการในบางงานตามความเหมาะสมใน
ลักษณะการจ้างทางานเพ่ือลดอัตรากาลังบุคลากร ประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านวัสดุ อุปกรณ์
และการซอ่ มบารงุ รกั ษาอปุ กรณ์



๗. ประเมินระบบงานพิมพ์และสาเนาหนังสือและปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะ ๆ
อยา่ งต่อเนื่องและสมา่ เสมอ

ผลสำเรจ็ ท่ีคำดหวัง
การพิมพ์และจัดทาสาเนา เป็นไปอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และประหยัดวัสดุ
อุปกรณ์ เครอ่ื งใช้ในสานกั งานได้รบั การดูแลรักษาพร้อมทีจ่ ะใช้งานอยเู่ สมอ

กฎหมำย ระเบยี บและเอกสำรทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพ่มิ เติม

(๓) งำนจดั เก็บหนังสือรำชกำร

ขัน้ ตอนและแนวกำรปฏบิ ัติ
๑. วเิ คราะหส์ ภาพงานและวิธกี ารจัดเก็บเอกสารของสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
๒. ออกแบบระบบการจัดเก็บเอกสารให้สอดคล้องกับระบบการรับ – ส่ง การ
ยมื และการทาลายหนังสือราชการ และเหมาะสมกับสภาพของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ตลอดจน
ครอบคลุมลักษณะการจัดเก็บหนังสือท่ีกาหนดในระเบียบงานสารบรรณ โดยนาระบบเครือข่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) มาใชด้ าเนนิ งาน
๓. จั ด ห าแ ล ะ พั ฒ น า Hardware แ ล ะ Software ให้ ส าม ารถ ร อ งรั บ
การปฏบิ ตั ิงานตามระบบการจดั เก็บหนงั สอื ราชการทอี่ อกแบบไว้ได้
๔. ดาเนินการจดั เกบ็ หนังสอื ตามระบบทีก่ าหนด
๕. ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานจัดเก็บหนังสือเป็นระยะ ๆ และปรบั ปรุงใหม้ ีประสิทธภิ าพ

ผลสำเรจ็ ที่คำดหวัง
๑. การจัดเก็บรักษาหนังสือเป็นไปตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงาน
สารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และแกไ้ ขเพ่มิ เติม
๒. การจัดเก็บหนังสือเป็นระบบท่ีทันสมัยและเป็นระเบียบเรียบร้อยสามารถ
คน้ หาเร่อื งภายในเวลาท่ีรวดเร็ว
กฎหมำย ระเบียบและเอกสำรที่เก่ียวขอ้ ง
ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเติม

(๔) งำนกำรให้ยมื หนงั สือรำชกำร

ขนั้ ตอนและแนวกำรปฏิบัติ
๑. ออกแบบระบบการให้ยืมหนังสือราชการให้สอดคล้องกับระบบการรับ–ส่ง
และการเก็บหนังสอื ราชการโดยใช้เครือข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
๒. กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้ยืมหนังสือราชการให้สอดคล้องกับระเบียบ
สานักนายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณ และระเบียบทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
๓. ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านเป็นระยะ ๆ
๔. นาผลการประเมินไปใชป้ รับปรงุ ระบบการยืมหนงั สือราชการ



ผลสำเร็จทคี่ ำดหวงั
มีระบบการให้ยืมหนังสือท่ีมีความสะดวกในการให้ยืม สามารถติดตามและเก็บ
รกั ษาหนังสอื ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตามระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณ

กฎหมำยและระเบยี บที่เก่ยี วขอ้ ง
ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยงานสารบรรณพ.ศ.๒๕๒๖และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ

(๕) งำนกำรทำลำยหนังสือรำชกำร

ขั้นตอนและแนวกำรปฏบิ ตั ิ
๑. ภายใน ๖๐ วัน หลังจากส้ินปีปฏิทิน ดาเนินการสารวจหนังสือที่หมดอายุการ
เกบ็ จากฐานข้อมลู การเก็บหนังสือในระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
๒. จัดทาบัญชีหนังสือขอทาลาย เสนอคณะกรรมการทาลายหนังสือของ
สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาพิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ
๓. สง่ บญั ชหี นังสอื ขอทาลายให้กองจดหมายเหตแุ ห่งชาติ หรือหน่วยงานที่ได้รับ
มอบหมาย พิจารณาให้ความเห็นชอบ เว้นแต่หนังสือประเภทที่ได้ขอทาความตกลงกับกองจดหมาย
เหตุแหง่ ชาตไิ ว้แลว้
๔. ดาเนินการทาลายหนงั สือด้วยวธิ กี ารท่ีถูกต้องและเหมาะสม

ผลสำเรจ็ ทคี่ ำดหวงั
มีการทาลายหนังสือที่หมดอายุการเก็บทุกปี การดาเนินงานเป็นไปตามระเบียบ
สานักนายกรัฐมนตรวี า่ ดว้ ยงานสารบรรณ

กฎหมำย ระเบยี บที่เก่ียวขอ้ ง
๑. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม
๒. หนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ท่ี นร ๑๐๐๒/ว.๓ ลงวันที่ ๑๙ มกราคม
๒๕๓๓ เรื่อง คาอธิบายประกอบระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖

๒.๑ งำนช่วยอำนวยกำร

๒.๑ งำนรบั –สง่ งำนในหนำ้ ทีร่ ำชกำร

ขัน้ ตอนและแนวกำรปฏบิ ตั ิ
๑. จัดเตรียมหลักเกณฑ์ วธิ ีการและแบบฟอร์มบัญชรี ับ-ส่งงานในหนา้ ทรี่ าชการ
๒. ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการสารวจและกรอกรายการบัญชีรับ-ส่งงานดาเนินการเป็น
กลมุ่ งานตามท่รี ับผดิ ชอบ
๓. เสนอใหผ้ ูส้ ง่ มอบและผู้รับมอบลงนาม
๔. เกบ็ เปน็ หลกั ฐานการรับ–ส่งงานในหน้าท่ีพร้อมทั้งมอบให้ผรู้ บั –ส่งงานเกบ็ ไวเ้ ป็นหลักฐานคนละ๑ชุด

ผลสำเรจ็ ทค่ี ำดหวัง
การรับ-ส่งงานเป็นไปด้วยความถูกต้อง เรียบร้อย ผู้รับและผู้ส่งงานสามารถทราบได้ว่ามีงาน
อะไรบา้ งที่ปฏิบตั เิ สร็จแล้ว อยรู่ ะหว่างการปฏบิ ัติ และยงั ไม่ได้ปฏิบัติ และมหี ลักฐานการรับ – ส่งงานทีถ่ กู ต้อง



กฎหมำย ระเบียบและเอกสำรท่เี ก่ียวข้อง
ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรวี า่ ดว้ ยการรับส่งงานในหน้าทรี่ าชการ พ.ศ. ๒๕๒๔

๒.๒ งำนมอบหมำยหนำ้ ท่ีกำรงำน

ขั้นตอนและแนวกำรปฏิบัติ
๑. วิเคราะห์ภาระหน้าที่การงานของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจากกฎหมายท่ี
เกี่ยวขอ้ งและจากท่ีได้รบั มอบหมายเพิม่ เติม
๒. ตรวจสอบตาแหนง่ มาตรฐานกาหนดตาแหน่งและความถนดั ของบคุ ลากรท่ีดารงตาแหน่งตา่ งๆ
๓. กาหนดภาระหน้าที่การงานของสานั กงานเขตพื้นท่ีการศึกษาให้บุคลากร
รบั ผดิ ชอบปฏบิ ตั ิ โดยคานงึ ถงึ ความรู้ ความสามารถและประสบการณข์ องบุคลากรตามความเหมาะสม
๔. จดั ทาคาสง่ั มอบหมายหนา้ ทีก่ ารงาน
๕. จดั ทาคู่มอื การปฏิบัติงาน (Work Instruction) ให้บุคลากรใช้ปฏิบตั ิงาน
๖. จัดทามาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องงานพร้อมดว้ ยตัวชี้วัดของงาน
๗. จัดทาขอ้ ตกลงการปฏบิ ัติงาน (Performance Agreement)
๘. กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของบุคลากร

ผลสำเรจ็ ทค่ี ำดหวงั
๑. งานของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาดาเนินไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุ
วตั ถปุ ระสงค์อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
๒. บุคลากรมีความพึงพอใจในการปฏบิ ัตงิ านที่รบั มอบหมาย

กฎหมำย ระเบียบและเอกสำรท่เี กยี่ วข้อง
๑. พระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
๒. พระราชบัญญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาพ.ศ. ๒๕๔๖
๓. พระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔และทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเตมิ

๒.๓ งำนเลขำนกุ ำรผู้บรหิ ำรสำนักงำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำ

ข้นั ตอนและแนวกำรปฏิบัติ
๑. นาโปรแกรมปฏิบัติการด้านเอกสารมาใช้ในการออกแบบควบคุมกาหนดการ
ป ฏิ บั ติ งา น ก า ห น ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม แ ล ะ ก า ห น ด นั ด ห ม า ย ข อ งผู้ บ ริ ห า ร ส า นั ก ง า น
เขตพื้นท่ีการศึกษา ให้สามารถตรวจสอบ และรายงานกาหนดการต่างๆ ของผู้บริหารสานักงานเขต
พืน้ ทก่ี ารศึกษาได้อย่างรวดเร็ว ประหยดั เวลาและกาลงั งาน
๒. ประสานงานกับผเู้ กี่ยวข้องดาเนินการดังนี้

๒.๑ การเตรียมเอกสารท่เี กี่ยวกบั การปฏิบตั งิ านทนี่ ัดหมาย
๒.๒ การจัดเจา้ หนา้ ที่ไปร่วมปฏิบัติงานตามที่นัดหมาย
๒.๓ การเบิกเงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการไปปฏิบัตงิ านตามทนี่ ัดหมาย
๒.๔ การเตรียมยานพาหนะ บัตรโดยสารยานพาหนะในการเดินทางไป
ปฏบิ ตั งิ านตามทน่ี ดั หมาย

๑๐

๒.๕ อน่ื ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง
๓. ตรวจสอบ กลั่นกรอง จัดลาดับงานเพ่ือนาเสนอผู้บริหารสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาพจิ ารณา
๔. ติดต่อประสานการปฏิบัติงาน และนัดหมาย กับหน่วยงานหรือบุคคลที่เก่ียวข้อง
ท้ังภายในและภายนอกสานักงาน ตามท่ผี ู้บริหารสานักงานงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามอบหมาย

ผลสำเร็จทคี่ ำดหวัง
การปฏิบัติงานของผบู้ รหิ ารสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาเปน็ ไปตามกาหนดที่นัดหมาย

๒.๔ กำรประชมุ ภำยในสำนักงำน

ขน้ั ตอนและแนวกำรปฏบิ ัติ
๑. วิเคราะห์ภารกิจของสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา กาหนดแผนการประชุม แจ้งให้
หน่วยงานภายในสานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาและสถานศึกษาทราบ
๒. ประสานงานกับหน่วยงานภายในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา รวบรวม
เร่ืองท่ีจะนาเสนอทปี่ ระชมุ เพือ่ จัดทาเอกสารการประชุม
๓. ดาเนนิ การแจ้งผู้เกีย่ วข้องเขา้ ประชุม
๔. ประสานงานการจั ดสถานที่ ประชุ ม การเตรี ยมสื่ อ อุ ปกรณ์ ส าหรั บใช้ ใน
การประชมุ การเตรยี มเครื่องดื่มอาหารว่างสาหรบั รบั รองผูม้ าประชุมและการเตรียมการอืน่ ๆทเี่ กย่ี วขอ้ ง
๕. บันทึกการประชุม และจัดทารายงานการประชุมแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลการประชมุ และดาเนนิ การตามมตทิ ่ปี ระชุม
๖. ประสานงาน ติดตามรวบรวมผลการปฏิบัติงานตามมติที่ประชุมเสนอ
ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาและผู้เก่ียวข้องทราบ
๗. ประเมินผลการดาเนินงานจดั ประชุม สรุปผล นาไปใช้ปรับปรุงการจัดประชุมให้มี
ประสิทธภิ าพ

ผลสำเรจ็ ทีค่ ำดหวงั
สามารถดาเนินการประชุมตามปฏิทินการประชุม การประชุมดาเนินไปด้วย
ความเรยี บรอ้ ย และมติของทป่ี ระชุมนาไปสกู่ ารปฏิบตั ทิ ่บี งั เกดิ ผล

กฎหมำย ระเบียบและเอกสำรท่ีเกยี่ วขอ้ ง
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเตมิ

๓. งำนอำคำรสถำนทแ่ี ละสิง่ แวดล้อม

ขัน้ ตอนและแนวกำรปฏิบัติ
๑. ศึกษาวิเคราะห์สภาพทง้ั ภายในและภายนอกสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
๒. พิ จ ารณ าก าห น ด รูป แ บ บ แ ล ะ ราย ก ารก ารก่ อ ส ร้าง ป รับ ป รุง ห รือ ก ารจั ด
สภาพแวดล้อมของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคลากร
ในสงั กัดและหลักความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ นิ ของบคุ ลากรและของทางราชการ

๑๑

๓. ดาเนินการจัดหางบประมาณจากทางราชการหรือเงินนอกงบประมาณราชการมาใช้ในการ
กอ่ สรา้ ง ปรบั ปรุงตามความเหมาะสม

๔. ดาเนนิ การก่อสรา้ ง ปรบั ปรุง หรอื จดั สภาพแวดล้อมตามรปู แบบท่ีกาหนด
๕. จัดบุคลากรรับผิดชอบการบารุงรักษา การรักษาความสะอาด และการรักษา
ความปลอดภยั หรือพจิ ารณาจ้างภาคเอกชนมาดาเนินการแทน
๖. จัดใหม้ ีการบันทึกการปฏิบัตงิ านของบุคลากรหรือเอกชนที่รับผิดชอบดาเนินงานตามความ
เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ระเบยี บราชการ
๗. กาหนดหลกั เกณฑ์และวิธีการใช้อาคารสถานท่ี จัดทาแบบพมิ พ์สาหรับใช้ในการปฏิบัติงาน
และประชาสัมพันธห์ ลกั เกณฑ์และวิธกี ารให้ผเู้ กี่ยวข้องทราบและถือปฏบิ ัติ
๘. ตดิ ตาม ประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งตอ่ เน่ืองและสมา่ เสมอ

ผลสำเรจ็ ท่ีคำดหวงั
๑. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มีภูมิทัศน์ สภาพแวดล้อมที่ร่มร่ืน สะอาด สวยงาม มี
บรรยากาศทีเ่ อื้อต่อการปฏบิ ตั งิ าน อาคารสถานไดร้ บั การบารุงรักษาอย่างต่อเนอื่ ง
๒. การใชอ้ าคารสถานท่เี ป็นไปอยา่ งเหมาะสมและคุ้มค่า
๓. มกี ารดูแลรกั ษาความปลอดภยั ด้านอาคารสถานที่อย่างมปี ระสิทธิภาพ

กฎหมำย ระเบียบและเอกสำรท่ีเก่ียวข้อง
๑. ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ
๒. ระเบียบวา่ ดว้ ยการรกั ษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗

๔. งำนยำนพำหนะ

ขั้นตอนและแนวกำรปฏิบตั ิ
๑. วิเคราะห์ ภารกิจและแผนปฏิบัติการของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จาแนกภารกิจ
ทมี่ ีความจาเปน็ ตอ้ งใช้พาหนะนาไปจดั หมวดหมู่
๒. ร่วมกับหนว่ ยงานในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาวางแผนการใชย้ านพาหนะส่วนกลางเป็น
รายเดือน
๓. กาหนดหลักเกณฑ์วิธีการขออนุญาตใช้พาหนะ การขออนุมัติเบิกจ่ายน้ามันเชื้อเพลิง การ
ตรวจสภาพ การซอ่ มบารงุ รักษาและการรายงานให้ผูเ้ กย่ี วขอ้ งถือปฏบิ ตั ิ
๔. ศกึ ษาสภาพทวั่ ไป และกาหนดสถานทเ่ี ก็บรักษาพาหนะใหเ้ กิดความปลอดภยั
๕. ขออนุญาตนาพาหนะไปเก็บรักษานอกสานักงานเข ตพื้นที่การศึกษา ในกรณี ท่ี
ไมส่ ามารถเกบ็ ไวใ้ นบริเวณสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาพ้ืนที่การศึกษาได้ หรือเกบ็ ไดแ้ ต่ไมม่ ีความปลอดภยั
๖. ประเมินแผนการใช้รถยนต์ส่วนกลาง หลักเกณฑ์วิธีการขออนุญาตใช้พาหนะการขออนุมัติ
เบิกจ่ายน้ามันเชื้อเพลิง การตรวจสภาพ การซ่อมบารุงรักษา การเก็บรักษา และการรายงานการใช้พาหนะนา
ผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรงุ ใหเ้ หมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพ อย่างตอ่ เนื่องและสมา่ เสมอ

๑๒

ผลสำเร็จทีค่ ำดหวงั
ยานพาหนะของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีสภาพดีพร้อมสาหรับการใช้งาน สามารถ
ให้บริการแก่หน่วยงานในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาได้ตรงตามแผนที่กาหนดไว้ มีการใช้
ยานพาหนะเปน็ ไปอย่างประหยัดและคุม้ ค่า

กฎหมำย ระเบียบและเอกสำรท่เี กย่ี วข้อง
๑. ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรี ว่าดว้ ยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ และท่แี กไ้ ขเพ่มิ เติม
๒. ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่แี กไ้ ขเพิ่มเตมิ

๕. งำนกำรจัดระบบบริหำรและพฒั นำองคก์ ร

๕.๑ งำนจดั ระบบบริหำร

ข้ันตอนและแนวกำรปฏิบตั ิ
๑. วิเคราะห์ วิจัย ตรวจสอบการดาเนินงานตามภารกิจหน้าท่ีความรับผิดชอบ
ปริมาณงาน คณุ ภาพงาน และ สภาพสานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา
๒. พิจารณาออกแบบจัดระบบการทางาน โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
ภายในและการบริหารงานสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
๓. นาเสนอคณ ะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษาพิจารณ าให้ความเห็นชอบ
การแบ่งส่วนราชการเป็นกลุ่มงานภายในกลมุ่ ภารกิจของสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา
๔. ประกาศการแบ่งส่วนราชการให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด ตลอดจน
ประชาชนทั่วไปทราบ
๕. ดาเนนิ การบรหิ ารจัดการให้เปน็ ไปตามโครงสร้างการแบง่ ส่วนราชการท่ีกาหนด

ผลสำเรจ็ ท่ีคำดหวงั
๑. การปฏิบัติราชการของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเป็นไปด้วยความสะดวก
รวดเรว็ ราบรื่น บรรลผุ ลสาเร็จตามเปา้ หมายและวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
๒. ผู้มาติดต่อราชการและใช้บริการของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาได้รับ
ความสะดวกและพึงพอใจ

กฎหมำย ระเบยี บและเอกสำรทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
๑. พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ.๒๕๔๖
๒. กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงาน
เขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๖

๕.๒ กำรพฒั นำคณุ ภำพกำรใหบ้ ริกำร

ขัน้ ตอนและแนวกำรปฏบิ ตั ิ

๑. วิเคราะห์ภารกจิ กาหนดกล่มุ ผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี เพ่ือให้ตอบสนอง
ความตอ้ งการของผรู้ ับบริการและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ทีครอบคลุมทกุ กล่มุ

๑๓

๒. มีช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความตอ้ งการของผรู้ ับบริการและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
เพ่ือนามาใช้ในการปรับปรุงและเสนอรูปแบบการบริการต่าง ๆ โดยแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของ
ช่องทางการสอ่ื สารดงั กลา่ ว

๓. พัฒนาระบบการรวบรวมและจัดการข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น/คา
ชมเชย โดยมีการกาหนดผู้รบั ผิดชอบ วิเคราะห์เพื่อกาหนดวิธีการและปรบั ปรุงคุณภาพการให้บริการ
เพ่อื ตอบสนองต่อความตอ้ งการของผู้รบั บรกิ ารและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียอยา่ งเหมาะสมและทนั ทว่ งที

๔. สร้างเครือข่าย และจดั กิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพนั ธ์กบั ผรู้ บั บริการและผู้มสี ่วนได้
ส่วนเสีย

๕. ดาเนินการในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมในการบริหารราชการผ่าน
กระบวนการหรอื กิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ ป็นการสง่ เสริมระดับการมสี ่วนรว่ มของประชาชน

๖. วัดความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจของผู้รับบรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่
ละกลุ่มตามทไี่ ด้กาหนดไว้ เพอ่ื นาผลไปปรบั ปรงุ การใหบ้ ริการและการดาเนินงานของสว่ นราชการ

๗. กาหนดมาตรฐาน แนวทาง การใหบ้ ริการ ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการในแต่
ละงานโดยมีการจัดทาแผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการโดยประกาศให้ผู้รับบริการและผู้มีส่ วนได้
ส่วนเสยี ทราบ เพอ่ื ใหเ้ กิดความพงึ พอใจในการรับบริการ

๘. สรุปผลการดาเนนิ งาน/วิจัย/รายงานผลการดาเนินงาน
๙. ศึกษา/สังเคราะห์ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ เพ่ือเป็นข้อมูลปรับปรุง/พัฒนา
คณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร

ผลสำเร็จทค่ี ำดหวัง
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มีมาตรฐาน แนวทาง ในการให้บริการ อย่าง
เหมาะสม เปิดโอการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ ทาให้เกิดความพึงพอใจต่อ
ผ้รู ับบริการ

กฎหมำยระเบยี บและเอกสำรที่เก่ียวขอ้ ง
๑. พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖
๒. ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ือง การแบ่งสว่ นราชการภายในสานักงานเขต
พ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓
๓. หลกั เกณฑ์และวิธกี ารพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั

๕.๓ งำนมำตรฐำนสำนักงำนเขตพ้นื ที่กำรศกึ ษำ

ขัน้ ตอนและแนวกำรปฏิบตั ิ
๑. ศึกษาวิเคราะห์ แนวทางการบริหารจัดการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มาตรฐาน
ตัวบ่งช้ี กรอบการติดตาม หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล รวมถึงภารกิจอานาจหน้าท่ีของกลุ่มใน
สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา
๒. สร้างทีมงาน มอบหมายคณะทางานรับผิดชอบบริหารจัดการ ดาเนินงานตาม
มาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามภารกิจของแต่ละกลุ่มที่เก่ียวข้องกับมาตรฐานสานักงาน
เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา

๑๔

๓. ส่ือสาร เพื่อให้คณะทางาน ผู้รับผิดชอบ บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ และ
ความสาคญั ของมาตรฐานสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา

๔. คณะทางาน กาหนดเป้าหมายและผลผลิตที่คาดหวังสอดคล้องกับบริบท
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา นโยบายเปา้ หมายสานกั งานคณะกรรมการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

๕. คณะทางานผู้รบั ผดิ ชอบ ขบั เคลือ่ น รายงานผลตามปฏทิ ินปฏิบัตงิ านกาหนด
๖. ประเมินตนเองและจัดทารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment
Report : SAR) และผลผลิตทีป่ ระสบผลสาเรจ็ ของสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา
๗. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย นาผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report :
SAR) ตามมาตรฐานสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเป็นข้อมูลย้อนกลับ (Feed back) เป็นข้อ (Based
Line Data) สาหรับการปรับปรุง/พัฒนาการบริหารจัดการมาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และแผนการพัฒนาสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา

ผลสำเรจ็ ทค่ี ำดหวัง
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา มงี านวจิ ยั และสามารถนาผลการประเมนิ ตนเอง (Self
Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นข้อมูลย้อนกลับ (Feed
back) และนามาใช้ในการปรับปรุง/พัฒนาการบริหารจัดการสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

กฎหมำยระเบยี บและเอกสำรท่เี กี่ยวข้อง
๑. พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖
๒. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขต
พ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓
๓. หลกั เกณฑ์และวิธีการพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั
๔. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒

พ.ศ.๒๕๔๕)
๕. มาตรฐานสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา

๕.๔ งำนคำรบั รองปฏิบัตริ ำชกำรสำนกั งำนเขตพ้ืนทกี่ ำรศกึ ษำ

ขั้นตอนและแนวกำรปฏิบตั ิ
๑. เจ้าภาพหลกั และเจ้าภาพรอง ศึกษา วเิ คราะห์ แนวทางการปฏิบตั ิงาน เกณฑก์ าร
ใหค้ ะแนนและคา่ เปา้ หมายการใหบ้ ริการสาธารณะ (PSA)
๒. เจา้ ภาพหลักและเจา้ ภาพรอง สร้างทีมงาน มอบหมายคณะทางาน ผู้กากับดูแล
ตวั ชี้วัดและผู้รบั ผดิ ชอบตัวช้ีวดั
๓. เจ้าภาพหลกั และเจ้าภาพรอง จดั เก็บข้อมูลพืน้ ฐาน, ข้อมูลปฐี าน (based lines)
เพอ่ื ใหผ้ ูร้ บั ผดิ ชอบกาหนดแนวทางการบรรลเุ ปา้ หมายสาหรบั ตัวชีว้ ดั ที่รับผดิ ชอบ
๔. เจา้ ภาพหลัก และเจ้าภาพรอง ดาเนนิ การสื่อสารเพ่ือใหค้ ณะทางาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ
มีความรู้ ความเข้าใจ และความสาคญั ของคารับรองการปฏบิ ัติราชการท่สี ่งผลตอ่ การปฏิบตั ริ าชการ
ของบุคลากรทุกคนและสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา รวมถึงแนวทางการจัดทาคารบั รองการปฏบิ ัติ
ราชการประจาปีงบประมาณ การจัดทารายละเอียดตัวชี้วดั (KPI’s Template)

๑๕

๕. เจ้าภาพหลกั และเจ้าภาพรอง ขับเคลือ่ น รายงานผลตามปฏิทนิ งานกาหนด
๖. ผู้อานวยการสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาจดั ทาขอ้ ตกลงการปฏิบตั ิงานกับ
บุคลากรในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพนื้ ฐาน
๗. เจ้าภาพหลกั และเจ้าภาพรอง ประเมินผลและรายงานผลรอบ ๖ เดือน ๙ เดือน
และ ๑๒ เดอื น ตามที่ สพฐ.กาหนด
๘. ตรวจสอบผลการรบั รอง/จดั ส่งข้อมูลเพมิ่ เติม
๙. สรุป รายงานผล

ผลสำเร็จที่คำดหวงั
สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา ใช้คารบั รองการปฏิบัติราชการเปน็ แนวทางการ
ปฏบิ ัติงานเพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามคารบั รองการปฏบิ ัติราชการ

๕.๕ กำรควบคุมภำยใน
ข้นั ตอนและแนวทำงปฏบิ ตั ิ
๑. หน่วยงานภายในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาการ

ดาเนินงานตามภารกจิ
๒. วเิ คราะหค์ วามเสย่ี งของการดาเนินงาน กาหนดปจั จัยเส่ยี ง และจดั ลาดบั ความเส่ียง
๓. กาหนดมาตรการในการป้องกันความเส่ียงและระบบการควบคุมภายในของทุก

หนว่ ยงานในสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
๔. ให้บุคลากรท่ีเก่ียวข้องทุกระดับ นามาตรการป้องกันความเส่ียงไปใช้ในการ

ควบคมุ การดาเนนิ งานตามภารกิจ
๕. ประเมินผลการดาเนินการควบคุมภายในตามมาตรการท่ีกาหนด และ

ปรับปรุงใหเ้ หมาะสมเปน็ ระยะๆ

ผลสำเรจ็ ทีค่ ำดหวัง
การดาเนินงานตามภารกิจของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นไปอย่างถูกต้อง
โปรง่ ใส และมีประสิทธภิ าพ

กฎหมำยระเบียบและเอกสำรท่ีเกย่ี วข้อง
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุม
ภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔

๕.๖ งำนพฒั นำคุณภำพกำรบรหิ ำรจัดกำรภำครัฐ

ขัน้ ตอนและแนวกำรปฏบิ ัติ
๑. จดั ประชมุ ชีแ้ จง สร้างความตระหนกั และให้ความรู้ในเรอื่ งการพัฒนาองค์การและ
การพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ แก่บุคลากรทุกคนในองค์การ เนื่องจากปัจจัยความสาเร็จ
อย่างหน่ึงในการดาเนินการท่ีสาคัญ คือการมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กรเพื่อท่ีจะได้ตระหนักและ
เลง็ เห็นถึงความสาคัญประโยชน์ทจ่ี ะไดร้ ับจากการดาเนินการดงั กล่าว

๑๖

๒. คณะทางานดาเนินการพฒั นาองคก์ ารและพฒั นาคุณภาพการบริหาจัดการภาครฐั
และจดั ทาแผนดาเนนิ การ เพ่ือให้มผี ู้รับผดิ ชอบในแตล่ ะกิจกรรมของการดาเนินการ คณะทางานควร
ประกอบดว้ ย ๒ คณะ คอื

- คณะกรรมการติดตามและกากบั ดูแลการดาเนนิ การพฒั นาคุณภาพการบรหิ าร
จดั การภาครัฐ (Steering Committee)

หนา้ ท่ี : ให้นโยบาย กรอบทิศทางในการดาเนินการ รวมท้ังเป็นผู้ผลกั ดัน
และใหก้ ารสนบั สนนุ ในทุกเรอื่ งเพอ่ื ใหก้ ารดาเนินการเปน็ ไปตามแผนที่กาหนด

องคป์ ระกอบ : ประกอบไปด้วยผบู้ ริหารในระดบั ตา่ ง ๆ ของส่วนราชการ
คือหัวหน้าส่วนราชการ รองหัวหน้าส่วนราชการ และหัวหน้าหน่วยงานที่รายงานโดยตรงต่อหัวหน้า
สว่ นราชการ

- คณะกรรมการพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั (Working Team)
หนา้ ที่ : ดาเนนิ การพฒั นาคุณภาพบรหิ ารจดั การของสว่ นราชการตาม

แนวทางและทิศทางท่ีได้รับจาก คณะกรรมการติดตามและกากับดูแลการดาเนินการพัฒนาคุณภาพ
บริหารจัดการภาครัฐ (Steering Committee) โดยจัดทาลักษณะสาคัญขององค์การพร้อมกับ
ประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และจัดทารายงานผลการ
ดาเนินการเบือ้ งตน้ ของสว่ นราชการ

องคป์ ระกอบ : ประกอบดว้ ยรองหวั หนา้ ส่วนราชการทีท่ าหน้าที่รอง
ประธานของคณะกรรมการตดิ ตามและกากบั ดูแลการดาเนินการพฒั นาคุณภาพบรหิ ารจัดการภาครัฐ
(Steering Committee) ทาหน้าท่ีประธานในคณะกรรมการพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั (
Working Team)

- เจา้ หนา้ ทท่ี ีท่ าหน้าทีเ่ ป็นเจ้าภาพในแต่ละหมวด (Category Champion)
ครอบคลุมทง้ั 6 หมวด ต้องเป็นผู้ท่ีมีความรอบร้เู ปน็ อยา่ งดใี นงานทเี่ กี่ยวข้องในแต่ละหมวดทีต่ นเอง
รับผดิ ชอบ

- ทีมงานในแต่ละหมวดทงั้ ๖ หมวด ดาเนินการรว่ มกนั ในหมวดท่ี ๗
๓. สรา้ งความเข้าใจกับคณะทางานเพ่อื เตรยี มความพร้อมในการจดั ทาลักษณะ
สาคัญขององค์กรและประเมินองค์การด้วยตนเอง 7 หมวด เพื่อให้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการ
บริหารจัดการภาครัฐ ( Working Team) มีความรู้ ความเข้าใจเชิงลึกเก่ียวกับเกณฑ์คุณภาพการ
บริหารจัดการภาครฐั และเทคนคิ ในการประเมินองค์การเปน็ อยา่ งดี
๔. จัดทาลกั ษณะสาคญั ขององคก์ ารตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพบรหิ ารจัดการ
ภาครัฐคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team) ต้องร่วมกันจัดทา
ลักษณะสาคัญขององค์การเพื่อให้เข้าใจและเห็นภาพรวมขององค์การตรงกัน เห็นทิศทางท่ีส่วน
ราชการจะพฒั นา
ลักษณะสาคญั ขององคก์ ารแบ่งเป็น 2 หวั ข้อ ไดแ้ ก่

๑. ลักษณะองค์การ ศกึ ษาขอ้ มลู พ้นื ฐานของสว่ นราชการและความสัมพันธ์
กับผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความสัมพันธ์กับส่วนราชการอื่นท่ีเกี่ยวข้องในการปฏิบัติราชการ
และประชาชนโดยรวม

๑๗

๒. ความท้าทายตอ่ องคก์ าร ศกึ ษาข้อมลู ความทา้ ทายในเชิงยุทธศาสตร์ที
สว่ นราชการเผชิญอยู่ในปัจจบุ นั

๔. จัดทารายงานผลการดาเนนิ การเบ้อื งตน้ ตามเกณฑ์คณุ ภาพการบรหิ ารจัดภาครฐั
รวม ๗ หมวด เมื่อจัดทาลักษณะสาคัญขององค์กรเสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว เพือ่ ใหเ้ หน็ ภาพรวมขององคก์ ร
ตรงกนั จงึ ประเมนิ องค์การด้วยตนเองตามเกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ รวม ๗ หมวด
โดยการเขียนรายงานเพื่อให้เห็นถึงผลการดาเนินการบริหารจัดการของส่วนราชการที่เป็นอยู่ใน
ปจั จุบนั มากที่สดุ

ผลสำเร็จท่คี ำดหวัง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีผลการประเมินผลการดาเนินการ ของส่วนราชการใน
มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพ และมิติด้านการพัฒนา
องค์การ การจัดการกระบวนการ การใหบ้ รกิ าร และกระบวนการอนื่ ที่ช่วยสร้างคุณค่าแกผ่ รู้ ับบรกิ าร
และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย และกระบวนการสนับสนุน บรรลพุ นั ธกจิ ขององค์การ

กฎหมำยระเบยี บและเอกสำรท่เี ก่ียวขอ้ ง
๑. คู่มอื แนวทางดาเนินการ ตวั ชี้วดั ระดับความสาเร็จของการดาเนนิ งานการการ
พัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั
๒. หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
๓. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารบรหิ ารกิจการบา้ นเมอื งท่ดี ี
พ.ศ. ๒๕๔๖
๔. แนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการตามคารบั รองการปฏิบัตริ าชการ

๖. ประสำนกำรดำเนนิ งำนระหว่ำงหน่วยงำนภำยในและภำยนอกเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำ

ข้นั ตอนและแนวกำรปฏบิ ตั ิ
๑. ศึกษาสารวจและกาหนดภารกิจท้ังภารกิจหลักและภารกิจที่ได้รับมอบหมายท่ีจะต้อง
ประสานงานกบั หนว่ ยงานต่าง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา
๒. จัดทาทะเบียนข้อมูลสารสนเทศท้ังด้านตัวบุคคล คณะบุคคล หน่วยงานและ
องค์กรต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องและประสานการดาเนินงานร่วมกัน โด ยแยกออกเป็นภายในและ
ภายนอกเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
๓. ก าหนดรูปแบ บ ภ ารกิ จ ขั้ นตอน วิ ธี การ ตลอดจนเท คนิ คต่ าง ๆ ในการ
ประสานงานใหส้ อดคล้องและเหมาะสมกับเรื่องท่ีจะประสานงานกับหน่วยงานท้ังภายในและภายนอก
๔. จัดเตรียมเอกสารส่ือเคร่ืองมือช่องท างการประสานงานให้มีความพ ร้อม
เออ้ื ประโยชน์และสะดวกต่อการประสานงาน
๕. สร้างเครือข่ายการประสานงานระหว่างหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
๖. กาหนดบุคลากรผ้รู ับผิดชอบการประสานงาน ตามภารกจิ อยา่ งชัดเจนและเหมาะสม

๑๘

๗. กาหนดวิธีการตรวจสอบ ติดตาม การประสานงานกับเครือข่ายการประสานงาน
ที่กาหนดโดยใช้รปู แบบทห่ี ลากหลาย

๘. ประเมินเครือข่ายและรูปแบบการประสานงาน และนาผลการประเมินไปใช้ในการ
ป รับ ป รุงรูป แบ บ และพั ฒ น าบุ คลากรให้ มีความ พ ร้อมใน การป ระสาน งาน กับ บุ คค ล
องคค์ ณะบุคคล องค์กรและหนว่ ยงานอื่นเปน็ ระยะๆ

ผลสำเร็จท่คี ำดหวงั
การประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกเขตพ้ืนที่การศึกษา ท้ังในการ
ดาเนินงานและการจัดกิจกรรมมีความราบรื่น สร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงานร่วมกัน
งานบรรลเุ ป้าหมาย ทกุ ฝ่ายพงึ พอใจและใหค้ วามรว่ มมอื

กฎหมำยระเบียบและเอกสำรท่เี กย่ี วขอ้ ง
-

๗. งำนกำรประสำนงำนเก่ียวกบั กำรสรรหำกรรมกำรและอนุกรรมกำรในระดบั ต่ำง ๆ

๗.๑ งานเลือกต้ังคณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมินผล และนิเทศการศึกษา
(ก.ต.ป.น.) เขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑

ขน้ั ตอนและแนวกำรปฏิบตั ิ
๑. ศกึ ษากฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง และหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และปฏิทนิ ปฏบิ ตั งิ าน อย่างชัดเจน
๒. ดาเนินงานทุกขั้นตอนในการเลือกตั้งและสรรหา ของแต่ละองค์คณะตามท่ีกาหนดไว้
ในกฎหมาย และหลักเกณฑ์ วิธีการดาเนินงาน จนแล้วเสร็จอย่างถกู ตอ้ ง
๓. สรุป รายงานผล เพอ่ื จัดทาประกาศใหท้ ราบโดยทัว่ กนั

ผลสำเร็จทค่ี ำดหวงั

การดาเนินการสรรหาคณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมินผล และนิเทศการศึกษา
(ก.ต.ป.น.) เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ เป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม ได้
คณะกรรมการทส่ี อดคล้องกบั เจตนารมณข์ องกฎหมาย มีคณุ ภาพและมีประสิทธิภาพสูง

กฎหมำยระเบียบและเอกสำรทเ่ี ก่ียวข้อง

กฎกระทรวงกาหนดจานวน หลักเกณฑ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาของเขตพ้นื ที่การศึกษาพ.ศ. ๒๕๔๘

๑๙

๘. งำนประชำสัมพันธ์ งานการสรา้ ง การสรา้ งเครอื ข่าย
เครอื ขา่ ยการ ภายนอกองคก์ ร
กล่มุ งำน ประชาสมั พนั ธ์
ประชำสมั พนั ธ์ การสรา้ งเครอื ข่าย
ภายในองคก์ ร

งานเผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสารของ
หน่วยงานต่อสาธารณชน

งานบรกิ ารดา้ นขอ้ มลู
ขา่ วสาร

๘.๑ งำนกำรสร้ำงเครอื ขำ่ ยกำรประชำสมั พนั ธ์

๘.๑.๑ กำรสรำ้ งเครอื ข่ำยภำยนอกองค์กร
ขน้ั ตอนและแนวกำรปฏบิ ตั ิ
๑. สารวจข้อมูลเครือข่ายประชาสัมพันธ์ภายนอกเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ท้ัง

สอื่ มวลชน สื่อพ้นื บ้าน กลุ่มบุคคล วิทยชุ มุ ชน วิทยุกระจายเสยี ง วิทยุโทรทัศน์ เคเบิล้ ทีวี หนงั สือพมิ พ์
วารสาร นติ ยสารและผผู้ ลติ สอ่ื อนื่ ๆ

๒. จัดทาทะเบียนเครือข่ายประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ให้นักประชาสัมพันธ์และ
สถานศกึ ษาใชป้ ระโยชนใ์ นการตดิ ต่อสอ่ื สารและสง่ ข่าวสารประชาสัมพนั ธ์

๓. กาหนดรูปแบบการติดต่อประสานงานการสง่ ขอ้ มลู ขา่ วสารเพือ่ การประชาสัมพนั ธ์
๔. กาหนดบคุ ลากรรับผิดชอบ การประสานงาน เครอื ขา่ ยประชาสัมพันธ์
๕. สร้างกิจกรรมเสริมการประชาสัมพันธ์ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของ
เครือขา่ ยประชาสมั พนั ธ์
๖. ตรวจสอบประเมินผลการประสานงานเครือข่ายประชาสัมพันธ์และปรับปรุง
รูปแบบการติดต่อประสานงานเป็นระยะ ๆ

๘.๑.๒ กำรสรำ้ งเครอื ข่ำยภำยในองคก์ ร

ขน้ั ตอนและแนวกำรปฏบิ ตั ิ
๑. จัดให้มีเครือข่าย การประสานงานประชาสัมพันธ์ภายในสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาให้เช่อื มโยงกับสถานศึกษา

๒๐

๒. จัดทาทะเบียนบุคลากรผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ภายในสานักงาน
เข ต พ้ื น ท่ี ก ารศึ ก ษ าแ ล ะส ถ าน ศึ ก ษ าน าไป ใช้ ป ระส าน ก ารเก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล แ ล ะ ผ ล งาน เพ่ื อ
การประชาสัมพนั ธ์

๓. พัฒนาบุคลากรผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ของกลุ่มงานในสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาให้มีความรู้ความสามารถดาเนินการประชาสัมพันธ์ผลงานของ
สถานศึกษา

๔. สร้างกิจกรรมเสริมการประชาสัมพันธ์ โดยยึดหลักการมี ส่วนร่วมของ
เครอื ขา่ ยประชาสมั พนั ธ์

๕. จดั ต้ังศนู ย์ Hotline สาหรบั การตดิ ต่อสื่อสารระหว่างเครือขา่ ยประชาสมั พันธแ์ ละ
บคุ คลทว่ั ไป

๖. ตรวจสอบ ประเมินผล การประสานงานเครือข่ายประชาสัมพันธ์ และปรับปรุง
รปู แบบการประสานงานเปน็ ระยะ ๆ

๘.๒ งำนเผยแพรข่ ้อมูลขำ่ วสำรของหนว่ ยงำนต่อสำธำรณชน

ขัน้ ตอนและแนวกำรปฏิบตั ิ
๑. ประสานงานกับเครือข่ายประชาสัมพันธ์ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและผลงานเพ่ือ
การประชาสัมพันธ์ วางแผนการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและผลงานของสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาและสถานศึกษา ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ท้ังนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและ
ประชาชน วิเคราะห์สรุปประเด็นข้อมูลข่าวสาร ผลงานและเหตุการณ์ต่างๆ เพ่ือดาเนินการ
ประชาสัมพันธ์เชิงรกุ และเชิงรับ
๒. ผลติ ข้อมูล ข่าวสาร บทความ และรายการวิทยโุ ทรทัศน์ ตามความเหมาะสม
๓. ดาเนินการประชาสมั พนั ธ์โดยผา่ นสอื่ ต่าง ๆ และเครอื ข่ายประชาสมั พันธ์ทีเ่ หมาะสม
๔. ติดตามประเมินผลการประชาสัมพันธ์เพื่อทราบถึงผลที่ได้รับ นาไปใช้เป็นข้อมูล
ดาเนนิ การปรบั ปรุง พฒั นาและวางแผนประชาสัมพันธต์ ่อไป

๘.๓ งำนบรกิ ำรข้อมลู ข่ำวสำร

ข้ันตอนและแนวกำรปฏิบตั ิ
๑. จัดระบบข้อมูลข่าวสารของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาให้เชื่อมโยง เพื่อให้บริการต่อ
สาธารณชนกับสถานศึกษาและสว่ นกลาง
๒. จัดระบบให้บริการข้อมูลข่าวสารและผลงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
สถานศึกษา ในรูปแบบของเอกสาร ข่าวสาร สื่อ Web Page และจดหมายอีเลกโทรนิก รวมทั้ง
ให้บริการข้อมลู ขา่ วสารตามพระราชบญั ญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๓. จัดต้งั ศูนยบ์ ริการขอ้ มูลขา่ วสาร การประชาสมั พันธ์
๔. ให้บรกิ าร ขอ้ มลู ขา่ วสาร เพื่อการประชาสัมพนั ธต์ อ่ สาธารณชน
๕. ตรวจสอบประเมินผลระบบข้อมูลข่าวสารและการให้บริการข้อมูลข่าวสาร นาผล
การตรวจสอบและประเมินไปใช้ในการปรับปรงุ อยา่ งต่อเนือ่ งและสมา่ เสมอ

๒๑

ผลสำเรจ็ ท่ีคำดหวัง
การประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารและผลงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ
สถานศึกษาดาเนนิ ไปอย่างต่อเน่ืองดว้ ยรูปแบบท่ีหลากหลายและท่ัวถงึ กลุม่ เป้าหมายท่ีเก่ยี วข้อง

กฎหมำย ระเบยี บและเอกสำรทเ่ี ก่ียวข้อง
๑. พระราชบัญญัติขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๒. ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบรกิ ารข่าวสารของทางราชการ
พ.ศ.๒๕๒๙ และท่แี ก้ไขเพ่มิ เตมิ
๓. ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการประชาสัมพนั ธ์และการให้ข่าวราชการ
พ.ศ. ๒๕๒๕ และที่แกไ้ ขเพม่ิ เติม

๙. งำนสวสั ดกิ ำรสวัสดิภำพครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ

ข้นั ตอนและแนวกำรปฏิบัติ
๕.๑ ศึกษาระเบียบ และแนวทางปฏิบตั ใิ นการจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพประเภทตา่ ง ๆ
ที่เหมาะสมรวมถงึ ท่ีไดท้ าข้อตกลงกบั
๕.๒ วางแผนและกาหนดรูปแบบการดาเนนิ งาน การประชาสัมพันธใ์ นการจดั สวสั ดิการ
และสวสั ดภิ าพใหส้ ถานศึกษาและบคุ ลากรได้ทราบและข้าใจในเงือ่ นไขในการขอรบั การสนับสนนุ
๕.๓ แตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนนิ การในแตล่ ะโครงการ
๕.๔ ประสานการดาเนนิ การกบั ทกุ ฝา่ ยที่เกีย่ วข้อง
๕.๕ ดาเนนิ การใหบ้ ริการด้านสวัสดกิ ารและสวสั ดภิ าพตามแนวทางและเง่ือนไขของแตล่ ะ
โครงการ
๕.๖ ตดิ ตาม ตรวจสอบรายละเอยี ด เงอื่ นไขเพ่อื รักษาผลประโยชน์ของข้าราชการท่ีเข้าร่วม
โครงการในแต่ละโครงการท่ไี มข่ ดั ต่อระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการจดั สวสั ดิการภายในส่วน
ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗
๕.๗ สรุปผลและรายงานผลการดาเนินการตามรายละเอียดทก่ี าหนด

ผลสำเรจ็ ท่ีคำดหวงั
บุคลากรในสังกัด ได้รบั สวสั ดิการทีด่ ี เกดิ ขวญั และกาลังในการปฏบิ ตั งิ าน เสรมิ สรา้ ง
ความสัมพนั ธ์ท่ดี ีระหวา่ งหน่วยงานกบั ผู้ปฏิบัตงิ านและระหว่างผปู้ ฏิบตั ิงานดว้ ยกัน และมีหลักประกัน
ได้รับการสงเคราะห์ชว่ ยเหลอื ในดา้ นต่าง ๆ ตามกรณีที่สมควรอยา่ งทั่วถงึ และมปี ระสิทธิภาพ

กฎหมำย ระเบยี บและเอกสำรที่เกยี่ วขอ้ ง
๑. ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการจดั สวสั ดกิ ารภายในสว่ นราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗
๒. ระเบียบหรอื แนวทางการดาเนนิ การดา้ นการจัดสวสั ดิการในแตล่ ะเร่ือง

๒๒

รำยช่ือคณะทำงำนผจู้ ดั ทำคู่มือกำรปฏิบัติงำน
กล่มุ อำนวยกำร

ทป่ี รกึ ษำ
๑. ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๑
๒. รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๑

ผู้จัดทำ

๑. นางสาวนวมลลิ์ วงษ์สนทิ รกั ษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการกลุ่มอานวยการ

๒. นางพิชญาวรรณี อนุ่ เรอื นงาม นกั จดั การงานท่วั ไปชานาญการ

๓. นางวารี เหล็งไทย นักจดั การงานทว่ั ไปชานาญการ

๔. นางพรทพิ ย์ สขุ ปยิ ังคุ เจา้ พนกั งานธรุ การชานาญงาน

๕. นายบัณฑิต สุธาพจน์ ลกู จา้ งชัว่ คราว

สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต ๑
ถนนแมน่ า้ แมก่ ลอง ตาบลปากแพรก อาเภอเมือง จังหวดั กาญจนบรุ ี ๗๑๐๐๐
โทร. ๐ ๓๔๕๖ ๔๓๓๐ โทรสาร ๐ ๓๔๕๖ ๔๒๖๒
www.kan1.go.th

๒๓




Click to View FlipBook Version