พินิ จ รั ตนกุล
อาจารยผ์ ูจ้ ุดประกายความคดิ ทางปรั ชญา
โดย พลัชญธ์ ร (พนอม) ศษิ ยเ์ กา่ รุ่นท่ี 1
ชุดขอ้ เขียนวารดิถีครบ 84 ปี อาจารยพ์ ินิจ
เม่ือวันท่ี 28 เมษายน 2562 ศษิ ยจ์ ำนวน
หน่ึงของวทิ ยาลัยศาสนศกึ ษาไดจ้ ัดงานรำลึกและ
แสดงความกตัญญุทติ ากับอาจารยท์ ัง้ สองทา่ นท่ี
เป็นผูบ้ ุกเบกิ เป็นหัวเร่ียวหัวแรงในการกอ่ ตัง้
วทิ ยาลัยศาสนศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยมหิดล ใน
บทความน้ี ผูเ้ ขียนอยากถึงอาจารยพ์ ินิจ รั ตนกุล
ท่ีถือวา่ เป็นนั กวชิ าการท่ีรอบรู้ทางสายปรั ชญา
และศาสนาในระดับตน้ ๆ ของเมืองไทยกันเลย
ทีเดียว ถา้ ผูอ้ า่ นลองเปิดกูเกิลแลว้ คน้ หาคำวา่
“พินิจ รั ตนกุล” จะพบผลงานเขียนหนั งสอื งาน
วจิ ัยจำนวนมากท่ีเก่ียวขอ้ งกับศาสนา ปรั ชญา
และจริยศาสตร์ของอาจารยพ์ ินิจเป็นจำนวนไม่
น้อย ความคดิ ของทา่ นท่ีผา่ นงานวชิ าการเหลา่ น้ี
ถือวา่ เป็นอาหารทางปั ญญาเลยทีเดียว เชน่
อัตถิภาวนิยมของฌอง ปอล ซาร์ต ปรั ชญาแหง่
ความไร้เหตุผลของกามูส์ ปรั ชญาความรั กของเพล
โต เป็นตน้
ผูเ้ ขียนอยากเลา่ เร่ืองราวในอดีตบางแงม่ ุม่
เก่ียวกับทา่ นเพราะมีบทบาทคอ่ นขา้ งโดดเดน่ ใน
วงการศกึ ษาทางดา้ นปรั ชญา ศาสนา และ
จริยศาสตร์ ผูเ้ ขียนรู้จักทา่ นครั ง้ แรกเม่ือทา่ นเป็น
ผูส้ อบสัมภาษณ์ผูท้ ่ีสอบผา่ นขอ้ เขียนเพ่ือท่ีจะเขา้
ศกึ ษาตอ่ ระดับปริญญาตรีท่ีวทิ ยาลัยศาสนศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยมหิดล ในครั ง้ นั น้ เป็นครั ง้ แรกท่ี
มหาวทิ ยาลัยของรั ฐ(เน้นไปทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์
) ไดเ้ ปิดการเรียนการสอนศาสนาและปรั ชญาใน
มหาวทิ ยาลัยของรั ฐท่ี ในเวลานั น้ ราวปี 2540 ผู้
เขียนไมเ่ คยอา่ นหนั งสอื ปรั ชญา ไมร่ ู้จักคำวา่
ปรั ชญา และกไ็ มท่ ราบดว้ ยซ้ำวา่ อาจารยพ์ ินิจ
ทา่ นจบอะไรหรือมีเช่ียวชาญในสาขาวชิ าใดได้
เขา้ ไปเรียนท่ีวทิ ยาลัยศาสนศกึ ษา ขณะท่ีอาจารย์
พินิจดำรงตำแหน่งผูอ้ ำนวยการศูนยศ์ าสนศกึ ษา
ตอ่ มาไดเ้ ปล่ียนสถานะเป็นวทิ ยาศาสนศกึ ษาใน
ภายหลั ง
ในเทอมแรกเทา่ ท่ีจำไดม้ ันมีวชิ าหน่ึงท่ี
นั กศกึ ษาปี ท่ี 1 ตอ้ งเรียนอยูช่ ่ือวา่ “ศลิ ปความคดิ
เชิงวพิ ากษ์” ขอ้ น่าสนใจท่ีทำให้ผูเ้ ขียนถือวา่
เป็นการ “จุดประกายความคดิ ทางปรั ชญา” กค็ ือ
การท่ีอาจารยท์ า่ นให้เอกสารเป็นภาษาอังกฤษมี
เน้ือหาเก่ียวขอ้ งกับความรู้ทั่วไปทางปรั ชญาท่ีมี
ลักษณะการเขียนโดยใชภ้ าษาท่ีเรียบงา่ ย เขา้ ใจ
ไมย่ าก มีการยกตัวอยา่ งท่ีเก่ียวขอ้ งกับชีวติ ประจำ
วันของเรา ทำให้เรารู้สกึ วา่ ปรั ชญาคือสว่ นหน่ึง
ของชีวติ เรา โดยท่ีเราจะคดิ ถึงมันหรือไมก่ ต็ าม ผู้
เขียนขอสรุปหลวมๆวา่ ปรั ชญาเป็นเร่ืองของ
1)วธิ ีคดิ บนพ้ืนฐานของการใชเ้ หตุผล
ทำให้เขา้ ใจสงิ่ ตา่ ง ๆ ชัดเจนข้ึน
2) ปรั ชญาไมม่ ีเน้ือหาในตัวเอง หากแต่
เน้ือหาของวชิ าน้ีคือเร่ืองราว เร่ืองเลา่ ท่ีเก่ียวกับ
ชีวติ มนุษย์ โลก และจักรวาล
3) การใชเ้ หตุผลในทางปรั ชญาเป็นเพียง
เคร่ืองมือเพ่ือทำความเขา้ ใจวา่ ทำไมคนเราจึงคดิ
แตกตา่ งกัน ความรู้สกึ นึกคดิ น้ีอยูบ่ นพ้ืนฐานของ
เหตุผลหรือโลกทัศน์ท่ีไมเ่ หมือนกัน โดยไมม่ ีการ
สรุปแบบฟั นธงวา่ ความคดิ ใดถูกหรือความคดิ ใด
ผิด เพราะความคดิ ตา่ ง ๆ นั น้ สามารถมีเหตุผล
สนั บสนุนความเช่ือ ขณะเดียวกันกม็ ีชอ่ งโหวท่ ่ี
สามารถถูกโตแ้ ยง้ ไดต้ ลอดเวลากับฝ่ ายท่ีไมเ่ หน็
ดว้ ย เชน่ ความคดิ เร่ืองจริยธรรม คุณธรรม หรือ
คุณคา่ ตา่ ง ๆ ของชีวติ เป็นตน้
บรรยากาศในชัน้ เรียน เวลาท่ีอาจารยพ์ ินิจ
เขา้ สอนผูเ้ ขียนมีความรู้สกึ ท่ีจะกระหายใคร่รู้อยู่
ตลอดเวลา ทา่ นมีสไตลก์ ารสอนท่ีชอบเขียนบน
กระดานไวทบ์ อร์ด ผมสังเกตวา่ ทา่ นจะจดโน๊ตใส่
สมุดเลม่ เลก็ ๆ มากอ่ นโดยทา่ นสรุปมาเป็น
ประเดน็ ท่ีสำคัญ เม่ือจดหัวขอ้ สำคัญบนกระดาน
แลว้ ทา่ นอธิบายให้นั กศกึ ษาฟั งทีละหัวขอ้ วธิ ีท่ี
ทา่ นบรรยายนั น้ จะเน้นการตัง้ คำถามเป็นสำคัญ
โดยยกตัวอยา่ งข้ึนมาแลว้ ให้นั กศกึ ษาชว่ ยกัน
อภิปราย วั นแรกท่ีพวกเราถกเถียงกั นคือวา่
“ปรั ชญา” คืออะไร เวลาอาจารยส์ อนทา่ นจะยังไม่
เขียนนิยาม ความหมาย ให้กอ่ น โดยทา่ นจะโยน
คำถามมาท่ีเรา ให้เราตอบคำถามน้ีจากความ
คดิ เหน็ ตามประสบการณ์ท่ีเรามีกอ่ น นั กศกึ ษาทุก
คนกจ็ ะให้นิยามความหมายของคำน้ีตาม
ประสบการณ์ท่ีตนเองมี แลว้ อาจารยจ์ ะคอ่ ย ๆ
สรุปให้เช่ือมโยงกับเน้ือหาท่ีทา่ นเตรียมมา
วธิ ีการน้ีคลา้ ย ๆ กับนั กปรั ชญากรีกในอดีตท่ีช่ือ
โสเครตีสมักใชก้ ารตัง้ คำถามในการแสวงหาคำ
ตอบจากเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง โดยการตัง้ คำถามไป
เร่ือย ๆ จนกระทั่งไดค้ ำตอบท่ีมาจากความคดิ ท่ี
ชัดเจน ไมค่ ลุมเครือ ถือวา่ เป็นจุดเริ่มตน้ ความ
สนใจตอ่ วชิ าปรั ชญาของผูเ้ ขียนท่ีไมอ่ าจลืมเลือน
ได้
มีเร่ื องราวท่ีน่ าประทั บอีกเร่ื องหน่ึ งท่ี
อาจารยค์ ุณหญงิ สุริยา รั ตนกุล ทา่ นเป็นภรรยา
ของอาจารยพ์ ินิจ เลา่ ให้ผูเ้ ขียนและเพ่ือนร่วมชัน้
เรียนฟั งในขณะท่ีทา่ นบรรยายวชิ าอารยธรรม
ตะวันตก โดยผมถามอาจารยค์ ุณหญงิ วา่ อะไร
คือสงิ่ ท่ีอาจารยค์ ุณหญงิ ช่ืนชมและประทับใจใน
ตัวอาจารยพ์ ินิจ อาจารยค์ ุณหญงิ เลา่ วา่ “มี
หนั งสอื ปรั ชญาเลม่ หน่ึงเป็นหนั งสอื ท่ีวางบนหัว
หนอน หนั งสอื ขา้ งหมอน” หนั งสอื ปรั ชญาเลม่
นั น้ คือ หนั งสอื ของฌอง ปอล ซาร์ต ซ่ึงเป็นนั ก
ปรั ชญาคนสำคัญคนหน่ึงในสายอัตถิภาวนิยม
(Existentialism) หนั งสอื เลม่ น้ีอาจารยพ์ ินิจเป็น
คนเขียน อาจารยค์ ุณหญงิ ประทับใจในความคดิ
ทา่ นปรั ชญาของทา่ นมากถึงขนาดเอามาไวข้ า้ ง
หมอน อา่ นกอ่ นนอนกันเลยทีเดียว สำหรั บผม
แลว้ อาจารยพ์ ินิจเป็นเสมือนเหมือนนั กปรั ชญาท่ี
ช่ือ ซาร์ต ท่ีมาสอนหนั งสอื ให้พวกเราฟั งประมาณ
นั น้ เลย แนวคดิ แบบอัตถิภาวนิยมคือแนวคดิ ท่ีให้
ความสำคัญเสรีภาพของมนุษย์ บนพ้ืนฐานท่ีวา่
มนุษยเ์ กิดมาพร้อมกับเสรีภาพ ผูเ้ ขียนช่ืนชอบ
ปรั ชญาสายน้ีมาก อิทธิพลความคดิ ของทา่ นจึง
ทำให้ผูเ้ ขียนสนใจงานทางปรั ชญาทางสายอัตถิภา
วนิยมมากข้ึน และเขา้ เรียนตอ่ สาขาวชิ าปรั ชญาใน
ระดับหลังปริญญาตอ่ มา