The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arspp2021, 2021-11-19 02:27:12

พระนักพัฒนา : พระมหาไพฑูรย์

พระมหาไพฑูรย์

Keywords: พระมหาไพฑูรย์,พระนักพัฒ,นา

1

พระมหาไพฑูรย์ : พระผู้มแี ต่ให้

พนิ จิ รตั นกลุ

2

พระมหาไพฑูรย์ : พระผู้มแี ต่ให้

พนิ จิ รตั นกลุ

วนั ท่ี 5 พฤศจิกายน เป็นวนั ครบหน่งึ ปีของมรณภาพของ
พระมหาไพฑรู ย์ กลั ยาณธโร พระนกั ศกึ ษา และพระบณั ฑิตอาสา
รุ่นแรกของวิทยาลยั ศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล อดีตเจา้
อาวาสวดั นาํ้ พริกและ รองเจา้ คณะอาํ เภอนครไทย จงั หวดั
พิษณุโลก ในโอกาสนีข้ อแชรก์ ับศิษยเ์ ก่าและพุทธศาสนิกชน
ท่ัวไป ความประทับใจท่ีผมมีในพระมหาไพฑูรย์ ในฐานะพระ
นักศึกษาและบัณฑิตอาสา ธรรมทายาทและในฐานะ พระ
นกั พฒั นาวดั นาํ้ พรกิ
ชะตาชีวิตเปลย่ี นไดด้ ้วยการศึกษา

พระมหาไพฑรู ยเ์ ป็นนกั ศกึ ษารุ่นแรกของวิทยาลยั ศาสน
ศกึ ษา เขา้ มาในปี พ.ศ. 2540 นกั ศกึ ษารุน่ นนั้ เป็นพระสงฆเ์ กือบ
ทงั้ หมด มีแม่ชี 1 รูป และฆราวาสชาย-หญิง 5 คน แมม้ าต่างท่ี
และมีสถานภาพตา่ งกนั แตน่ กั ศกึ ษาทกุ คนมาเรียนท่ีวิทยาลยั ศา

3

สนศึกษาด้วยวัตถุประสงค์เดียวกันคือต้องการใช้การศึกษา
เปล่ียนชะตาชีวติ ใหม้ ีความหมายและคณุ คา่ มากกวา่ ท่ีเป็นอยู่

เรยี นทาํ ไม? เรยี นเพอื่ ใคร?

พระมหาไพฑูรย์เป็ นพระนักศึกษารู ปหน่ึงท่ี ต้อง ก า ร
ศกึ ษาพระพุทธศาสนาในบริบทต่างๆ นอกเหนือจากบริบททาง
พระธรรมวนิ ยั ท่ีตนไดศ้ กึ ษามาแลว้ ระดบั เปรียญธรรม ในโรงเรียน
พระปรยิ ตั ธิ รรม เพ่ือจะไดม้ ีความรูท้ างพระพทุ ธศาสนาลกึ ซึง้ และ
กว้างขึ้น และนําความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ในการเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนาในกลมุ่ คนรุน่ ใหม่ท่ีหา่ งเหนิ จากพระพทุ ธศาสนา
และหันไปนับถือศาสนาอ่ืน รวมทั้งลัทธิทางศาสนาใหม่ๆ เช่น
ลทั ธิพลงั จกั รวาล และลทั ธิจติ วิญญาณ

ส่งิ ตา่ งๆ เป็นส่งิ ทที่ าํ ได้

การรูว้ า่ มาเรียนทาํ ไม? และเรยี นเพ่ือใคร? ทาํ ใหพ้ ระมหา
ไพฑรู ยแ์ ละพระนกั ศึกษาทุกรูปเรียนวิชาตา่ งๆ ในหลกั สตู รอย่าง
ตงั้ อกตงั้ ใจ กระตือรือรน้ มงุ่ ม่นั และขยนั ขนั แข็งโดยเฉพาะอย่าง
ย่ิงเม่ือตอ้ งเรียนวิชาภาษาอังกฤษท่ีตนมีพืน้ ความรูไ้ ม่เพียงพอ
และเรียนกับอาจารยช์ าวต่างประเทศท่ีตนไม่คุน้ เคยกับภาษา
และวิธีสอน พระนกั ศกึ ษาคงมีความเพียรพยายามอย่างมากจึง
สามารถศกึ ษาจบหลกั สูตรไดภ้ ายในระยะเวลา 4 ปี เท่ากบั เป็น

4

การพิสูจน์ให้เห็นว่าไม่ว่าเวลาใด ความขยันคือหนทางสู่
ความสาํ เรจ็ คนท่ีขยนั ขนั แข็งย่อมมองเห็นส่ิงตา่ งๆ ว่าเป็นส่ิงทาํ
ไดแ้ มจ้ ะยากลาํ บาก และใชเ้ วลานาน

ในการศึกษาบริบทต่างๆของพระพุทธศาสนา (เช่น
บริบททางประวตั ิศาสตร์ ศาสนา วฒั นธรรม ปรชั ญา จิตวิทยา
ศาสนาสัมพันธ์ และบริบทความสมั พนั ธก์ ับศาสนาต่างๆ) พระ
มหาไพฑูรย์สนใจบริบททางสังคมเป็ นพิเศษ การศึกษา
พระพุทธศาสนาในบริบทนี้ พระมหาไพฑูรยม์ ีโอกาสศึกษาทงั้
ทฤษฎีทางสงั คมของพระพุทธศาสนาท่ีตอ้ งการสรา้ งสงั คมท่ีน่า
ปรารถนา (Desirable Society) บนพืน้ ฐานเศรษฐกิจทางสาย
กลาง(Middle - Way Economy) แทนสงั คมบรโิ ภคนิยม ท่ีตงั้ บน
เศรษฐกิจทุนนิยม(Capitalism) และวิธีการเปล่ียนแปลง “ความ
เมตตา” ท่ีเป็นคุณธรรมหลักในพระพุทธศาสนาจากสภาวะ
นามธรรมใหเ้ ป็นสภาวะรูปธรรม หรือการกระทาํ ท่ีมองเห็นไดแ้ ละ
เป็นประโยชนแ์ ก่คนอ่ืนและสังคม นอกจากนั้นยังไดเ้ รียนรู้ว่า
นอกจาก “กิจของสงฆ”์ แลว้ พระสงฆใ์ นฐานะเป็นพระสงฆ์ - ใน
- สงั คม มีหนา้ ท่ีทาํ งานเพ่ือสงั คมดว้ ย เชน่ ชว่ ยแกไ้ ขปัญหาสงั คม
เก่ียวกบั ความยากจน ยาเสพตดิ และการแกป้ ัญหาความขดั แยง้
ดว้ ยความรุนแรง

5

พระสงฆไ์ ม่ทอดทงิ้ คนจน

พระมหาไพฑูรยม์ ีใจเมตตาเพ่ือนมนุษยอ์ ยู่แลว้ เม่ือได้
ศึกษางานของพระนักพัฒนาเป็ นตัวอย่างของการแปลงความ
เมตตาใหเ้ ป็นการกระทาํ เพ่ือสงั คม จึงรูส้ ึกประทบั ใจโดยเฉพาะ
อย่างย่ิงงานของพระนักพัฒนารุ่นบุกเบิกท่ีทาํ เพ่ือสังคมดว้ ย
ความเมตตา ไมค่ าดหวงั ส่ิงตอบแทนใดๆ จากสงั คม เชน่ หลวงพอ่
คาํ เขียน สุวัณโณ วัดป่ าสุคะโต ตาํ บลท่ามะไฟ จังหวัดชัยภูมิ
พระสงฆฝ์ ่ายวปิ ัสสนา ลงมาจากวดั บนภเู ขาชว่ ยเปล่ียนชมุ ชนทา่
มะไฟจากชมุ ชนท่ีนิยมใชค้ วามรุนแรง ตดิ การพนนั และสุราเมรยั
เป็นชุมชนใฝ่ สันติ ปลอดการพนันและสุราเมรัย หลวงพ่อบุญ
ธรรม อุตตธัมโม วัดโพนทอง ชัยภูมิ พระสงฆ์ฝ่ ายวิปัสสนา
เชน่ เดียวกนั เปล่ียนพืน้ ท่ี 1,000 ไร่ ของวดั ในทอ้ งถ่ินกนั ดาร แหง้
แล้ง เพาะปลูกไม่ไดเ้ ป็นพืน้ ท่ีสีเขียว เป็นป่ าอุดมสมบูรณ์ให้
ชาวบา้ นใช้ประโยชน์ และหลวงพ่อนาน สุทธสีโล วัดสามัคคี
สุรินทร์ ช่วยแก้ปัญหาความยากจนของชาวบา้ นท่ีเกิดจากการ
เป็นหนีส้ ินพ่อคา้ ในเมือง ดว้ ยการสอนชาวบา้ นใหท้ าํ และใช้ป๋ ยุ
ธรรมชาติแทนป๋ ยุ เคมีราคาแพง และจดั ตงั้ สหกรณช์ มุ ชนเพ่ือซือ้ -
ขายขา้ วสารและเคร่อื งบรโิ ภคอปุ โภคท่ีจาํ เป็นในราคาเป็นธรรม

6

ความเมตตาเป็นคณุ ธรรมหลกั ของทกุ ศาสนา

ผมไม่ทราบว่าการศึกษาพระพุทธศาสนาในบริบททาง
สงั คมและการไดเ้ รียนรูง้ านของพระนักพัฒนาเป็นแรงจูงใจให้
พระมหาไพฑูรย์ ตดั สินใจเป็นพระนักพฒั นาในเวลาต่อมามาก
นอ้ ยเพียงใด อย่างนอ้ ยท่ีสดุ การศกึ ษาและการเรียนรูด้ งั กล่าวคง
ท ํา ใ ห้พ ร ะ ม ห า ไ พ ฑู ร ย ์เ ห็ น คุณ ค่ า แ ล ะ ค ว า ม ส ํา คัญ ข อ ง ก า ร
ช่วยเหลือเพ่ือนมนษุ ยด์ ว้ ยความเมตตา(ไม่คาดหวงั ส่ิงตอบแทน
ใดๆ) และตระหนกั ดีว่างานประเภทนีม้ ีคณุ ค่าสงู ส่งทางศาสนา
และจริยธรรม ส่ิงนีเ้ ป็นประจักษ์มากขึน้ เม่ือพระมหาไพฑูรย์
ค้นพบ(จากการศึกษาพระพุทธศาสนาในบริบททางศาสนา
สมั พนั ธ)์ ตอ่ มาว่าความรกั หรือความกรุณาปราณี(ท่ีไม่ตอ้ งการ
อะไรตอบแทน) เป็นคุณธรรมหลักของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ศาสนาครสิ ต์ และศาสนาอิสลาม ท่ีมีประวตั ิ คาํ สอนทางศาสนาและ
การปฏิบตั ิแตกต่างกัน ในนยั นีค้ วามเมตตาหรือความรกั ความ
กรุณาปราณี จึงเป็นจุดเช่ือมโยงพระพุทธศาสนาและศาสนา
ดงั กลา่ ว และศาสนิกชนตา่ งศาสนาเขา้ ดว้ ยกนั จงึ อาจกลา่ วไดว้ า่
ความเมตตา (ความรัก/ความกรุณาปราณี) เป็นสายใยแห่ง
คณุ ธรรมท่ีรอ้ ยรดั คนตา่ งชาตพิ นั ธุ์ ตา่ งภาษา ตา่ งวฒั นธรรม และ
ตา่ งศาสนาเขา้ ดว้ ยกนั ใหเ้ ป็นเอกภาพเดียวกันในความแตกตา่ ง
ดงั กลา่ ว

7

ปฏิปทานา่ เลอื่ มใส และใจเปิดกวา้ ง

นอกจากเป็นนักศึกษาท่ีตงั้ อกตงั้ ใจเรียนแลว้ พระมหา
ไพฑรู ยย์ งั เป็นพระนกั ศกึ ษาท่ีวางตวั ไดเ้ หมาะสมแก่สมณะเพศ มี
ปฏิปทาน่าเล่ือมใส และมีอธั ยาศยั เอือ้ เฟื้อเผ่ือแผ่ มีใจเปิดกวา้ ง
ในเร่ืองศาสนา ความเห็นตา่ ง และความคดิ ใหม่ๆ ท่ีมาพรอ้ มกับ
โลกาภิวฒั น์ เชน่ สทิ ธิมนษุ ยชน สทิ ธิสตรี และความยตุ ธิ รรม

การวางตวั ใหเ้ หมาะสมแก่สมณะเพศเป็นเร่ืองสาํ คญั ใน
เวลานนั้ เพราะการท่ีพระสงฆเ์ รียนร่วมชนั้ กับแม่ชีและฆราวาส
ชาย-หญิง เป็นส่ิงใหม่ในวงการสงฆ์ และในวงการศึกษาท่ีแยก
พระสงฆ์ แมช่ ี และฆราวาสจากกนั เวลาศกึ ษาเลา่ เรยี น การท่ีพระ
มหาไพฑูรย(์ และพระนกั ศึกษาร่วมชัน้ ) วางตวั ไดเ้ หมาะสมแก่
สมณะเพศ ทาํ ใหว้ ิทยาลัยศาสนศึกษาสามารถปฏิบัติตาม
นโยบายให้พระสงฆ์ แม่ชี และฆราวาสมีความเสมอภาคทาง
การศกึ ษาท่ีวทิ ยาลยั ไดส้ าํ เรจ็

สว่ นอธั ยาศยั เอือ้ เฟื้อเผ่ือแผแ่ ละใจเปิดกวา้ งนนั้ นอกจาก
ส่งผลให้พระมหาไพฑูรย์ เข้ากับเพ่ือนร่วมชั้นเรียนทุกคนทั้ง
พระสงฆจ์ ากวดั สาํ นกั ตา่ งๆ และฆราวาสท่ีมีภมู ิหลงั ชีวติ และโลก
ทศั นแ์ ตกตา่ งจากทา่ นแลว้ ยงั ทาํ ใหพ้ ระมหาไพฑรู ยเ์ ป็นท่ีรกั ของ

8

ทุกคนท่ีเก่ียวข้อง ในเวลาท่ีท่านปฏิบัติหน้าท่ีเป็นพระบัณฑิต
อาสา ธรรมทายาท และพระนกั พฒั นาอีกดว้ ย

บม่ เพาะความรูแ้ ละปัญญา

อาจสรุปไดว้ า่ 4 ปี ท่ีวิทยาลยั ศาสนศกึ ษาเป็นระยะเวลา
ท่ีพระมหาไพฑูรย์พัฒนาตนให้เป็ นคนมีความรู้และปัญญา
ความรูท้ ่ีกล่าวนีไ้ ดม้ าจากการศึกษาพระพุทธศาสนา(ในบริบท
ตา่ งๆ) และวิชาตา่ งๆในหลกั สตู ร เชน่ วิชาอารยธรรม วชิ าปรชั ญา
และวิชาศาสนาโลก ส่วนปัญญานั้นเป็ นผลรวมของความรู้
ประสบการณ์ และการคิดใครค่ รวญของท่าน แมว้ า่ ปัญญาท่ีเกิด
แก่ท่านไม่ไดเ้ ป็นปัญญารูแ้ จง้ ในธรรม เช่น ปัญญาจากสมาธิท่ี
สมบรู ณ(์ ปรมตั ถปัญญา) แตก่ ็เป็นปัญญาท่ีเป็นประโยชนต์ ่อชีวิต
สว่ นตวั และชีวติ การทาํ งานในฐานะตา่ งๆ ตอ่ มา

ชวี ติ มคี วามหมายด้วยงานบัณฑติ อาสา

โครงการบณั ฑิตอาสา

วทิ ยาลยั ศาสนศกึ ษาจดั ตงั้ โครงการบณั ฑิตอาสาขึน้ ในปี
พ.ศ. 2544 เพ่ือใหบ้ ณั ฑิตของวิทยาลยั ทงั้ พระสงฆแ์ ละฆราวาส
นาํ ความรูแ้ ละประสบการณไ์ ปทาํ งานเพ่ือพระพุทธศาสนาและ

9

สงั คม และเรียนรูช้ ีวติ จากประสบการณโ์ ดยตรง งานบณั ฑติ อาสา
รุน่ แรกๆ คือ(1)สอนวิชาพระพุทธศาสนา และจดั ทาํ กิจกรรมทาง
จริยธรรมให้นักเรียนได้พัฒนาตนทางคุณธรรมจริยธรรมใน
โรงเรียนประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษาในเขต กทม. ท่ีขาดแคลน
ครูทาํ หนา้ ท่ีดงั กล่าว และ(2)สอนวิชาเก่ียวกับพระพุทธศาสนา
(เชน่ ธรรมวิภาค ธรรมวิจารณ์ และวินยั บญั ญัติ) ในโรงเรียนพระ
ปริยัติธรรมในเขตจังหวัดศรีสะเกศ นครพนม อุบลราชธานี
มกุ ดาหาร และจงั หวดั ตรงั เพ่ือยกคณุ ภาพการเรียนการสอนใน
โรงเรียนดงั กลา่ วใหส้ งู ขนึ้

เขา้ ร่วมโครงการตามพระราชดาํ ริ

ใ น ร ะ ย ะ ต่ อ ม า โ ค ร ง ก า ร บัณ ฑิ ต อ า ส า ไ ด้ย้า ย ฐ า น
ปฏิบตั ิการไปอยู่ท่ีโรงเรียนพระปริยัติธรรมต่างจงั หวดั โดยพาะ
อย่างย่ิงโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม(สายสามัญ) ในโครงการตาม
พระราชดาํ ริของสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช
กมุ ารี (พระอิสริยศในเวลานนั้ ) ในเขตจงั หวดั น่าน แพร่ พะเยา
เชียงใหม่ และเชียงราย บัณฑิตอาสารุ่นแรกท่ีปฏิบัติงานใน
สถานท่ีดังกล่าวเป็นพระสงฆ์เกือบทั้งหมด แม่ชี 1 รูป และ
ฆราวาสชาย 2 คน บณั ฑิตอาสาท่ีเป็นพระสงฆแ์ ละฆราวาสชาย
สอนสามเณรท่ีโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม ส่วนท่ีเป็นแม่ชีสอนและ

10

ดแู ลเดก็ หญิงชาวเขากลมุ่ เส่ียง(สวู่ งจรการคา้ ประเวณี) ท่ีโรงเรยี น
การกศุ ลของวดั

พระมหาไพฑูรย์เป็ นพระบัณฑิตอาสาปฏิบัติงานท่ี
โรงเรียนพระปริยัติธรรมในเขตจังหวัดน่าน นอกจากสอนวิชา
พระพุทธศาสนาแลว้ ท่านช่วยเหลืองานของโรงเรียน วัด และ
ชุมชนท่ีอยู่ใกล้เคียงดว้ ย เช่นเดียวกับพระบัณฑิตอาสารูปอ่ืน
พระมหาไพฑูรย์ทํางานดังกล่าวเต็มกําลัง ตั้งอกตั้งใจ
กระตือรือรน้ และม่งุ ม่นั จนเป็นท่ีประจกั ษ์แก่ทุกคนท่ีพบเห็นทงั้
พระสงฆแ์ ละฆราวาส

ในฐานะหวั หนา้ บณั ฑิตอาสา ทา่ นทาํ หนา้ ท่ีเปน้ ผูต้ ิดต่อ
ประสานงานกับโรงเรียนและวัดท่ีพระบณั ฑิตอาสาปฏิบัติงาน
ส่งเสริมสนับสนุนให้พระบัณฑิตอาสาจัดตั้งเครือข่ายความ
ร่วมมือ จัดให้พระบัณฑิตอาสาจากโรงเรียนต่างๆ มาพบปะ
แลกเปล่ียนความคิดและประสบการณ์กัน และทบทวนการ
ปฏิบตั ิงาน และเม่ือสมเด็จพระเทพรตั นฯ์ เสด็จพระราชดาํ เนิน
เพ่ือทรงตดิ ตามความกา้ วหนา้ การดาํ เนินงานในพืน้ ท่ีจงั หวดั น่าน
พระมหาไพฑรู ยน์ าํ พระบณั ฑิตอาสาไปรบั เสดจ็ ทกุ ครงั้ และกราบ
บงั คมทลู ใหท้ รงทราบ งานสอนหนงั สือของพระบณั ฑติ อาสา และ
งานช่วยเหลือเยาวชนหญิงชาวเขากลุ่มเส่ียง (สู่วงจรการค้า

11

ประเวณี) ของแมช่ ีบณั ฑิตอาสา บณั ฑิตอาสาทกุ คนรูส้ ึกปลืม้ ปิติ
ท่ีสมเด็จพระเทพรตั นฯ์ ทรงสนพระทยั งานบณั ฑิตอาสา และทกุ
ค น รู ้สึ ก ป ล า บ ป ลื ้ม ท่ี มี โ อ ก า ส ไ ด้ทํา ง า น ใ น โ ค ร ง ก า ร ต า ม
พระราชดาํ ริเพ่ือพฒั นาโรงเรียนพระปริยตั ิธรรมในถ่ินทรุ กันดาร
ใหม้ ีการเรียนการสอนท่ีมีคณุ ภาพไดม้ าตรฐาน และสามเณรท่ี
เรยี นอยมู่ ีความรูค้ วามสามารถท่ีจะศกึ ษาตอ่ ในมหาวทิ ยาลยั ได้

แม่ชีและเดก็ หญงิ กลมุ่ เสยี่ ง

ในการรบั เสด็จในครงั้ นัน้ แม่ชีบณั ฑิตอาสา (แม่ชีษิระ
ประภา เพช็ รกิจ) รูส้ กึ ปลืม้ ปิตเิ ป็นอยา่ งมากท่ีสมเดจ็ พระเทพรตั น์
ฯ ทรงสนพระทัยและทรงซกั ถามเก่ียวกับเด็กหญิงชาวเขากล่มุ
เส่ียง(ท่ีโรงเรียนนนั บรุ วี ิทยา) ท่ีแมช่ ีสอนและดแู ล เดก็ หญิงกลมุ่ นี้
มาจากครอบครวั ยากจน ส่วนมากพ่อแม่หย่ารา้ ง หรือสิน้ ชีวิต
ดว้ ยโรคเอดส์ เน่ืองจากเป็นคนเรียนชา้ กวา่ เพ่ือนรว่ มชนั้ มาก ถา้
หากไม่ไดร้ บั ความช่วยเหลือดแู ลเป็นพิเศษ โอกาสท่ีจะศกึ ษาจบ
และมีอนาคตท่ีดีแทบไม่มี ในขณะท่ีโอกาสท่ีจะเป็นโสเภณีเด็กมี
สงู

ผมดีใจท่ีแมช่ ีบณั ฑิตอาสาดแู ลเดก็ หญิงกลมุ่ นีเ้ ต็มกาํ ลงั
และมุ่งม่นั ใหม้ ีชะตาชีวิตดีขึน้ ดว้ ยการศึกษา ไม่ใชความผิดของ
พวกเขาท่ีเกิดมาเป็นเพศหญิงในครอบครวั ชาวเขายากไร้ ดอ้ ย

12

โอกาส และ(บางคน) ถูกล่อลวงใหเ้ ป็นโสเภณีเด็ก งานของแม่ชี
บัณฑิตอาสาอาจดูเป็ นงานเล็กและธรรมดาในสายตาของคน
ภายนอก แต่เป็นงานท่ีสาํ คญั มากสาํ หรบั ชีวิตของกล่มุ เด็กหญิง
ดงั กล่าว โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเวลาท่ีความช่วยเหลือจากรฐั เขา้
ไมถ่ ึง หรอื ไมม่ ีประสทิ ธิภาพพอเพียง

ตอบแทนบญุ คณุ ชาวบา้ นยากจน

ในวนั กตญั �ูในเดือนสิงหาคมทกุ ปี พระมหาไพฑูรยน์ าํ
พระบณั ฑิตอาสามาท่ีวิทยาลยั ศาสนศึกษาเพ่ือรว่ มบาํ เพ็ญกุศล
แก่ ผู้มีอุปการะคุณทั้งสามท่านท่ีล่วงลับ คือ คุณนาํ้ ทอง คุณ
วิศาล แพทยห์ ญิงคุณอรวรรณ คุณวิศาล และศาสตราจารย์
นายแพทยล์ ิม้ คณุ วิศาล ในโอกาสนนั้ ท่านไดพ้ ดู คยุ กับนกั ศกึ ษา
เร่ืองคุณค่าและความสาํ คญั ของงานจิตอาสา และเล่าใหฟ้ ังถึง
งานของพระบณั ฑิตอาสาท่ีช่วยพฒั นาโรงเรียน(พระปริยตั ิธรรม
สายสามญั ศึกษา) วดั และชุมชน ในถ่ินทุรกันดารใหใ้ หม้ ีสภาพ
ความเป็นอย่ดู ีขึน้ โรงเรียนในทอ้ งถ่ินนนั้ ขาดแคลนครูท่ีมีความรู้
ความสามารถตามตอ้ งการ ในขณะท่ีวัดท่ีพระบณั ฑิตอาสาพัก
อาศยั ส่วนมากเป็นวดั เล็กๆ นอกเมือง บางวดั มีแต่สามเณร 4-5
รูป และพระบณั ฑิตอาสาตอ้ งทาํ หนา้ ท่ีเป็นเจา้ อาวาสสอนและ
ดูแลสามเณรเหล่านั้น ส่วนชาวบ้านในชุมชนรอบวัดเป็นคน

13

ยากจน มีอาชีพกสกิ รรมเป็นหลกั ทกุ ชมุ ชนมีปัญหาความยากจน
บางชมุ ชนมีปัญหาการเล่นการพนนั การเสพสรุ าเมรยั และ/หรือ
ยาเสพตดิ เพ่ิมขนึ้ ท่ีจรงิ แลว้ งานหลกั ของพระบณั ฑิตอาสาคือการ
ส อ น ส า ม เ ณ ร ใ น โ ร ง เ รี ย น พ ร ะ ป ริยัติธ ร ร ม ใ ห้มี ค ว า มรู้
ความสามารถเรียนต่อในมหาวิทยาลยั ได้ แต่เม่ือมองเห็นความ
เดือดรอ้ นของชุมชนใกล้วัด พระบณั ฑิตอาสาท่ีมีจิตเมตตาอยู่
แลว้ และตอ้ งการทาํ ส่ิงดีๆ ใหแ้ ก่ชาวบา้ นท่ีช่วยเหลือจุนเจือวัด
ทงั้ ๆท่ีเป็นคนยากจน จึงเขา้ ไปทาํ งานใหช้ ุมชนและใชเ้ วลาว่าง
จากการสอน สรา้ งโครงการพฒั นาชมุ ชนใหช้ าวบา้ นรว่ มมือกัน
ทาํ เช่นโครงการสรา้ งอาชีพ โครงการพฒั นาเยาวชนใหเ้ ป็นคนดี
ของครอบครวั โรงเรียน และชุมชน และโครงการรณรงคใ์ หเ้ ลิก
การพนนั การเสพสรุ าเมรยั และปอ้ งกนั ยาเสพตดิ

งานบณั ฑิตอาสาท่ีพระมหาไพฑูรยเ์ ล่าใหน้ ักศึกษาฟัง
เป็น”การให”้ มากกว่า “การรบั ” จึงเหมาะสมกับคนท่ีชอบเป็น
“ผู้ให้” และแบ่งปั นส่ิงดีๆ ท่ีมีอยู่ เช่น เวลาและความรู้
ความสามารถใหเ้ ป็นประโยชนแ์ ก่คนอ่ืน โดยเฉพาะอย่างย่ิงคน
จน คนยากไร้ และคนดอ้ ยโอกาสท่ีเขา้ ไมถ่ ึงบรกิ ารตา่ งๆ ของรฐั

แมว้ ่านกั ศกึ ษาท่ีพดู คยุ กบั พระมหาไพฑรู ยใ์ นวนั กตญั �ู
เห็นคุณค่าและความสาํ คัญของงานบณั ฑิตอาสา แต่ทุกคนมี

14

ความตอ้ งการและวิธีจัดความสาํ คัญในชีวิตแตกต่างจากพระ
บัณฑิตอาสา ดังนั้นจึงเป็นส่ิงปกติธรรมดาท่ีพระบัณฑิตของ
วิทยาลยั แต่ละปีจาํ นวนหน่ึงเท่านนั้ ท่ีเลือกทาํ งานบณั ฑิตอาสา
มากกวา่ ศกึ ษาตอ่ หรอื เป็นพระธรรมทตู ในตา่ งประเทศ

ใจแช่มชืน่ เมือ่ ฟังโพชฌงค์

ผมจาํ ไดว้ า่ ครงั้ หนง่ึ ในระหวา่ งท่ีพระมหาไพฑรู ยม์ าเยือน
วิทยาลยั ในวนั กตญั �ู ท่านและพระบณั ฑิตอาสาไดม้ าเย่ียมผม
ในท่ีทาํ งาน เม่ือพบว่าผมไม่สบายพระบณั ฑิตอาสาทกุ รูปเมตตา
สวดโพชฌงคใ์ หผ้ มฟัง กระแสเมตตาท่ีไหลจากจิตดีงามของผู้
สวดผ่านกิริยาท่าทางและนาํ้ เสียงท่ีสวดทุกถ้อยคาํ มาท่ีใจผม
ตลอดเวลา ทาํ ใหผ้ มรูส้ กึ สดช่ืนทนั ทีท่ีฟังบทสวดนี้

คนอกตญั �ูตอ้ งการคนกตญั �ูกตเวที

ผมสอนท่ีวิทยาลยั ศาสนศกึ ษามาไมน่ อ้ ยกว่า 20 ปี และ
ไม่ไดค้ าดหวงั ใหล้ กู ศษิ ยก์ ตญั �กู ตเวทีตอ่ ผม เพราะผมไดเ้ รียนรู้
จากประสบการณว์ ่าโลกและคน ไม่เป็นอย่างท่ีควรเป็น ย่ิงเรา
คาดหวังจากโลกหรือคนมากเพียงใด เราย่อมผิดหวังมากขึน้
เทา่ นนั้ ดงั นนั้ การไม่คาดหวงั อะไรจากโลกและคนจึงไม่ทาํ ใหเ้ รา
ทุกขจ์ ากความผิดหวงั อย่างไรก็ตามการท่ีพระมหาไพฑูรยแ์ ละ
พระบณั ฑิตอาสาสวดโพชฌงคใ์ หผ้ มในวนั นนั้ ทาํ ใหผ้ มอดปลืม้

15

ปีติไม่ได้ คนกตญั �ูกตเวทีย่อมเป็นท่ีรักท่ีตอ้ งการของทุกคน
แมแ้ ตค่ นอกตญั �กู ็ตอ้ งการคนกตญั �กู ตเวที

บณั ฑติ มหดิ ลทาํ งานเพอื่ สงั คมมากกวา่ เพอื่ ตวั เอง

ลักษณะอีกอย่างของพระมหาไพฑูรย์ท่ีประทับใจผม
ท่าน(และบัณฑิตอาสาทุกรูป) รักวิทยาลัยศาสนศึกษา/
มหาวิทยาลัยมหิดล และภาคภูมิใจท่ีเป็ นบัณฑิตอาสาของ
สถาบนั นี้ ในการทาํ งานเป็นบณั ฑิตอาสาทา่ นแสดงใหท้ กุ คนเห็น
ว่าท่านมาจากวิทยาลัยศาสนศึกษา/มหาวิทยาลยั มหิดล ไม่ใช่
เพราะตอ้ งการโออ้ วด แตเ่ พ่ือใหค้ นเห็นว่ามหาวิทยาลยั ท่ีท่านได้
ศกึ ษาเล่าเรียนนนั้ ผลิตบณั ฑิตมาทาํ งานเพ่ือสงั คมมากกว่าเพ่ือ
ตวั เองในฐานะเป็นบณั ฑิตของมหาวิทยาลยั มหิดล ทา่ นและพระ
บัณฑิตอาสาทุกรูปมาทาํ งานในถ่ินทุรกันดาร เพ่ือช่วยเหลือ
โรงเรียน วดั และชมุ ชนใหม้ ีสภาพดีขึน้ และเกือ้ กลู ซ่งึ กนั และกัน
ใหเ้ จริญกา้ วหนา้ ไปดว้ ยกนั ปฏิปทาท่ีดีงามและการทาํ งานดว้ ย
จิตเมตตา ม่งุ ม่นั และเพียรพยายามใหส้ าํ เร็จเป็นท่ีประจักษ์แก่
ทุกคนทงั้ พระสงฆแ์ ละฆราวาส ส่งผลใหท้ ่าน(และพระบัณฑิต
อาสาทุกรูป) เป็นท่ีรักท่ีตอ้ งการของโรงเรียน วัด และ ชุมชน
ตลอดเวลา และทาํ ใหโ้ รงเรียน/วดั สนบั สนุนส่งเสริมสามเณรท่ี
ท่าน(และบณั ฑิตอาสา) สอนไปเรียนต่อท่ีวิทยาลัยศาสนศึกษา

16

ทกุ ปีจนถึงปัจจุบนั พระมหาไพฑูรยแ์ ละพระบณั ฑิตอาสาพิสจู น์
ให้เห็นชัดเจนด้วยการกระทาํ ว่าพระสงฆท์ ่ีเรียนวิชาทางโลก
(secular disciplines) ในมหาวิทยาลัยฆราวาส ไม่ได้ทําให้
พระพทุ ธศาสนามวั หมองหรอื เส่ือมเสีย เชน่ ท่ีมีคนเขา้ ใจ(ผดิ )กนั

ความสาํ เร็จทนี่ า่ ภาคภูมิใจ

ผมไม่ทราบว่าพระมหาไพฑูรยเ์ ป็นบณั ฑิตอาสานานแค่
ไหน แต่คงนานพอสาํ หรบั การทาํ ส่ิงดีๆ ใหแ้ ก่โรงเรียน วัด และ
ชุมชนใกล้เคียงไว้เป็นตัวอย่างแก่บัณฑิตอาสารุ่นต่อมา และ
สําหรับการสร้าง ช่ื อเสี ยง ให้แ ก่วิ ทยา ลัย ศาส น ศึก ษ า /
มหาวิทยาลัยมหิดล การท่ีโรงเรียนพระปริยัติธรรมท่ีพระมหา
ไพฑูรย์ และบัณฑิตอาสาช่วยพัฒนาให้การเรียนการสอนมี
คุณภาพไดม้ าตรฐาน ทาํ ใหส้ ามเณรท่ีเล่าเรียนมีทางเลือกชีวิต
มากขึน้ (เช่น มีความรู้ความสามารถศึกษาต่อระดับสูงตาม
ศกั ยภาพของตน) นนั้ เป็นความสาํ เร็จของพระบณั ฑิตอาสาท่ีน่า
ภาคภมู ใิ จ

เพ่มิ คณุ คา่ ใหค้ วามรูแ้ ละปัญญา

เม่ือมองดูชีวิตของพระมหาไพฑูรย์ท่ีผ่านมา เราอาจ
กล่าวไดว้ ่าการทาํ งานบณั ฑิตอาสาทาํ ใหช้ ีวิตท่านมีความหมาย
และความสุขมากขึน้ เป็นความสุขจากการเป็น “ผู้ให้” ไดใ้ ช้

17

ความรู้และปั ญญาท่ีได้มาจากการศึกษาเล่าเรียนและ
ประสบการณ์ ทาํ ประโยชนแ์ ก่โรงเรียน วัด และชุมชน ในถ่ิน
ทุรกันดาร ความรู้และปัญญาเป็ นคุณธรรมท่ีมีคุณค่าและ
ประโยชนแ์ ก่ผคู้ รอบครองอยแู่ ลว้ เม่ือผนู้ นั้ นาํ ไปใชเ้ พ่ือประโยชน์
และความสุขของคนอ่ืน คุณค่าและประโยชนข์ องความรู้และ
ปัญญาย่อมใหญ่หลวงขึน้ ดงั ท่ีพระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงทาํ ใหเ้ ห็นเป็น
ตวั อย่าง ดว้ ยพระมหากรุณาพระพุทธองคท์ รงนาํ ความรู้และ
ปัญญา รูแ้ จง้ จากการตรสั รูไ้ ปชว่ ยเหลือคนทกุ ชนั้ วรรณะ และทกุ
ฐานะตลอดเวลา 45 ปี ท่ีทรงพระชนมอ์ ยใู่ หพ้ น้ ทกุ ขจ์ ากการเวียน
วา่ ยตายเกิดในสงั สารวฏั และมีความสขุ สงู สดุ (พระนิพพาน)

พระพทุ ธศาสนาย่ังยนื ได้ดว้ ยธรรมทายาท

ในจํานวนพุทธบริษัททั้ง 4 ท่ีทําให้พระพุทธศาสนา
เจริญก้าวหน้าหรือเส่ือมลง พระสงฆ์ธรรมทายาทเป็นกาํ ลัง
สาํ คญั ท่ีคาํ้ จุนพระพทุ ธศาสนาใหด้ าํ รงอยู่สืบตอ่ มาในสงั คมไทย
จนถึงปัจจบุ นั ดว้ ยการอุทิศตนทาํ งานเพ่ือพระพทุ ธศาสนา และ
ผ ดุง รัก ษ า ศ รัท ธ า ป ส า ท ะ ข อ ง พุ ท ธ ศ า ส นิ ก ช น ท่ี มี ต่ อ
พระพุทธศาสนาและพระสงฆใ์ หอ้ ยู่ต่อไปท่ามกลางกระแสเช่ียว
ของฆราวาสนยิ ม (secularism) ท่ีลดความสาํ คญั ของศาสนาลง

18

พระมหาไพฑรู ยเ์ ป็นตวั อยา่ งหน่งึ ของพระสงฆท์ ่ีพยายาม
ทาํ หนา้ ท่ีธรรมทายาทใหส้ าํ เรจ็ ตามศกั ยภาพท่ีมีอยู่ เชน่ (1)ศกึ ษา
พระธรรมคาํ สอนและภาษาบาลีท่ีโรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรมจนเป็น
พระมหาเปรียญ และเพ่ิมพูนความรูท้ างพระพุทธศาสนาดว้ น
การศึกษาบริบทต่างๆ ของพระพุทธศาสนาท่ีวิทยาลัยศาสน
ศกึ ษา ทาํ ใหค้ วามรูท้ างพระพทุ ธศาสนาท่ีมีอยลู่ กึ ซงึ้ และกวา้ ง
ขึน้ (2)ท่านไดใ้ ชค้ วามรูน้ นั้ ใหเ้ ป็นประโยชนใ์ นการเผยแพร่พระ
ธรรมแก่คนทุกหมู่เหล่า รวมทั้งนักเรียนมัธยมศึกษา สามเณร
โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมตา่ งจงั หวดั และชาวบา้ นในชมุ ชนรอบวดั
เพ่ือให้คนเหล่านั้นรู้จักใช้ประโยชน์จากพระพุทธศาสนาใน
ชีวิตประจาํ วัน ถ้าหากผมจาํ ไม่ผิดแม้แต่เด็กเล็กๆ ชาวเขาใน
โรงเรียนชาวไทยภูเขาบนดอย ท่านก็ดนั้ ดน้ ขึน้ ไปสอนใหร้ ูจ้ ักวิธี
ทําให้ใจสงบมีสมาธิ และวิธีดูแลตัวเองไม่ให้ทําความไม่ดี
ทั้ง หลาย และ(3)ท่านฝึ กฝนจิตด้วยหลักธรรมตามวิธี
พระพุทธศาสนาจนเป็นจิตท่ีดีงาม ดว้ ยความเมตตาตอ้ งการใช้
ความรูแ้ ละปัญญาชว่ ยเหลือคนใหท้ กุ ขน์ อ้ ยลง หรือพน้ ทกุ ขแ์ ละ
พบสุขตามศกั ยภาพท่ีมีอยู่ โดยไม่หวังส่ิงตอบแทนจากผู้ได้รบั
ความชว่ ยเหลือ คนท่ีไมม่ ีอตั ตาและทิฐิมานะแก่กลา้ เท่านนั้ จงึ จะ
มีความเมตตานีไ้ ด้

ทาํ งานเพอื่ พระพทุ ธศาสนาจนวนั สดุ ทา้ ย

19

อาจกลา่ วไดว้ า่ การมีปฏิปทาดีงาม และการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี
ของพระสงฆธ์ รรมทายาทของพระมหาไพฑูรย์ เป็นการทาํ งาน
เพ่ือพระพุทธศาสนาท่ีสาํ คญั อย่างหน่ึง งานอ่ืนท่ีท่านไดท้ าํ เพ่ือ
พระพทุ ธศาสนาคือ การปกครองดแู ลพระสงฆ์ สามเณร และแมช่ ี
ในฐานะเจา้ อาวาสวัดนา้ํ พริก และรองเจา้ คณะอาํ เภอนครไทย
จงั หวดั พิษณโุ ลก พระมหาไพฑรู ยท์ าํ งานเพ่ือพระพทุ ธศาสนาจน
วันมรณภาพจากอุบตั ิเหตุทางรถยนต์ ในระหว่างเดินทางกลับ
จากการคมุ สอบท่ีวิทยาลยั สงฆพ์ ระพทุ ธชนิ ราช

มิตใิ หม่ของพระสงฆไ์ ทย

มิติใหม่ของพระสงฆไ์ ทยเกิดขึน้ พรอ้ มกับการเกิดของ
พระนกั พฒั นารุน่ บกุ เบิกเม่ือ 30-40 ปีท่ีแลว้ พระสงฆก์ ล่มุ นี้ (มี
พระสายกรรมฐานรวมอยู่ดว้ ย) หนั มาทาํ งานพฒั นาชุมชนดว้ ย
หลกั ธรรมพทุ ธศาสนา นอกเหนือจากกิจของสงฆท์ ่ีปฏิบตั ิสืบตอ่
กันมาเป็นประเพณีนิยม (เช่น เรียนพระธรรม และภาษาบาลี
ปฏิบตั ิตามคาํ สอน เผยแพรพ่ ระพุทธศาสนา) เพ่ือช่วยเหลือคน
จน คนยากไร้ และคนดอ้ ยโอกาสใหม้ ีชีวิตความเป็นอย่ดู ีขึน้ และ
สรา้ งชุมชนใฝ่ สันติ และเข้มแข็งทางวัฒนธรรมและศีลธรรม
หลงั จากเป็นท่ีประจกั ษว์ า่ ชาวบา้ นและชมุ ชนไดร้ บั ประโยชนจ์ าก
งานพฒั นาชมุ ชนท่ีพระสงฆร์ ุน่ นนั้ ริเร่มิ คนก็มองเห็นคณุ ค่าและ

20

ความสาํ คญั ของพระนกั พฒั นามากขนึ้ ทกุ ที สง่ ผลใหจ้ าํ นวนพระ
นกั พฒั นามีเพ่ิมขึน้ เร่ือย ๆ จนใท่ีสดุ การพฒั นาชมุ ชนกลายเป็น
กิจท่ีพระสงฆค์ วรทาํ ควบค่กู ับการเผยแพร่พระพุทธศาสนา ใน
ปัจจบุ นั ภาพของพระสงฆท์ าํ งานพฒั นาชมุ ชนเคียงขา้ งฆราวาส
(เชน่ ทาํ ถนน และขดุ บอ่ นาํ้ และทาํ ฝายกกั นาํ้ ) เป็นภาพท่ีเห็นอยู่
ท่วั ไป จึงอาจกล่าวไดว้ ่าพระนกั พฒั นาเป็นมิติใหม่ของพระสงฆ์
ไทย

ความซบั ซอ้ นของความยากจน

หลังจากทํากิจของสงฆ์ได้สําเร็จ พระมหาไพฑูรย์
ตดั สินใจเป็นพระนกั พฒั นาในชมุ ชนวดั นา้ํ พริก บา้ นเกิดของตน
ในเวลานนั้ ชาวบา้ นในชมุ ชนทาํ การกสิกรรมเป็นอาชีพหลกั และ
รายไดข้ ึน้ อยู่กับดินฟ้าอากาศ และพ่อค้าในเมือง ปัญหาของ
ชมุ ชนเป็นเร่ืองของความยากจน การเป็นหนีส้ ิน การพนนั การ
เสพสุราเมรยั และการแกไ้ ขความขดั แยง้ ดว้ ยความรุนแรง พระ
มหาไพฑรู ยร์ ูด้ ีวา่ ปัญหาเหลา่ นีม้ ีเหตปุ ัจจยั ซบั ซอ้ น และการแกไ้ ข
ตอ้ งใช้เวลานานและอาศัยความร่วมมือจากองคก์ รต่างๆ ทั้ง
ภาครัฐและเอกชน ในขณะเดียวกันท่านมองเห็นว่าปัญหา
เร่งด่วนท่ีควรแก้ไขก่อนคือ ปัญหาความยากจน แต่การแก้ไข
ปัญหานีต้ อ้ งใชเ้ วลานานเช่นกนั เพราะเกิดจากเหตปุ ัจจยั ภายใน

21

ของชาวบา้ นเอง (เช่น ความคิด ความเช่ือ และวิถีชีวิต) และ
ภายนอก (เชน่ ดนิ ฟ้าอากาศ และการถกู เอารดั เอาเปรียบ) ทา่ นรู้
ดีว่าอะไรคือส่ิงท่ีท่านทาํ ได้ และอะไรคือส่ิงท่ีท่านทาํ ไม่ได้ การ
แกไ้ ขสาเหตทุ งั้ หมดของความยากจนเป็นส่ิงท่ีนอกเหนือความรู้
ความสามารถท่ีท่านมีอยู่ พระมหาไพฑูรยจ์ ึงทาํ ส่ิงท่ีท่านทาํ ได้
และชาวบา้ นปฏิบตั ิตามได้ เชน่ (1)สอนชาวบา้ นใหน้ ่งั สมาธิใหใ้ จ
สงบ และรูว้ ่าความยากจนเป็นปัญหาของชุมชนของคนทุกคน
ไม่ใช่ปัญหาของคนหน่ึงคนใดโดยเฉพาะ ดงั นนั้ ชาวบา้ นจึงตอ้ ง
ช่วยกนั แกไ้ ขปัญหานี้ (2)ชีใ้ หเ้ ห็นว่าเหตปุ ัจจยั บางอย่างท่ีทาํ ให้
ชาวบา้ นยากจนเกิดจากตวั ชาวบา้ นเอง ดงั นนั้ จงึ เป็นส่งิ ท่ีแกไ้ ขได้
ดว้ ยการร่วมแรงร่วมใจกัน ไม่ตอ้ งรอรับความช่วยเหลือจาก
องค์กรรัฐ เช่น ด้วยการปรับเปล่ียนวิถีชีวิตให้เป็ นไปตาม
หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา

ในภาคปฏิบตั ิ พระมหาไพฑรู ยส์ อนชาวบา้ น(และทาํ ให้
ดู) ใหร้ ูจ้ กั (1)ทาํ ป๋ ุยธรรมชาติไวใ้ ชใ้ นการเพาะปลูก ไม่ตอ้ งใช้
ป๋ ยุ เคมีราคาแพง (2)ปลกู พืชผกั สวนครวั ไวใ้ ชแ้ ละแบ่งปันเพ่ือน
บา้ น (3)ทาํ หตั ถกรรมพืน้ บา้ นเป็นอาชีพเสริมรายได้ และ(4)ทาํ
ฝายกกั นา้ํ ไวใ้ ชใ้ นฤดแู ลง้

22

ขวญั กาํ ลงั ใจความเชือ่ ม่นั กลบั คนื

พระมหาไพฑรู ยช์ ว่ ยแกป้ ัญหาความยากจนของชาวบา้ น
ด้วยความจริงใจ ไม่ต้องการส่ิงตอบแทนจากชาวบ้าน ท่าน
ตอ้ งการใหช้ าวบา้ นคลายทุกขจ์ ากความยากจน และมองเห็น
แนวทางท่ีจะไม่ยากจนอีกต่อไป นอกจากให้ความช่วยเหลือ
ดงั กล่าวแลว้ ท่านยังเป็นกาํ ลังใจใหช้ าวบ้านตลอดเวลา เม่ือ
ชาวบา้ นทาํ ตามคาํ แนะนาํ ของพระมหาไพฑรู ยแ์ ละมีความทกุ ข์
จากความยากจนนอ้ ยลง ขวญั กาํ ลงั ใจและความเช่ือม่นั ในตวั เอง
ท่ีความยากจนไล่ไสส่งกลับมาหาชาวบา้ นอีกครัง้ หน่ึง ทาํ ให้
ชาวบา้ นมองเหน็ วา่ ความยากจนไมเ่ ป็นส่งิ ท่ีแกไ้ ขไมไ่ ดอ้ ีกตอ่ ไป

ความสขุ จากการให้

พระมหาไพฑูรยก์ ล่าวเสมอว่าท่านมีความสุขจากการ
ทาํ งานพฒั นา ทัง้ นีม้ ิไดห้ มายความว่าพระมหาไพฑูรยท์ าํ งาน
พฒั นาเพราะตอ้ งการใหต้ วั เองมีความสขุ พระมหาไพฑรู ยไ์ ม่ใช่
คนประเภทสุขนิยมท่ีแสวงหาความสุขมาบาํ รุงบาํ เรออัตตาของ
ตน ความสุขท่ีพระมหาไพฑรู ยม์ ีในขณะทาํ งานช่วยเหลือคนจน
คนยากไร้ และคนดอ้ ยโอกาส ให้มีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึน้ นั้น
เกิดขึน้ ตลอดชีวิตของท่าน ไม่ว่าในฐานะนักศึกษา บณั ฑิตอาสา
ธรรมทายาท หรือนกั พฒั นา พระมหาไพฑรู ยเ์ ป็น “ผมู้ ีแตใ่ ห”้ ส่ิง

23

ดีๆ ท่ีมีอยู่ และเป็นประโยชน์ เช่น เวลา(ท่ีท่านมีจาํ กดั ) ความรู้
และปัญญา และวตั ถสุ ่ิงของแกผ่ อู้ ่ืน คนจน และผขู้ ดั สน ความสขุ
จากการเป็นผูใ้ หท้ ่ีไม่ตอ้ งการส่ิงตอบแทนทาํ ใหใ้ จอ่ิมเอมเปรม
ปรีดมิ์ ากกวา่ ความสขุ จากการเป็น “ผรู้ บั ” เป็นไหนๆ

สว่ นทดี่ แี ละสว่ นไม่ดขี องคน

ผอู้ ่านบางคนอาจวิจารณว์ ่าความประทบั ใจทงั้ หมดท่ีผม
มีในพระมหาไพฑูรยน์ นั้ ผิวเผิน เพราะกล่าวแต่ส่วนท่ีดีของท่าน
เท่านนั้ ไม่กล่าวถึงส่วนไม่ดีของท่าน ผมยอมรบั ว่าในโลกนีไ้ ม่มี
คนใดท่ีดีพรอ้ มทุกประการ หรือเป็น “คนสมบรู ณแ์ บบ” (perfect
man) พระมหาไพฑรู ยไ์ ม่ไดเ้ ป็นพระอรหนั ต์ ท่านจึงมีทงั้ ส่วนท่ีดี
และสว่ นไมด่ ี หรือขอ้ บกพรอ่ งเชน่ คนท่วั ไป แตโ่ ดยเหตทุ ่ีทา่ นเป็น
“พระผูม้ ีแตใ่ ห”้ ส่ิงไม่ดีท่านมีอยู่บา้ ง เช่น คนท่ียงั ลดอตั ตาไม่ไห
มดสิน้ จึงนอ้ ยมากและไม่สาํ คญั มากพอท่ีจะกล่าวถึง ในเร่ือง
สว่ นท่ีดีและไม่ดีของคน คาํ ถามท่ีนา่ คิดคือ เป็นการสมควรหรือท่ี
เราจะคน้ หาส่วนไม่ดีหรือขอ้ บกพรอ่ งของคนมาขยายใหใ้ หญ่โต
เชน่ ใหผ้ นู้ นั้ เสียหาย ในเม่ือส่ิงดีๆ ท่ีผนู้ นั้ ทาํ ใหส้ ว่ นรวมหรือสงั คม
มีมากและสาํ คัญกว่า? เป็นการสมควรหรือท่ีเราจะนาํ ความ
บกพร่องของคนมาตอกยา้ํ ใหผ้ ูน้ ั้นหมดกาํ ลังใจทาํ ความดีงาม
ตอ่ ไป? ในการทาํ งานกบั เพ่ือนรว่ มงานเราควรมองหาสว่ นท่ีดีของ

24

ผูน้ นั้ ท่ีเป็นประโยชนต์ ่อส่วนรวมมากกว่าส่วนไมด่ ีหรือไม่ ในเม่ือ
ส่วนไม่ดีเป็ นเร่ืองของเขาท่ีจะต้องปรับปรุงแก้ไขไม่ให้เป็ น
อนั ตรายตอ่ ตวั เขา?

เมอ่ื ความตายมาพราก

ไม่มีใครหนีความตายได้ และรูล้ ่วงหนา้ ว่าความตายจะ
มาถึงตนเม่ือใด เราหวาดกลวั ความตายเพราะความตายเอาชีวิต
และทกุ ส่ิงทกุ อย่างไป ความตายพรากเราจากคนและส่ิงท่ีเรารกั
ตลอดไป และลดทอนเราจากการเป็นมนุษย์มีศักยภาพและ
ศกั ดศิ์ รีสงู ส่งกว่าสตั วส์ องเทา้ ส่ีเทา้ ใหเ้ ป็นวตั ถไุ รค้ ณุ คา่ และเป็น
ความวา่ งเปลา่ ในท่ีสดุ

พระมหาไพฑูรยม์ รณภาพดว้ ยอุบตั ิเหตุทางรถยนต์ ใน
วนั ท่ี 5 พฤศจิกายน 2563 อายุ 55 ปี 34 พรรษา ทงั้ ๆ ท่ีอย่ใู นวยั
ทาํ งานและพัฒนาชุมชนวดั นา้ํ พริกไม่เสร็จสิน้ ความตายพราก
พระมหาไพฑูรยไ์ ปจากทุกคน และทาํ ใหท้ ่านท่ีเป็นคนของโลก
ปัจจุบัน เป็นคนของอดีตท่ีนับวันจะห่างไกลไปทุกที จาก ”ปีท่ี
แลว้ ” เป็น “กาลครงั้ หน่งึ นานมาแลว้ ” ส่ิงเดียวท่ีความตายเอาไป
ไม่ได้ คือ พลงั กศุ ลกรรมท่ีจะไปสรา้ งชาติภพต่อไป และความดี
งามท่ีพระมหาไพฑรู ยไ์ ดท้ าํ ไวใ้ นฐานะ “พระผูม้ ีแต่ให”้ ความดี

25

งามนีย้ ังมีใหเ้ ห็นในชะตาชีวิตท่ีเปล่ียนไปของสามเณรลูกศิษย์
และชาวบา้ นชมุ ชนวดั นาํ้ พรกิ

พฤษภกาสร อกี กญุ ชรอนั ปลดปลง

โททนตเ์ สนง่ คง สาํ คญั หมายในกายมี

นรชาตวิ างวาย มลายสนิ้ ทงั้ อนิ ทรยี ์

สถติ ทว่ั แตช่ ่วั ดี ประดบั ไวใ้ นโลกา”

--------------------------------------


Click to View FlipBook Version