The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการเปิดภาคเรียน แบบ ON Site

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nunapaweena08, 2022-05-11 04:06:27

แผนการเปิดภาคเรียน แบบ ON Site

แผนการเปิดภาคเรียน แบบ ON Site

ประกาศโรงเรียนบ้านจาน
เรือ่ ง ใหใ้ ช้แผนเปดิ เรยี น Onsite ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕
ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

........................................................

แผนเปดิ รียน Onsite ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) แนบท้ายประกาศเล่มนี้ โรงเรียนบ้านจาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา
สุรินทร์ เขต ๒ รับนโยบายจากท่านเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และท่าน ผู้อำนวยการสำนักงานเขต
พน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๒ จดั ทำข้นึ โดยผา่ นความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พื้นฐาน เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏบิ ัติงานสำหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาค เรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ในวันท่ี
๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕ เพอื่ สรา้ งความมัน่ ใจให้แก่นักเรยี น ผปู้ กครอง และ ประชาชนทว่ั ไปวา่ โรงเรียนบา้ นจาน มแี นวทาง
การสร้างความปลอดภยั ใหก้ ับนกั เรียนก่อนการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ และระหว่างที่จัดการเรียนการสอน
ในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกำหนดและเป็นไปตามนโยบาย
ต้นสังกดั ทกุ ประการ

โรงเรียนบ้านจาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียน ที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เล่มนี้จะช่วยอำนวยความ สะดวกให้แก่
ผู้ปฏิบัตงิ านในสถานศกึ ษาได้เปน็ อยา่ งดี ขอบคณุ คณะทำงาน ทกุ ท่านทีไ่ ด้ร่วมกนั จัดทำจนสำเร็จ บรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๕

(นางปัญญดา ล้อดงบัง)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นจาน

แผนการเปิดเรยี น ON Site ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕
ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

วนั ที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านจาน
สงั กัด สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๒

.......................................................

สว่ นที่ ๑ ข้อมูลพ้นื ฐานโรงเรยี น
โรงเรียนบา้ นจาน ตงั้ อยู่ บา้ นจาน หมทู่ ่ี ๘ ตำบลทบั ใหญ่ อำเภอรัตนบุรี จังหวดั สรุ ินทร์ ๓๒๑๓๐ เปิดทำ

การสอนตั้งแต่ระดับช้ันอนบุ าลปีท่ี ๒ ถึงระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ โดยมี นางปญั ญดา ลอ้ ดงบงั ดำรงตำแหนง่
ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา มีจำนวนข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำนวน ๑๑ คน แยกเปน็ ข้าราชการครู
๙ คน และพ่ีเล้ียงเด็กพิการ ๑ คน มีจำนวนนักเรียนท้งั สิน้ ๑๔๕ คน แยกเปน็ นกั เรียนระดบั ช้นั ปฐมวัย ๒๙ คน และ
นักเรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา ๑๑๖ คน (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๕)

ระดบั ช้นั ท่ีเปดิ ทำการเรียนการสอน

ระดับชั้น จำนวนห้องเรยี น จำนวนนักเรียน หมายเหตุ
อนบุ าล ๒ ๑ ๑๔
อนุบาล ๓ ๑ ๑๕
๒ ๒๙
รวมระดับอนบุ าล ๑ ๑๓
ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ๑ ๒๒
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๑ ๒๔
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๑ ๑๓
ประถมศึกษาปีที่ ๔ ๑ ๒๓
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๑ ๒๑
ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๖ ๑๑๖
รวมระดับประถมศกึ ษา ๘ ๑๔๔

รวมท้ังสน้ิ

สว่ นที่ ๒ ข้อมูลการวางแผนการเปิดเรียน
โรงเรียนบา้ นจาน มกี ารวางแผนการเปิดเรียนในรูปแบบ On Site ดังนี้

วนั ที่เปดิ ทำการเรียนการสอน รปู แบบการเรียนการสอน On Site หมายเหตุ
วนั จันทร์ อนบุ าล ๒ – ประถมศึกษาปที ่ี ๖
วนั องั คาร อนุบาล ๒ – ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ จำนวนนักเรียนแต่ละ
วันพธุ อนบุ าล ๒ – ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ห้องเรยี น
วันพฤหัสบดี อนุบาล ๒ – ประถมศึกษาปีที่ ๖
วนั ศกุ ร์ อนุบาล ๒ – ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ต่ำกวา่ ๒๕ คน

รูปแบบการจัดการเรียนการสอน แบบ ON Site โรงเรียนบ้านหนองจาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ วางแผนการจดั การเรียนการสอนในภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ แบบ
On-site เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนไดอ้ ย่างดีท่สี ุด จงึ ไดพ้ ฒั นานวตั กรรมการเรยี น การสอน ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียน
ได้เรียนรู้จากสภาพจริง ด้วยการเรียนรู้แบบ Active Leaning ใช้ภูมิปัญญาและทรัพยากรธรรมชาติที่มีในท้องถน่ิ
เน้นการเรียนรู้นอกห้องเรียน เพื่อการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ให้กับผู้เรียน ซึ่งถือว่าความ
ปลอดภัยของผู้เรียนเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด โดยใช้วิธีการสอนแบบในรูปแบบที่หลากหลาย ซึ่งประกอบด้วยการสอน
แบบโครงงาน (Project Based Learning) การจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning)
และการสอนท่ีเน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) เปน็ ตน้ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ดังนี้

๑. เพื่อเสรมิ สร้างโอกาสทางการศึกษาอย่างท่ัวถงึ และมคี ุณภาพ ให้ผูเ้ รยี นมที กั ษะทางด้านวิชาการ
โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย

๒. เพือ่ ให้ผเู้ รยี นมีทักษะด้านการประกอบอาชพี โดยการลงมอื ปฏิบัติจรงิ
๓. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นมีทักษะในการดำเนินชีวิต ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

คณุ ภาพตาม มาตรการการปอ้ งกัน
มาตรฐานการเรยี นรู้ COVID-19

การเรียนรผู้ ่านสือ่ การนเิ ทศกำกับ
เทคโนโลยแี ละ ติดตามอยา่ งใกล้ชิด
แหลง่ เรียนรู้
ท่ีกลากหลาย โดยทกุ ฝา่ ย
มีส่วนรว่ ม

รูปแบบการเรียนการสอน แบบ On Site
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา COVID-19

ส่วนท่ี ๓ มาตรการการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

มาตรการเปิดเรยี น On site ปลอดภัย อยไู่ ดก้ ับโควิด 19 ในสถานศึกษา
เตรียมความพร้อมการเปดิ ภาคเรียนท่ี ๑ / ๒๕๖๕
************************

สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชอ้ื โควดิ -๑๙ ในประเทศไทย พบผ้ตู ิดเช้ือเพิ่มข้ึนอย่างตอ่ เน่ือง รวมถงึ
ผตู้ ดิ เชอื้ ทเ่ี ป็นนักเรยี นและครู พบวา่ เด็กอายุ ๐-๑๙ ปี มีการตดิ เช้อื โควิด ๑๙ จำนวน ๒,๖๗๔ ราย ร้อยละ ๑๔.๑๕
จากจำนวนผตู้ ิดเชือ้ ทุกกลุ่มอายุ จำนวน ๑๘.๘๙๒ ราย ส่วนใหญเ่ ป็นกล่มุ ไมม่ ีอาการหรือมีอาการเล็กนอ้ ย (จาก
รายงานข้อมลู ผู้ปว่ ยยืนยันประจำวัน กรมควบคุมโรค ,๑๖ เมษายน ๒๕๖๕) ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มกี ารปรับรปู แบบการเรยี นการสอนและการสอบเพ่ือให้ นักเรยี นและนักศึกษาสามารถเขา้ ถงึ
โอกาสทางการศึกษาไดม้ ากสุด ได้ทบทวนและพฒั นาปรับปรงุ แนวปฏิบัติ สำหรับสถานศึกษาตามมาตรการ
เปิดเรยี น On site ปลอดภยั อย่ไู ด้กบั โควดิ ๑๙ ในสถานศึกษา เตรยี มความพร้อมการเปดิ ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๕
เพอ่ื ให้นกั เรียน ครู บุคลากร และสถานศึกษา เปิดเรยี น On site จดั ให้มี การเรียนการสอนท่ีโรงเรียน มีปฏสิ มั พันธ์
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และอยู่ไดก้ บั โควิด 19 อยา่ งปลอดภยั มาตรการเปิดเรยี น On site ปลอดภยั อยูไ่ ดก้ ับ
โควดิ 19 ในสถานศกึ ษา รองรบั การเปดิ ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๕ โดยมแี นวทาง ดังน้ี

แนวทางการเฝา้ ระวังในการเตรยี มความพร้อมสำหรับการเปิดเรียน On site ด้วยหลักการ “ตัดความเสี่ยง
สรา้ งภมู ิคมุ้ กัน” ด้วย 3T1V

T : Thai Stop Covid Plus (TSC+) สถานศึกษาต้องประเมินตนเองเตรียมพร้อมกอ่ นเปิดเรียน
T : Thai Save Thai (TST) นักเรยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ประเมินความเสี่ยงตนเองเป็นประจำ
T : Test ตรวจคัดกรองเฝ้าระวังอย่างเหมาะสม เช่น ATK เม่อื มีความเสี่ยงหรือมีอาการ
V : Vaccine ครู บุคลากร ผปู้ กครอง และเด็ก อายุ 5-18 ปี ได้รับวัคซีนโควดิ 19 ตามเกณฑ์
โรงเรยี นบา้ นจาน ได้กำหนดมาตรการความปลอดภัยการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19) ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสรมิ และ ๗ มาตรการเข้มงวด ดังนี้
มาตรการหลกั (DMHT-RC)
โดยขอความรว่ มมอื จากผูป้ กครอง ครู และนักเรียน ปฏิบตั ิตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ
ภายใต้ ๖ มาตรการหลัก ได้แก่
๑. เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคลอยา่ งนอ้ ย ๑-๒ เมตร (Distancing)
๒. สวมหนา้ กากตลอดเวลาที่อยใู่ นโรงเรยี น (Mask Wearing)
๓. ลา้ งมือดว้ ยสบู่และน้ำนาน ๒๐ วินาที หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์ (Hand Washing)
๔. คดั กรองวัดไข้ สังเกตอาการ ทุกคนก่อนเข้าโรงเรียน (Testing)
๕. ลดการแออัด ลดการเข้าไปในพืน้ ทเ่ี สีย่ งกลุ่มคนจำนวนมาก ควบคุมจำนวนนกั เรียน ลดแออัด
เหลื่อมเวลาหรอื ลดเวลาทำกจิ กรรมให้ส้นั ลงเท่าท่จี ำเป็น (Reducing)
๖. ทำความสะอาด บรเิ วณพ้ืนผิวท่ีสมั ผสั ร่วมกนั เชน่ ประตู ลกู บิดประตู ราวบันได เปน็ ตน้ (Cleaning)

มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
๑. ดแู ลตนเองปฏบิ ตั ิตามมาตรการอยา่ งเครง่ ครัด (Self-care)
๒. ใช้ช้อนกลางส่วนตัวเมื่อต้องกินอาหารร่วมกัน (Spoon)
๓. กินอาหารปรุงสุกใหม่ กรณีอาหารเก็บเกนิ ๒ ช่วั โมงควรนำมาอ่นุ ให้ร้อนทั่วถึงก่อนกินอีกครั้ง (Eating)
๔. ไทยชนะ ลงทะเบียนตามท่ีรฐั กำหนด ดว้ ยแอปพลิเคชัน่ ไทยชนะ หรอื ลงทะเบยี นบนั ทึก

การเขา้ -ออกอยา่ งชัดเจน (Thai chana)
๕. สำรวจตรวจสอบ บุคคล นักเรียน และกลุ่มเส่ียงทีเ่ ดนิ ทางมาจากพืน้ ท่เี ส่ียง เพ่อื เข้าสู่กระบวนการ

คัดกรอง (Check)
๖. กกั กันตัวเอง ๑๔ วัน เมือ่ เขา้ ไปสัมผัสหรืออยูใ่ นพ้ืนท่เี สี่ยงทม่ี กี ารระบาดของโรคติดเชอ้ื

ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Quarantine)
มาตรการเข้มงวด
๑. สถานศกึ ษาผ่านการประเมิน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมินผลผ่าน MOE COVID
๒. ทำกจิ กรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลกี เลี่ยงการทำกจิ กรรมขา้ มกล่มุ และ

จัดนักเรยี นในห้องเรยี นขนาดปกติ (๖x๘) ไม่เกิน ๒๕ คน หรอื จดั ใหเ้ ว้นระยะห่างระหว่างนกั เรยี นในหอ้ งไม่น้อย
กวา่ ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั

๓. จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรบั นกั เรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษาตามหลกั มาตรฐาน
สุขาภบิ าลอาหารและหลักโภชนาการ เชน่ การจัดซอื้ วตั ถดุ ิบจากแหลง่ อาหาร การปรุงอาหาร หรือการสัง่ ซ้ือ
อาหารตามระบบนำสง่ อาหาร (Delivery) ที่ถูกสขุ ลักษณะ

๔. จัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมใหไ้ ดต้ ามแนวปฏบิ ัตดิ ้านอนามัยสง่ิ แวดล้อม ในการปอ้ งกันโรค
โควิด ๑๙ ในสถานศึกษาได้แก่ การระบายอากาศภานในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพนำ้ ดม่ื และการจดั การขยะ

๕. ใหน้ ักเรียนทม่ี คี วามเสี่ยงแยกกกั ตวั ในสถานศึกษา และมกี ารซักซ้อมแผนเผชญิ เหตุรองรบั การ
ดูแลเบือ้ งตน้ กรณี ครู นกั เรยี นหรอื บุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเชือ้ โควิด 19 หรอื ผล ATK เปน็ บวก
โดยมีการซักซ้อมอย่างเครง่ ครัด

๖. ควบคมุ ดูแลการเดินทางกรณมี กี ารเขา้ และออกจากสถานศกึ ษาอยา่ งเข้มขน้ โดยหลีกเลี่ยงการเข้า
ไปสัมผสั ในพ้นื ที่ต่าง ๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง

๗. ใหจ้ ดั ให้มี School Pass สำหรบั นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซ่งึ ประกอบดว้ ยข้อมูล
ผลการประเมิน TSC ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วนั และประวัตกิ ารรบั วคั ซนี ตามมาตรการ

มาตรการเปิดเรียน On site ปลอดภัย อยูไ่ ด้กับโควิด 19 ในสถานศกึ ษา
รองรบั การเปดิ ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๖๕
สำหรับโรงเรียนไป-กลบั

กรณีนักเรยี น ครู บุคลากร เปน็ ผสู้ มั ผสั เส่ียงต่ำ
เรียนในพื้นทสี่ ถานศกึ ษา (On-Site) ตามปกติ ทำตามมาตรการ universal prevention และ

ประเมนิ Thai Save Thai (TST) จัดระยะห่างระหวา่ งนักเรยี นในหอ้ งไม่น้อยกวา่ ๑ เมตร
กรณนี ักเรียน ครู บคุ ลากร เปน็ ผู้สัมผสั เสี่ยงสูง
แยกกักกันที่บ้าน หรือสถานที่ตามคำ แนะนำ ของหน่วยบริการสาธารณสุข ตรวจคัดกรองหาเช้ือ

ทนั ทถี า้ มอี าการ และให้ตรวจคร้งั ท่ี 1 ในวันท่ี 5-6 หลงั สัมผัสผตู้ ิดเชอ้ื และตรวจครัง้ สุดท้ายในวันที่ ๑๐ หลังสัมผัส
ผู้ติดเชื้อ กรณีนักเรยี นไดร้ ับวัคซีนครบตามคำแนะนำในปัจจบุ ันและไมม่ ีอาการ ไม่แนะนำใหก้ ักตวั ให้ตรวจ ATK
ซ้ำในวันที่ ๕ หรือ มีอาการพร้อมแยกกักตัว ให้สังเกตอาการครบ ๑๐ วัน พร้อมปฏิบัติตัวตามมาตรการขนั้ สูงสุด
สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม เว้นระยะห่างไม่น้อยกว่า ๒ เมตร และประสานหน่วยบริการ
สาธารณสุขตามระบบ อนามยั โรงเรยี น

กรณีนักเรยี น ครู บคุ ลากร เป็นผตู้ ดิ เชอื้
- แยกกกั ตัวท่ีบ้าน (Home Isolation) หรอื ตามความเหน็ ชอบของสถานบริการดา้ นสาธารณสุข
- ติดตอ่ 1330 สปสช. ต่อ 14 หรอื หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุข
- ปฏบิ ตั ิตามมาตรการการรักษาของกระทรวงสาธารณสขุ
- พจิ ารณาจัดทำ School Isolation ตามความเหมาะสม โดยคณะกรรมการสถานศกึ ษา หน่วยงานสาธารณสขุ

ผปู้ กครอง ชุมชน พิจารณารว่ มกนั ใหค้ วามเหน็ ชอบ และปฏบิ ตั ิตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School (SSS)
- สถานศึกษาจดั รปู แบบการเรียนการสอนท่เี หมาะสม โดยเฉพาะกลุ่มท่ีไม่มีอาการ
- ทำความสะอาดหอ้ งเรียน ชัน้ เรยี น สถานศึกษา และเปดิ เรยี นตามปกติ

หมายเหตุ
การทำความสะอาด เนื่องจากโคโรนาไวรสั สามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้เปน็ ระยะเวลานาน ๒ ช่ัวโมง ถึง

๙ วัน หลกั การ ในการทำลายเชื้อจะต้องใชใ้ นปรมิ าณทสี่ ามารถฆา่ เช้อื ได้ในเวลาสนั้ องค์การอนามัยโลกแนะนำสารท่ี
มีประสิทธภิ าพในการกำจดั เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ ภายในระยะเวลา ๑ นาที ได้แก่ แอลกอฮอล์ ๖๒-๗๐%
โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ ๐.๑% และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ๐.๕%

มาตรการความปลอดภัยในการสอบ กรณีผูส้ ัมผัสเส่ียงสูงและผตู้ ิดเชื้อโควดิ 19 สถานทสี่ อบ
สถานท่ีจัดสอบ

• ประสานหน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ ตามระบบอนามัยโรงเรียนในการคัดกรองและให้คำแนะนำดา้ น
สาธารณสขุ เพื่อความปลอดภยั ขน้ั สูงสดุ

• จัดให้มพี ้ืนที่แยกสำหรับการจดั การสอบเป็นสดั สว่ น แยกกลุ่มผู้สัมผสั เส่ียงสูง กลุ่มผูต้ ดิ เชอื้ โควิด 19
เนน้ การระบายอากาศที่ดี จัดทีน่ ั่งสอบ ไมน่ ้อยกวา่ ๒ เมตร

• กรณผี ้สู ัมผสั เส่ียงต่ำหรือไม่มคี วามเส่ียง จดั การสอบตามมาตรการเดิม สวมหนา้ กาก ล้างมอื เว้นท่ี
น่ังสอบ ไมน่ ้อยกวา่ ๑ เมตร

ผเู้ ข้าสอบ

• เป็นผูต้ ดิ เชอ้ื โควิด 19 ท่ไี ม่มีอาการหรือมีอาการเลก็ น้อย หรือผสู้ ัมผสั เสย่ี งสงู

• ต้องสวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา ลา้ งมอื ก่อน และหลงั การเขา้ สอบ งดการพดู คุย เวน้ ระยะหา่ ง

• การเดินทางไปสนามสอบโดยรถยนตส์ ่วนตัว หรือประสานหน่วยสถานที่สอบ หน่วยบรกิ าร
สาธารณสขุ กรณไี ม่มีรถยนต์สว่ นตัว

ผู้คุมสอบ

• ปฏิบัติการคุมสอบตามมาตรฐานการปอ้ งกนั การติดเชอื้ ของบุคลากร สธ. เชน่ การสวมหน้ากากอนามยั

• ใช้เวลาในการคุมสอบในห้องสอบใหน้ อ้ ยท่สี ุด รวมถงึ การวางแผนจัดการสอบใหเ้ หมาะสม

แผนเผชญิ เหตุโรงเรียนบา้ นจาน
โรงเรียนบ้านจาน ได้จัดให้มีการเตรียมความพร้อมไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด
สมำ่ เสมอ หากพบผตู้ ดิ เชือ้ หรอื พบว่าเป็นกลุ่มเส่ียงสูง สถานศกึ ษาต้องมีความพร้อมในเร่ืองสถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์ ระบบ
ขนส่ง ระบบประสานงานตรงกับบุคคากรทางการแพทย์ในพื้นที่ รวมทั้งการสร้างการรับรู้ข่าวสารภายใน การคัดกรอง
เพือ่ แบง่ กลมุ่ นักเรยี น ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ดังน้ี

ระดบั การระบาด มาตรการปอ้ งกนั

ในชุมชน ในโรงเรยี น ครู/นักเรยี น โรงเรยี น

ไมม่ ีผู้ตดิ เชอื้ ไมพ่ บผตู้ ดิ เชื้อ - ปฏิบัติตามมาตรการ DMHTT - เปิดเรียน On Site

ยนื ยัน - ประเมนิ TST เป็นประจำ - ปฏิบัติตาม TST

มผี ู้ติดเชอ้ื ไม่พบผตู้ ิดเช้อื - ปฏิบตั ิตามมาตรการ DMHTT - เปิดเรยี น On Site

ประปราย ยนื ยนั - ประเมนิ TST ทุกวัน - ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ TST Plus

พบผตู้ ดิ เช้ือ - ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ DMHTT - ปิดหอ้ งเรยี นที่พบผตู้ ดิ เชอ้ื ๓ วนั เพอื่

ในหอ้ งเรยี น * เนน้ ใส่หนา้ กาก ทำความสะอาด

๑ รายขนึ้ ไป * เว้นระยะหา่ งบุคคล ๑-๒ เมตร - เปดิ หอ้ งเรยี นอืน่ ๆ Onsite ได้

- ประเมิน TST ทกุ วนั ตามปกติ

- ผู้สัมผัสทมี่ ีความเสย่ี งตอ่ การ - สมุ่ ตรวจเฝา้ ระวังทกุ ๒ ครง้ั /สปั ดาห์

ตดิ เช้อื สงู งดการเรียน On Site และ - ปฏิบตั ิเข้มตามมาตรการ TST Plus

กกั ตัวทบี่ ้าน ๑๔ วนั

- ผู้สมั ผัสที่มีความเสีย่ งตอ่ การ

ตดิ เชอ้ื ตำ่ สังเกตอาการของตนเอง

และปฏิบตั ิตามมาตรการของกระทรวง

สาธารณสขุ

พบผตู้ ิดเช้อื ยนื ยัน - ปฏบิ ตั ิเขม้ ตามมาตรการ DMHTT - ปดิ ห้องเรียนทพ่ี บผู้ตดิ เชื้อ ๓ วัน
มากกว่า
๑ หอ้ งเรยี น * เนน้ ใสห่ นา้ กาก เพื่อทำความสะอาดหรอื ตามอำนาจ

มีผตู้ ดิ เชอ้ื เปน็ * เวน้ ระยะห่างบุคคล ๑-๒ เมตร การพจิ ารณาของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั
กลุ่มก้อน
- ประเมนิ TST ทุกวัน - ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ TST Plus
มีการแพรร่ ะบาด
ในชุมชน - ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ DMHTT - พิจารณาการเปดิ เรียน Onsite โดย

* เน้นใส่หนา้ กาก เข้มมาตรการทกุ มิติ

* เว้นระยะหา่ งบุคคล ๑-๒ เมตร - สำหรบั พ้ืนทีร่ ะบาดแบบกลมุ่ ก้อน

- ประเมนิ TST ทุกวัน พจิ ารณาปิดโดยคณะกรรมการควบคุม

- ผู้สมั ผัสทมี่ คี วามเสย่ี งต่อการ การแพร่ระดับพนื้ ท่ี หากมหี ลักฐาน

ติดเชื้อสงู งดการเรียน On Site และ และความจำเป็น

กกั ตวั ที่บ้าน ๑๔ วนั - สุม่ ตรวจเฝา้ ระวังทุก ๒ สัปดาห์

- ผู้สมั ผสั ทม่ี ีความเสี่ยงต่อการ

ตดิ เช้อื ต่ำ สังเกตอาการของตนเอง

- ปฏิบตั ิเข้มตามมาตรการ DMHTT - พิจารณาการเปิดเรยี น Onsite โดย

- เฝา้ ระวงั อาการเส่ียงทุกวนั เขม้ มาตรการทุกมิติ

- ประเมิน TST ทุกวนั - สำหรับพ้ืนทร่ี ะบาดแบบกลุ่มก้อน

พจิ ารณาปิดโดยคณะกรรมการควบคมุ

การแพร่ระดับพนื้ ที่ หากมหี ลกั ฐาน

และความจำเป็น

- ส่มุ ตรวจเฝ้าระวงั ทกุ ๒ สปั ดาห์

แนวทางปฏิบัติการเตรียมการกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น
โรงเรียนบ้านจาน ตระหนกั ถึงความสำคญั ของการเตรยี มการกอ่ นเปดิ ภาคเรียน เนื่องจากมคี วาม

เกีย่ วขอ้ งกับการปฏบิ ัติตนของนกั เรียน ครู บุคลากร และผู้ท่เี กยี่ วข้องทุกคนในสถานศกึ ษา เพื่อป้องกนั ไมใ่ ห้มีการ
ติดเชือ้ ไวรัสโควดิ 19 (COVID-19) ตดั ความเสย่ี ง สร้างภมู ิกนั และสรา้ งความปลอดภยั แก่ทุกคน โรงเรยี น
บ้านหนองบัวน้อย จึงกำหนดแนวปฏบิ ตั กิ ารเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรยี น ใช้เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

๑. การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี น
โรงเรยี นบ้านหนองบวั นอ้ ย ดำเนินการประเมนิ ตนเองในระบบ Thai Stop Covid (TSC+)

ของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ เรียน ตามลิงกร์ ะบบ
http://stopcovid.anamai.moph.gk.th/th/school ประกอบด้วย 6 มติ ิ 20 ขอ้ สถานศึกษาผ่านการประเมนิ
ทั้ง 20 ขอ้ (สีเขียว)

๒. รายงานผลการประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid (TSC+) ต่อที่ประชุมคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือขอความเห็นชอบในการเปิด

๓. เสนอเอกสารการประเมนิ ตนเองและความเหฯชอบของการเปิดเรยี นของคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน และเอกสารข้อมลู จำนวนครู บคุ ลากรทางการศึกษา และจำนวนนักเรยี นท่ปี ระสงคร์ บั การฉีดวคั ซนี
เสนอต่อสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา เพื่อขออนุญาตตอ่ คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวดั พิจารณาอนมุ ัติการเปดิ เรียน

๔. รณรงค์ครูและบุคลากรในสถานศกึ ษารบั การฉีดวัคซีน ร้อยละ 85 ขึ้นไป รวมท้ังผู้ปกครองนักเรยี น
ได้รับวัคซีนใหม้ ากที่สุดก่อนเปิดภาคเรยี น

๕. ครแู ละบคุ ลากรทุกคนในสถานศกึ ษาต้องได้รบั การตรวจ ATK 100%
๖. เตรียมความพรอ้ ม อาคารสถานท่ี ความสะอาดบรเิ วณของสถานศกึ ษาใหม้ ีความพร้อมในการเปิดภาคเรียน
รวมทัง้ สอื่ เทคโนโลยตี ่าง ๆ ให้พรอ้ มในการจดั การเรียนการสอน

มาตรการปอ้ งกันและแก้ไขสถานการณ์
๑. ครูดแู ลรบั นกั เรียน และคัดกรองนักเรยี นตอนเช้า หนา้ โรงเรยี นเปน็ ประจำทุกวันโดยประสานงาน

กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแก และ อสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียนเพื่อช่วยคัดกรองและให้
คำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตูโรงเรียน และนกั เรยี น ก่อนเข้าบรเิ วณโรงเรียน

๒. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย มีจุดตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และมีจุดบริการเจลแอลกอฮอล์
ล้างมือเพื่อฆ่าเชอ้ื แก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรยี น หนา้ หอ้ งเรียนทุกห้องและอ่างลา้ งมือบริเวณโรงอาหาร เป็นตน้

๓. คดั กรองนกั เรยี น ผปู้ กครอง ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นเข้าสูภ่ ายในบรเิ วณโรงเรยี น
หากมีอุณหภูมิสูงกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรียนหยุด
เรยี นและไปพบแพทยท์ ันที

๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ
ภายในโรงเรยี น นักเรียนเวน้ ระยะห่างกัน ๑-๒ เมตร

๕. การพักรับประทานอาหารกลางวนั
- ระดบั ปฐมวยั รบั ประทานอาหารเวลา ๑๑.๐๐ น.
- ระดับประถมศกึ ษา รับประทานอาหารเวลา ๑๑.๓๐ น.

โดยมจี ดุ บรกิ ารสำหรบั ลา้ งมอื ก่อนเข้าโรงอาหารสำหรบั นกั เรยี น นักเรียนนง่ั รบั ประทานอาหาร
หา่ งกัน ๑-๒ เมตร และมกี ารทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รบั ประทานอาหารทุกครั้ง

๖. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ สำหรบั นกั เรยี นในกรณีฉุกเฉนิ ใหท้ ันต่อเหตกุ ารณ์
โดยคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั ของนกั เรยี นเป็นสำคัญ

๗.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนเุ คราะหใ์ นการตรวจ ATK โดยมีการตดิ ต่อประสานงานกบั อสม. และโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลแก

๘. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน
และทำความสะอาดบริเวณโรงเรยี น โดยมีการติดต่อประสานงานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแก เพื่อเฝา้
ระวังความปลอดภยั เปน็ ระยะ

การวางแผนการทำงานรว่ มกนั หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง
๑. ในสถานการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ โรงเรียนบ้านจาน ประสานกับ

โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลทับใหญ่ และ อสม. เพือ่ มาประจำท่จี ุดคดั กรองหน้าโรงเรียน เพ่ือช่วย
คัดกรองและใหค้ ำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตูโรงเรียน และนกั เรยี น กอ่ นเขา้ บริเวณโรงเรียน

๒. ครูและนกั เรียนทกุ คนสวมหนา้ กากอนามยั มจี ุดตรวจวดั อณุ หภูมริ ่างกาย และมีจดุ บริการ
เจลแอลกอฮอล์ลา้ งมือเพ่อื ฆ่าเชื้อแกน่ ักเรยี น บริเวณจุดคดั กรองหน้าโรงเรียน หนา้ ห้องเรยี นทุกหอ้ ง และ
อ่างลา้ งมอื บรเิ วณโรงอาหาร เป็นต้น

๓.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารตดิ ต่อประสานงานกับ อสม. และโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลทบั ใหญ่

๔. หากในชมุ ชนมีนกั เรียนหรือมีผตู้ ิดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยดุ ทำการจดั การเรียน
การสอน และทำความสะอาดบริเวณโรงเรยี น โดยมกี ารตดิ ต่อประสานงานกบั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลทับ
ใหญ่ เพื่อเฝา้ ระวังความปลอดภัยเปน็ ระยะ

ในกรณีทไ่ี มส่ ามารถเปดิ การเรยี นการสอน แบบ ON Site ได้ โรงเรยี นมกี ารวางแผน
การจดั การเรียนการสอนอย่างไร
โรงเรียนบ้านจาน ประสานงานกับชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง โดย

แจ้งหนังสือผ่านผู้ใหญ่บ้าน หมู่บ้านในเขตบริการของโรงเรียน ให้ประกาศเสียงตามสายหมู่บ้านและคณะครู
ประสานและแจ้งการจัดการเรียนการสอนผ่านทาง LINE group ในชั้นเรียนของแต่ละชั้น ในด้านการจัดการเรยี น
การสอนแบบ On Demand , On Hand และ On Line การรับ-ส่งเอกสารในการจัดการเรียนการสอน โดยครู
ประจำช้ัน/ประจำวิชากำกับติดตาม ๑ สัปดาห์/คร้งั

ระดับชั้นปฐมวัย (อ.๒-๓)
ครูระดับปฐมวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการนำเอกสารส่งที่บ้านหรือจุดนัดหมาย (On - hand)

โดยใหค้ รูออกเยี่ยมบา้ นหรอื จุดนดั หมายพรอ้ ม รบั -สง่ ใบงาน/แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียน โดยกำกับตดิ ตาม
๑ สปั ดาห/์ ครง้ั โดยประสานงานกบั ผปู้ กครอง แนะนำ สนบั สนุน ในการกำกับ ตดิ ตาม นักเรียนรายบคุ คล

วดั และประเมินผล โดยใชว้ ธิ ีทห่ี ลากหลายในการประเมนิ นกั เรียนรายบุคคล ตามสภาพจริง และ
มีการออกเยย่ี มบา้ นและตดิ ตามประสานงานกับผปู้ กครองสำหรับนักเรยี นท่ีไม่เข้าใจในบทเรียน

ระดับช้นั ประถมศกึ ษา (ป.๑-๖)
ในระดับประถมศกึ ษาจัดกจิ กรรมด้านการจัดการเรียนการสอนแบบ On Demand , On Hand

และ On Line ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผ่าน Google Meet และมีการรับ-ส่งเอกสารในการจัดการเรียนการ
สอน โดยกำกับติดตาม ๑ สัปดาห์/ครั้ง เพื่อการกำกับ ติดตาม นักเรียนรายบุคคล อีกทั้งแนะนำในการทำใบงาน
ก่อนการเรียน On Demand และ On Line ในกรณีที่นักเรียนไม่มีความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนแบบ
On Demand และ On Line ให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการนำเอกสารส่งที่บ้านหรือจุดนัดหมาย On - hand
โดยให้ครูออกเยี่ยมบ้านหรือจุดนัดหมายพร้อม รับ-ส่ง ใบงาน/แฟ้มสะสมผลงาน ของนักเรียน โดยกำกับติดตาม
๑ สัปดาห/์ คร้ัง โดยประสานงานกบั ผู้ปกครอง แนะนำ สนับสนนุ ในการกำกบั ติดตาม นกั เรยี นรายบุคคล

ครูประจำชั้น/ประจำวิชา กำกับ ติดตาม วัดและประเมินผล โดยใช้วิธีที่หลากหลายในการ
ประเมินนักเรียนรายบุคคล ตามสภาพจริง และมีการออกเยี่ยมบ้านและติดตามประสานงานกับผู้ปกครองสำหรบั
นักเรยี นท่ไี ม่เข้าเรียน On Line และนักเรียนทีม่ ารับใบงานไมไ่ ด้เน่อื งจากอยหู่ ่างไกล

บทบาทผู้ทเ่ี กี่ยวข้อง
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ยังคงมีการแพร่

ระบาดอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สถานศึกษามีแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) โรงเรยี นบ้านจาน ไดก้ ำหนดบทบาทของบุคลากรและหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้องดงั นี้

๑. บทบาทของนกั เรียน
นักเรียนเป็นหัวใจสำคญั ที่ต้องได้รับความคุ้มครองดูแลในเรื่องความปลอดภัยอย่างสูงสุด ทั้งน้ี นักเรียน

จะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการอย่าง เคร่งครัด
ตัง้ แตก่ ารเดนิ ทางออกจากบ้านมาเรยี น ขณะอยูใ่ นโรงเรียนจนถึง การกลบั บ้าน บทบาทของนักเรียนควรมดี งั น้ี

๑) เตรยี มความพร้อมในเรอ่ื งอุปกรณก์ ารเรียนเคร่ืองใช้ส่วนตัวและอน่ื ๆ ทีจ่ ำเปน็ สำหรับการเรยี นการสอน
๒) ปฏิบัติตาม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริมและ ๗ มาตรการเข้มงวดของสถานศึกษา
กำหนดอยา่ งเคร่งครัด

๓) ติดตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-
19) และสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกนั ตนเองและลดความเสย่ี งจากการแพรก่ ระจายของโรค
ติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหลง่ ขอ้ มูลทเี่ ชือ่ ถอื ได้

๔) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชั่น Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอและ
สังเกตอาการป่วยของตนเองหากมีอาการไข้ไอมีน้ำมูกเจบ็ คอหายใจลำบากเหนื่อยหอบไม่ได้กลิน่ ไม่รู้รสรีบแจ้งครู
หรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)หรือ
กลับจากพ้ืนท่เี สี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัวใหป้ ฏบิ ัติตามคำแนะนำของเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ อย่างเคร่งครัด

๕) ขอคำปรึกษาจากครูผู้สอนเมื่อพบปัญหาเกี่ยวกับการเรียนอุปกรณ์การเรียน เครื่องใช้ส่วนตวั
หรอื พบความผดิ ปกติของรา่ งกายทอี่ าจเสียงต่อการติดเช้ือของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทันที

๑. บทบาทของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ครูและบคุ ลากรทางการศึกษานั้นซ่งึ ถือว่าเป็นผู้อยูใ่ กล้ชิดนกั เรยี น มีหน้าท่สี ำคญั ในการจัดการเรียนรู้

ให้แก่นักเรียนทุกรูปแบบ จึงต้องเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการ
สอน นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้วยังต้องดูแลนักเรียนอีกด้วยโดยเฉพาะ ด้านสุขอนามัยตามมาตรการท่ี
กระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาควรมดี ังนี้

๑) ประชมุ ออนไลน์ (Online) ชีแ้ จงผปู้ กครองนกั เรยี นเพอื่ สร้างความเข้าใจรว่ มกนั
ในการปอ้ งกันการเฝา้ ระวังการเตรียมตวั ของนักเรยี นใหพ้ ร้อมกอ่ นเปดิ เรยี น

๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอและ
สังเกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมอี าการไข้ไอมีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจ ลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไม่ไดก้ ลิน่ ไม่รู้รส ให้หยุด
ปฏบิ ัติงานและรีบไปพบแพทยท์ ันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) หรือ
กลบั จากพื้นทีเ่ สี่ยงและอยใู่ นชว่ งกักตัวใหป้ ฏิบัตติ ามคำแนะนำของเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุขอย่างเครง่ ครดั

๓) ติดตามขอ้ มลู ข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-
19) และสร้างความรคู้ วามเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเองและลดความเสี่ยงจากการ
แพรก่ ระจายของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหล่งข้อมลู ทเ่ี ชือ่ ถอื ได้

๔) จัดหาส่อื ประชาสมั พนั ธ์ในการป้องกันและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรคติดเชื้อไวรัสโค
โรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ให้แก่นักเรยี น เชน่ สอนวิธีการลา้ งมือท่ีถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย
คำแนะนำการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาด หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมร่วมกันจำนวน
มากเพ่ือลดจำนวนคน

๕) ปฏิบัติตาม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริมและ ๗ มาตรการเข้มงวดของสถานศึกษา
กำหนดอยา่ งเครง่ ครดั

๖) คอยดแู ลสอดส่องชว่ ยเหลือนกั เรียนในเร่อื งสุขอนามยั ใหเ้ ปน็ ไปตามมมาตรการ
ทีก่ ระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด ได้แก่

(๑) ทำการตรวจคดั กรองสุขภาพนักเรยี นทกุ คนท่เี ข้ามาในโรงเรียนในตอนเช้า
ใช้เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกายพร้อมสังเกตอาการ และสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ไอมีน้ำมูก
เจ็บคอหายใจ ลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติดสัญลักษณ์สติกเกอร์หรือประทับตราแสดงให้เห็น
ชดั เจนว่าผ่านการคดั กรองแลว้

(๒) กรณีพบนักเรียนหรือผู้มีอาการมีไข้ อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสขึ้นไป
ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วนประสานโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพประจำตำบลแก หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อตรวจคัดกรองอีกครั้งหากพบว่าผลตรวจเบื้องเป็นบวกจึง
แจ้งผู้ปกครองมารับ จากนั้นแจ้งผู้บริหารหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุและมาตรการ
ปอ้ งกันตามระดบั การแพร่ระบาดโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของสถานศึกษา

(๓) บันทกึ ผลการคดั กรองและสง่ ต่อประวตั ิการปว่ ย ตามแบบบนั ทึกการตรวจสุขภาพ
(๔) จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณ
ทางเขา้ สบู่ล้างมอื บรเิ วณอา่ งล้างมอื
๗) ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อ
การติดโรคโควิด ๑๙ และรายงานตอ่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา
๘) ปรบั พฤติกรรมสำหรบั นกั เรยี นท่ีไม่รว่ มมือปฏิบตั ิตามมาตรการที่ครูกำหนด ดว้ ยการแก้ปัญหา
การเรยี นรูใ้ หมใ่ ห้ถูกตอ้ งนัน่ คือ “สร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค”์ หรอื “ลดพฤตกิ รรมทีไ่ ม่พงึ ประสงค์”
๙) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติ
ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และนำกระบวนการการจัดการความเครียด
การฝึกสตใิ ห้กลมกลืนและเหมาะสมกับนักเรียนแตล่ ะวัยรว่ มกับการฝึกทักษะชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ
(Resilience) ให้กบั นกั เรียน ได้แก่ ทักษะชีวติ ดา้ นอารมณ์ สังคม และความคดิ เป็นต้น
๑๐) สังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวเอง เนื่องจากภาระหน้าที่การดูแลนักเรียนจำนวนมาก
และกำกับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เป็นบทบาทสำคัญ
อาจจะสร้างความเครียด วิตกกังวล ทั้งจากการเฝ้าระวังนักเรียน และการป้องกันตัวเองจากการสัมผัสกับเชื้อโรค
ดงั น้ันเม่อื ครูมีความเครียดจากสาเหตตุ ่าง ๆ มีข้อเสนอแนะดงั น้ี
(๑) กรณีมีความสับสนกับมาตรการของโรงเรียนที่ไม่ชัดเจน แนะนำให้สอบถามกับผู้บริหาร
โรงเรยี นหรือเพือ่ นร่วมงานเพอ่ื ให้เข้าใจบทบาทหน้าท่ี และข้อปฏบิ ัตทิ ีต่ รงกนั
(๒) กรณีมีความวิตกกังวลกลัวการติดเชื้อในโรงเรียนให้พูดคุยสื่อสารถึงความไม่สบายใจและ
ร้องขอสิง่ จำเป็นสำหรับการเรยี นการสอนท่ีเพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-
19) เช่น สถานที่สื่อการเรียนการสอนกระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หากตนเองเป็น
กลุ่มเสี่ยงหรือมีโรคประจำตัวก็สามารถเข้ารับการตรวจรักษาตามมาตรการที่กระทรวงสาธา รณสุขและ
กระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด
(๓) จัดให้มีกิจกรรมบำบัดความเครียดโดยการฝึกสติให้เป็นกิจวัตรก่อนเริ่มการเรียนการสอน
เพอ่ื ลดความวิตกกงั วลตอ่ สถานการณ์ทตี่ ึงเครียด
๑๑) กำกบั และตดิ ตามการไดร้ บั วคั ซีนของนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนให้เป็นไปตามมาตรการ
ที่กำหนดและเปน็ ปจั จบุ ัน

๓. บทบาทของผบู้ ริหารสถานศึกษา
เป็นผทู้ ม่ี บี ทบาทสำคญั ในการขบั เคลือ่ นตง้ั แตก่ ารวางแผน การกำหนดนโยบายสถานศกึ ษา

การเตรียมความพร้อมการเปิดเรียน การส่งเสริมครูในการออกแบบการจัดการเรียนการสอน การกำกับติดตาม
ช่วยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหาการประเมินสถานการณ์ การรายงาน
ตลอดจนร่วมมือกบั ครูและบุคลากรผ้ปู กครองนักเรียน ใหก้ ารตรวจสอบสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เพอื่ ความปลอดภยั ของนักเรียนโดยบทบาทของผ้บู ริหารสถานศกึ ษาควรมี ดงั นี้

๑) จัดให้มีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ผู้นำชุมชน และมีมติให้ความเห็นชอบร่วมกันในการจัดพื้นที่และรูปแบบการ
จัดการเรียนการสอน

๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) ในโรงเรยี น

๓) แตง่ ตั้งคณะทำงานดำเนินการควบคุมดแู ลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (COVID-19) ประกอบด้วยนักเรยี น ครู ผปู้ กครอง เจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขทอ้ งถิน่ ชุมชนและผเู้ ก่ียวขอ้ ง

๔) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC +) และรายงานการติดตามการ
ประเมนิ ผลผ่าน MOE Covid

๕) ทบทวน ปรับปรุง ซักซ้อม ปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุของโรงเรียนในภาวะที่มีการระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

๖) จัดให้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (COVID-19) เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการแนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนให้แก่ ครู นักเรียน
ผู้ปกครอง และคณะกรรมการโรงเรียนผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสมและติดตามข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องจาก
แหล่งขอ้ มลู ท่ีเช่อื ถอื ได้

๗) สนับสนนุ ให้นักเรียนครูและบุคลากรได้รับวคั ซนี ครบโดสตง้ั แตร่ ้อยละ 85 ขึ้นไป
๘) สนับสนนุ ให้มีการตรวจคดั กรอง Antigen Test Kit (ATK) ตามมาตรการของภาครฐั
๙) สนับสนุน ส่งเสริม ให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองประเมินตนเองผ่าน
Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑจ์ ำแนกเขตพ้นื ท่กี ารแพรร่ ะบาด
๑๐) สื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อลดการรังเกียจและลดการตีตราทางสังคม (Social Stigma)
กรณพี บวา่ มีบุคลากรในโรงเรยี น นักเรียนหรอื ผู้ปกครองตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
๑๑) กำหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคนบริเวณจุดแรกเข้าไปในโรงเรียน (Point of Entry)
ให้แก่นกั เรียน ครู บุคลากร และผมู้ าตดิ ต่อและจัดใหม้ ีพ้นื ที่แยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หนา้ กากผ้าหรอื หน้ากาก
อนามยั เจลแอลกอฮอลอ์ ยา่ งเพยี งพอ รวมถงึ เพ่ิมช่องทางการสอื่ สารระหวา่ ง ครู นักเรียน ผปู้ กครองและเจา้ หน้าท่ี
สาธารณสุขในกรณที ่ีพบนักเรยี นกลมุ่ เสยี งหรอื สงสัย
๑๒) จัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่างต่อเนื่อง
ตรวจสอบติดตามกรณีนักเรียน ขาดเรียน ลาปว่ ย การปิดโรงเรียนการจัดให้มีการเรียนการสอนทางไกล ส่ือออนไลน์
การตดิ ตอ่ ทางโทรศพั ท์หรอื Social Media เป็นรายวันหรือรายสัปดาห์
๑๓) กรณพี บนกั เรียน ครู บุคลากร หรือผูป้ กครอง อยใู่ นกลุม่ เสีย่ งหรอื ผู้ปว่ ยยืนยนั เขา้ มาในโรงเรียน

ให้รบี แจง้ เจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขในพ้ืนท่ีเพือ่ ดำเนินการสอบสวนโรคและพิจารณาดำเนนิ การตามแผนเผชิญเหตุและ
มาตรการปอ้ งกันตามระดับการแพร่ระบาดโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสถานศึกษา

๑๔) มีมาตรการให้นกั เรยี นได้รับอาหารกลางวนั และอาหารเสรมิ นมกลมุ่ เส่ยี งหรืออยู่ในชว่ งกกั ตัว
ตามสิทธิที่ควรได้รับกรณีพบอยใู่ น

๑๕) ควบคุมกำกับติดตามตรวจสอบและรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการป้องกนั การแพร่
ระบาดภายในโรงเรยี นอยา่ งเคร่งครดั และตอ่ เนือ่ ง

๑๖) เยี่ยมบา้ นสร้างขวญั กำลังใจนกั เรยี นทง้ั นักเรียนที่มาเรียนแบบปกติและท่ีไมส่ ามารถมาเรยี นแบบปกติได้
๔. บทบาทของผู้ปกครองนักเรยี นผูป้ กครองนักเรยี น

เป็นบุคคลที่มีสำคัญยิ่งมีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใส่นักเรียนและตนเอง ในด้านสุขอนามัยและการ
ป้องกันความเส่ียงจากการแพร่ระบาดของเช้ือโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อย่างเคร่งครัด ต้องให้
ความร่วมมือกับโรงเรียนครูประจำชั้นหรือครูที่ปรึกษาเกี่ยวกับมาตรการการดูแลนักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนจึงมี
บทบาทสำคัญร่วมกับครูเพื่อช่วยนักเรียนทั้งในเรื่องการเรียนรู้และการดูแลความปลอดภัยของนักเรียน บทบาท
ของผูป้ กครองนกั เรยี นควรมดี งั น้ี

๑) ตดิ ตามข้อมลู ขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหล่งข้อมูลทีเ่ ช่อื ถอื ได้

๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเองนักเรียนและคนในครอบครัวผ่านแอปพลิเคชัน Thai Save Thai
(TST) อย่างสม่ำเสมอสังเกตอาการป่วยของนักเรียนของตนเองและของคนในครอบครัว หากมีอาการไข้ ไอ
มนี ้ำมกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไมไ่ ด้กลิน่ ไมร่ รู้ ส ใหร้ บี พาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไปเล่น
กับคนอื่นให้พักผ่อนอยู่ที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19)) หรือกลับจากพืน้ ทเี่ สยี่ งอยใู่ นชว่ งกักตัวให้ปฏิบตั ติ ามคำแนะนำของเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุขอย่างเคร่งครดั

๓) จัดหาของใช้ส่วนตัวให้นักเรียนอย่างเพียงพอในแต่ละวันทำความสะอาดทุกวัน เช่นหน้ากากผ้า
ช้อนส้อม แกว้ นำ้ แปรงสีฟนั ยาสีฟนั ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตวั เปน็ ต้น

๔) จัดหาสบู่หรอื เจลแอลกอฮอล์และกำกับดูแลนักเรียนให้ลา้ งมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหารหลังใช้ส้วม
หลีกเลี่ยง การใช้มือสัมผัสใบหน้าตาปากจมูกโดยไม่จำเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดีหลังเล่นกับเพื่อนและเมื่อกลับ
มาถงึ บา้ นควรอาบนำ้ สระผมและเปล่ยี นชุดเสื้อผา้ ใหม่ทนั ที

๕) ดูแลสขุ ภาพนกั เรยี นจดั เตรียมอาหารปรุงสกุ ใหม่ส่งเสริมใหก้ ินอาหารร้อนสะอาดอาหารครบ 5 หมู่
๖) หลีกเลี่ยงการพานักเรียนไปในสถานเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถานท่ี
แออัดที่มีการรวมกันของคนจำนวนมากหากจำเปน็ ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยล้างมือบ่อย ๆ ๗ ขั้นตอน
ดว้ ยสบแู่ ละนำ้ นาน ๒๐ วินาทีหรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์

๕. บทบาทขององค์กรสนับสนุน
๕.๑ สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา
๑) ประชาสัมพันธ์สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจใหโ้ รงเรียนในสังกัดเกยี่ วกับการป้องกันตนเองการดูแล

สขุ อนามัยของตนเอง และบคุ คลในครอบครัว
๒) ประสานงานองคก์ รตา่ ง ๆ ในเขตพื้นท่กี ารศึกษาในการชว่ ยเหลือสนบั สนุนโรงเรียน
๓) นิเทศ กำกับ ติดตามโรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารโรงเรียนภายใต้สถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
๔) กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารข้อมลู สารสนเทศเกี่ยวกับการไดร้ ับวัคซนี ของ

นกั เรียน ครู ผบู้ รหิ ารโรงเรียนและผู้ปกครองนกั เรยี นใหไ้ ดร้ ับวัคซนี ตามมาตรการที่กำหนด
๕) รายงานผลการดำเนนิ การต่อหน่วยงานตน้ สังกัดให้ทราบความเคลอ่ื นไหวอย่างต่อเน่อื งสม่ำเสมอ
๖) ประชุมตรวจเยี่ยมสถานศึกษาสร้างขวัญกำลังใจในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน

ทัง้ แบบปกตแิ ละแบบทางไกล
๕.๒ สำนกั งานสาธารณสขุ
๑) ให้คำแนะนำเก่ยี วกบั ขอ้ ควรปฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษาสนับสนนุ การดำเนินงาน

ของโรงเรยี นให้สอดคลอ้ งตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด
๒) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์อาทิชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ

หนา้ กากอนามัยเจลลา้ งมือ ฯลฯ
๓) สนับสนนุ บคุ ลากรทางการแพทย์ในการบริการตรวจคัดกรองความเส่ยี ง ใหแ้ ก่นกั เรียนครูและ

บุคลากรทางการศกึ ษา
๔) จัดให้มีช่องทางการสื่อสารการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องเป็นปัจจุบันให้กับสถานศึกษาและ

จดั ระบบสนบั สนุนเม่อื มีนักเรยี นครหู รือบคุ ลากรมคี วามเส่ียงต่อการตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
๕) สำรวจติดตามสถานการณ์ในพื้นที่บริการอย่างต่อเนื่องกรณีพบผู้มีอาการเสี่ยงหรือป่วยต้อง

ดำเนนิ การทันทีและรายงานใหส้ ถานศึกษาทราบเพ่อื ดำเนนิ การตามมาตรการต่อไป
๖) ออกให้บริการตามที่สถานศึกษาร้องขอ เช่น จัดเจ้าหน้าท่ี อสม. ประจำหมู่บ้านตำบล ตรวจ

เวรยามบนั ทึกแดงตามจดุ ทโ่ี รงเรยี นกำหนดและอ่นื ๆ ตามความตอ้ งการจำเป็น
๕.๓ องค์กรทางปกครอง
๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจใหโ้ รงเรียนและชุมชนในเขตการปกครองมีความรู้ความเข้าใจ

เกยี่ วกบั การปอ้ งกนั ตนเองการดูแลสุขอนามัยของตนเอง และบคุ คลในครอบครัว
๒) สนบั สนนุ ช่วยเหลือโรงเรยี นในเขตปกครองตามคำสงั่ ของจงั หวดั อย่างเคร่งครดั
๓) กำกับติดตามการได้รบั วคั ซนี ของประชาชนในเขตปกครอง และมขี อ้ มูลทางสถิติ

ที่อา้ งอิงเชอ่ื ถอื ได้
๔) ใหบ้ รกิ ารตามที่สถานศึกษาร้องขอตามความต้องการเร่งดว่ นและจำเปน็

๕.๔ องคก์ รเอกชน
๑) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์อาทิชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ

หนา้ กากอนามยั เจลลา้ งมือ ฯลฯ

๒) สนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ ก่สถานศึกษาในการนำไปใชบ้ ริหารจดั การภายใต้สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

๓) อำนวยความสะดวกใหค้ วามช่วยเหลือกรณฉี ุกเฉินจำเป็นในการสง่ ตวั นักเรยี นครูและบคุ ลากร
ที่คาดว่าจะไดร้ บั เชอ้ื หรือเปน็ กล่มุ เสยี่ งส่งหน่วยงานสาธารณสขุ ได้อยา่ งรวดเร็ว

๔) สร้างระบบการติดต่อส่ือสารหนว่ ยงานภายในจงั หวดั อำเภอตำบล ใหม้ คี วามรวดเร็วในการ
ช่วยเหลอื ดแู ลนักเรยี นครูบุคลากรและผู้ปกครองท่ีสถานศึกษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

การตดิ ตามและประเมินผล
การตดิ ตามและประเมนิ ผลเป็นกระบวนการสำคัญทจ่ี ะตอ้ งดำเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามแนวทาง

ท่ีสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานกำหนดไว้ เพอื่ ติดตามดแู ลชว่ ยเหลือหรือแก้ไขปญั หารบั ทราบ
ความก้าวหน้าปญั หาอุปสรรคของการดำเนินงาน โดยโรงเรียนบา้ นหนองบัวนอ้ ยได้กำหนดหรอื แตง่ ตั้งผูร้ ับผดิ ชอบ
ดำเนนิ การ ตามแนวทางการจดั การเรยี นการสอนภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา
๒๐๑๙ (COVID-19) ดังน้ี

๑) การนำแนวทางการจัดการเรยี นการสอนภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานสู่การปฏิบัติ

๒) การประเมินตนเองผา่ นระบบ Thai Stop Covid Plus : TSC + และรายงานการติดตามการ
ประเมินผลผ่าน MOE Covid

๓) การปฏิบตั ิตามมาตรการ Sandbox: Safety Zone in School ทง้ั ๔ องคป์ ระกอบ
๔) การปฏบิ ัตติ าม ๗ มาตรการเข้มของสถานศึกษาระหวา่ งการจัดการเรียนการสอน
๕) การทำและการปฏบิ ัติตามแผนการเผชญิ เหตทุ ี่กำหนด
ขอ้ เสนอแนะ / ข้อคดิ เหน็ อ่นื ๆ
ควรมีการสนับสนนุ หนา้ กากอนามยั แอลกอฮอล์ และเจลแอลกอฮอลส์ ำหรบั ลา้ งมอื สำหรบั โรงเรียน
และนกั เรยี นท่ีขาดแคลน เพื่อใชใ้ นชว่ งการจัดการเรยี นการสอนแบบ ON-Site

ลงชอื่
(นางปญั ญดา ลอ้ ดงบัง)

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านจาน

คำส่ังโรงเรยี นบ้านจาน

ท่ี /๒๕๖๕

เรื่อง แตง่ ต้ังคณะกรรมการจดั ทำแผนการเปิดเรยี น Onsite ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕

ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โรงเรียนบา้ นจาน

................................................................................................

ด้วยโรงเรียนบ้านจาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ มีกำหนดเปิดภาคเรียน

ที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส

โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โรงเรียนบ้านหนองบัวน้อย ซึ่งรับนโยบายจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้น

พื้นฐาน และผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ จึงดำเนินการจัดทำแผนเปิด

เรียน Onsite ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๕ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชน

ทัว่ ไป ว่าโรงเรยี นบา้ นจานมีแนวทางการสรา้ งความปลอดภัยให้กบั นักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา

๒๕๖๕ และระหว่างที่จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขและ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กำหนดและเป็นไปตามนโยบายต้นสังกดั ทกุ ประการ จึงแตง่ ตงั้ บุคลากรปฏิบตั ิหน้าที่ ดงั นี้

๑. คณะกรรมการอำนวยการ

๑) นางปญั ญดา ล้อดงบัง ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา ประธานกรรมการ

๒) นางสุรียร์ ตั น์ สาลงี าม ตำแหนง่ ครู กรรมการ

๓) นางมลั ลิกา สวสั ดี ตำแหน่ง ครู กรรมการ

๔) นางศรเี งิน จักรคำ ตำแหน่ง ครู กรรมการ

๕) นายสุจิต ผิวจันทร์ ตำแหน่ง ครู กรรมการ

๖) นางปวณี า ละอองทอง ตำแหน่ง ครู กรรมการและเลขานุการ

มีหน้าท่ี ให้คำปรึกษา คำแนะนำในการดำเนินงานจดั ทำแผนเปิดรีเยน Onsite ภาคเรยี นท่ี ๑

ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ให้เกิด

ความเรียบรอ้ ย

๒. คณะกรรมการดำเนนิ งาน

๑) นางมัลลิกา สวสั ดี ตำแหน่ง ครู หัวหนา้ คณะทำงาน

๒) นางสรุ ีย์รตั น์ สาลีงาม ตำแหนง่ ครู กรรมการ

๓) นางศรีเงิน จกั รคำ ตำแหนง่ ครู กรรมการ

๔) นายสุจิต ผิวจันทร์ ตำแหนง่ ครู กรรมการ

๕) นางวชิ ุดา ไชยทอง ตำแหน่ง ครู กรรมการ

๖) นายรัตนชยั หรคิ ำภา ตำแหน่ง ครู กรรมการ

๗) นายสมบูรณ์ พทุ ธานุ ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กรรมการ

๘) นางสาวธนาภา อ่ิมใจ ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กรรมการ

๙) นายชลธิฌา คำผม ตำแหนง่ พ่ีเลย้ี งเด็กพิการ กรรมการ

๑๐) นางปวณี า ละอองทอง ตำแหนง่ ครู กรรมการและเลขานุการ

มหี น้าที่ ดำเนินการจดั ทำแผนการเปดิ เรียน Onsite ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ ภายใต้สถานการณ์

การแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โรงเรียนบา้ นจาน ให้เปน็ ไปตามนโยบายตน้ สงั กดั และตาม

มาตรการความปลอดภยั ของกระทรวงสาธารณสขุ ทุกประการ รวมท้ังติดตาม วดั และประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ให้เป็นไป

ดว้ ยความเรยี บรอ้ ยและรายงานผลการดำเนนิ งานต่อผู้อำนวยการสถานศึกษารับทราบ

ทัง้ นี้ ตง้ั แต่บดั น้เี ปน็ ต้นไป

สง่ั ณ วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

(นางปัญญดา ล้อดงบัง)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นจาน






















Click to View FlipBook Version