The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือกฎหมายสามัญประจำบ้าน INFOGRAPHICS

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือกฎหมายสามัญประจำบ้าน INFOGRAPHICS

หนังสือกฎหมายสามัญประจำบ้าน INFOGRAPHICS

Keywords: infographic,law,moj,ministry of justice,กระทรวงยุติธรรม

13
24

5







พ‹อแม‹

สอนลูกด่ืมเบียร
มีความผิดหรือไม‹?

พอ‹ แม‹หรอื ผŒปู กครองท่สี ง‹ เสรมิ ใหŒลกู ซงึ่ มอี ายุตา่ํ กวา‹ 18 ปบ‚ ริบูรณ
(ไม‹รวมถงึ ผูŒท่บี รรลนุ ิตภิ าวะดวŒ ยการสมรส) หัดดื่มสุราหรอื เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล
นอกจากจะทําใหเŒ กิดผลกระทบตอ‹ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของเด็กแลวŒ

ยังมคี วามผดิ ตามพระราชบัญญตั ิคุมŒ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 26 (3)
ท่บี ญั ญัติไวŒว‹า ไม‹ว‹าเดก็ จะยนิ ยอมหรือไม‹ หาŒ มมิใหผŒ ูŒใดกระทาํ การบังคบั ขู‹เขญ็ ชกั จงู สง‹ เสรมิ
หรอื ยนิ ยอมใหเŒ ด็กประพฤติตนไมส‹ มควร หรอื น‹าจะทาํ ใหเŒ ด็กมีความประพฤตเิ ส่ยี งต‹อการกระทาํ ผดิ

หากผŒูใดฝา† ฝ„น
ตŒองระวางโทษจาํ คุกไมเ‹ กิน 3 เดือน
หรือปรับไม‹เกนิ 3 หมนื่ บาท
หรอื ทั้งจาํ ท้ังปรบั

พระราชบญั ญัติคมŒุ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 4 มาตรา 26(3) และมาตรา 78



บังคับ ลูกจŒาง

ทํางานวนั หยดุ ปรบั 1 แสน

นายจาŒ ง ทีบ่ งั คบั ลกู จาŒ ง

ทาํ งานในวันหยดุ โดยท่ีไม‹ใหŒ

ลกู จาŒ งไดŒมีโอกาสพกั ผ‹อน

หรือทําธรุ ะส‹วนตวั

มีความผดิ ตŒองระวางโทษ

จาํ คกุ ไม‹เกิน 6 เดอื น
หรือปรบั ไมเ‹ กิน 100,000 บาท
หรอื ท้ังจําทง้ั ปรับ

ทงั้ น้ี เวนŒ แตล‹ กั ษณะงานที่ตŒองทําตดิ ตอ‹ กันไป ถŒาหยดุ จะมคี วามเสียหาย
ต‹องานหรือเปนš งานฉกุ เฉนิ อาจใหŒลูกจŒางทํางานไดŒ แต‹ตŒองไดรŒ ับความยนิ ยอม
จากลกู จŒางก‹อนเปšนคราวๆ ไป โดยตŒองจา‹ ยค‹าทาํ งานในวนั หยุดไม‹นอŒ ยกวา‹
1 เทา‹ ของอตั ราค‹าจาŒ งต‹อชวั่ โมงในวนั ทํางานตามจํานวนท่ีทาํ
(สําหรบั ลกู จาŒ ง ซ่ึงมสี ิทธิไดŒรบั คา‹ จาŒ งในวนั หยดุ )

ขอŒ มูลจาก : มาตรา 25 ประกอบมาตรา 62 (1) แห‹ง พ.ร.บ.คุŒมครองแรงงาน พ.ศ.2541
และมาตรา 144 (1) แกŒไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.คŒุมครองแรงงาน (ฉบบั ที่ 6) พ.ศ.2560



















“นํ้าแข็งสําหรับบริโภค” ที่ไดมŒ าตรฐานตามกฎหมายกาํ หนด
จะตอŒ งมกี ระบวนการผลติ ตามมาตรฐาน GMP และมีสัญลักษณ

นํ้าแข็ง “นํ้าแขง็ ใชรŒ ับประทานไดŒ” นาํ้ แข็ง
ดวŒ ยตวั อักษรสีน้ําเงิน
นา้ํ แขง็ ใชรŒ บั ประทานไดŒ นา้ํ แข็งใชรŒ ับประทานไม‹ไดŒ
หรอื

“นํา้ แข็งใชรŒ บั ประทานไม‹ได”Œ
ดŒวยตัวอกั ษรสแี ดง

อยูบ‹ นฉลาก รวมท้งั ตŒองมีบรรจุภณั ฑท ่สี มบรู ณ ไม‹ฉกี ขาด

จําหน‹ายนาํ้ แข็ง ทัง้ นี้ หาตกŒอรงŒารนะวคาาŒ งใดโทขษาปยรหับรไอื มจ‹เกําหนิ น5า‹ 0ยน,0าํ้ แ0ข0ง็ ที่บไมา‹ไดทมŒ าตรฐาน

ส‹วนตผŒอูŒผงรละติวหางรโอืทโษรปงงราับนไมทเ‹ีผ่ กลินติ 5น0ํ้าแ,ข0็ง0ไม0‹ไดบมŒ าาตทรฐาน
และตอŒ งงดการผลติ จนกวา‹ จะปรบั ปรงุ ใหŒไดมŒ าตรฐาน หากไมม‹ กี ารปด ปรบั ปรงุ ตอŒ งระวางโทษปรบั เพม่ิ อกี วนั ละ 500 บาท
ตลอดระยะเวลาท่ฝี †าฝ„น และหากทําใหŒผูบŒ รโิ ภคไดรŒ บั ความเจ็บปว† ยจากการรับประทานนํา้ แขง็

มโี ทษจําคุกไม‹เกิน 2 ป‚ หรือปรับไมเ‹ กิน 20,000 บาท หรอื ท้งั จาํ ทัง้ ปรับ

ขŒอมูลจาก : มาตรา 25(3), 30(2) ประกอบมาตรา 60 และมาตรา 63 แห‹งพระราชบญั ญตั อิ าหาร พ.ศ. 2522









การขบั รถเปนš กลม‹ุ ใหญบ‹ นทŒองถนนในลกั ษณะเปนš คาราวาน ไมว‹ า‹ จะเปšนรถประเภทใด ยีห่ อŒ ใด
ยังคงตอŒ งรกั ษาวนิ ยั และเคารพกฎจราจร
ไมส‹ ามารถจะขับปดถนนหรอื ฝา† ไฟแดงไดตŒ ามอําเภอใจ
เวนŒ แต‹มีการประสานงานรอŒ งขอใหŒเจŒาหนาŒ ท่ีตาํ รวจชว‹ ยอาํ นวยความสะดวก
เพอื่ ความปลอดภัยดŒานการจราจร

หากมกี ารปด ถนนและขับฝ†าไฟแดงตามอาํ เภอใจ
หรอื ไม‹ไดอŒ ยู‹ในการควบคุมของเจŒาหนาŒ ท่ตี ํารวจ
จะมคี วามผิดฐานขบั รถฝา† ฝ„นสัญญาณไฟจราจร

ตŒองระวางโทษปรับไมเ‹ กนิ 1,000 บาท
และความผิดฐานขับรถในลกั ษณะกีดขวางการจราจร
ตŒองระวางโทษปรับต้งั แต‹ 400 - 1,000 บาท

ขอŒ มูลจาก : พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ. 2522 และทแ่ี กŒไขเพม่ิ เติม มาตรา 22
ประกอบมาตรา 152 และมาตรา 43 (3) ประกอบมาตรา 157









TAXI

99







ชักชพวนนเลนัน บอล

มีความผิดตองติดคุก

ช‹วงกระแสบอลโลก เว็บไซตการพนันต‹างๆ
มีการใชŒดารา เน็ตไอดอล หรือพริตต้ี
มาพูดโปรโมตชักชวน
ใหŒคนเขŒาไปเล‹นพนันทายผลบอลโลก
ในเว็บไซตจํานวนมาก

ท้ังน้ี ไม‹ว‹าจะเปšนการชักชวนทางตรงหรือทางอŒอม ถือว‹ามีความผิด
ฐานโฆษณาเชิญชวนใหŒคนไปเล‹นการพนัน
ตŒองระวางโทษจําคุกไม‹เกิน 2 ป‚

หรือปรับไม‹เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ

ขŒอมูลจาก : พ.รบ.การพนัน พ.ศ.2475 มาตรา 4 วรรคสอง และมาตรา 12(2)
ประกอบบัญชี ข. ทาŒ ยพระราชบัญญัติน้ี











แชทขอยกืมารเงทินาํ สเทญั ากญับากยู ืมเงนิ

ป˜ญหาการใหŒยืมเงิน แต‹ผูŒยืมไม‹นําเงินมาคืน
และเม่อื จะแจŒงความดําเนินคดีก็ไมส‹ ามารถทาํ ไดŒ
เนอื่ งจากไมม‹ หี ลกั ฐานเปนš หนงั สอื หรอื สญั ญากยŒู มื เงนิ
ท่ีมกี ารลงลายมือช่อื ผูกŒ Œูยืม มีเพียงแต‹การพดู คุย
สนทนาตกลงกันผา‹ นสอ่ื สงั คมออนไลนเ ท‹านั้น

ในกรณเี ชน‹ น้ี เจาŒ หนสี้ ามารถใชŒการสนทนา
ผ‹านสอ่ื สงั คมออนไลน

เปนš หลกั ฐานการกยูŒ มื เงนิ หรือฟอ‡ งคดีไดŒ
โดยใหŒถือว‹าขŒอความดังกล‹าวเปนš หนงั สอื
และหลักฐานการกŒยู ืมเงิน โดยใหรŒ วบรวมหลักฐาน ดังน้ี
1. หลักฐานขอŒ ความสนทนาในการขอกŒยู ืมเงนิ

ผ‹านแชต หรือกล‹องขŒอความออนไลน
2. หลกั ฐานบญั ชขี องผกูŒ Œูยมื เงนิ
3. หลกั ฐานการโอนเงนิ ผ‹านธนาคาร หรือแอปพลิเคชันของธนาคาร
(หากชอื่ บัญชีผูŒใชŒในสื่อสงั คมออนไลน กับชือ่ เจาŒ ของบัญชธี นาคารไมต‹ รงกนั
ควรใหผŒ ŒูขอกŒยู มื เงินยืนยนั และอธิบายวา‹ บัญชีธนาคารเปšนของใคร
และเก่ียวขอŒ งอยา‹ งไรกับผูŒขอกŒยู ืมเงนิ )

ขŒอมลู จาก : ม.7, 8 และ ม.9(1) แหง‹ พระราชบญั ญตั ิว‹าดŒวยธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส
พ.ศ. 2544 เก่ยี วกบั เรอ่ื งธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สและคําพิพากษาฎกี าที่ 8089/2556

ผูŒกูŒร‹วม = เปšนลูกหน้ีร‹วม

การที่ญาติพี่นŒอง หรือเพ่ือนสนิท มาขอใหŒเราเปšนผูŒกูŒร‹วมในการกูŒธนาคาร
เพ่ือซื้อบŒาน โดยใหŒเหตุผลว‹า หากกูŒเพียงคนเดียวอาจกูŒไม‹ผ‹าน
และสัญญาว‹าจะรับผิดชอบผ‹อนจ‹ายเพียงคนเดียว

คุณตŒองหาผูŒกูŒร‹วม มากูŒรจ‹วะหมาดใีอค‹ะร?
ไม‹ง้ันกูŒไม‹ผ‹านครับ

สเพัญผื่อญูŒกนูŒราแ‹ววอม‹าดจเระชาจ‹วห‹ายนยเ‹อใปหยšนŒตดริ งเวลา เพื่อไดนŒเตลิวย

เมือ่ ถงึ เวลาผอ‹ นจรงิ
ปรากฏวา‹ ผŒกู ูŒหลัก
หนี้ ไมส‹ ามารถผ‹อนจา‹ ยหน้ีใหŒกับ
ธนาคารไดŒ ในกรณีน้ี ธนาคาร
สามารถฟ‡องรŒอง
เพอ่ื เรยี กเงินคืนจากผŒูกูŒร‹วมไดŒ
โดยไมจ‹ ําเปšนตอŒ งฟอ‡ งผูกŒ ูŒหลกั
เพราะถอื วา‹ เปšนลูกหนรี้ ว‹ ม

ขอŒ มูลจาก : ม.291 แห‹งประมวลกฎหมายแพ‹งและพาณชิ ย









ไมต‹ อŒ งรผถอ‹ หนตา‹อย?

หากรถถูกโจรกรรมไปและยงั ไม‹ไดŒทําประกันรถสูญหายไวŒ
ในส‹วนของคา‹ งวดท่ีตดิ คาŒ งไฟแนนซ
ซึง่ เปนš ค‹างวดหลังจากวันทีร่ ถหาย
“เจาŒ ของรถไม‹ตอŒ งผอ‹ นต‹อ”
เพราะเมื่อทรพั ยส นิ สญู หายไป ย‹อมทาํ ใหŒสญั ญาเชา‹ ระงับลงทันที
แต‹ในบางครั้ง ผูŒใหŒเช‹าซอื้ อาจมีการกาํ หนดลงไปในขŒอสญั ญาเช‹าซอ้ื ว‹า หากทรัพยท ่ีเช‹าสญู หายไป
ผŒเู ชา‹ ซอื้ ยังมีหนาŒ ทต่ี อŒ งชําระเงนิ ท่ีคŒางชําระอยจ‹ู นครบสญั ญา
ซงึ่ ในสว‹ นนศี้ าลฎกี าไดวŒ างหลักว‹า เปšนการกาํ หนดค‹าเสียหายกันไวŒล‹วงหนาŒ อันเปšนเบยี้ ปรับ
ซึง่ ศาลอาจลดลงไดŒ หากเบี้ยปรับนั้นสูงเกินสมควร

ขอŒ มูลจาก : มาตรา 567, 562, 572 และ 383 แหง‹ ประมวลกฎหมายแพง‹ และพาณชิ ย



เปดสถานรบั เล้ียงเด็ก
ตอŒ งไดรŒ บั อนญุ าต

ผŒูทจ่ี ะเปดสถานรับเลีย้ งเดก็ ( สถานทร่ี ับเลี้ยงและพฒั นาเด็กที่มอี ายุ
ไม‹เกนิ 6 ป‚บริบูรณ และมีจํานวนมากกว‹า 6 คนขึน้ ไป ) ไมว‹ า‹ จะเปนš
บคุ คลธรรมดาหรือนิตบิ ุคคล จะตอŒ ง ขออนุญาตจัดตง้ั สถานรบั เลีย้ งเด็ก

ต‹อปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย
หรอื ผวูŒ ‹าราชการจังหวัดในพน้ื ทที่ ี่เปšนสถานทีต่ ั้งสถานรับเลยี้ งเด็กนนั้

ผขูŒ ออนุญาตŒองมีวฒุ ิการศกึ ษาเก่ยี วกับการศกึ ษาเดก็ ปฐมวัย หรอื
ผา‹ นการอบรมตามหลักสูตรท่ปี ลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คม
และความมนั่ คงของมนุษยกําหนด

ผŒูใดจดั ตงั้ หรอื ดําเนินกิจการสถานรบั เลีย้ งเด็ก
โดย มิไดรŒ บั อนุญาต หรือ ใบอนุญาตถูกเพิกถอน

หรอื หมดอายุ ตอŒ งระวางโทษ จาํ คกุ ไมเ‹ กนิ 1 เดือน
หรอื ปรบั ไมเ‹ กิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรบั

ขอมูลจาก : ม. 51, 52 และ ม.82 แหง พ.ร.บ.คุมครองเด็ก พ.ศ.2549 ประกอบกฎกระทรวง
กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่อื นไข ในการขอรับใบอนญุ าตจดั ตัง้ สถานรับเล้ียงเดก็ พ.ศ. 2549





ปรับสูงสดุ
1 ลา้ นบาท

เปนš ส�ิงท่ีทรงคุณค‹า
ท้ังทางดาŒ นวัฒนธรรมและจ�ตใจ
โดยไม‹สามารถประเมินเปšนมูลค‹าไดŒ

“กาโรบทรำาลณายสถาน”

ตอŒ งระวางโทษจำคุก 7 ป‚ “กาโรบทรำาลณายวัตถุ”
ปรบั ไม‹เกิน 7 แสนบาท
หรอ� ศิลปวตั ถทุ ี่ไดขŒ น้� ทะเบยี นแลวŒ
หร�อท้งั จำท้ังปรับ กต็ อŒ งระวางโทษเชน‹ เดยี วกัน

ขอมูลจาก : มาตรา 32 และมาตรา 33 พระราชบญั ญัติโบราณสถาน โบราณวตั ถุ
ศลิ ปวตั ถุ และพ�พ�ธภัณฑสถานแหง ชาติ พ.ศ. 2504 และทแ่ี กไขเพ่�มเติม


Click to View FlipBook Version