The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by b6122510, 2019-06-04 03:33:54

unit 1

unit1

ความรู้เบือ้ งต้นในการจดั ทาโครงการ

โดย บญุ มี ถือความสตั ย์
[วนั ท่ี]

1

ความรเู้ บ้อื งต้นในการจัดทาโครงการ
ความหมายและลักษณะของโครงการ

โครงการ (project) หมายถึง การประดิษฐ์คิดค้น การสรา้ งผลงาน การจัดการหรือการบริการทาง
วชิ าชีพ ซ่งึ ผ้เู รียนเป็นผู้ตดั สินใจในส่งิ ที่จะทา โดยนาเทคโนโลยี ความรู้และประสบการณ์ มาบูรณาการในการ
ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยตนเอง หรอื หมู่คณะ โดยมีกระบวนการทีเ่ ป็นระบบชัดเจน และสามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ใน
ชีวิตจริง
ความสาคญั ของโครงการ

เน่อื งจากโครงการเรียบเรียงข้ึนเป็นข้ันตอน และมีแผนปฏิบัตเิ พ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ ดังน้นั โครงการ
จงึ มีความสาคัญต่อแผนการปฏิบัตงิ านดังต่อไปนี้

1. ชว่ ยช้ใี หเ้ หน็ ถงึ ปญั หา และภูมิหลงั ของการทางาน
2. ช่วยให้การปฏบิ ตั งิ านตามแผนเป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
3. ชว่ ยให้แผนงานมคี วามชัดเจน โดยบุคคลท่ีเกีย่ วข้องมคี วามเขา้ ใจและรบั รถู้ ึงปัญหารว่ มกัน
4. ช่วยใหแ้ ผนงานมีทรัพยากรใช้อย่างเพียงพอ เหมาะสมกับสภาพปฏิบัติจริง เพราะมีรายละเอียด
การใชท้ รพั ยากรท่ีชดั เจน
5. ชว่ ยใหแ้ ผนงานมีความเป็นไปไดส้ งู เพราะมีผรู้ บั ผดิ ชอบ และมคี วามเขา้ ใจในการดาเนนิ งาน
6. ช่วยลดความขัดแย้ง และขจัดความซ้าซ้อนในหน้าที่ความรับผิดชอบของหนว่ ยงาน เพราะแต่ละ
หนว่ ยงานมีโครงการท่ไี ด้รับผิดชอบเป็นการเฉพาะ เหมาะสมกับความร้คู วามสามารถของบุคคลในหนว่ ยงาน
7. สร้างทัศนคติที่ดีต่อบุคลากรในหน่วยงาน เป็นการเสรมิ สร้างความสามัคคี และความรับผิดชอบ
รว่ มกนั ตามความรู้ ความสามารถ และศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คลอย่างเตม็ ที่
8. สรา้ งความมัน่ คงให้กับแผนงาน และสรา้ งความม่ันใจในการดาเนินงานใหก้ บั ผู้มีหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ
9. สามารถควบคุมการทางานได้สะดวก ไม่ซ้าซ้อน เพราะงานได้แยกออกเป็นส่วนๆตาม
ลกั ษณะเฉพาะของงาน
ลกั ษณะของโครงการ
ลักษณะการดาเนินงานของโครงการจะประกอบด้วย 3 ข้ันตอน ดงั นี้
ขน้ั ท่ี 1 การวางแผนในชั้นเรียน
อภปิ รายเนื้อหาและขอบเขตของโครงการทผ่ี ู้เรยี นพฒั นาขึ้น และพจิ ารณาสาระสาคัญที่จาเป็นเฉพาะ
ในรายวิชาต่างๆ เช่น การไปสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญในงานท่ีตนสนใจ วิธีรวบรวมสาระสาคัญท่ีจาเป็นจาก
เอกสารตา่ งๆ เพื่อวางแผนโครงการให้เหมาะสม
ขน้ั ที่ 2 ดาเนนิ งานตามโครงการ
ปฏบิ ตั ิงานตามโครงการท่วี างแผนไว้ เช่น สัมภาษณ์ จดบนั ทึก หรือปฏิบัติชิ้นงานทีก่ าหนด อาจเป็นงาน
รายบุคคลหรอื งานกลมุ่ ซ่งึ ผ้เู รียนจะตอ้ งใช้ทกั ษะทง้ั หมดในเชงิ บรู ณาการทีเ่ ปน็ ธรรมชาติ
ข้นั ที่ 3 การตรวจสอบและกากบั งาน
ควรจัดใหม้ กี ารอภิปรายในขั้นตอนนี้ และให้ขอ้ มูลย้อนกลับ (Feed Back) ท้ังในขณะจัดทาโครงการ
และเมื่อโครงการส้ินสุดลง โดยอาจารย์จะให้คาแนะนา คาวิพากษ์ กลุ่มช่วยกันวิเคราะห์งาน และผู้ร่วม
โครงการทุกคนไดก้ ากับดแู ลตนเอง
วตั ถุประสงค์ของการจัดทาโครงการ
1. เพอ่ื สง่ เสรมิ ผเู้ รยี นใหบ้ รู ณาการความรคู้ วามสามารถ ทักษะและประสบการณ์ สามารถสร้างงาน
ประดิษฐค์ ดิ คน้ บรหิ ารจัดการหรือใหบ้ รกิ ารและปฏิบัตงิ านจริงได้

2

2. เพ่ือสง่ เสรมิ การทางานเป็นทมี อยา่ งมีระบบ สามารถตรวจสอบได้
3. เพ่ือสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ สามารถแก้ปัญหาและอปุ สรรคทเ่ี กิดข้นึ ได้ อันจะ
เป็นการสร้างความเชื่อม่นั ในการประกอบอาชีพเมอ่ื สาเรจ็ การศกึ ษา
ประโยชน์ของการจดั ทาโครงการ
1. ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนนาความรู้ ทกั ษะไปบรู ณาการสร้างงานและปฏบิ ตั จิ รงิ ได้
2. สามารถวางแผนการทางานอยา่ งเปน็ ระบบและสามารถตรวจสอบได้
3. ฝกึ กระบวนการทางานด้วยตนเองหรือร่วมกันทางานเปน็ กลมุ่
4. สรา้ งความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์
5. พัฒนาผเู้ รียนใหส้ ามารถแกป้ ญั หาและอปุ สรรคทเ่ี กดิ ข้นึ โดยไมค่ าดคิดจากการทางานตลอดจน
สามารถคิดปอ้ งกนั ปัญหาท่ีอาจเกิดขน้ึ ไวล้ ่วงหน้า
ประเภทของโครงการทีศ่ กึ ษา
การจดั ทาโครงการแบง่ เปน็ 3 ประเภท ได้แก่
1. โครงการสงิ่ ประดษิ ฐ/์ ผลติ ผลผลติ (Invention Project)
เป็นโครงการท่ีศึกษาเก่ียวกับการประยุกต์ทฤษฎีหรือหลักการท่ีเรียนมาประดิษฐ์เป็นเคร่ืองมือหรือ
อุปกรณ์เพ่ือประโยชน์การใช้สอยในชีวิตประจาวัน ส่ิงประดิษฐ์ดังกล่าวอาจเป็นสิ่งใหม่ท่ีผู้เร่ิมเรียนคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ข้ึนเอง หรืออาจเป็นการปรับปรุงเปล่ียนแปลงจากของเดิมท่ีมีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้นก็ได้
รวมถงึ การสร้างแบบจาลองเพื่ออธิบายแนวความคิดต่างๆ ในบางครงั้ เม่ือสรา้ งส่งิ ประดิษฐข์ ้ึนมาแล้วอาจนาไปใช้
ในการทดลองเร่ืองใดเรอ่ื งหนงึ่ โดยเฉพาะกไ็ ด้ โดยทว่ั ไปผ้เู รยี นจะเลอื กทาโครงการประเภทนเี้ ป็นส่วนใหญ่
2. โครงการจดั ทาธรุ กจิ หรอื บรกิ าร (Entrepreneurship Project)
เป็นโครงการทเี่ กยี่ วกบั การฝึกและสรา้ งประสบการณเ์ พ่อื เตรยี มความพร้อมในการเป็นผูป้ ระกอบการ
ในอนาคต เหมาะสาหรับผู้เรียนท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ในการหาข้อมูลหรือช่องทางในการดาเนินธุรกิจ มี
บคุ ลิกภาพและความรู้ ความสามารถ ชอบงานบริหาร ขยนั อดทน ต่อปญั หาตา่ งๆ
3. โครงการทดลองและวิจยั (Experimental Research Project)
เปน็ โครงการที่ทาการศึกษาคน้ หาคาตอบของปัญหา โดยมกี ารออกแบบการทดลอง และดาเนนิ การ
ทดลอง เพ่อื ทดสอบสมมุติฐานท่ีต้ังไว้ โครงการประเภทนตี้ ้องมีการจัดกระทากบั ตวั แปรอิสระ หรอื ตัวแปรต้น
ซง่ึ จะมีผลต่อตัวแปรตามหรอื ตัวแปรท่ีต้องการศึกษา และต้องมีการควบคุมตัวแปรอ่ืนๆ ทไ่ี ม่ตอ้ งการศึกษา
เอาไว้
กระบวนการจัดทาโครงการ
การวางแผนจัดทาโครงการ
1. การกาหนดหรอื เลือกโครงการทจ่ี ะทา
ผู้เรยี นควรสารวจความสนใจ ความพรอ้ มและความถนดั ของตนเองในดา้ นต่างๆ แลว้ จงึ เลอื กโครงการ
ท่เี หมาะสมกับตนเองมากทส่ี ดุ
2. การเขยี นโครงร่างโครงการ
มีองคป์ ระกอบดังนี้

1) ชอื่ โครงการ การกาหนดช่อื ควรสอื่ ความหมายให้ชดั เจน เขียนสน้ั ๆและใช้ภาษากะทัดรัด
เชน่ โครงการจัดทาผลไมแ้ ปรรูปเพื่อจาหน่าย

2) หลกั การและเหตผุ ล ความเป็นมา และความสาคัญของปญั หา เปน็ การชีแ้ จงให้เหน็ ความ
เปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา หรอื หลักการและเหตผุ ลในการจัดทาโครงการ

3

3) วัตถุประสงค์ เป็นการระบุว่าจัดทาโครงการเพ่ืออะไร โดยทวั่ ไปการจัดทาโครงการจะมีสาเหตุ 2
ประการคือ

3.1 แกป้ ญั หาการปฏิบัติงาน
3.2 พฒั นางานในหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบ
4) เป้าหมาย ควรระบุให้ชัดเจนวา่ ผลงานท่ีได้คืออะไร กาหนดปริมาณและคุณภาพให้ชัดเจน พรอ้ ม
ทั้งระยะเวลาและงบประมารทีก่ าหนดเพอ่ื ประสิทธภิ าพของโครงการ ดังน้ี
4.1 ปริมาณ ระบุปริมาณ/ ชนดิ ของผลผลิต หรอื ผลงาน พรอ้ มจานวนหรือปรมิ าณ
4.2 คุณภาพ ระบุคุณภาพของผลผลิต/ ผลงานท่ีคาดหวัง อาจระบุเป็นมาตรฐานเกณฑ์ท่ี
ชดั เจน
4.3 ระยะเวลา ระบใุ ห้เหมาะสมกับผลผลิต หรือผลงานที่ต้องการ ควรจัดทาในช่วงเวลาที่
เหมาะสมและใชร้ ะยะเวลาพอเหมาะตามสภาพแวดลอ้ มของการดาเนนิ การ
4.4 งบประมาณ ระบุให้ชัดเจนลงไปว่าควรจะใชง้ บประมาณเท่าใด หรือได้รับงบประมาณ
มาจากหน่วยงานใด
5) วิธีดาเนินงาน ควรระบุรายละเอียดกิจกรรมทั้งหมดพร้อมทั้งขั้นตอนในการปฏิบัติตั้งแต่ต้นจน
ส้ินสุดโครงการ โดยเขียนแผนปฏิบัติงานประกอบด้วย โดยท่ัวไปมักนิยมเขียนในรูป Gantt Chart ซึ่งแผน
ปฏิบัติงานจะมอี งคป์ ระกอบคือ
5.1 กิจกรรม จะระบุหัวข้อเกี่ยวกับการเตรียมงานก่อนเร่ิมโครงการ การดาเนินงานตาม
โครงการ การกากับติดตาม ตลอดจนการประเมนิ ผลโครงการ
5.2 ระยะเวลา ระบรุ ะยะเวลาดาเนินการตามแต่ละหัวขอ้
6) ระยะเวลาและสถานท่ีดาเนินงาน กาหนดวันดาเนินการให้ชัดเจนต้ังแต่วันท่ีเร่ิมจนถึงวันสิ้นสุด
โครงการ และระบุสถานทจี่ ัดดาเนินการให้ชัดเจนด้วย
6.1 ระยะเวลา กาหนดวนั ที่ดาเนินการให้ชัดเจน ตั้งแตว่ ันท่ีเร่ิมต้นโครงการจนถึงวนั สิน้ สุด
โครงการ
6.2 สถานท่ี ใหร้ ะบสุ ถานที่จะจดั ดาเนนิ การปฏิบัตงิ าน
7) ค่าใชจ้ า่ ย/งบประมาณ ระบุค่าใชจ้ ่ายใหช้ ัดเจน
8) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบุผลท่ีเกิดขึน้ เม่ือการดาเนินงานโครงการสน้ิ สุดลง รวมถึงผลกระทบจาก
โครงการ
9) การติดตามและประเมนิ ผล ติดตามการดาเนินงานตามโครงการแต่ละข้ันตอนจนสนิ้ สุดโครงการ
และทาการประเมินผล
10) ปัญหาหรืออปุ สรรคที่คาดวา่ อาจเกดิ ขึน้ ระบปุ ญั หาอุปสรรคท่คี าดว่าจะเกิดขึน้ กบั โครงการ และ
จะทาใหโ้ ครงการไม่บรรลตุ ามเป้าหมาย
11) ผรู้ ับผิดชอบโครงการ ใหร้ ะบุช่ือบคุ คลหรือกลุม่ บคุ ลท่ที างานร่วมกนั
12) ทป่ี รกึ ษาโครงการ ระบุชอ่ื ทปี่ รกึ ษาในการทาโครงการ
การดาเนินงานตามโครงการ
การดาเนินงานตามโครงการ แบง่ ออกเปน็ 2 ข้นั ตอน ดังน้ี
1. การปฏิบตั ิงานตามโครงการ เมอ่ื โครงการได้รบั การอนมุ ัติให้ดาเนนิ การไดแ้ ลว้ ผเู้ รียนควรทบทวน
ลาดับข้ันตอนการปฏบิ ัติงานให้เข้าใจก่อนเริ่มปฏิบัติงานตามแผน การปฏิบัติงานตามแผน ผู้เรียนตอ้ งบันทึก
ผลการปฏบิ ัติงานเปน็ ระยะๆเพอื่ รายงานความกา้ วหนา้ ของโครงการ

4

2. การประเมินผู้ปฏบิ ัติงาน เมื่อผู้เรียนดาเนินการปฏบิ ัติงานตามโครงการตามข้ันตอนท่ีกาหนดแล้ว
ควรวางแผนเก็บขอ้ มลู เพ่ือประเมนิ โครงการแต่ละประเภท ซ่งึ ผเู้ รยี นต้องดาเนินการประเมินใหช้ ัดเจน
การจดั ทารายงาน

การจัดทารายงานประกอบดว้ ย 2 สว่ น ดังน้ี
1. การวิเคราะห์และสรุปผลการประเมิน เมื่อผู้เรียนประเมินผลจากการทาโครงการตามแผนงาน
ปฏบิ ัติแลว้ จะตอ้ งทาการวิเคราะหแ์ ละสรุปผลให้ชดั เจน วา่ ปฏบิ ตั ิงานโครงการเป็นอย่างไร มีปัญหาอุปสรรค
เปน็ อยา่ งไร ตลอดจนมขี อ้ เสนอแนะในการทาโครงการ
2. การเขยี นรายงาน หลังจากปฏิบัตงิ านตามแผนท่ีวางไว้จนสาเร็จหรือได้ผลงานแล้ว สดุ ท้ายก็ต้อง
เขยี นรายงานเพื่อนาเสนอ เอกสารรายงานประกอบดว้ ย 3 สว่ น คอื สว่ นนา ส่วนเนอ้ื หา และภาคผนวก ดังน้ี
2.1 ส่วนนา ประกอบดว้ ย ปก คานา และสารบัญ
2.2 ส่วนเนอ้ื หา ประกอบด้วย

(1) หลกั การและเหตผุ ล วัตถุประสงค์ เปา้ หมาย ประโยชน์ เป็นตน้
(2) วธิ ดี าเนนิ การแบง่ เปน็ 4 ขนั้ ตอนดังนี้
ตอนท่ี 1 การเตรียมการก่อนเรม่ิ โครงการ จะรายงานเก่ียวกบั
- การศกึ ษาค้นคว้า
- การเตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์
- บุคลากรมคี วามถนัดในแต่ละด้านของการปฏบิ ัติโครงการ
ตอนท่ี 2 การดาเนินงาน เขยี นขัน้ ตอนการทาโครงการ
ตอนที่ 3 ค่าใช้จ่าย ให้ระบคุ ่าใช้จ่ายจรงิ ในการปฏิบตั โิ ครงการ
ตอนที่ 4 สรุปผลการดาเนนิ งาน ใหส้ รปุ ว่าไดผ้ ลงานเป็นไปตามวัตถปุ ระสงคห์ รือไม่
2.3 ภาคผนวกและบรรณานุกรม
(1) ภาคผนวก ให้นาเอกสาร แบบฟอร์ม คาชแ้ี จงรายละเอยี ด และอ่ืนๆมาใสไ่ วต้ ามจาเป็น
(2) บรรณานุกรม เป็นเอกสารทใ่ี ช้ในการค้นคว้าประกอบการทาโครงการทุกขัน้ ตอน
การประเมนิ ผลโครงการ
การประเมนิ ผลโครงการควรพจิ ารณาประเมนิ ใหค้ รบทง้ั 3 ระยะของโครงการ ได้แก่
1. โครงร่างซงึ่ เป็นขัน้ ตอนของการวางแผนโครงการ
2. การดาเนนิ งานตามโครงการ
3. ผลของโครงการ/รายงาน
โดยกาหนดสัดสว่ นการให้คะแนนทเี่ หมาะสมตามธรรมชาติของโครงการแต่ละประเภท ซึ่งโดยทั่วไป
จะใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ดังน้ี
สว่ นที่ 1 โครงร่างโครงการ (10%)
1. องค์ประกอบ
- ช่อื โครงการ
- หลกั การและเหตผุ ล
- วัตถปุ ระสงค์
- เป้าหมาย
- การดาเนนิ งานและแผนปฏบิ ตั งิ าน
- ระยะเวลาและสถานที่

5

- งบประมาณ
- ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ บั
2. ความตรงตามสาขาทเ่ี รียน
3. ความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์
4. ความน่าสนใจ
5. ความเปน็ ไปได้
ส่วนที่ 2 การดาเนนิ งานตามโครงการ (70%)
1. ผลของโครงการ
- ตรงตามวัตถุประสงค์
- ตรงตามเป้าหมาย
- งบประมาณทีใ่ ช้
- งานเสรจ็ ทนั เวลา
2. การเขยี นรายงาน
- องคป์ ระกอบการรายงานครบถว้ น
- รายงานชัดเจน
การเลอื กหัวข้อโครงการ
เกณฑใ์ นการพจิ ารณาเลอื กหวั ขอ้ โครงการ
การตัดสนิ ใจเลอื กโครงการ มีเกณฑท์ ีค่ วรพจิ ารณา ดงั น้ี
1. มีความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์ ความถนดั และความสนใจในโครงการท่ีเลอื ก
2. โครงการมคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสตู รทเี่ รยี น
3. โครงการมคี วามเหมาะสมกบั สภาพท้องถ่นิ หรอื ชมุ ชนของตนเอง
4. โครงการมีความเหมาะสมกับเพศ วัย กาลังความสามารถ และงบประมาณของตนเองหรือ
ผ้รู ว่ มงาน ตลอดจนสถานที่ดาเนินการ
5. ช่วงระยะเวลาในการดาเนินงานโครงการไม่ควรสั้นเกินไป และไมค่ วรเกนิ 1 ภาคเรยี น
6. ควรเป็นโครงการท่ีสามารถคน้ ควา้ ขอ้ มลู เพมิ่ เติมได้จากแหล่งขอ้ มูลต่างๆ เช่น ท้องถนิ่ ภมู ปิ ัญญา
ชาวบา้ น ฯลฯ
การเลือกโครงการประเภทสง่ิ ประดษิ ฐ์
โครงการสิง่ ประดิษฐ์ เปน็ การประยุกต์ทฤษฎีหรือหลักการท่ีเรียนมา มาประดิษฐ์เป็นเคร่ืองมือหรือ
อปุ กรณ์เพ่ือประโยชน์ใชส้ อยในชวี ติ ประจาวัน ส่งิ ประดษิ ฐ์ดงั กล่าวอาจเป็นสงิ่ ใหมท่ ผี่ ้เู รียนคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์
ข้นึ เอง หรอื อาจเปน็ การปรบั ปรุงดดั แปลงจากของเดมิ ทมี่ อี ย่แู ล้วใหม้ ปี ระสิทธภิ าพย่ิงขึ้น
โครงการส่ิงประดิษฐ์ท่ผี เู้ รยี นเลอื กทา ผูเ้ รียนจะต้องมีการพิจารณาตนเองหรือทมี งานกอ่ นตัดสนิ เลือก
เพือ่ ใหโ้ ครงการหรือช้นิ งานท่อี อกมามีประสิทธภิ าพ ซึง่ คณุ ลักษณะของผเู้ รียนหรือทมี งานควรเปน็ ดังน้ี
1. มีความรทู้ างดา้ นวิชาการ การประดิษฐ์สิ่งต่างๆย่อมต้องใช้ความรู้ทางวชิ าการอย่างแทจ้ รงิ มาเป็น
พ้ืนฐานการทางาน เพื่อให้ได้ผลงานท่ีถูกต้อง มีหลักการ และมีความเป็นไปได้ซึ่งหากผู้เรียนรู้มีความสนใจ
ประดิษฐ์งานด้านใด ก็ควรเสาะแสวงหาความรู้ทางวิชาการท่ีเก่ียวข้องกับการประดิษฐ์ชิ้นงานให้ครอบคลุม
และเป็นความรทู้ ่ถี ูกตอ้ งเพือ่ ป้องกันความผดิ พลาดซงึ่ อาจเกิดความเสียหายได้

6

2. มีทักษะในการปฏิบัติงาน ทักษะในการปฏิบัติงานมีความสาคญั ไม่น้อยไปกว่าความร้ทู างวิชาการ
ความร้ทู างวิชาการสามารถหาไดจ้ ากการค้นคว้าจากตาราหรือเรียนรู้จากผู้รู้ หรอื ผู้มีความชานาญในงานนนั้ ๆ
สว่ นทกั ษะเกิดขึ้นจากการฝึกฝนจนเกดิ ความเชย่ี วชาญ

3. มีจรรยาบรรณ จรรยาบรรณเป็นส่ิงที่ทุกอาชีพพึงมี การมีจรรยาบรรณทาให้อาชพี นั้นได้รับการ
ยอมรับและเป็นส่งิ นา่ เชือ่ ถือตอ่ บุคคลท่วั ไป

4. มีเจตคติท่ีดีตอ่ งานอาชีพ การเลือกประกอบอาชีพใดก็ตาม บุคคลนั้นต้องมีเจตคตทิ ี่ดีต่ออาชีพที่
เลือก จงึ จะปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมีความสุข การทีผ่ ูเ้ รียนเลือกปฏบิ ตั ิผลงานใดกต็ าม ย่อมตอ้ งมีเจตคติท่ีดีต่องาน
นนั้ ดว้ ย จงึ จะทาให้ผลงานที่ออกมาประสบผลสาเร็จไดต้ ามจุดม่งุ หมายทตี่ ้ังไว้

ดังนน้ั ผเู้ รียนจงึ ควรเลอื กทาโครงการทเี่ หมาะสมกบั ตนเอง ทมี งาน ความรู้ ความสามารถ ความสนใจ
ตลอดจนเวลาและงบประมาณที่ต้องใช้ดว้ ย เพ่ือให้ผลงานที่ออกมานั้นประสบความสาเร็จตามเปา้ หมาย ซึ่ง
เป็นสง่ิ สาคญั ท่ีสุดของการทาโครงการ
ข้อกาหนดของโครงการส่ิงประดษิ ฐ์ มีดงั ต่อไปน้ี

1. จะต้องเกดิ จากความถนดั และความสนใจของแตล่ ะบุคคลหรอื กลุ่ม โดยผ่านกระบวนการตัดสนิ ใจ
และความเห็นชอบจากอาจารยท์ ีป่ รกึ ษา

2. จะตอ้ งเป็นการทาสิ่งประดิษฐ์ท่เี กิดจากการบูรณาการความรู้ ประสบการณ์และทักษะท่ีเกิดจาก
การปฏิบัติงาน

3. จะต้องเกิดจากการออกแบบขึ้นใหม่โดยคานึงถึงรูปแบบความเหมาะสม ความสวยงามและ
ประโยชน์การใช้งาน

4. จะต้องเป็นงานท่สี รา้ งสรรค์และพฒั นาความรูใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการประกอบอาชพี
5. สามารถทาไดเ้ ปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 2-4 คน หรือตามความเหมาะสม
6. จะต้องผ่านความเหน็ ชอบจากอาจารย์ที่ปรกึ ษา อาจารย์ผูส้ อนและคณะกรรมการโครงการ
การเลอื กโครงการจัดทาธุรกจิ หรอื บริการ
การเลือกทาโครงการประเภทโครงการจัดทาธุรกิจหรือบริการเป็นการฝกึ และสร้างประสบการณ์เพ่ือ
เตรยี มความพร้อมในการเปน็ ผู้ประกอบการธรุ กิจบริการ คือ จะต้องเปน็ บุคคลท่ีมีมนุษยสมั พันธ์ดี ชอบงาน
บรกิ าร ขยัน อดทนตอ่ ปัญหาตา่ งๆ และพรอ้ มแกไ้ ขปญั หาอยูเ่ สมอ
แนวทางในการเลอื กธุรกจิ ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั ตอ่ ไปน้ี
1. ขนาดของเงนิ ทุนทม่ี อี ยู่ หรือที่คาดวา่ จะหามาได้
2. ศักยภาพแหง่ การก่อรายได้และการเติบโตของธรุ กจิ นัน้
3. ความเส่ียงหรือการแขง่ ขนั
4. ประสบการณ์ของผูป้ ระกอบการจากอดตี จนถึงปัจจุบนั
5. เปา้ หมายในการประกอบธรุ กจิ
6. ทศั นคติ บคุ ลกิ ภาพ และความรู้ ความสามารถของผปู้ ระกอบการ
7. สภาพเศรษฐกจิ ของประเทศ
8. คา่ นยิ มของประชาชน
โอกาสในการทาธุรกจิ
หลงั จากที่ผปู้ ระกอบการรวบรวมข้อมูลต่างๆ เกย่ี วกบั การทาธรุ กจิ แล้วยงั ไม่อาจตดั สินใจได้ สามารถ
หาขอ้ มลู เพ่มิ เติมไดจ้ ากแหลง่ ตอ่ ไปน้ี

7

1. เพื่อน โดยถามเพอ่ื นๆ ว่ารู้สกึ อยา่ งไรกับความคิดในการทาธุรกจิ น้ี ถงึ แม้ว่าจะได้รบั ความคดิ เหน็ ท่ี
แตกตา่ งจากท่ีหวงั ไว้

2. คนในวงการธุรกจิ คอื บุคคลที่อยู่ในสถานการณ์จรงิ ซึ่งจะเปน็ คนทร่ี ู้ดที ีส่ ุดจึงสามารถให้คาตอบท่ี
นา่ สนใจ แล้วยังอาจชว่ ยเหลือ และสนับสนุนด้านอื่นอีกด้วย

3. นักธุรกิจท้องถ่ิน เช่น หอการค้าท้องถิ่น สาขาของธนาคาร สานักงานบัญชี บุคคลเหล่าน้ีจะรู้จัก
ตลาดในทอ้ งถน่ิ เป็นอยา่ งดี

4. หน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้องกับธุรกิจขนาดย่อม ซง่ึ นอกจากจะให้ข้อมูลแล้วยังมบี ริการจัดอบรม
สัมมนาแก่ผทู้ ส่ี นใจธุรกิจประเภทต่างๆ อกี ดว้ ย

5. ห้องสมุดหรอื ร้านหนังสือท้องถ่ิน เป็นสถานทท่ี ่ีเราจะไดร้ ับข้อมูลต่างๆ ที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ตารา
เรยี น หนังสือวชิ าการ นติ ยสารต่างๆ ซึง่ ได้มกี ารใหค้ วามร้กู บั ผสู้ นใจทาธุรกิจเพม่ิ มากขึ้น

6. คณาจารย์ทางธุรกิจ ได้แก่ สถาบันต่างๆ ที่มีการจัดอบรมหลักสูตรการประกอบธุรกิจ และเป็น
เจา้ ของกิจการ ซง่ึ สถาบันเหล่านี้จะประกอบด้วยผทู้ รงคุณวุฒิทม่ี ีความร้แู ละความพรอ้ มที่จะให้คาปรึกษาถึง
แนวคดิ และแนวทางในการทาธุรกิจขนาดยอ่ ม

7. บริษัทที่ปรกึ ษาธุรกจิ ขนาดย่อมเป็นการหาข้อมูลทต่ี ้องเสียคา่ ใช้จ่ายแต่ทาใหไ้ ด้ข้อมลู เฉพาะและ
เป็นคาปรกึ ษาจากผเู้ ช่ียวชาญที่ตรงตามความต้องการ

8. ครอบครัวหรือญาติพนี่ ้อง
การวิเคราะหโ์ ครงการ
โดยวิเคราะหจ์ าก 3 ดา้ นดงั น้ี

1. ด้านการตลาด พิจารณาจาก ตัวสินคา้ ความต้องการของผู้บริโภค คแู่ ข่ง ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย
และวัตถุดิบ

2. ด้านเทคนคิ คือ พจิ ารณาองคป์ ระกอบในดา้ น เครอ่ื งจกั ร วตั ถุดิบ และบุคคล
3. ดา้ นการเงนิ เป็นการจดั เตรียมงบประมาณด้านการเงิน เพ่อื ดคู วามเป็นไปได้ในเชิงพาณิชย์
ขอ้ กาหนดของโครงการการจัดทาธุรกิจหรือบริการ
1. จะต้องเกดิ จากความถนดั และความสนใจของแต่ละบุคคลหรอื กลุ่ม โดยผ่านกระบวนการตัดสินใจ
และความเหน็ ชอบจากอาจารยท์ ี่ปรึกษา
2. จะต้องเปน็ การจัดกิจการในเชงิ ธรุ กจิ หรอื บรกิ าร โดยใช้ความรู้ ทักษะ และประสบการณใ์ นงานอาชีพ
3. จะตอ้ งมีการนาเสนอขอ้ มลู ลักษณะหรือประเภทของกจิ การ รปู แบบการดาเนินการทางธรุ กิจหรือ
บรกิ ารชุมชน
4. การเสนอขออนุมัติโครงการจะต้องจัดทาแผนการเงนิ การลงทุน จุดคุ้มทุน และกาไรที่คิดว่าจะ
ไดร้ บั โดยมขี ้อมูลทีน่ ่าเชอ่ื ถอื
5. จะต้องเป็นงานท่ีสรา้ งสรรคแ์ ละพัฒนาความรู้ให้เกิดประโยชนใ์ นการนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวันหรอื
การประกอบอาชีพ
6. สามารถทาใหเ้ ป็นรายบุคคลหรือกลมุ่ กลุม่ ละ 2-4 คน หรือตามความเหมาะสม
7. โครงการจะต้องผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรกึ ษา อาจารย์ประจาวชิ า และคณะกรรมการ
โครงการ

การเลอื กโครงการทดลองและวจิ ยั

8

โครงการทดลองและวิจัย เปน็ โครงการที่ทาการศกึ ษาหาคาตอบของปัญหา ซ่ึงคาตอบของปัญหานั้น
ได้มาจากการสารวจและรวบรวมข้อมูล นาข้อมูลเหล่าน้ันมาจัดทาเป็นหมวดหมู่ แล้วนาเสนอเพื่อให้เห็น
ลักษณะหรือความสมั พันธใ์ นเรอื่ งทีต่ ้องการศึกษาได้ชดั เจนยงิ่ ขน้ึ
ขอ้ กาหนดของโครงการทดลองและวิจยั มดี งั ต่อไปน้ี

1. จะตอ้ งเกิดจากความถนดั และความสนใจของแตล่ ะบคุ คลหรือกลุ่ม โดยผ่านกระบวนการตัดสินใจ
และความเห็นชอบของอาจารย์ท่ีปรกึ ษา จะตอ้ งเกดิ จากการสรา้ งสมมุติฐาน และการคาดหมายผลทีจ่ ะเกดิ ขึ้น
ตามหลักวิชา

2. จะตอ้ งมีแผนการทดลองและวจิ ัย ประกอบดว้ ย สมมตุ ฐิ าน ข้ันตอนการทดลองและวจิ ัย
ระยะเวลาทใ่ี ช้ งบประมาณ และผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั จากการทดลองและวิจัย

3. จะต้องเป็นงานทส่ี รา้ งสรรคแ์ ละพัฒนาความรใู้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันหรอื
การประกอบอาชีพ

4. สามารถทาไดเ้ ป็นรายบุคคลหรือเปน็ กลมุ่ ก็ได้
5. จะตอ้ งผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ทปี่ รึกษา อาจารย์ประจาวิชา และคณะกรรมการโครงการ
การตัดสินใจเลือกโครงการ
การตดั สนิ ใจเลอื กโครงการประกอบดว้ ยขอ้ มลู ดงั นี้
1. ข้อมลู ประกอบการตดั สนิ ใจได้แก่

1.1 ขอ้ มูลเก่ยี วกับตนเองคือขอ้ มลู ตา่ งๆเกย่ี วกบั ความพรอ้ มของตนเอง
1.2 ข้อมูลเกย่ี วกับส่งิ แวดลอ้ ม
1.3 ขอ้ มลู เกีย่ วกับความรพู้ ืน้ ฐานเกีย่ วกบั ความร้พู ื้นฐานทางวิชาการของโครงการ
1.4 ความสนใจและความถนดั แต่ละบคุ คล
1.5 ความรกั และความต้องการท่ีแท้จรงิ
2.การศกึ ษาเอกสาร ขอ้ มลู และผลงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง
2.1 เม่ือผู้เรียนตัดสินใจเลือกเร่ืองที่จะทาโครงการแล้วจะต้องศึกษาเอกสาร ข้อมูลและ
ผลงานทเี่ กี่ยวขอ้ งทีจ่ ะทาโครงการ
2.2 เมื่อให้คะแนนและรวมคะแนนแลว้ โครงการไดมคี ะแนนมากที่สุดน่าจะเป็นโครงการที่
ผเู้ รยี นมคี วามพร้อมมากทส่ี ดุ
3. การวางแผน และการประมาณการโครงการ
3.1 ช่ือโครงการควรเปน็ ข้อความท่ีกะทัดรัดชัดเจน
3.2 ผู้จดั ทาโครงการ รายช่ือผทู้ าโครงการรว่ มกนั และรายชือ่ อาจารย์ทป่ี รกึ ษา
3.3 หลกั การและเหตุผล
3.4 วตั ถุประสงค์
3.5 เป้าหมาย
3.6 แนวความคิดในการออกแบบโครงการ
3.7 แหลง่ ความรู้
3.8 งบประมาณและทรัพยากร
3.9 วธิ ดี าเนนิ งาน
3.10 การติดตามและประเมินผล
3.11 ระยะเวลาและสถานทีด่ าเนนิ การ

9

3.12 ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ
4. การประมาณการโครงการ

แหล่งเงินทุนของการทาโครงการโดยทวั่ ไปมาจาก 2 แหลง่ คอื แหลง่ เงินทุนภายใน กับแหล่ง
เงนิ ทุนภายนอก โดยผู้วางแผนโครงการควรตอ้ งคานึงถึงหลกั สาคัญ 4 ประการได้แก่

1.ความประหยดั
2. ความมีประสทิ ธภิ าพ
3. ความมีประสิทธผิ ล
4. ความยุติธรรม
5.เสนอโครงการเพอ่ื ขออนมุ ัติ
เมือ่ วางแผนและเขียนเค้าโครงของโครงการซงึ่ แสดงถงึ ความพรอ้ มในการดาเนนิ โครงการแลว้
หลงั จากนั้นผู้เรยี นตอ้ งนาข้อมลู พร้อมแผนการดาเนนิ งานนาเสนอตอ่ อาจารย์ท่ปี รกึ ษา/คณะกรรมการโครงการ
เพอื่ ขออนมุ ตั ดิ าเนนิ งานโครงการ
การเขยี นโครงการ
ส่วนประกอบของโครงการ
ในการเขียนโครงการจาเป็นต้องเข้าใจส่วนประกอบต่างๆเพื่อใหก้ ารเขียนโครงการเป็นไปตามลาดับ
ขน้ั ตอนซง่ึ สว่ นประกอบของโครงการแบ่งเปน็ 3 ส่วนดังนี้
1. ส่วนนา หมายถึง ส่วนที่ให้ข้อมูลเบ้ืองต้นเกี่ยวกับโครงการน้ันๆ ประกอบด้วย ปก คานา และ
สารบัญ
2. ส่วนเน้ือหา หมายถึง ส่วนที่เป็นสาระสาคัญของโครงการประกอบด้วย หลักการและเหตุผล
วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย ประโยชน์ ละวิธดี าเนนิ งาน
3. ภาคผนวกและบรรณานกุ รม

ลาดบั ขนั้ ตอนการเขียนโครงการ
ลาดับขนั้ ตอนของการเขียนโครงการมดี งั ต่อไปนี้

1.ช่ือโครงการ
ต้องมีความชัดเจน รัดกุม และเฉพาะเจาะจง ทาให้เกิดความเข้าใจง่ายแก่ผู้เก่ียวข้อง หรือผู้นา

โครงการไปปฏิบตั ิ ชอ่ื โครงการจะทาให้ทราบว่าจะทาส่ิงใด หรือ เสนอข้นึ เพอ่ื ทาอะไร โดยปกติชื่อโครงการจะ
แสดงลกั ษณะของงานทีจ่ ะปฏบิ ตั ิ
2.หลกั การและเหตผุ ล ความเปน็ มา และความสาคัญของปญั หา

หลกั การและเหตผุ ล หรอื อาจจะเรยี กวา่ ความเป็นมาหรือภมู ิหลังของโครงการ หลกั การและเหตุผล
เป็นสว่ นท่แี สดงถงึ ปัญหาความจาเป็นทต่ี ้องจดั โครงการข้ึน
3.วตั ถปุ ระสงค์

ควรเขียนให้อยู่ในรูปการลดหรือขจัดปัญหาหรือพัฒนาส่ิงท่ีต้องการเพ่ิมขึ้น ไม่จาเป็นต้องเขียน
วตั ถปุ ระสงค์หลายข้อ เพราะจานวนขอ้ ของวัตถุประสงค์ไม่ได้แสดงถงึ ความมีคณุ ภาพของโครงการแต่อยา่ งใด
ดงั น้นั ต้องระบุให้ ชดั เจน รัดกุม และสามารถปฏบิ ัตไิ ด้จรงิ การเขยี นวัตถปุ ระสงคต์ อ้ งครอบคลุมเหตผุ ลทจ่ี ะทา
โครงการ โดยจดั ลาดับแยกเป็นข้อๆ เพอ่ื ความเข้าใจง่ายและชดั เจน
4.เปา้ หมาย

10

เปา้ หมายของโครงการเป็นการบอกถึงความต้องการหรอื ทศิ ทางในการปฏิบัตงิ านทีร่ ะบุในเชงิ ปริมาณ
เชงิ คณุ ภาพ เวลาและพืน้ ที่ในการปฏิบตั ิงาน ให้สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์และกิจกรรมของโครงการ
5.วธิ ีดาเนนิ งาน

เป็นกลา่ วถงึ ลาดบั ขั้นตอนการทางาน เพื่อใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคต์ ามทกี่ าหนดในโครงการ
วธิ ีดาเนินการมกั จาแนกเปน็ กิจกรรมย่อยๆ โดยแสดงใหเ้ ห็นชัดเจนตง้ั แต่เรม่ิ ตน้ จนจบกระบวนการวา่ มี
กิจกรรมใดทต่ี อ้ งทา รวมทงั้ แสดงระยะเวลาดาเนินการควบคูไ่ ปดว้ ย
6.ระยะเวลาและสถานทีด่ าเนินงาน

- ระยะเวลาในการดาเนินการ เปน็ การระบรุ ะยะเวลาตั้งแต่เรม่ิ ตน้ โครงการจนกระท่งั สิ้นสุดโครงการ
- สถานท่ดี าเนินการ คือ สถานท่ี บริเวณ พื้นท่ี อาคารทใี่ ชจ้ ดั กจิ กรรมตามโครงการ
7.ค่าใช้จ่าย/งบประมาณ
หรือค่าใช้จ่ายการดาเนินงานตามโครงการต้องใช้งบประมาณหรือค่าใช้จ่ายที่ระบุถึงจาน วนเงิน
จานวนวัสดุ ครุภณั ฑ์ หรอื จานวนบุคคล และปัจจยั อื่นๆ ทจ่ี าเป็นต่อการดาเนนิ การ สาหรับงบประมาณ ควร
ระบุให้ชดั เจนเป็นข้อๆ
8.ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั
เป็นการกล่าวถึงผลประโยชน์ที่พึงจะได้รับจากความสาเร็จของโครงการ เป็นการคาดคะเนผลที่จะ
ไดร้ บั เมอ่ื สน้ิ สดุ การปฏบิ ตั ิโครงการ ซึ่งผลที่ได้รบั ตอ้ งเปน็ ไปในทางท่ดี ี ท้ังเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ
9.การตดิ ตามและประเมินผล
เปน็ การประเมินผลการดาเนนิ งานตามโครงการซงึ่ ตอ้ งระบวุ ิธีการประเมินผลใหช้ ัดเจนวา่ จะประเมิน
โดยวธิ ใี ด อาจเขียนเปน็ ขอ้ ๆหรือเขยี นรวมกันกไ็ ด้
10.ปัญหาหรืออปุ สรรคทคี่ าดว่าอาจเกิดขน้ึ
ให้ระบุปัญหาอุปสรรคท่ีผู้จัดทาโครงการคาดว่าอาจเกิดขึ้น และจะทาให้โครงการไม่บรรลุผลตาม
วตั ถปุ ระสงค์
11.ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
ใหร้ ะบชุ ื่อบคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คลทท่ี างานร่วมกนั
12.ที่ปรึกษาโครงการ
ใหร้ ะบชุ ่อื ที่ปรกึ ษาในการทาโครงการ
โครงการส่ิงประดิษฐ์
ความหมายของสิ่งประดิษฐ์ ส่ิงประดิษฐ์หมายถงึ ผลงาน ผลผลิต ผลิตภัณฑ์ ตลอดจนวิธกี ารต่างๆที่
สร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่โดยมลี ักษณะแตกต่างไปจากเดมิ
ความเป็นมาของสง่ิ ประดษิ ฐ์
การประดิษฐ์ครง้ั แรก
เช่ือกันว่าการประดิษฐ์คร้ังแรกอยู่ในช่วงสมัยท่ีมนุษยย์ ังเป็นมนุษยย์ ุคก่อนๆ หรอื ยุคของมนุษย์สมัย
สายพันธ์ุ The Abominable Snowman ซึง่ พฒั นามาจากลิง หลักฐานถกู คน้ พบในถา้ เก่าแกข่ องขั้วโลกเหนอื
จากเครื่องมือท่ีใช้ในการทามาหากินโดยนักสารวจชาวอเมริกัน มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ และทีมงานเป็นผู้
คน้ พบ จากการตรวจสอบอย่างละเอียดพบว่า อุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ มีสภาพคงอยู่มานานนับพันๆ ปี หรือ
ในช่วง 5000-10000 B.C. ราวๆ 1000-4000 ก่อนพุทธศักราช ของใช้ต่างๆแม้จะอยู่ในสภาพที่เก่าแก่
แต่ก็สามารถทราบไดถ้ ึงววิ ฒั นาการของมนุษย์ในยุคน้นั จากส่ิงประดษิ ฐเ์ ล็กๆ ของมนุษย์จนมาถึงเครื่องบินลา
ยกั ษใ์ นปจั จุบนั เป็นสิ่งประดษิ ฐ์ทีเ่ กิดจากมนษุ ยท์ ้งั สนิ้

11

ยคุ ในการประดษิ ฐ์
เราสามารถแบง่ การประดิษฐ์ออกเปน็ 3 ชว่ งตามเวลา และอุปกรณก์ ารประดษิ ฐ์
- ยคุ ตน้ (กอ่ นคริสต์ศักราช- ต้นปี ค.ศ. 500)
มนุษยเ์ รยี นร้กู ารใชไ้ ฟและในการหลอมโลหะ ตีอุปกรณ์ ทาแก้ว ยุคนี้เป็นยุคเฟ่ืองฟูของศาสนาและ

การทามาค้าขาย ในทางเขตยุโรปผู้คนนิยมทาเครอื่ งเกราะ ดาบ เคร่อื งเงิน มงกฎุ การประดษิ ฐ์เป็นแบบพื้นๆ
แตม่ ีศลิ ปะมากกว่าทางเอเชยี หรือแอฟริกา การประดิษฐ์ในเอเชียไม่คอ่ ยได้รับความสนใจ บ้านเป็นแบบเกา่ ท่ี
ทาจากไม้ ผู้คนจะนิยมค้าขายอาหารกิจกรรมทางศาสนามากกว่า เชน่ เดยี วกับแอฟรกิ าท่ีการประดษิ ฐ์ไม่ค่อย
เจริญเทยี บเท่าแถบยโุ รป

- ยคุ ร่งุ เรอื ง (ช่วงกลาง ค.ศ. 500 - ค.ศ. 1350)
นักประดิษฐ์ทางยุโรปเริ่มรู้จักการใช้ไฟฟ้า อาชีพนักวิทยาศาสตร์เจริญมาก ทาให้การประดิษฐ์
กา้ วหนา้ ไปด้วย มีการค้นพบคณุ สมบัติของไฟฟ้าเป็นครั้งแรก ทาให้มีการประดิษฐ์ส่ิงของมากมาย เช่น การ
ค้นพบคลื่นวิทยุ มอเตอร์สนามพลัง ทาให้มีการสร้างรถยนต์ หลอดไฟ วิทยุ โทรทัศน์ และส่ิงของ
อเิ ล็กทรอนิกส์อีกมากมาย เม่ือเทียบกับทางแถบแอฟรกิ าและเอเชีย ซ่ึงทางเอเชียไดร้ ับอิทธพิ ลจากทางแถบ
ยโุ รป ทาให้มีการเจริญตามไปด้วย แตไ่ มม่ ีเร่ืองของการประดษิ ฐ์ มกั เป็นด้านการบรโิ ภค ทางแถบอเมรกิ า เริ่ม
มคี นยา้ ยเข้าไปอยูใ่ นเขตของชนชาวพื้นเมือง และคนนน้ั มาจากทางแถบยุโรป ซ่ึงนาส่ิงประดษิ ฐ์ต่างๆ มาดว้ ย
สว่ นออสเตรยี และแอฟริกา เป็นประเทศท่ไี มส่ นใจการประดษิ ฐ์
- ยคุ ปจั จุบนั (ค.ศ. 1350 - ปจั จบุ นั )
มนุษยเ์ ริม่ รู้จกั การใช้ชิป มกี ารสร้างอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ สม์ ากมาย เชน่ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ
จรวด เรือดาน้า อุปกรณ์ไฮเทคต่างๆ มีการใช้คล่นื สัญญาณโทรศัพท์และกระจายไปท่ัวโลก แต่ก็ยังไม่ทั่วถึง
และเท่ากันท่ัวประเทศ โดยเฉพาะมหาอานาจอย่างอเมริกาที่มีนักประดิษฐ์มากกวา่ และมีความพรอ้ ม ได้รับ
การสนับสนุนจากทางรัฐบาลทาใหเ้ กิดความก้าวหนา้ เรว็ ขึ้น แลว้ เปลย่ี นการทางานเป็นการทางานแบบองค์กร
หรอื ทีมน่ันเอง
คุณลกั ษณะของผู้เรียนที่ควรเลือกทาโครงการสิง่ ประดิษฐ์
1. มีความรทู้ างดา้ นวิชาการ การประดิษฐ์ส่ิงต่างๆย่อมตอ้ งใช้ความรทู้ างวิชาการอย่างแทจ้ รงิ มาเป็น
พื้นฐานการทางาน เพ่ือให้ได้ผลงานท่ีถูกต้อง มีหลักการ และมีความเป็นไปได้ ซึ่งหากผู้เรียนมีความสนใจ
ประดิษฐ์ด้านใด กค็ วรเสาะแสวงหาความร้ทู างวิชาการทเ่ี กี่ยวข้องกับชิน้ งานน้นั ๆ
2. มที ักษะในการปฏบิ ัติงาน ทกั ษะในการปฏบิ ัตงิ านมคี วามสาคญั ไมน่ ้องไปกวา่ วชิ าการ เพราะทักษะ
เกิดขึ้นได้จากการฝึกฝนจนเกิดความเชีย่ วชาญ การมีทักษะในการปฏบิ ัตงิ านจะช่วยใหช้ นิ้ งานที่ประดษิ ฐข์ ึน้ มา
นัน้ มีประสทิ ธภิ าพ และสามารถใชง้ านได้
3. มีจรรยาบรรณ การมีจรรยาบรรณทาให้อาชพี น้ันได้รับการยอมรับและเป็นที่น่าเชื่อถือแก่บุคคล
ทว่ั ไป ผเู้ รยี นจะต้องมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการปฏิบัติงาน และมีจิตสานึกในหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ อันเป็นพ้ืนฐาน
ทีด่ ที ่จี ะเป็นผู้ประกอบอาชพี ท่มี ีจรรยาบรรณในอนาคต
4. มีเจตคติที่ดตี อ่ งานอาชพี การเลือกประกอบอาชีพไดกต็ ามบคุ คลน้ันจะต้องมเี จตคติทดี่ ีต่ออาชพี ท่ี
เลือกจึงจะปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุข การท่ีผู้เรียนเลือกปฏิบตั ิชน้ิ งานใดก็ตามย่อมต้องมีเจตคติที่ดีต่องาน
น้ันด้วย จงึ จะทาใหผ้ ลงานทอ่ี อกมาประสบผลสาเร็จไดต้ ามจุดม่งุ หมายทต่ี อ้ งไว้
อย่างไรก็ดีโครงการสิ่งประดิษฐ์มีขอบเขตกวา้ งมาก มีตง้ั แต่การประดิษฐ์ชิน้ งานง่ายๆจนถงึ ชิ้นงานท่ี
ยุ่งยากสลับซับซ้อน ดังน้ันผู้เรียนจึงควรเลือกทาโครงการที่เหมาะสมกับตนเองเพื่อให้ผลงานท่ีออกมาน้ัน
ประสบผลสาเร็จตามเปา้ หมาย

12

โครงการการจดั ทาธุรกิจและบริการ
ความร้ทู ่ัวไปเกย่ี วกับธุรกจิ และบรกิ าร

ธรุ กจิ หมายถึงการดาเนนิ กจิ กรรมไม่วา่ จะเปน็ การผลติ หรอื จดั สนิ ค้า/บริการมาเพ่อื จาหน่ายไปยงั กลมุ่
ผซู้ ้อื โดยมีจดุ ประสงค์เพื่อใหไ้ ดม้ าซึ่งรายได้หรอื ผลกาไรจากการดาเนินกิจกรรมนน้ั

สนิ ค้า (Goods) หมายถึง ผลิตภณั ฑ์ท่ีมองเห็นและจบั ต้องได้ เช่น เสื้อผา้ นาฬิกา โทรทศั น์ เปน็ ตน้
บริการ(Service)หมายถึงผลิตภณั ฑ์ที่ไมส่ ามารถจับต้องได้ ผ้ซู ื้อจะได้รบั ในรปู ของความสะดวกสบาย
ความบันเทงิ เปน็ ต้น
ปัจจยั เบอื้ งตน้ ในการประกอบธุรกจิ มดี ังนี้
1. คน(Man) จดั เป็นปจั จยั เบอ้ื งต้นในการประกอบธุรกจิ ทส่ี าคัญท่ีสดุ เปน็ ผรู้ เิ ริม่ ใช้ความคดิ ก่อตั้ง
ธรุ กิจขึน้ มา
2. เงิน(Money)เป็นเงนิ ที่นามาใชใ้ นการลงทนุ ผลิตสินค้าหรอื บรกิ าร
3. เครือ่ งจักร(Machines)เป็นเครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการแปรรปู วตั ถุดบิ ให้เป็นสินคา้ สาเรจ็ รปู
4. วสั ดุ อปุ กรณ(์ Materials)เป็นวสั ดุอุปกรณ์ตา่ งๆท่ชี ่วยอานวยความสะดวกในการดาเนนิ การ
5. การจัดการ(Management)เป็นการจดั ระบบใหก้ ารประกอบธุรกจิ สามารถดาเนนิ ไปไดโ้ ดย
ปราศจากอปุ สรรคใดๆ
แนวทางการทาโครงการการจดั ทาธรุ กิจและบรกิ าร
ผเู้ รียนท่เี ลือกทาโครงการการจัดทาธรุ กจิ และบริการ ต้องมีความรูแ้ ละทักษะเพยี งพอทีจ่ ะสามารถผลิต
สนิ ค้าหรือให้บริการ และเป็นท่ไี วว้ างใจได้ แนวทางการจดั ทาโครงการธุรกจิ และบริการทีส่ ามารถทาไดด้ งั นี้
1. การผลติ สินคา้ เพ่อื การจาหน่าย
เป็นธุรกิจท่ีผู้เรียน ตัดสินใจว่าจะผลิตสินค้าด้วยตนเอง แล้วนามาจาหน่ายให้แก่ผู้ซ้ือ ตัวอย่างเช่น
การทาขนมไทยเพ่อื การจาหน่าย เป็นตน้
2. การซื้อสินคา้ มาเพือ่ จาหนา่ ย
หรือเรยี กอยา่ งหนึ่งวา่ การประกอบธรุ กิจซอ้ื มาขายไป ลักษณะของธุรกจิ ประเภทนี้คอื ผูเ้ รียนหาแหล่ง
ทีจ่ าหน่ายสินคา้ ทีค่ าดว่าน่าจะเป็นท่ีสนใจของผซู้ ื้อ ซึ่งอาจเป็นสินค้าประเภทท่ผี ู้ซ้ือใช้เหตุผลในการตัดสินใจ
ซื้อ คือสินค้าที่มีประโยชน์ต่อการดารงชีพ หรือเป็นสินค้าท่ีผู้ซื้อเห็นแล้วเกิดความต้องการ ขณะเดียวกัน
สนิ คา้ นัน้ สามารถสรา้ งความภาคภมู ใิ จใหผ้ ู้ซ้ืออกี ด้วย
3. การใหบ้ รกิ าร
เป็นธุรกจิ ทใี่ ห้บรกิ ารแกล่ ูกค้าได้รบั ความสะดวกสบาย ความสวยงาม ความบันเทิง เป็นต้น เช่น โครงการสปา
ไทย เปน็ ตน้
ส่งิ ทีค่ วรพจิ ารณาในการตดั สินใจเลือกทาโครงการธุรกิจและบริการ
กอ่ นทผ่ี เู้ รยี นจะตดั สินใจเลือกจัดทาโครงการใดนน้ั ต้องพจิ ารณาปัจจยั สาคญั หลายประการ ดงั นี้
1. ความสามารถของตนเองหรือสมาชิกในกล่มุ
จุดมุ่งหมายสาคัญของการจัดทาธุรกิจหรือบริการคือสามารถสร้างรายได้หรือผลกาไรจากการ
ดาเนนิ การ ผเู้ รยี นหรือสมาชกิ ในกลมุ่ จะตอ้ งมีความสามารถเพียงพอสาหรับการดาเนินธุรกจิ จนสามารถบรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ได้ สงิ่ ทผ่ี ู้ซ้ือนามาพิจารณาตัดสนิ ใจซือ้ คอื ประโยชนท์ ่เี ขาจะได้รบั จากสินคา้ หรอื บริการนนั้
2. เงินทุน

13

เงินลงทุนสาหรบั โครงการการจัดทาธุรกิจหรือบริการจะมากน้อยเพียงใดข้ึนอยกู่ ับส่งิ ท่ีผู้เรยี นจะทา
หากเปน็ โครงการขนาดใหญ่ อาจตอ้ งใช้เงนิ ทุนมากกวา่ โครงการขนาดเล็ก นอกจากนย้ี ังข้นึ อยกู่ ับลักษณะของ
สินค้าหรือบริการทีผ่ ลิตด้วย
3. อุปกรณท์ ตี่ อ้ งใช้

อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการดาเนินตามโครงการ เปน็ สงิ่ หน่งึ ที่ผเู้ รียนควรนามาพิจารณา หากเปน็ อุปกรณ์ท่ี
มีอยู่แล้ว หรอื สามารถจัดหาได้โดยไม่ต้องเสียค่าใชจ้ ่าย หรือเสียค่าใช้จ่ายไม่มากนัก จะช่วยลดต้นทุนในการ
ผลิตได้ ในทางตรงกันข้าม หากต้องลงทุนซื้ออุปกรณ์ในราคาสูง อาจทาให้การดาเนินการตามโครงการไม่
เกดิ ผลกาไรข้ึนมาได้
4. สถานท่ี

สถานท่ที ีเ่ ก่ียวขอ้ งในการจดั ทาโครงการ ได้แก่
4.1 สถานที่ผลิตสนิ ค้า กรณที ผี่ ู้เรียนเลือกจัดทาโครงการผลิตสนิ ค้าหรือบรกิ าร ซ่ึงต้องผลิตสินคา้ ให้
พรอ้ มกอ่ นทจ่ี ะนาออกจาหน่าย ผู้เรยี นจะตอ้ งพจิ ารณาวา่ มสี ถานที่ท่เี หมาะสมสาหรบั การผลติ สนิ คา้ หรอื ไม่
4.2 สถานท่ีต้ังร้านค้า หรือทาเลสาหรับขายสินค้าหรือให้บริการที่เหมาะสม สิ่งที่ต้องพิจารณา
เกี่ยวกับสถานทรี่ ้านค้าสาหรบั ขายสินคา้ หรือบริการ จะต้องเป็นสถานทีท่ ี่จะต้องมีกลมุ่ ป้าหมายผ่านไปมาใน
จานวนทีม่ ากพอ
แนวทางการสรา้ งรายไดแ้ ก่โครงการจดั ทาธรุ กจิ และบรกิ าร
1. วิเคราะห์สถานการณ์ หมายถึงผู้เรียนจะต้องทาการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและ
สภาพแวดลอ้ มภายนอก การวเิ คราะห์สถานการณ์นเ้ี รียกอกี อย่างหนึ่งว่า การวิเคราะหจ์ ุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส
อุปสรรค(SWOT Anlysis)ดงั รายนะเอียดตอ่ ไปน้ี
1.1 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในเปน็ การวิเคราะหเ์ กี่ยวกบั สภาพแวดลอ้ มภายในองค์การ คือ
มีบุคลากรที่มีความสามารถ มีลักษณะงานที่ดี มีเงินทุนเพียงพอต่อการดาเนินงาน สิ่งเหล่าน้ีถือเป็นข้อ
ไดเ้ ปรียบขององค์การ หรอื ทีเ่ รียกว่าจุดแข็ง(Strengph)ในทางตรงกนั ขา้ มหากองคก์ ารมคี นท่ไี รค้ วามสามามร
ถก มีลักษณะงานท่ีไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ การผลติ ทดี่ ี มีเงินทนุ จานวนน้อยไม่สามารถขยายกจิ การหรอื ดาเนนิ กจิ กรรมได้
สิง่ เหลา่ น้ถี อื เปน็ ขอ้ เสียเปรียบขององค์การหรือทเ่ี รยี กวา่ จดุ อ่อน(Weakness)
1.2 การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก เป็นการวเิ คราะหเ์ กี่ยวกบั สภาพแวดลอ้ มภายนอกองค์การ
องค์การจะต้องปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเหล่านั้นเพ่ือเป็นการสร้างประโยชน์ให้องค์การ สามารถทาให้
องค์การดาเนินงานไปได้ด้วยดี และประสบผลสาเร็จได้ เรยี กว่าโอกาส(Opportunity)ในทางตรงกันข้ามหาก
สภาพแวดล้อมในทางตรงกันข้ามหากสภาพแวดล้อมภายนอกเป็นภัยคุกคามทาให้ธุรกิจไม่เป็นไปตามท่ี
คาดหวงั เรยี กวา่ อปุ สรรค(Treat)
2.การสร้างขอ้ ได้เปรยี บหากต้องการจะขายสินคา้ ให้ได้ผทู้ าโครงการจะตอ้ งสรา้ งจดุ เดน่ ของสินคา้ หรอื
บริการท่ีจาหน่าย เพอ่ื ความได้เปรยี บทางการแขง่ ขัน การสร้างขอ้ ได้เปรยี บสามารถกระทาได้ดงั น้ี
2.1การสร้างข้อได้เปรียบด้านต้นทุน หากผู้จัดทาโครงการสามารถทาให้ต้นทุนการผลิตสินค้าหรือ
บรกิ ารต่าลงได้จะทาให้ราคาขายต่าลงไปด้วย ซึง่ หากขายในราคาตา่ กว่าค่แู ขง่ ย่อมได้รบั ความสนใจมากกว่า
2.2การสร้างข้อได้เปรียบด้านความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ หมายถึงกามรหาวิธีทาให้สินค้าหรือ
บรกิ ารท่จี าหน่ายน้ันมีความแตกตา่ งจากของรา้ นอื่นๆท่ีขายสินคา้ หรือบริการประเภทเดียวกันซึ่งการสร้างข้อ
ได้เปรยี บทางด้านความแตกต่างของผลิตภัณฑม์ คี วามยนื นานกว่าการสรา้ งขอ้ ได้เปรยี บดา้ นต้นทนุ
2.3การสร้างข้อได้เปรียบด้านกลยุทธ์ตลาดเฉพาะกลุ่ม ผู้ทาโครงการสามารถนากลยุทธ์ทางด้าน
การตลาดมาใช้โดยพจิ ารณาว่าสิ่งทจี่ าหนา่ ยนนั้ เหมาะกับกลมุ่ ลกู คา้ ท่มี ีลกั ษณะใด

14

โครงการทดลองและวิจยั
ความรทู้ ่วั ไปเกี่ยวกับการทดลองและวจิ ยั

การทดลองและการวิจัยเป็นกระบวนการในการคิดค้นหาความรู้ใหม่คาตอบใหม่ที่ผู้ทาการวิจัย
ต้องการทราบเพือ่ นาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสนิ ใจเรอื่ งดเรื่องหนึ่ง

การวจิ ัย หมายถึง การค้นหาความรู้ใหมๆ่ หรอื หาคาตอบใหม่ๆเพ่ือนาคาตอบน้นั มาใช้ในงานหรือแกไ้ ข
ปญั หาซึ่งผลการวิจยั ทนี่ า่ เช่ือถอื นน้ั มรี ะเบียบและมีกฎเกณฑ์
ลกั ษณะสาคัญของการวิจัย มดี ังน้ี

1. การวิจัยเปน็ การศกึ ษาคน้ หาข้อเท็จจรงิ เพื่ออธบิ ายปรากฏการณต์ ่างๆ
2. การวจิ ยั ตอ้ งใชค้ วามพยายาม ซอื่ สัตย์ ขยัน และอดทน ในการเฝา้ ตดิ ตาม
3. การวิจยั ตอ้ งอาศัยความกล้าหาญเดด็ เดย่ี วของผู้ทาการวิจัย
4. การวิจยั เปน็ งานทีผ่ ทู้ าการวิจยั ตอ้ งมคี วามรู้ความชานาญในเนอื้ หาหรือเรอ่ื งทจ่ี ะศึกษา
5. การวจิ ยั เป็นกระบวนการทม่ี เี หตุผลและเปา้ หมาย
6. การวจิ ยั จะตอ้ งมีการาจดบนั ทึก ละรายงานผลอย่างละเอยี ด
7. การวิจัยตอ้ งอาศยั เครอ่ื งมือและเทคนิคต่างๆในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
8. การวจิ ยั เปน็ กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ใหม่ หากนาผลการวิจัยเก่ามาใช้จะตอ้ งเปน็ การ
นามาใชเ้ พอ่ื จดุ ประสงค์ใหม่
ประโยชน์ของการวิจัย มีดงั น้ี
1. ชว่ ยใหเ้ กดิ ความรใู้ หม่ๆ ซ่ึงเป็นการเพ่มิ พนู วทิ ยาการของศาสตร์ต่างๆ ไดก้ วา้ งมากย่ิงข้ึน
2. ช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆท่ีเป็นข้อสงสัยได้ หากบุคคลหรือธุรกิจมีปัญหา ต้องการทราบคาตอบ
สามารถทาการวจิ ัย คาตอบที่ไดจ้ ากการวิจยั จะช่วยแกป้ ญั หาต่างๆ ที่สงสยั ได้
3. ช่วยใหอ้ งคก์ ารสามารถปรับปรงุ การทางานให้มีประสิทธิภาพมากย่งิ ข้ึน กล่าวคือหากผู้บริหารไม่
ทราบแนวทางการดาเนินงานในด้านใดด้านหน่ึง อาจใช้วิธีการวิจัยเพ่ือหาคาตอบแล้วดาเนินงานไปตาม
แนวทางน้ัน
4. ชว่ ยพยากรณส์ ถานการณ์ หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่เกีย่ วข้องกบั กามรดาเนนิ ธรุ กิจไดถ้ ูกต้องย่ิงข้นึ
5. ช่วยให้ผู้บรหิ ารสามารถตัดสินใจบริหารงานดา้ นต่างได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
ผลของการวจิ ยั กบั ธรุ กิจ
ธรุ กจิ จะดาเนนิ ไปข้างหน้าได้ ตอ้ งอาศัยผลของการวิจยั เป็นแนวทางในการดาเนินงานเรื่องทีธ่ ุรกิจทา
การวจิ ัยมี ดังนี้
1. ดา้ นการจดั การ
การวจิ ัยด้านการจัดการ เป็นการวิจัยทเ่ี กยี่ วข้องกับระบบบรหิ าร เพื่อให้เป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
เรอ่ื งทที่ าการวจิ ยั มกั จะเนน้ เร่ืองท่เี ก่ยี วกบั บุคลากร
2. ด้านบญั ชี
การวจิ ัยดา้ นบญั ชี เปน็ งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วกบั การหาวิธีการจดบันทึกรายงานทางการเงนิ ให้ดที ่สี ุด และหา
วธิ เี สนอขอ้ มลู ทางการเงินแบบใหม่ของโครงการ
3. ดา้ นการเงนิ
หน้าท่ีของฝ่ายการเงิน คือ การจัดหาเงินทุนให้เพียงพอกับความต้องการของภารกิจองค์การ ดูแล
ฐานะทางการเงนิ และดาเนินการใชเ้ งนิ ท่มี อี ยู่ให้เกดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ
4. ดา้ นการตลาด

15

การตลาดในปัจจบุ ันไมไ่ ด้เนน้ การผลิตสนิ ค้า หรอื เน้นการขายอกี ต่อไปแล้ว แตจ่ ะเน้นถงึ ความต้องการของผซู้ อ้ื
จะผลติ และขายผลิตภัณฑท์ ่ีแน่ใจวา่ เปน็ ทตี่ ้องการของลกู ค้า

5. ดา้ นการผลติ
การผลิตเป็นกระบวนการนาวตั ถุดิบเข้าสู่กระบวนการเพ่ือแปรรูปเป็นสินค้าสาเร็จรูป การผลิตท่ีมี
ประสิทธิภาพตอ้ งทาใหม้ ีต้นทนุ ต่าท่ีสุด เวลานอ้ ยทส่ี ุด ค่าใช้จ่ายด้านวัตถดุ ิบ อุปกรณ์ ตลอดจนค่าใช้จา่ ยดา้ น
แรงงานเหมาะสมทส่ี ุด
6. ดา้ นเศรษฐศาสตร์ธรุ กจิ
เศรษฐศาสตรธ์ รุ กิจ เป็นศาสตร์ท่นี าเอาหลกั ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกตใ์ ช้ในทางธุรกจิ หลัก
เศรษฐศาสตร์เป็นหลักของการอธิบายเหตุการณ์ต่างๆทางเศรษฐกิจ การดาเนินธุรกิจดาเนินอยู่ในความไม่
แน่นอนจงึ ต้องนาหลักเศรษฐศาสตร์มาชว่ ยในการตัดสินใจ
7. การวจิ ยั ด้านสงั คมศาสตร์และอน่ื ๆทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ธรุ กจิ
การดาเนินธรุ กจิ จะตอ้ งดาเนินการภายใต้สภาพแวดลอ้ มภายนอกท่ีไมส่ ามารถควบคุมได้ ธรุ กิจจงึ ตอ้ งมกี าร
รบั รู้เกี่ยวกบั สงั คมภายนอก
ขัน้ ตอนการวจิ ยั
1. เลอื กหัวขอ้ ทจ่ี ะทาการวจิ ยั
2. กาหนดประเด็นปญั หาของการวิจยั
3. ตง้ั วตั ถปุ ระสงค์
4. ตั้งสมมุตฐิ าน
5. การออกแบบการวิจัย
6. การรวบรวมข้อมลู
7. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
8. การแปรความหมาย หรอื การตคี วามข้อมลู
9. การอภิปรายผล
10. สรปุ ผลการวิจัย
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
การเก็บรวบรวมขอ้ มูลเป็นกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนหลังจากท่ีผวู้ ิจัยได้ออกแบบการวิจยั เสรจ็ ส้ินแล้ว แหล่ง
ของขอ้ มูลมี 2 แหลง่ ได้แก่ แหล่งปฐมภูมิ เป็นการหาข้อมูลดิบจากต้นกาเนิดด้วยตนเองและแหล่งทุติยภูมิ
เปน็ การคัดลอกขอ้ มูลจากเอกสารต่างๆ
นกั วจิ ยั มกั นิยมรวบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ ปฐมภมู ิ ซง่ึ วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ปฐมภมู ิทน่ี ยิ มมี 3 วธิ คี อื
1. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยวธิ ที ดลอง เป็นการนาส่งิ ทต่ี อ้ งการศึกษาไปทดลองกับกลุม่ ตัวอย่าง เพ่ือ
ศึกษาผลการทดลองน้ัน
2. การเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยวิธสี งั เกตการณ์ เป็นวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ จะใชก้ ต็ อ่ เม่อื ไมส่ ามารถ
หาวธิ อี ื่นในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้
3. การเก็บข้อมูลด้วยวิธีสารวจ เป็นการเก็บข้อมูลที่มีประสทิ ธิภาพ และนิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง
การเกบ็ ข้อมลู โดยวธิ ีการสารวจสามารถกระทาได้ ดังน้ี

3.1 การเกบ็ ข้อมลู โดยการสมั ภาษณ์ทางโทรศัพท์
3.2 การเกบ็ ขอ้ มลู ทางไปรษณีย์
3.3 การเกบ็ ขอ้ มลู โดยการใหพ้ นกั งานสัมภาษณ์

16

3.4 การแจกแบบสอบถาม
การประมวลผลข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมลู และการแปลผล

การประมวลผลขอ้ มลู หมายถึง การนาขอ้ มลู ทรี่ วบรวมจากแหลง่ ต่างๆ มาจัดแยกหมวดหมู่ และ
คานวณเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทเ่ี หมาะสม สามารถนาไปใชง้ านได้ตามวัตถปุ ระสงค์

วธิ กี ารประมวลผลข้อมลู การประมวลผลข้อมวลมีหลายวธิ ีดว้ ยกนั แตว่ ิธที ี่มักใชก้ ันอยา่ งแพรห่ ลาย
ไดแ้ ก่

1. การประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยมอื เปน็ วธิ กี ารประมวลผลข้อมลู ทผ่ี ้ใู ช้ตอ้ งมคี วามชานาญและมคี วามจา
ดี เหมาะสาหรับข้อมลู ทม่ี ปี ริมาณน้อย

2. การประมวลผลดว้ ยเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นวิธปี ระมวลผลที่นยิ มใช้กนั ในปจั จุบัน เนือ่ งจากเป็นวธิ ี
ท่ีรวดเร็ว มคี วามน่าเช่อื ถอื และสามารถประหยัดเวลาไดม้ าก แตเ่ ปน็ วิธกี ารท่ตี อ้ งเสียค่าใชจ้ า่ ยสงู

การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ขอ้ มลู ทท่ี าการแจงนบั ผ่านข้นั ตอนการประมวลข้อมลู แล้ว กจ็ ะถึงลาดบั ขัน้ การ
นาไปวิเคราะห์ ดว้ ยการหาคา่ ต่างๆ ทางสถติ ิ

การแปลผล เปน็ การนาผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ซงึ่ เปน็ ค่าสถิติตา่ งๆ มาอธบิ ายในลักษณะของการ
บรรยาย ที่ผใู้ ชป้ ระโยชนส์ ามารถอ่านและเขา้ ใจได้
จรรยาบรรณของนักวิจยั

จรรยาบรรณเป็นหลักของความประพฤติที่เหมาะสมแสดงถึงคณุ ธรรมและจริยธรรมในการประกอบ
อาชพี ซง่ึ กลุ่มบุคคลแตล่ ะอาชพี ต้องยดึ ถอื และปฏบิ ัติจรรยาบรรณของนักวจิ ยั มีดงั น้ี

1. นักวจิ ัยต้องซอ่ื สัตยแ์ ละมีคณุ ธรรมในทางวิชาการ และการจัดการ นกั วจิ ยั จะต้องมีความซอื่ สตั ย์
ต่อตนเอง ดว้ ยการไมล่ อกเลียนงานของผูอ้ นื่ มาเปน็ ผลงานของตน หากมกี ารนาข้อมลู ของผู้ใดมาใช้ ต้องอา้ งถึง
บุคคลหรือแหลง่ ทมี่ าด้วย

2. นกั วจิ ัยต้องตระหนักถงึ พนั ธกรณีในการทางานวจิ ัย ตามข้อตกลงที่ทาไว้กับหน่วยงานท่ีสนับสนุน
การวิจัย และต่อหน่วยงานท่ีตนสังกัด นักวิจัยจะต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทาวิจัย กล่าวคือกรณีที่
นกั วจิ ัยได้ขอเขา้ รบั ทนุ โครงการวิจยั ด้วยหนว่ ยงานใดจะต้องศกึ ษาเงอ่ื นไข และกฎเกณฑอ์ ย่างรอบคอบ

3. นักวจิ ัยตอ้ งมีพ้ืนฐานความรใู้ นสาขาวชิ าการท่ีทาการวิจัย นกั วิจยั ต้องมพี ้ืนฐานความรู้ในสาขาวิชา
การท่ีทาการวิจัยอยา่ งเพยี งพอ และมีความรู้ ความชานาญ หรือมปี ระสบการณ์เกยี่ วเน่อื งกับเร่อื งทีท่ าวจิ ัย

4. นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อส่งิ ที่ศึกษาวิจยั ไมว่ ่าจะเป็นสง่ิ ที่มีชีวิต หรือไม่มีชีวิต นักวิจยั ต้อง
ดาเนินการด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง และเท่ียงตรงในการทาวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับคน สัตว์ พืช
ศลิ ปวัฒนธรรม ทรพั ยากร และส่ิงแวดลอ้ ม มีจิตสานึกและมีปณิธานท่ีจะอนุรักษศ์ ิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร
และสิ่งแวดลอ้ ม

5. นกั วจิ ัยต้องเคารพศักดศ์ิ รี และสิทธิของมนุษย์ทใี่ ช้เป็นตัวอยา่ งในการวิจัย นักวจิ ัยต้องไม่คานึงถึง
ผลประโยชน์ทางวชิ าการจนละเลย และขาดความเคารพในศักดิ์ศรีของเพ่อื นมนษุ ย์

6. นกั วิจัยต้องมีอิสระทางความคิดโดยปราศจาก อคติ ในทุกข้นั ตอนของการทาวจิ ยั นักวิจัยจะต้องมี
อสิ ระทางความคิด คือไม่ทางานวิจัยด้วยความเกรงใจ และการปฏิบัติงานวิจยั น้ันจะต้องใช้หลักวิชาการเป็น
เกณฑ์โดยไม่มีอคติใดๆ เขจา้ มาเก่ยี วขอ้ ง

7. นักวจิ ัยพงึ นาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ นกั วิจัยจะต้องมีความรบั ผิดชอบ และมีความ
รอบคอบในการเผยแพร่งานวิจยั

8. นักวิจยั พึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อ่ืน นักวิจัยต้องเป็นผู้ท่ีมีมนุษยสัมพันธท์ ี่ดี ยินดี
แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น และสร้างความเข้าใจในงานวจิ ัยกับเพ่ือนรว่ มงานและนักวิชาการอน่ื ๆ

17

9. นกั วจิ ยั พงึ มีความรับผิดชอบตอ่ สงั คมทุกระดบั นักวจิ ยั จะต้องหาหวั ข้อการวิจัยดว้ ยความรอบคอบ
และทาการวิจยั ดว้ ยจิตสานึกทีจ่ ะอทุ ิศกาลงั ปญั ญาของตน เพ่ือความก้าวหน้าทางวิชาการ และเพื่อประโยชน์
สขุ ต่อสงั คม
การสรุปผลการดาเนินงานและการจัดทารายงาน
การสรปุ ผลการดาเนินงาน

หลงั จากทผ่ี เู้ รียนได้ปฏบิ ัติตามโครงการเรยี บรอ้ ยแล้วจะต้องสรปุ ผลการดาเนนิ งานว่าเปน็ อย่างไร
ดังนนั้ ในส่วนของสรปุ ผลการดาเนนิ งานควรประกอบดว้ ยส่ิงตอ่ ไปนี้

1. ผลการดาเนนิ งานเปน็ การสรปุ ผลหลงั จากทไ่ี ด้ดาเนินงานตามโครงการส้ินสุดลงแลว้
2. ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึนระหวา่ งการดาเนินงานตามโครงการนัน้ มีปัญหาและอุปสรรคอะไร
เกดิ ขน้ึ บ้างจะไดห้ าแนวทางแก้ไขเพื่อไม่ให้ปญั หาหรืออปุ สรรคเหลา่ นั้นเกดิ ขน้ึ ไดอ้ กี
3. ข้อเสนอแนะ เป็นการเสนอแนะแนวทางเพ่ือจะทาใหก้ ารปฏิบตั โิ ครงการครง้ั ตอ่ ไปสามารถ
หลีกเลี่ยงปญั หาและอปุ สรรคทเ่ี กดิ ขึน้ และทาให้โครงการสามารถประสบผลสาเรจ็ ได้ง่ายขน้ึ
การจดั ทารายงาน
การจัดทารายงานประกอบดว้ ยรายละเอยี ดดงั น้ี
1.สว่ นนา เป็นส่วนแรกของรายงาน ซง่ึ ควรประกอบดว้ ย

1.1 ปก ควรมที ัง้ ปกนอก และปกใน ซึง่ มเี นือ้ หาซา้ กัน
1.2 คานา หลักการเขียนคานาท่ีดีจะต้องทาให้ผู้อ่านต้องการท่ีจะอ่านเนื้อหาส่วนในของ
รายงานจนจบ ดงั นน้ั คานาตอ้ งก่อความสนใจแกผ่ ู้อ่านใหม้ ากทสี่ ุด
1.3 สารบญั หมายถงึ บัญชีบท หรือ หวั ข้อสาคัญในรายงานต้องเขยี นเรยี งลาดบั ตามเน้ือหา
ของรายงาน
2.สว่ นเนือ้ หา ประกอบดว้ ยส่วนต่างๆดังน้ี
2.1 หลกั การและเหตผุ ล วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รับ
2.2 วิธกี ารดาเนินงาน แบง่ ออกเป็น 4 ตอนไดแ้ ก่
ตอนท่ี 1 การเตรียมการก่อนเร่ิมโครงการประกอบด้วย การศึกษาค้นคว้า การเตรียมวัสดุ
อุปกรณแ์ ละการแบ่งหน้าท่ีให้แกส่ มาชิกภายในกลุ่ม
ตอนท่ี 2 การดาเนินการ เป็นการเขียนถึงขั้นตอนการทาโครงการแต่ละขั้นตอนว่าดาเนินการ
อย่างไรซ่งึ ส่วนใหญจ่ ะมกี ารบันทกึ ภาพของแต่ละขั้นตอนอยา่ งละเอียดแลว้ นาเสนอในรายงานนี้พร้อมกบั คาบรรยาย
ตอนท่ี 3 ค่าใช่จ่ายบอกทมี่ าของเงนิ ทนุ พรอ้ มกบั ระบุคา่ ใช้จา่ ยในการทาโครงการ
ตอนที่ 4 สรปุ ผลการดาเนนิ งานประกอบด้วย ผลการดาเนนิ งาน ปัญหาและอปุ สรรค และ
ข้อเสนอแนะ ตามท่กี ล่าวมาขา้ งต้น
3. บรรณานุกรม หรือเอกสารอ้างอิงหรอื เอกสารที่ใช้ค้นควา้
4. ภาคผนวก นาเอกสารท่เี กย่ี วข้องในการจดั ทาโครงการ เช่นโครงการ แบบฟอร์ม รปู ภาพอนื่ ๆมาใส่
ไว้ตามความจาเป็น
การนาเสนอผลงาน
ความหมายของการนาเสนอผลงาน
การนาเสนอผลงานหมายถึงการท่ีผู้เรียนได้นารายละเอียดของโครงการมานา เสนอแก่ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง
ไดร้ บั ทราบถึงเหตุของการจัดทาโครงการ วธิ ีการาดาเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งาน ปัญหาและอุปสรรคที่เกดิ ข้ึน
รวมถึงข้อเสนอแนะเพอ่ื เป็นแนวทางสาหรับผู้ท่จี ะจดั ทาโครงการลกั ษณะเดียวกนั ในโอกาสตอ่ ไป

18

เทคนิคการนาเสนอผลงาน
การนาเสนอผลงานผู้นาเสนอจะต้องมีการเตรียมตนเองเพ่อื ให้การนาเสนอน้ันเป็นการนาเสนอท่ีดีมี

ประสทิ ธภิ าพ สามารถสอื่ สารให้ผฟู้ งั เขา้ ใจอย่างชัดเจน ส่งิ ท่ีผนู้ าเสนอควรปฏบิ ัติมีดังนี้
1. สารวจตนเอง บุคลกิ ภาพของผนู้ าเสนอเป็นสิ่งสาคญั ยิง่ ดังนั้นผู้นาเสนอควรมกี ารสารวจตนเอง

เพอื่ เตรียมความพรอ้ มให้กับตนเอง
2. กล่าวสวสั ดผี ฟู้ ัง โดยเรม่ิ สวัสดผี อู้ าวุโสท่สี ดุ แลว้ เรยี งลาดับรองลงมาจากนน้ั แนะนาตนเอง แนะนา

สมาชิกในกลุ่ม และแนะนาชอื่ โครงการ
3.เตรยี มโครงเร่ืองทจ่ี ะพดู
4. พูดอย่างมีจงั หวะ
5. หลกี เลยี่ งการอา่ น แตค่ วรจดเฉพาะหวั ขอ้ สาคญั ๆ
6. ผู้นาเสนอจะตอ้ งทาความเข้าใจกับเนอ้ื หาท่ีจะนาเสนอเปน็ อยา่ งดี
7. ผนู้ าเสนอควรจัดความคิดแอยา่ งเป็นระบบนาเสนออยา่ งตรงไปตรงมาดว้ ยภาษาท่ีชัดเจนและเข้าใจง่าย
8. รกั ษาเวลาของการนาเสนอไมพ่ ดู วกไปวนมาหรือออกนอกเร่อื งจนเกนิ เวลา
9. รู้จักใชท้ ่าทางประกอบการพดู พอสมควร
10.ควรมีสอื่ ประกอบการนาเสนอเพราะจะทาใหก้ ารนาเสนอนัน้ สมบูรณย์ ่ิงข้ึน


Click to View FlipBook Version