The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poramin_kw, 2019-11-25 02:49:55

ระบบขับถ่าย

ระบบขับถ่าย

Keywords: Biology

เอกสารประกอบการเรียนชวี วทิ ยา 2 หนา้ ท่ี 1

เอกสารประกอบการเรียนชวี วทิ ยา 2 หน้าท่ี 2

ระบบขับถ่าย

ผลการเรียนรู้ สืบคน้ ข้อมลู อธบิ าย และเปรยี บเทยี บโครงสร้างและหน้าท่ีในการกา้ จดั ของเสียออกจากร่างกายของฟองนา้ ไฮดรา พลานาเรีย
1. ไส้เดอื นดิน แมลง และสัตว์มีกระดกู สันหลัง
อธิบายโครงสร้างและหน้าทขี่ องไต และโครงสร้างท่ใี ชล้ า้ เลยี งปสั สาวะออกจากร่างกาย
2. สบื คน้ ข้อมูลอธิบายและสรปุ กลไกการกา้ จดั ของเสยี ออกจากรา่ งกายโดยหน่วยไต
3. อธบิ ายกลไกการท้างานของหนว่ ยไต ในการกา้ จัดของเสยี ออกจากร่างกาย และเขยี นแผนผงั สรปุ ขันตอนการกา้ จดั ของเสียออก
4. จากร่างกายโดยหนว่ ยไต
สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ าย และยกตวั อยา่ งเกย่ี วกบั ความผดิ ปกติของไตอนั เน่ืองมาจากโรคตา่ ง ๆ
5.

การขบั ถ่าย (Excretion)

การกา้ จัดของเสียท่ีเกดิ จากเมแทบอลซิ ึม (Metabolic waste) โดยการกา้ จดั ออกจากร่างกายหรือ
เปลย่ี นเปน็ สารทม่ี อี นั ตรายน้อยกว่าแล้วก้าจัดออกนอกร่างกายภายหลงั
ของเสยี ทเ่ี กดิ จากเมแทบอลิซึม ไดแ้ ก่
1. ของเสยี ที่มีธาตไุ นโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ (Nitrogenous wastes) เกดิ จากการสลายสารโปรตีนและ
กรดนิวคลีอกิ ประกอบด้วย

เอกสารประกอบการเรียนชวี วิทยา 2 หน้าท่ี 3

2. แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2)
3. ไฮโดรเจน (Hydrogen) เกลอื แร่ (Mineral) และ นา้ (H2O) ที่มากเกนิ ความต้องการของร่างกาย

ระบบขับถา่ ยของสิ่งมีชวี ติ เซลล์เดยี ว
โพรทิสตเ์ ซลล์เดียว เชน่ พารามเี ซียม อะมบี า

ยกู ลีนา ของเสียทีเ่ กดิ ขนึ แพรผ่ ่านเยือ่ หุม้ เซลลอ์ อกสู่
ส่ิงแวดลอ้ ม

โพรทิสต์บางชนิดท่ีอาศัยอย่ใู นน้าจืดมี
ออร์แกเนลลค์ อนแทร็กไทล์แวคิวโอล(Contractile
vacuole)เพ่ือท้าหน้าทีร่ ักษาสมดุลของน้า

ระบบขับถ่ายของสัตว์
• การขับถา่ ยของสตั วท์ ่ไี มม่ กี ระดกู สันหลงั (Invertebrate Excretion)

- ฟองน้า (sponges) ไฮดรา (Hydra) ไมม่ ีอวยั วะในการขับถ่ายของเสยี วธิ ีการกา้ จัดของเสยี ด้วยการแพร่
(Diffusion) ผา่ นเยอื่ หุ้มเซลล์ (Cell membrane)
- หนอนตัวแบน(Flat worms) เป็นสัตว์ไฟลมั แรกท่ีมีระบบขบั ถ่าย เรยี กว่า โพรโทเนฟริเดีย
(Protonephridia) ทป่ี ลายท่อมีเฟลมเซลล์ (Flame cell = เซลลเ์ ปลวไฟ)

- แอนนลิ ดิ (Annelid) เช่น ไสเ้ ดือนดนิ มลี า้ ตัวแบ่งเปน็ ข้อปล้อง แตล่ ะปล้องจะมอี วัยวะขับถ่าย เรยี กว่า เม
ตาเนฟรเิ ดียม (Metanephridium) ปล้องละ 1 คู่ เนฟรเิ ดียมประกอบด้วย 3 สว่ น คือ สว่ นที่มลี ักษณะเหมือน
ปากแตรภายในมีซเิ ลยี ลอ้ มรอบ ทา้ หนา้ ท่รี บั ของเหลวจากช่องล้าตวั เรยี กว่าเนโฟรสโตม(Nephrostome)มี
ท่อ Collecting tubules ที่มเี สน้ เลอื ดพันรอบเพื่อดดู น้าและของเหลวท่ีมีประโยชนก์ ลับน้าไปใช้ประโยชนอ์ ีก
ครงั ตอนปลายของท่อพองขยายออกเป็นถุง (Bladder)และเนฟรดิ ิโอพอร์ (Nephridiopore)เปน็ ปลายของท่อ
เปดิ ออกสภู่ ายนอกทางผวิ หนัง

เอกสารประกอบการเรยี นชีววทิ ยา 2 หนา้ ที่ 4

- อาร์โทรพอด (Arthropod)พวกแมลง มีอวยั วะขับถา่ ยเรียกวา่ ทอ่ มัลพิเกียน (Malpighian tubule) มี
ลกั ษณะคล้ายถุงยืน่ ออกมาจากทางเดินอาหาร ปลายของท่อมัลพเิ กยี นจะลอยอยู่ในชอ่ งของล้าตัว ของเสีย น้า
และสารตา่ งจะถกู ล้าเลยี งเข้าสู่ท่อมลั พิเกยี น ผา่ นไปตามทางเดินอาหารและมีกลุ่มเซลลบ์ รเิ วณไส้ตรงท้าหน้าที่
ดูดน้าและสารท่ีมปี ระโยชน์กลบั เข้าสู่ระบบหมุนเวยี นเลอื ด สว่ นของเสยี พวกสารประกอบไนโตรเจน
เปลีย่ นเป็นผลกึ กรดยรู ิกเพ่ือขับออกจากรา่ งกายพร้อมกบั กากอาหาร

การขบั ถา่ ยของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลงั (Vertebrate Excretion)
- ปลามไี ต 1 คู่ อย่ภู ายในช่องท้องตดิ กบั กระดูกสนั หลัง ท้าหนา้ ที่ก้าจัด ของเสียยเู รียและของเสยี อืน่ ๆ

ออกจากเลือด ของเสยี จะผา่ นท่อไต (Ureter) ไปยังกระเพาะปัสสาวะ (Uninary bladder) และเปดิ ออกทาง
Urogenital opening

- สัตว์สะเทนิ น้าสะเทินบก(Amphibian)มีไต 1 คู่ น้านา้ ปัสสาวะผา่ นท่อไต (Urinary duct หรือ
Ureter) ไปเปิดและก้าจดั ออกทางโคลเอกา (Cloaca)

เอกสารประกอบการเรียนชวี วิทยา 2 หน้าที่ 5

- สัตวเ์ ลือยคลานและสัตวป์ กี (Reptile and Aves) มีไต (Kidney) เป็นอวยั วะขบั ถา่ ย สุดท้ายจะ
ขับถา่ ยออกทางช่องเปดิ ของโคลเอกา (Cloaca opening) อวยั วะขับถ่ายสามารถเปลยี่ นของเสยี ประเภท
แอมโมเนยี ให้กลายเปน็ กรดยูริก (Uric acid) ซึ่งไมเ่ ป็นพิษ ดังนนั น้าปัสสาวะของสตั วพ์ วกนจี ะอยู่ในลักษณะกง่ึ
แข็งกึ่งเหลว (Semisolid) กรดยูรกิ ทม่ี ายังโคลเอกาจะตกตะกอนเปน็ ผลึกสีขาวรวมตวั กับอจุ จาระ
ช่วงท่ีเป็นเอม็ บริโอกรดยรู ิกจะเก็บสะสมไว้ในถงุ แอลแลนทอยด์ (Allantosis)

-สตั วเ์ ลยี งลูกด้วยน้านม(Mammal)อวยั วะขับถา่ ยประกอบด้วย ไต 1 คู่ โครงสร้างของไต
ประกอบดว้ ยเนอื เย่ือชนั นอก คอื คอรเ์ ทกซ์ (Cortex) และเยือ่ ชันใน คอื เมดลั ลา (Medulla) ในเนอื เย่อื ของ
ไตมีหนว่ ยไต (Nephron) เป็นจ้านวนมาก ทา้ หนา้ ท่สี รา้ งน้าปัสสาวะและลา้ เลยี งไปตามท่อไต (Ureter) และ
เก็บไว้ท่ีกระเพาะปสั สาวะ (Urinary bladder) ก่อนจะขับถา่ ยออกนอกรา่ งกายทางท่อปสั สาวะ
(Urethra)สัตวเ์ ลยี งลกู ดว้ ยนา้ นมจะขับถา่ ยของเสยี ซึ่งเป็นสารประกอบไนโตรเจนเป็นยเู รีย

ของเหลวในร่างกายมนษุ ย์

เอกสารประกอบการเรียนชีววทิ ยา 2 หนา้ ท่ี 6

ระบบขับถา่ ยของคน (Human Excretory System)
ไตทงั สองขา้ งมที ่อไต (ureter) ท้าหนา้ ที่ ลา้ เลียงปสั สาวะไปเกบ็ ไวท้ ี่กระเพาะปสั สาวะ (urinary

bladder) ก่อนท่จี ะขับถา่ ยออกนอกร่างกายทางท่อ ปัสสาวะ (urethra)

โครงสรา้ งภายในของไต
1.รีนลั แคปซูล (Renal capsule) เปน็ สว่ นที่อยดู่ า้ นนอกสุดหุม้ รอบไต
2. เนอื ไต ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื
-เนือไตชันนอก--> คอร์เทกซ์ (Cortex)ประกอบดว้ ยกลมุ่ เส้นเลอื ดฝอยเรียกว่า โกลเมอรูลสั (Glomerulus)
และถุงโบวแ์ มนสแ์ คบซลู (Bowman's Capsule) ท้าหน้าที่เก่ียวกบั การกรองของเสยี ออกจากเลอื ด และเป็นท่ี
อยขู่ องท่อหน่วยไตสว่ นต้น (Proximal convoluted tubule) และท่อหนว่ ยไตสว่ นปลาย (Distal
convoluted tubule) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของหนว่ ยไต (Nephron)
-เนอื ไตชนั ใน--> เมดลั ลา (medulla)มีสจี างกวา่ เนอื ไตชันนอก มลี ักษณะเป็นเสน้ ๆ หรือหลอดเล็ก ๆ รวมกนั
เป็นกลมุ่ ๆ น้าปัสสาวะจะสง่ เข้าสู่กรวยไต
3. กรวยไต (Renal pelvis) ซ่งึ ทา้ หนา้ ทีร่ องรับน้าปสั สาวะและสง่ ต่อไปสู่ทอ่ ไต (Ureter) น้าเข้าสู่กระเพาะ
ปัสสาวะและสง่ ต่อไปยังทอ่ ปัสสาวะ

เอกสารประกอบการเรียนชวี วทิ ยา 2 หนา้ ท่ี 7

เอกสารประกอบการเรยี นชวี วทิ ยา 2 หน้าที่ 8

ไตแตล่ ะข้างจะประกอบด้วยหน่วยไต หรือเนฟรอน (Nephron)ประมาณ 1 ล้านหนว่ ย เปน็ หนว่ ยย่อยที่ท้าหน้าที่
สร้างน้าปสั สาวะ (Functional unit) โดยหน่วยไต (Nephron) แตล่ ะอนั ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
1. ส่วนทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การกรอง(Filtering unit)ซงึ่ ประกอบด้วย

- โกลเมอรลู ัส (Glomerulus) --> กลมุ่ หลอดเลือดฝอย (Glomerulus capillaries) ท่ขี ดรวมกันอยใู่ นโบวแ์ มนส์
แคบซลู (Bowman's capsule) ทา้ หนา้ ที่กรองสารออกจากพลาสมาให้เข้ามาในทอ่ หน่วยไต
- โบว์แมนสแ์ คบซลู (Bowman's capsule) --> ส่วนตน้ ของท่อหนว่ ยไต มลี กั ษณะคล้ายถว้ ย ของเหลวทก่ี รองได้จะ
ผา่ นเข้ามายังบริเวณนี
2. ส่วนท่อของหน่วยไต (Renal tubule)ประกอบด้วยท่อสว่ นตา่ ง ๆ ดงั นี
- ท่อขดสว่ นต้น (Proximal convoluted tubule) เปน็ สว่ นถดั จากโบว์แมนส์แคบซลู (Bowman’s capsule)ขดไป
มาอยูใ่ นชันคอร์เทกซ์ (Cortex) เปน็ บรเิ วณทมี่ กี ารดูดกลับสารตา่ งๆ เขา้ สรู่ ะบบไหลเวียนเลอื ดมากทส่ี ุด
- หว่ งเฮนเล (Henle’s loop) หลอดโค้งรูปตัวยู ยน่ื เข้าไปในชันเมดลั ลา (Medulla) ประกอบดว้ ย ทอ่ ขาลง
( Discending) และทอ่ ขาขนึ (Ascending)
- ท่อขดสว่ นปลาย (Distal convoluted tubule) ถดั จาก Henle’s loop เปน็ ท่อขดไปมาในชันคอรเ์ ทกซ์
(Cortex) และเปดิ รวมกันทท่ี ่อรวม (Cellecting tubule)
- ทอ่ รวม (Collecting duct) ต่อกับทอ่ ขดสว่ นปลาย ท้าหนา้ ท่นี า้ น้าปัสสาวะส่งตอ่ ไปยงั กรวยไต (Pelvis) ทอ่ ไต
(Ureter) กระเพาะปสั สาวะ (Urenary bladder) และท่อปสั สาวะ (Urethra) ตามลา้ ดบั

หน่วยไตท้าหนา้ ท่ใี นการสรา้ งน้าปัสสาวะ (Urine formation) ประกอบดว้ ยกระบวนการทสี่ า้ คัญ 3
ขนั ตอน ไดแ้ ก่ การกรองสารที่โกลเมอรูลสั (Glomerular filtration) การดูดสารกลับที่ทอ่ หนว่ ยไต (Tubular
reabsorption) และการหลง่ั สารโดยท่อหนว่ ยไต (Tubular Secretion)

เอกสารประกอบการเรียนชีววิทยา 2 หนา้ ที่ 9

กระบวนการสร้างนา้ ปัสสาวะ (Urine Formation)

การกรองสารที่โกลเมอรูลัส(Glomerular filtration / Ultrafiltration)
- เป็นกระบวนการแรกท่ีสร้างน้าปัสสาวะ
- แตล่ ะนาทจี ะมเี ลอื ดเข้าสูไ่ ตจ้านวน 1200 ml เลือดกรองผ่านโกลเมอรูลัส ซงึ่ จะท้าหน้าทีเ่ ป็นเยอ่ื กรอง
ของเหลวที่ผ่านจากการกรอง เรียกวา่ Glomerular Filtrate หรอื Ultrafiltrate ได้แก่ น้า ยเู รีย กลโู คส
โซเดยี มคลอไรด์ เกลือแรต่ า่ ง ๆ จะเขา้ ส่โู บว์แมนส์แคปซลู ประมาณ 125 ml หลังจากนนั เลือดจะออกจากโกล
เมอรลู ัสไปเลียงสว่ นตา่ งๆ ของทอ่ หนว่ ยไต และเปล่ียนเปน็ เลือดด้าแลว้ ออกจากไตไปทางหลอดเลอื ดรีนัลเวน
- การกรองอาศัยแรงดนั ของของเหลวในเสน้ เลอื ดฝอยบริเวณโกลเมอรลู ัส โดยเยื่อกรองจะยอมให้นา้ และสารที่
มีขนาดโมเลกุลเลก็ กวา่ รู เช่น ยูเรยี โซเดยี ม กลโู คส ผา่ นออกมาได้ แต่จะไม่ยอมให้สารขนาดใหญผ่ า่ น เชน่
เซลล์เม็ดเลอื ด โปรตีน ไขมนั
- ในคนปกติพบวา่ พลาสมาจะถกู กรองประมาณวนั ละ 180 ลิตร แตม่ ีปัสสาวะออกมาเพียง 1.5-2 ลิตร ซึง่ เปน็
เพียง 1% จะถกู ขับออกมา อีก 99 % ซง่ึ เป็นสารที่มีประโยชนจ์ ะถูกดูดกลับหมด

การดดู สารกลบั ท่ีท่อหนว่ ยไต(Tubular reabsorption)
- ท่อขดส่วนต้น เกดิ การดดู กลบั มากทส่ี ดุ (ประมาณ 80%) มกี ารดดู กลบั แบบใช้พลงั งาน (Active transport)
ไดแ้ ก่ กลโู คส โปรตนี โมเลกลุ เล็ก กรดอะมิโน วติ ามิน Na+K+และการดูดกลบั แบบไมใ่ ช้พลังงาน (Passive
transport) ได้แก่ ยเู รยี นา้ Cl- HCO-3
- ห่วงเฮนเล (Henle’s loop)ทอ่ ขาลงจะเกิดการเคล่ือนท่ีของน้าออกจากห่วงเฮนเลโดยกระบวนการออสโมซสิ
ท่อขาขึนจะมีการดูด NaCl กลับทังแบบไม่ใชพ้ ลงั งานและแบบใช้พลังงาน และผนงั สว่ นขาขนึ นีมีคุณสมบตั ิไม่
ยอมให้น้าผา่ น (Impermeable)
- ท่อขดส่วนปลาย มีการดูดน้ากลบั แบบไม่ใชพ้ ลังงาน โดยการควบคุมของฮอรโ์ มน ADH (Antidiuretic
hormone) สว่ น NaCl และ HCO-3จะถูกดดู กลับแบบใช้พลงั งาน โดยการควบคมุ ของฮอรโ์ มน Aldosterone
- ท่อรวม (Collecting tubule) มีการดดู น้ากลบั แบบไม่ใช้พลังงาน ดดู กลับของ Na+แบบใช้พลังงาน และ
ยอมให้ยเู รยี แพร่ออก โดยการดูดกลับ อยภู่ ายใต้อทิ ธพิ ลของฮอรโ์ มน ADH
การหลงั่ สารโดยท่อหนว่ ยไต(Tubular Secretion)
- เป็นการขนสง่ สารจากเลือดเขา้ ไปยงั ทอ่ หน่วยไต ท่ีท่อขดส่วนต้น มกี ารหลงั่ สารหลายชนิด เชน่ H+K+NH+3
และทบี่ ริเวณท่อหน่วยไตสว่ นปลายมกี ารหลั่ง H+K+ยาและสารพิษบางชนิด

เอกสารประกอบการเรยี นชีววิทยา 2 หน้าที่ 10

ตารางเปรยี บเทียบสารในเลือด ของเหลวที่กรองผ่านโกลเมอรลู ัสและนา้ ปัสสาวะ

สาร น้าเลอื ด ของเหลวที่กรองผา่ นโกลเมอรูลสั นา้ ปสั สาวะ
(g/100 cm3)
(g/100cm3) (g/100 cm3)
95
น้า 92 90-93 0
2
โปรตีน 6.8-8.4 10-20 0.05
0.05
ยเู รยี 0.0008-0.25 0.03 0
0.6
กรดยูรกิ 0.003-0.007 0.003 0.6
0.15
แอมโมเนยี 0.0001 0.0001

กลูโคส 0.07-0.11 0.1

โซเดียม 0.31-0.33 0.32

คลอไรด์ 0.35-0.45 0.37

ซลั เฟต 0.002 0.003

ไตกบั การรักษาสมดลุ นา้ และสารตา่ งๆ

- เมือ่ นา้ ในเลือดนอ้ ย ท้าให้ความเขม้ ข้นของเลอื ดเพ่ิมมากขึนทา้ ใหแ้ รงดันออสโมติกของเลอื ดสงู ขนึ
ไปกระตุ้นตวั รับรู้ (Receptor) การเปลย่ี นแปลงแรงดันออสโมตกิ ในสมองสว่ นไฮโพทามัส และต่อมใต้สมอง
ส่วนท้าย (Posterior lobe of piuitary gland) ปล่อยฮอร์โมนแอนติไดยเู รติก (Antidiuretic hormone;
ADH หรือ Vasopressin) สง่ ไปยงั ทอ่ หนว่ ยไตส่วนปลายและท่อรวม ทา้ ให้เกิดการดดู น้ากลบั เขา้ สู่เลอื ดมาก
ขนึ ปรมิ าตรของเลอื ดมากขนึ พร้อมกับขบั น้าปัสสาวะออกนอ้ ยลง นอกจากนภี าวะท่ีมีการขาดนา้ ของร่างกาย
ยงั กระตุ้นศนู ย์ควบคุมการกระหายน้าในสมองส่วนไฮโพทาลามัสท้าให้ เกิดการกระหายน้า เม่ือด่ืมน้ามากขนึ
แรงดันออสโมตกิ ในเลือดจึงเข้าสู่สภาวะปกติ

- แอลโดสเตอโรน (Aldosterone) จากตอ่ มหมวกไตกระตุ้นให้มีการดดู กลบั โซเดยี ม โพแทสเซียม
และฟอสเฟต โดยสารดังกลา่ วกลบั เขา้ สู่กระแสเลอื ด

- ไตชว่ ยรักษาสมดุลของกรด-เบสในรา่ งกายด้วยการขับไฮโดรเจนไอออนออก และดูดซมึ ไฮโดรเจน
คาร์บอเนตไอออนกลับจากท่อไตทท่ี ่อขดส่วนตน้ และสว่ นปลาย

สาร Diuretic

เอกสารประกอบการเรยี นชวี วิทยา 2 หนา้ ท่ี 11


Click to View FlipBook Version