The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานวิจัย 5step รักพรรณพฤกษา เทอม 2 61 ปรมินทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poramin_kw, 2019-11-25 23:59:18

งานวิจัย 5step รักพรรณพฤกษา เทอม 2 61 ปรมินทร์

งานวิจัย 5step รักพรรณพฤกษา เทอม 2 61 ปรมินทร์

1

รายงานการวิจยั ในชน้ั เรยี น

ผลของการใช้กระบวนการเรยี นร้แู บบ 5 ขัน้ ตอน (5 STEPs) ที่มีต่อความสามารถในการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื คน้ ข้อมลู ทางวิทยาศาสตร์เพ่อื จัดทาหนังสือสารานกุ รม
พรรณไม้ในโรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5

แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์

ผูว้ ิจยั

นายปรมินทร์ แก้วกลา่ ศรี
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา2561
โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์



ชอ่ื ผู้วจิ ยั : นายปรมินทร์ แก้วกล่าศรี
ช่ือเร่อื ง : ผลของการใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ขัน้ ตอน (5 STEPs) มตี ่อความสามารถในการ

รายวชิ า ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสืบคน้ ข้อมูลทางวทิ ยาศาสตร์เพื่อจดั ทาหนังสือ
ปกี ารศึกษา สารานกุ รมพรรณไมใ้ นโรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ ของนกั เรยี นชนั้
ภาคเรียนท่ี มธั ยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์
: ชีววทิ ยา
: 2561
:2

บทคัดยอ่

การวจิ ัยคร้ังนมี้ วี ัตถุประสงค์ 1) เพอื่ สง่ เสริมความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื ค้น
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โดยใช้กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ข้ันตอน (5
STEPs) 2) เพ่ือจดั ทาหนังสือสารานกุ รมพรรณไม้ ในโรงเรียนสายปัญญาในพระบรมราชินูปถมั ภท์ ่ีเปน็ ปจั จบุ นั

กลุ่มทดลองท่ใี ชส้ าหรบั การวิจัยคร้งั นี้ คอื นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 60 คน แผนการเรียน
วิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ โรงเรียนสายปญั ญาในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ สงั กัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 1 เครื่องมือทีใ่ ช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แผนกระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ขัน้ ตอน (5 STEPs)
แบบประเมนิ ผลงงานการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสบื คน้ ข้อมูลจากหนังสือสารานุกรมพรรณไม้ โดยใช้
เวลาในการจดั การเรียนรู้ 3 สปั ดาห์ จานวน 9 คาบเรียน สถิตทิ ่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู ค่าเฉลย่ี เลขคณติ ค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐาน คา่ ร้อยละ ผลการศกึ ษาพบวา่ 1. นักเรียนระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 แผนการเรียน
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสืบค้นขอ้ มลู อยู่ในระดับมาก 2. นักเรียน
ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สามารถรวบรวมชื่อและข้อมูลพรรณไม้เพ่ือ
จดั ทาหนังสอื สารานุกรมพรรณไม้ ในโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ ได้ร้อยละ 95



กติ ตกิ รรมประกาศ

งานวจิ ัยฉบับนีม้ ีจดุ มงุ่ หมายเพ่ือสง่ เสริมความสามารถในการ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสบื ค้น
ขอ้ มลู ของนักเรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) และ
จดั ทาหนังสอื สารานุกรมพรรณไม้ ในโรงเรยี นสายปญั ญาในพระบรมราชนิ ปู ถัมภท์ ี่เปน็ ปัจจบุ ัน ผู้วิจัย
ขอขอบคุณโรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ท่ีไดส้ นับสนุนใหด้ าเนินการทาวิจัยครง้ั น้ี และคณะ
ผ้บู รหิ ารและคณุ ครูโรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ ทไี่ ด้ให้คาปรกึ ษาและข้อมลู เพ่ือใช้ในการสอน
และงานวจิ ัย ราวิชาชีววทิ ยา3 (ว30243) นี้

การดาเนินการวจิ ัยมิอาจสาเร็จลุล่วงไปได้หากปราศจากความรว่ มมอื ของคุณครูในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท่ใี หก้ ารสนับสนนุ การใชอ้ ปุ กรณด์ ้านฮารด์ แวร์ และซอฟตแ์ วร์ต่างๆ รวมถึงข้อแนะนาการ
ดาเนินการ และขอขอบคุณนักเรยี นทกุ คนทต่ี ั้งใจ และให้ความรว่ มมือในการทากจิ กรรมทุกขน้ั ตอน จน
งานวิจยั น้สี าเรจ็ ไปไดด้ ้วยดี

ท้ายนผ้ี ้เู ขียนขอกราบขอบพระคณุ บิดา มารดา ทีใ่ ห้การอุปการะอบรมเลยี้ งดู ตลอดจนส่งเสรมิ
การศกึ ษา และให้กาลังใจเป็นอย่างดี อีกทัง้ ขอขอบคณุ เพอื่ น ๆ ที่ให้การสนับสนนุ และชว่ ยเหลือดว้ ยดีเสมอ
มา และขอขอบพระคุณเจ้าของเอกสารและงานวจิ ยั ทุกท่าน ทผ่ี ้ศู กึ ษาคน้ คว้าไดน้ ามาอ้างอิงในการทาวจิ ยั
จนกระทงั่ งานวิจัยฉบับนี้สาเร็จลุลว่ งไปไดด้ ว้ ยดี

นายปรมินทร์ แก้วกลา่ ศรี

1

สารบญั

บทคดั ย่อ......................................................................................................................................................... ข
กติ ตกิ รรมประกาศ .......................................................................................................................................... ค
สารบญั .......................................................................................................... ผดิ พลาด! ไมไ่ ดก้ าหนดบกุ๊ มาร์ก
บทที่ 1............................................................................................................................................................ 3

ความเปน็ มาและความสาคญั ...................................................................................................................... 3
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ............................................................................................................................ 5
สมมตฐิ านการวจิ ยั ...................................................................................................................................... 5
ขอบเขตของการวจิ ยั ................................................................................................................................... 5
เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในงานวิจยั ............................................................................................................................. 5
ตัวแปรที่ใชใ้ นการศกึ ษา.............................................................................................................................. 6
นิยามศพั ท์เฉพาะ........................................................................................................................................ 6
ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั .......................................................................................................................... 7
บทท่ี 2............................................................................................................................................................ 8
เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง....................................................................................................................... 8
1. การเรียนรู้แบบใฝร่ ู้ (Active Learning).................................................................................................. 9
ลักษณะสาคญั ของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ........................................................... 9
การส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนได้สรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเองจากการเรียนรู้แบบใฝร่ ู้............................................... 10
2. การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21................................................................................................................... 10
ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 .................................................................................................................. 11
กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.......................................................................................................... 11
2. สารานุกรมพรรณไม้ ............................................................................................................................. 18
ความสาคญั ของหนงั สือสารานกุ รม ........................................................................................................... 20
ลกั ษณะเฉพาะของสารานุกรม .................................................................................................................. 21
วธิ ใี ช้สารานกุ รม........................................................................................................................................ 21
4. การประยกุ ตเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศใน จัดการเรยี นการสอนและการเรียนรู้........................................... 22
เปา้ หมายของการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้................................................................................................... 22
เทคโนโลยีกับการเรียนการสอน ................................................................................................................ 23
แนวคดิ ในการเพิ่มคณุ คา่ ของเทคโนโลยีชว่ ยการเรยี นรู้ ............................................................................. 24
การจดั ปจั จัยสนับสนนุ การใชเ้ ทคโนโลยีชว่ ยการเรยี นรู้ ............................................................................. 24
รปู แบบการใช้ ICT เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้.................................................................................................. 25

2

5. เครอื่ งมือในการสืบคน้ ข้อมูล................................................................................................................. 26
4. แอพพลิเคช่ันสืบค้นชนดิ พรรณไม้......................................................................................................... 28

1. Like That Garden ......................................................................................................................... 28
2. Nature Gate................................................................................................................................... 29
3. Garden Answers ......................................................................................................................... 29
วิธกี ารใชแ้ อพลเิ คชน่ั ................................................................................................................................. 31
บทท่ี 3.......................................................................................................................................................... 32
วิธดี าเนนิ การวิจยั .......................................................................................................................................... 32
ข้นั ตอนการดาเนนิ การ.............................................................................................................................. 32
วิธีดาเนนิ การทดลองและการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ....................................................................................... 34
บทท่ี 4.......................................................................................................................................................... 35
ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ................................................................................................................................... 35
ผลการหาระดบั คุณภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยผูเ้ ช่ยี วชาญ .......................................................... 35
แบบประเมินผลงงานการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสืบค้นขอ้ มลู จากช้ินงาน หนังสอื สารานกุ รม
พรรณไม้ ................................................................................................................................................... 36
บทที่ 5.......................................................................................................................................................... 37
สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ............................................................................................................... 37
วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา ....................................................................................................................... 37
วธิ ีการดาเนินการศึกษา............................................................................................................................. 37
สรปุ ผลการศกึ ษา ...................................................................................................................................... 37
บรรณานกุ รม ................................................................................................................................................ 40
ภาคผนวก ..................................................................................................................................................... 41
แผนการจัดการเรยี นรู้............................................................................................................................... 43
แบบประเมนิ ชน้ิ งาน หนังสือสารานุกรมพรรณไม้ โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ ................ 48
เกณฑ์การประเมนิ ชน้ิ งาน หนังสือสารานกุ รมพรรณไม้ โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์........ 49
ภาพกจิ กรรม การศึกษาค้นคว้าโดยใช้ ICT................................................................................................ 55
ผลงานของนักเรียน................................................................................................................................... 56
การนาเสนอผลงานการสืบค้นพรรณไมใ้ นโรงเรียนของนักเรยี น................................................................. 58

3

บทที่ 1

บทนา

ความเปน็ มาและความสาคัญ

การศึกษาเปน็ รากฐานที่สาคัญในการสร้างความเจรญิ กา้ วหน้าและแก้ปัญหาทเี่ กดิ ข้ึนในสงั คม

เน่ืองจากการศึกษาเป็นกระบวนการท่ีชว่ ยให้คนได้พฒั นาตนเองตลอดชวี ติ ทาใหส้ ามารถปรับตัวไปตามการ

เปลี่ยนแปลงของสังคมได้อกี ทง้ั ยังเป็นพลงั สรา้ งสรรค์ในการพฒั นาประเทศให้ยัง่ ยนื ดังนน้ั จงึ กลา่ วไดว้ ่า

การศกึ ษาเป็นกระบวนการทีเ่ ตรยี มและพัฒนาคนให้มคี วามพร้อมท่ามกลางภาวะวกิ ฤต และความ

เจริญก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยีของโลกในยุคปจั จุบัน เพอ่ื ท่จี ะกา้ วไปสู่ยคุ ใหม่อยา่ งม่ันคงและทนั โลก การ

พัฒนาคนเพอ่ื ให้ร้เู ท่าทนั โลกยุคใหมน่ เี้ ป็นส่ิงที่จาเปน็ อย่างยง่ิ สอ่ื และเทคโนโลยีจึงเขา้ มามีบทบาททาง

การศึกษามากข้ึน เพื่อสรา้ งสรรค์สงั คมไทยใหเ้ ป็นสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ซง่ึ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย

ได้กลา่ วถึงบทบาทของสื่อและเทคโนโลยี วา่ มเี ป้าหมายในการปรับบทบาทเพอื่ การศึกษาและการเรียนรู้ของ

สังคมไทยมากข้ึน (สถาบันเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษาแห่งชาติ, 2546)

การศึกษาเป็นเคร่ืองมือสาคัญของการพัฒนาสังคม พัฒนาประเทศ มีนโยบายของการพัฒนาสังคมใน
อดีต ตั้งแต่สังคมเน้นทรัพยากรธรรมชาติมาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ จนถึงปัจจุบันสังคมไทย ประเทศไทยมี
นโยบายของกานพัฒนาสังคม และประเทศใหม้ ีความมั่นคง พอเพียง ม่ังคง่ั ยั่งยืน เรียกว่า Thailand 4.0 เป็น
ยคุ ของการขบั เคล่ือนเศรษฐกิจดว้ ยนวตั กรรม

ในยุคการศึกษา 4.0 ของประเทศไทย 4.0 เป็นยุคของการเคล่ือนเศรษฐกิจของชาติด้วยการให้มี
รายไดส้ ูงด้วยนวัตกรรมทีค่ นไทยสร้างและพฒั นา ดงั น้นั การพฒั นาลักษณะเดก็ ไทยควรมีลกั ษณะดังนี้

ลกั ษณะเด็กไทยหวั ใจพอเพยี ง 4.0

 เดก็ ดมี ีความพอเพยี งและคุณธรรม

 แมน่ ยาและลึกซง้ึ ในความรดู้ ้วยการสืบสอบ

 รับผิดชอบสรา้ งนวตั กรรมดว้ ยการทาโครงงาน

 พรอ้ มเช่ยี วชาญชานาญการใช้ ICT
เปน็ ปจั จยั ดีใช้สรา้ งเด็กไทยหัวใจพอเพยี ง 4.0

พระบาทสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดาริบางประการเก่ียวกับ
การอนรุ ักษ์พันธุกรรมพืช ซึง่ มีใจความดังต่อไปนี้ “การสอนและอบรมใหเ้ ดก็ มีจติ สานกึ ในการอนุรักษ์พชื
พรรณน้ัน ควรใชว้ ิธกี ารปลูกฝังใหเ้ ด็กเห็นความงดงาม ความสนใจ และเกิดความปิตทิ ี่จะทาการศึกษาและ
อนรุ ักษ์พืชพรรณตอ่ ไป การใหว้ ิธสี อน การอบรมและใหค้ วามรสู้ กึ กลวั วา่ หากไมอ่ นรุ กั ษแ์ ล้วจะเกดิ ผลเสยี
เกดิ อันตรายแกต่ นเอง จะทาใหเ้ ดก็ เกิดความเครียด ซึง่ จะเปน็ ผลเสียแกป่ ระเทศในระยะยาว” เพ่อื เป็นการ
สนองพระราชดาริ จงึ เกดิ งาน “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน” เพ่อื เป็นสือ่ ในการสร้างจติ สานกึ ดา้ นอนรุ ักษ์
พนั ธกุ รรมพืชโดยใหเ้ ยาวชนน้นั ไดใ้ กล้ชดิ กับพชื พรรณไม้ เหน็ คุณคา่ ประโยชน์ ความสวยงาม อนั จะ

4

ก่อใหเ้ กดิ ความคดิ ที่จะอนุรกั ษพ์ ชื พรรณตอ่ ไป จากพระราชดารแิ ละพระราโชวาทของสมเด็จพระเทพ

รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารใี นเร่ืองของสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ซ่งึ มีความสอดคลอ้ งกบั งานปกตใิ น

เรือ่ งของการเรียนการสอน และในเร่ืองของการปฏริ ูปการศึกษา ซ่งึ เน้นใหน้ ักเรยี นเป็นศนู ย์กลาง ทาง

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ จงึ น้อมนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน มาปฏบิ ัตแิ ละ

ดาเนินการภายในโรงเรียน

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ไดก้ าหนดให้ สาระที่ 1 ส่ิงมชี ีวติ กบั กระบวนการดารงชีวิต

มาตรฐานว 1.1 เก่ียวข้องกับวิชาชีววิทยา ท่ีมีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนเข้าใจหน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต

ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบ

เสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลส่ิงมีชีวิต โดยใน

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนปลายตัวชี้วัดได้กาหนดให้นักเรียนได้ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพใน

พืช สอดคล้องกับองค์ประกอบกรเรียนรู้ธรรมชาติแห่งชีวิต การศึกษาพรรณไม้ท่ีสนใจ และศึกษาความ

แตกตา่ งของพืชและคุณสมบัติของพืชในการรกั ษาดลุ ยภาพ

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้ดาเนินรอยตามพระราชดาริ เกี่ยวกับงานสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรยี น มาหลายปี ในปัจจุบันพบว่าพรรณไม้หลายชนิดในโรงเรียนได้เล่ียนแปลงไป จากการจัด
สภาพแวดล้อมของทางโรงเรียนให้เหมาะสม ทาให้ข้อมูลพรรณไม้เดิมเปล่ียนแปลงไป และไม่เป็นปัจจุบัน
ประกอบกับในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 นี้ นกั เรยี นได้เรียนรายวิชา ว 30243 ชีววิทยา 3 ซ่งึ เก่ียวข้อง
กับพืช ในมุมมองต่าง ๆ จึงเป็นโอกาสดีที่ให้นักเรียนได้รู้จักพรรณไม้ในโรงเรียนมากขึ้น รู้จักการหาข้อมูลของ
พืช และรวบรวมรายช่ือพรรณไม้ในโรงเรียน การจัดการเรียนรู้แบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
กระบวนการเรียนรู้ที่จะใช้แก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น คือการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลัง 5 ข้ันตอน
รว่ มกับการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสบื ค้นข้อมูลทางอินเทอรเ์ นต็ และแหลง่ ข้อมลู ต่างๆ

ดว้ ยเหตุน้ีผูว้ จิ ัยในจึงมคี วามสนใจเรอ่ื ง การส่งเสรมิ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสบื คน้ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือจัดทาหนงั สอื สารานุกรมพรรณไม้ ในโรงเรยี นสายปญั ญาในพระบรม
ราชินปู ถัมภท์ ่ีเป็นปจั จบุ นั และทาให้นักเรยี นรู้จักพรรณไมใ้ นโรงเรียนให้มากข้ึน

5

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพอื่ สง่ เสริมความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื คน้ ข้อมลู ทางวิทยาศาสตร์ของ
นกั เรียนระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 โดยใช้การจัดการเรยี นรแู้ บบ 5 ขนั้ ตอน
2. เพือ่ จดั ทาหนงั สือสารานุกรมพรรณไม้ ในโรงเรียนสายปญั ญาในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ทเี่ ป็นปัจจบุ นั

สมมติฐานการวจิ ยั
1. นกั เรียนระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ มีความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสืบคน้ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ในระดบั มาก
2. นักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ สามารถรวบรวมชอื่ และ
ข้อมูลพรรณไม้เพ่อื จดั ทาหนงั สอื สารานกุ รมพรรณไม้ ในโรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์
ไดม้ ากกวา่ รอ้ ยละ85

ขอบเขตของการวจิ ยั
กลุ่มเปา้ หมาย
คือ นกั เรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ โรงเรียนสาย
ปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 จานวน 122 คน

ตวั แปรทีศ่ กึ ษา
 ตวั แปรต้น คอื การใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ 5 ขั้นตอน
 ตัวแปรตาม คือ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสืบค้นข้อมูลทาง
วทิ ยาศาสตร์

เน้ือหาวิชา
รายวิชาเพิ่มเติม ช่ือรายวิชา ชีววิทยา 3 รหัส ว30243 หน่วยการเรียนรู้โครงสร้างและการ

ดารงชวี ิตของพชื ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561

เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นงานวจิ ัย
1.1 แผนการจัดการเรียนร้รู ายวิชา ชีววิทยา 3 ว30243 โดยการใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบรวมพลัง 5
ขั้นตอน เร่ือง พรรณไม้ในโรงเรียน
1.2 แบบประเมนิ ผลงงานการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื ค้นข้อมลู จากหนงั สือสารานุกรม
พรรณไม้

ตวั แปรท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา 6
ตัวแปรตน้
ตัวแปรตาม
การใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลงั 5 ข้ันตอน
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และคน้ คว้าทาง
วทิ ยาศาสตร์

2. หนังสอื สาราณกุ รมพรรณไม้ ของโรงเรียนสายปญั ญา
ในพระบรมราชินูปถัมภ์

ภาพที่ 1.1 แสดงชนดิ ตัวแปรทีใ่ ช้ในการศึกษา

นิยามศัพท์เฉพาะ
1. กระบวนการเรยี นรู้แบบ5 ข้ันตอน เป็นแนวการสอนหน่ึงของการเรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning)
เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งประยุกต์ความรู้ได้บนฐานวิธีการทางวิทยาศาสตร์
นักเรียนมีการปฏิบัติกิจกรรมแบบทางานกลุ่มรวมพลัง โดยทุกคนร่วมด้วยช่วยกัน แบ่งบทบาทและ
หน้าท่ีของตนเอง เพื่อให้สอดคล้องกบั ความสนใจ และมีความสุขในการเรยี น บทบาทของผู้เรียนรู้
ส่วนบทบาทของครูเป็นผู้อานวยความสะดวก. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 5 STEPs เป็นบันไดให้
นักเรียนพัฒนาไปสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยครูจะต้องมีความเข้าใจและมีความสามารถในการ
พฒั นาผู้เรยี น การเรยี นรู้ 5 STEPs ประกอบดว้ ย
1) การเรียนร้ตู งั้ คาถาม ( Learning to Question )
2) การเรียนรแู้ สวงหาสารสนเทศ ( Learning to Search )
3) การเรียนรู้เพ่อื สร้างองค์ความรู้ ( Learning to Construct )
4) การเรียนรูเ้ พือ่ สื่อสาร ( Learning to Communicate )
5)การเรียนรเู้ พือ่ ตอบแทนสังคม ( Learning to Service )
2. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสบื คน้ ข้อมลู ทางวทิ ยาศาสตร์ คอื การใช้
เทคโนโลยีและสือ่ อนิ เทอร์เน็ต ในการสบื คน้ ข้อมลู จากแหล่งข้อมลู ที่น่าเชือ่ ถือ และหลากหลาย และ
การใช้แอพพลเิ คชัน จากสมาร์ทโฟน เพื่อช่วยในการสบื คน้ ขอ้ มลู พรรณไม้ในโรงเรยี นสายปญั ญาฯ
เช่น แอพพลเิ คชนั Picture This โดยแสดงออกมาในรปู แบบของหนังสือสารานกุ รมพรรณไม้ ใน
โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์
3. สาราณกุ รมพรรณไม้ คือ หนงั สือท่รี วบรวมรายชือ่ พรรณไม้ ข้อมูล ช่ือวิทยาศาสตร์ ลักษณะของพชื
รวมถงึ บริเวณท่ีพบในโรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ท่ีรวบรวมไว้ ในภาคเรยี นที่ 2 ปี
การศึกษา 2561 ซ่งึ เกิดจากความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื คน้ ขอ้ มูลทาง
วิทยาศาสตรข์ องนักเรียน

7

ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รบั
1. นกั เรียนระดบั ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 หอ้ ง 2 และ 3 แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศสูงข้ึน
2. ไดช้ ่อื และข้อมูลพรรณไม้ในโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ จากจากการสารวจและ
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และแอพลิเคชัน

8

บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง

ผลของการใช้กระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ขัน้ ตอน (5 STEPs) ทม่ี ตี ่อความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการสืบค้นข้อมลู ทางวทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือจัดทาหนังสอื สารานุกรมพรรณไม้ในโรงเรยี นสายปญั ญา
ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ ผวู้ ิจยั ได้
ทาการศึกษาและรวบรวมเอกสาร ตาราและงานวจิ ัยท่เี กีย่ วข้อง เพอื่ เปน็ ขอ้ มูลอา้ งองิ ในการวจิ ยั โดยเสนอตาม
หวั ขอ้ ดังต่อไปน้ี

1. การเรียนรู้แบบใฝร่ ู้ (Active Learning)
1) ความหมายของการเรียนรแู้ บบใฝร่ ู้
2) ลกั ษณะสาคญั ของการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning
3) การสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเองจากการเรยี นรูแ้ บบใฝ่รู้

2. การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1) กระบวนการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
2) กระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏบิ ัติ
3) กระบวนการเรยี นรผู้ ่านการสื่อสารอย่างสรา้ งสรรค์
4) การเรียนรู้แบบขั้นบนั ได(IS)

3. สารานุกรมพรรณไม้
1) ความหมายของสารานุกรม
2) ความสาคัญของหนงั สือสารานุกรม
3) ลกั ษณะเฉพาะของสารานกุ รม
4) วธิ ใี ชส้ ารานุกรม

4. การประยุกตเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศใน จดั การเรียนการสอนและการเรียนรู้
1) เคร่อื งมือในการสบื ค้นข้อมลู
2) ความหมายของเครื่องมอื ในการสบื ค้นข้อมลู
3) ประเภท Search Engine

5. แอพพลเิ คช่ันสืบค้นชนิดพรรณไม้
1) ชนิดของแอพพลเิ คชน่ั ที่สบื ค้นพรรณไม้
2) วิธีการใช้งาน

9

1. การเรียนรู้แบบใฝร่ ู้ (Active Learning)
การเรยี นรูแ้ บบใฝ่รู้ (Active Learning) เป็นการเรียนรทู้ พี่ ัฒนาทักษะความคดิ ระดับสูงอย่างมี

ประสิทธิภาพช่วยใหผ้ ้เู รยี นวเิ คราะหส์ ังเคราะห์และประเมินข้อมูลในสถานการณใ์ หม่ได้ดีในท่ีสดุ จะช่วยให้
ผเู้ รียนเกดิ แรงจงู ใจจนสามารถช้ีนาตลอดชวี ิตในฐานะผ้ฝู ักใฝ่การเรยี นรู้ ธรรมชาติของการเรยี นรูแ้ บบ Active
Learning ประกอบดว้ ยลกั ษณะสาคัญตอ่ ไปนี้
1. เป็นการเรียนรทู้ ี่มงุ่ ลดการถ่ายทอดความร้จู ากผสู้ อนสู่ผ้เู รียนให้น้อยลงและพฒั นาทักษะให้เกิดกบั ผ้เู รยี น
2. ผู้เรียนมีสว่ นร่วมในชั้นเรยี นโดยลงมอื กระทามากกว่าน่ังฟังเพียงอยา่ งเดียว
3. ผ้เู รียนมีส่วนในกจิ กรรมเชน่ อ่านอภิปรายและเขียน
4. เน้นการสารวจเจตคติและคณุ ค่าทม่ี ีอยูใ่ นผู้เรียน
5. ผูเ้ รยี นไดพ้ ัฒนาการคิดระดับสงู ในการวเิ คราะหส์ ังเคราะหแ์ ละประเมนิ ผลการนาไปใชแ้ ละ
6. ท้งั ผูเ้ รียนและผสู้ อนรบั ข้อมลู ป้อนกลับจากการสะท้อนความคิดได้อย่างรวดเร็ว

การเรียนรู้แบบใฝร่ ู้ ถือได้วา่ เปน็ การเรียนรูท้ ่ีตอ้ งการกิจกรรมการเรียนการสอนทห่ี ลากหลายที่จะช่วย
ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองผ่านการจัดการตนเองให้ความรู้และช่วยพัฒนาเพ่ือนร่วมช้ันซึ่งจะก่อให้เกิดการ
สร้างสรรค์พัฒนาความรู้ความเข้าใจและทักษะที่หลากหลายเป็นกระบวนการท่ีประณีตรัดกุมและผู้เรียนได้รับ
ประโยชน์มากกวา่ การเรยี นร้ทู ผ่ี เู้ รียนเปน็ ฝ่ายรับความรู้

ลักษณะสาคัญของการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning ได้ดงั นี้

1. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศกั ยภาพทางสมองไดแ้ ก่การคิดการแก้ปัญหาและการนาความรู้ไป
ประยุกตใ์ ช้
2. เป็นการเรียนการสอนท่เี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นรู้สงู สุด
3. ผู้เรียนสรา้ งองคค์ วามรู้และจดั ระบบการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง
4. ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการเรยี นการสอนท้งั ในดา้ นการสรา้ งองค์ความร้กู ารสร้างปฎิสัมพันธ์ร่วมกนั ร่วมมือกัน
มากกว่าการแข่งขนั
5. ผ้เู รยี นเรียนรู้ความรับผดิ ชอบร่วมกนั การมวี นิ ัยในการทางานการแบง่ หน้าท่ีความรับผิดชอบ
6. เปน็ กระบวนการสร้างสถานการณใ์ หผ้ เู้ รียนอ่านพูดฟงั คิดอย่างล่มุ ลกึ ผู้เรยี นจะเป็นผ้จู ัดระบบการเรียนรู้ดว้ ย
ตนเอง
7. เปน็ กจิ กรรมการเรียนการสอนเน้นทกั ษะการคิดขั้นสงู
8. เป็นกจิ กรรมท่เี ปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนบูรณาการข้อมูลข่าวสารหรือสารสนเทศและหลักการความคิดรวบยอด
9. ผสู้ อนจะเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจดั การเรียนร้เู พื่อให้ผูเ้ รยี นเป็นผปู้ ฏิบัติด้วยตนเอง
10.ความร้เู กดิ จากประสบการณ์การสรา้ งองค์ความร้แู ละการสรปุ ทบทวนของผูเ้ รียน

10

การสง่ เสริมให้ผเู้ รียนไดส้ ร้างองคค์ วามรูด้ ้วยตนเองจากการเรยี นรู้แบบใฝ่รู้
การสง่ เสริมให้ผเู้ รียนไดส้ ร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองจากการเรียนรู้แบบใฝร่ ู้ มสี ่วนประกอบสาคัญ

ไดแ้ ก่ การมวี ัสดอุ ุปกรณ์เคร่อื งมือ (Appealing Materials) ผ้เู รียนมโี อกาสลงมือปฏบิ ตั ิ (Opportunities for
Manipulation) ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการเลือกกิจกรรมและกลวิธกี ารแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง (Choices for
Children) ผู้เรียนได้ส่ือสารเก่ียวกับส่งิ ท่ีกาลงั ทากบั ผู้อื่นการเรยี นรทู้ ่กี ระตือรือร้นการประเมนิ การจัดหอ้ งเรียน
กาหนดการประจาวนั ปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างผสู้ อน ผู้เรยี น เน้อื หา การจดั การเรยี นการสอน ซง่ึ การเรียนรู้แบบใฝ่รู้
จะมคี วามยืดหยุ่นสูงสามารถปรบั วิธกี ารใชก้ จิ กรรมและแหลง่ เรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย ซึ่งทาไดม้ ากกวา่ การสอน
แบบบรรยาย

2. การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรยี มนักเรียนให้พร้อมกบั ชวี ิตในศตวรรษที่ 21

เป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปล่ียนทางสังคมทเ่ี กิดข้ึนในศตวรรษที่ 21 สง่ ผลต่อวถิ ีการดารงชีพของ
สงั คมอย่างทว่ั ถงึ ครจู ึงตอ้ งมีความต่ืนตัวและเตรยี มพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพอื่ เตรยี มความพร้อมให้
นกั เรยี นมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลก นั่นคือ ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Skill) ที่ส่งผลใหม้ ีการ
เปลี่ยนแปลงการจดั การเรียนรู้เพอื่ ใหเ้ ด็กมีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซ่ึงเป็นผลจากการปฏิรูป
เปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพรอ้ มด้านตา่ ง ๆ ซ่ึง วจิ ารณ์ พานิช
(2555: 16-21) ไดก้ ลา่ วถึง ทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังน้ี

สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบดว้ ย ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก ศลิ ปะ
คณติ ศาสตร์ การปกครองและหนา้ ท่ีพลเมอื ง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ และประวัตศิ าสตร์ โดย
วชิ าแกนหลกั น้จี ะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยทุ ธศาสตร์สาคัญต่อ การจัดการเรียนรู้ในเนอ้ื หา
เชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวขอ้ สาหรับศตวรรษที่ 21 โดยการสง่ เสริมความเข้าใจใน
เนอ้ื หาวิชาแกนหลกั และสอดแทรกทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 เข้าไปในทุกวชิ าแกนหลัก อันไดแ้ ก่ ความรู้
เกี่ยวกบั โลก (Global Awareness) ความร้เู กย่ี วกบั การเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกจิ และการเป็นผู้ประกอบการ
(Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรดู้ า้ นการเปน็ พลเมอื งทดี่ ี (Civic
Literacy) และความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)

ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเปน็ ตัวกาหนดความพรอ้ มของนักเรยี นเขา้ สูโ่ ลกการทางานท่ี
มีความซับซ้อนมากข้ึนในปจั จุบัน ได้แก่ ความรเิ รม่ิ สร้างสรรค์และนวตั กรรม การคดิ อย่างมีวิจารณญาณและ
การแก้ปัญหา การสื่อสารและการร่วมมอื

ทักษะด้านสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี เนื่องดว้ ยในปัจจุบนั มีการเผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสารผา่ นทาง
สอ่ื และเทคโนโลยีมาก มาย ผู้เรียนจงึ ต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและ

11

ปฏบิ ัติงานได้หลากหลาย โดยอาศยั ความรใู้ นหลายด้าน ดงั น้ี ความรู้ดา้ นสารสนเทศ ความรู้เกีย่ วกบั สอื่ และ
ความรู้ดา้ นเทคโนโลยี

ทักษะด้านชีวติ และอาชพี ในการดารงชวี ิตและทางาน ในยคุ ปจั จบุ ันให้ประสบความสาเร็จ นักเรยี น
จะต้องพฒั นาทักษะชวี ิตทส่ี าคญั คือ ความยดื หยนุ่ และการปรับตัว การรเิ ริม่ สร้างสรรค์และเปน็ ตัวของตวั เอง
ทักษะสังคมและสังคมข้ามวฒั นธรรม การเปน็ ผสู้ รา้ งหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเช่อื ถอื ได้
(Accountability) ภาวะผนู้ าและความรับผิดชอบ (Responsibility)

ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 ทท่ี ุกคนจะต้องเรยี นรู้ตลอดชีวิต คอื การเรียนรู้ 3R x 7C ทกั ษะการ
เรียนรู้ 3R คอื Reading (อา่ นออก), (W)Riting (เขียนได)้ , และ (A)Rithemetics (คิดเลขเปน็ ) สว่ นทกั ษะการ
เรียนรู้ 7C ประกอบด้วย Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดา้ นการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ
และทกั ษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-
cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน)์ Collaboration,
Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา)
Communications, Information, and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสอื่ สารสารสนเทศ และรู้เท่าทัน
สอื่ ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร)
และ Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นร้)ู

กระบวนการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
การเรยี นรูท้ แ่ี ท้จริงอยู่ในโลกจรงิ หรือชีวติ จรงิ การเรียนวิชาในหอ้ งเรยี นยงั เปน็ การเรียนแบบสมมติ
“ดังน้นั ครูเพ่ือศิษย์จงึ ต้องออกแบบการเรยี นรู้ให้ศษิ ย์” ได้เรยี นในสภาพท่ีใกล้เคยี งชวี ิตจริงท่ีสดุ ครูเพื่อศิษย์
ตอ้ งเปล่ยี นเปา้ หมายการเรยี นรู้ของศิษยจ์ ากเน้นเรียนวิชาเพ่ือได้ความรู้ ให้เลยไปสู่การพัฒนาทกั ษะท่ีสาคญั
ต่อชีวติ ในยคุ ใหม่ ยา้ วา่ การเรียนรูย้ ุคใหม่ ตอ้ งเรยี นให้เกิดทักษะเพ่ือการดารงชวี ิตในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงหนา้ ท่ี
ของครูเพื่อศิษยจ์ งึ ต้องเปลี่ยนจากเน้น “สอน” หรือสัง่ สอนไปทาหน้าที่จุดประกายความสนใจใฝร่ ู้ (inspire)
แก่ศิษย์ ให้ศิษย์ไดเ้ รียนจากการลงมอื ปฏบิ ตั ิ (learning by doing) และศษิ ยง์ อกงามทักษะเพ่ือการดารงชวี ติ
ในศตวรรษที่ 21 น้ี จากการลงมอื ปฏิบตั ขิ องตนเป็นทมี รว่ มกบั เพื่อนนักเรยี น เน้นการงอกงามทักษะในการ
เรยี นรู้ และคน้ ควา้ หาความรู้มากกวา่ ตวั ความรู้ ครเู พื่อศิษย์ตอ้ งเปลีย่ นแนวทางการทางานจากทาโดดเดย่ี ว
คนเดียว เป็นทางานและเรยี นรู้จากการทาหน้าทคี่ รเู ปน็ ทมี กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 มี 3 ลักษณะ
คือ

1. กระบวนการเรียนร้แู บบลงมือปฏิบัติ
2. กระบวนการเรียนรูผ้ า่ นการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
3. การเรียนร้แู บบ 5 ขน้ั ตอน (5 STEPs)

12

1.กระบวนการเรยี นรู้แบบลงมือปฏบิ ตั ิ เป็นแนวคดิ หรือความเชื่อที่สนบั สนุนให้คนเราปฏบิ ัติสิง่ ต่างๆ
ด้วยตนเองตามความสนใจ ตามความถนัดและศักยภาพ ด้วยการศึกษา ค้นควา้ ฝึกปฏิบัติ ฝึกทกั ษะจนถึงการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง เพราะเชื่อว่าหากคนเราได้กระทาจะทาให้เกิดความเชื่อมั่นเป็นแรงจูงใจให้เกิดการใฝ่รู้ ใฝ่
เรยี น ผู้เรียนจะสนกุ สนานทจี่ ะสบื ค้นหาความร้ตู ่อไป มีความสุขที่จะเรียน มีลกั ษณะดังน้ี

1.1 การเรยี นรู้ผ่านการทางาน (Work-based Learning) การเรยี นรู้แบบน้เี ปน็ การจัดการเรียน
การสอนท่ีสง่ เสรมิ ผู้เรยี นใหเ้ กิดพัฒนาการทกุ ด้าน ไม่วา่ จะเป็นการเรียนร้เู นือ้ หาสาระ การฝกึ ปฏบิ ัติจรงิ ฝึกฝน
ทักษะทางสังคม ทักษะชวี ติ ทักษะวิชาชพี การพัฒนาทักษะการคดิ ขัน้ สูง โดยสถาบนั การศึกษามักรว่ มมือกบั
แหล่งงานในชุมชน รบั ผดิ ชอบการจัดการเรียนการสอนร่วมกนั ต้งั แต่การกาหนดวตั ถุประสงค์ การกาหนด
เนือ้ หากจิ กรรม และวธิ กี ารประเมิน

1.2 การเรยี นรูผ้ า่ นโครงงาน (Project-based Learning) การเรยี นรดู้ ว้ ยโครงงานเป็นการจดั การ
เรยี นรู้ที่เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั รปู แบบหนึง่ ที่เป็นการใหผ้ ู้เรยี นไดล้ งมือปฏิบตั ิจรงิ ในลกั ษณะของการศึกษา
สารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐค์ ดิ คน้ โดยครเู ปลย่ี นบทบาทจากการเปน็ ผูใ้ ห้ความรู้(teacher)เปน็ ผอู้ านวย
ความสะดวก (facilitator) หรือผใู้ ห้คาแนะนา (guide) ทาหน้าทีอ่ อกแบบกระบวนการเรียนรใู้ หผ้ ู้เรยี นทางาน
เป็นทมี กระตุ้น แนะนา และให้คาปรึกษา เพื่อให้โครงการสาเรจ็ ลุล่วง ประโยชนข์ องการเรยี นร้ดู ้วยโครงงาน
สิ่งทีผ่ ้เู รยี นได้รบั จากการเรียนรดู้ ว้ ย PBL จงึ มิใชต่ ัวความรู้ (knowledge) หรือวธิ ีการหาความรู้ (searching)
แตเ่ ป็นทักษะการเรียนรู้และนวตั กรรม (learning and innovation skills) ทักษะชวี ติ และประกอบอาชีพ
(Life and Career skills) ทกั ษะด้านข้อมลู ข่าวสาร การสอื่ สารและเทคโนโลยี (Information Media and
Technology Skills) การออกแบบโครงงานที่ดีจะกระตนุ้ ให้เกิดการคน้ ควา้ อย่างกระตือรือรน้ และผู้เรียนจะได้
ฝึกการใชท้ ักษะการคิดเชิงวิพากษ์และแก้ปัญหา (critical thinking & problem solving) ทักษะการสือ่ สาร
(communicating) และทักษะการสร้างความรว่ มมือ(collaboration)ประโยชนท์ ไี่ ด้สาหรบั ครทู ี่นอกจากจะ
เป็นการพฒั นาคุณภาพดา้ นวิชาชีพแล้ว ยังช่วยให้เกดิ การทางานแบบรว่ มมือกบั เพื่อนครูด้วยกนั รวมทั้งโอกาส
ทีจ่ ะได้สรา้ งสัมพันธท์ ่ีดีกับนักเรียนดว้ ย

ข้นั ตอนทีส่ าคญั ในการจัดการเรียนร้แู บบโครงงาน

STEP 1 การเตรียมความพร้อม ครูเตรยี มมอบหมายโครงงานโดยระบใุ นแผนการสอน ในช้นั เรียน
ครูอาจกาหนดขอบเขตของโครงงานอยา่ งกว้างๆ ให้สอดคล้องกับรายวชิ า หรือความถนัดของนักเรยี น และ
เตรียมแหลง่ เรียนรู้ ขอ้ มูลตวั อย่าง เพ่ือเป็นแนวทางใหน้ ักเรยี นได้ศกึ ษาค้นคว้าเพิ่มเติม สามารถใช้เว็บไซต์
หรอื โปรแกรม moodle ในการ update ขอ้ มลู แหลง่ เรยี นรู้ และการกาหนดนดั หมายตา่ งๆเกี่ยวกับการ
ดาเนนิ โครงการได้

13

STEP 2 การคิดและเลอื กหัวข้อ ให้นักเรยี นเปน็ ผสู้ รา้ งทางเลือกในการออกแบบโครงงานเอง เพอื่
เปดิ โอกาสให้รจู้ ักการคน้ คว้าและสร้างสรรคค์ วามรู้เชิงนวัตกรรม ครอู าจให้ผ้เู รยี นทบทวนวรรณกรรมท่ี
เกยี่ วข้องกอ่ น เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกหัวข้อ การทางานเปน็ ทมี กระตุ้นให้เกิด brain storm จะทาให้
เกดิ ทักษะ ทกั ษะการคดิ เชิงวิพากษ์ ทักษะการสอ่ื สาร และทกั ษะการสรา้ งความร่วมมอื

STEP 3 การเขียนเค้าโครง การเขยี นเคา้ โครงของโครงงาน เปน็ การสร้าง mind map แสดง
แนวคิด แผน และข้ันตอนการทาโครงงาน เพื่อใหผ้ เู้ ก่ยี วขอ้ งมองเห็นภาระงาน บทบาท และระยะเวลาในการ
ดาเนินงาน ทาให้สามารถปฏิบัติโครงงานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพมากข้นึ

STEP 4 การปฏิบัติโครงงาน นกั เรียนลงมือปฏบิ ัติตามแผนที่วางไว้ในเค้าโครงของโครงงาน ถา้ มี
การวางเค้าโครงเอาไว้แล้ว นักเรียนจะรู้ไดเ้ องว่าจะต้องทาอะไรในข้ันตอนต่อไป โดยไม่ต้องรอถามครู ใน
ระหว่างการดาเนินการครผู ู้สอนอาจมกี ารให้คาปรกึ ษาอยา่ งใกล้ชิดหรือร่วมแก้ปัญหาไปพร้อมๆกบั นักเรยี น

STEP 5 การนาเสนอโครงงาน นักเรยี นสรุปรายงานผล โดยการเขยี นรายงาน หรือการนาเสนอใน
รูปแบบอ่ืนๆเชน่ แผน่ พับ โปสเตอร์จัดนิทรรศการ รายงานหนา้ ช้นั ส่งงานทางเว็บไซต์หรืออเี มล ถา้ มีการ
ประกวดหรือแขง่ ขันดว้ ยจะทาใหน้ กั เรียนเกิดความกระตือรอื ร้นมากขึ้น

STEP 6 การประเมินผลโครงงาน การประเมินโครงงานควรมีการประเมนิ ผลการเรียนรโู้ ดย
หลากหลาย เชน่ นกั เรยี นประเมนิ ตนเอง ประเมินซ่ึงกันและกนั ประเมินจากบคุ คลภายนอก การประเมินจะไม่
วดั เฉพาะความร้หู รือผลงานสุดทา้ ยเพียงอย่างเดียว แต่จะวัดกระบวนการท่ีได้มาซึง่ ผลงานด้วย การประเมิน
โดยครูหลายคนจะเป็นการสร้างปฏิสัมพันธแ์ ละทาใหเ้ กิดการแลกเปล่ยี นเรียนร้รู ะหว่างครดู ้วยกนั อกี ดว้ ย

1.3 การเรียนรูผ้ ่านกจิ กรรม (Activity-based Learning) ในการยดึ หลักการใหผ้ ู้เรียนสรา้ งองค์
ความรูดว้ ยตนเอง “Child Centered” การเรยี นโดยการปฏิบัตจิ ริง Learning by Doing และปฏบิ ัตเิ พือ่ ให้
เกดิ การเรียนร้แู ละแกป้ ญั หาได้ Doing by Learning จงึ ถูกนามาใช้อยา่ งจริงจังในการปฏิรูปการศึกษาของไทย
การเรยี นร้ชู นดิ น้ีเอง ที่มีผู้ตัง้ ฉายาว่า “สอนแต่น้อย ใหเ้ รียนมากๆ Teach less..Learn More” การเรยี น
แบบ Learning by Doing น้นั ใช้ “กิจกรรม Activity” เป็นหลกั ในการเรยี นการสอน โดยการ “ปฏิบตั ิจรงิ
Doing” ในเนอ้ื หาทกุ ข้นั ตอนของการเรยี นรู้ เปน็ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ทุกคนในกลุม่ เป็นผปู้ ฏิบัติ คณุ ครเู ป็นพ่ี
เล้ียงและเทรนเนอร์ แต่กิจกรรมที่นามาใช้นตี้ ้องมีประสิทธิภาพในการเรียนรเู้ นื้อหาน้นั ๆ มจี ดุ ม่งุ หมาย สนกุ
และนา่ สนใจ ไม่ซ้าซากจนก่อใหเ้ กดิ ความเบ่ือหน่าย ดังนนั้ คณุ ครจู งึ เปน็ “นกั ออกแบบกิจกรรม Activity
Designer” มอื อาชีพ ท่สี ามารถ “มองเหน็ ภาพกจิ กรรม” ไดท้ ันที

1.4 การเรยี นรผู้ ่านการแก้ปญั หา (Problem-based Learning) เป็นรปู แบบการเรยี นอีกรูปแบบ
หนง่ึ ท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง และรจู้ ักการทางานร่วมกนั เปน็ ทีมของผู้เรียน โดยผสู้ อนมีส่วนร่วมน้อยแต่กท็ ้า
ทายผ้สู อนมากท่ีสุด กระบวนการการเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐาน จะจดั ผู้เรยี นเปน็ กลุ่มย่อย ขนาดประมาณ 8

14

-10 คน โดยมคี รูหรือผูส้ อนประจากล่มุ 1 คน ทาหนา้ ทเ่ี ป็นผ้สู นับสนนุ การการเรียนรู้ (facilitator)
ประกอบด้วยข้นั ตอนต่างๆ ดังน้ี

1. เม่อื ผู้เรยี นได้รบั โจทย์ปัญหา ผู้เรยี นจะทาความเข้าใจหรือทาความกระจ่างในคาศัพทท์ ่ีอยใู่ น
โจทยป์ ัญหานนั้ เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั

2. การจบั ประเด็นข้อมลู ทีส่ าคญั หรอื ระบปุ ัญหาในโจทย์

3. ระดมสมองเพ่ือวเิ คราะห์ปัญหา อภิปรายหาคาอธบิ าย แต่ละประเดน็ ปญั หาว่าเป็นอยา่ งไร
เกดิ ข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร ความเป็นมาอยา่ งไร โดยอาศัยพ้นื ความรู้เดมิ เท่าทีผ่ ้เู รียนมีอยู่

4. ตั้งสมมตฐิ านเพื่อหาตอบปญั หาประเดน็ ต่างๆ พร้อมจดั ลาดบั ความสาคัญของสมมตฐิ านท่ี
เป็นไปได้อย่างมเี หตผุ ล

5. จากสมมตฐิ านท่ีตั้งข้นึ ผู้เรยี นจะประเมนิ วา่ เขามีความรู้เรอ่ื งอะไรบา้ ง มีเร่ืองอะไรทย่ี งั ไม่รู้
หรือขาดความรู้ และความรอู้ ะไรจาเปน็ ทีจ่ ะต้องใชเ้ พอ่ื พิสูจน์สมมติฐาน ซ่งึ เชอ่ื มโยงกับโจทยป์ ญั หาทไ่ี ด้
ขนั้ ตอนน้ีกล่มุ จะกาหนดประเดน็ การเรียนรู้ (learning issue) หรอื วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ (learning
objective) เพ่ือจะไปคน้ คว้าหาข้อมลู ต่อไป

6. ค้นควา้ หาข้อมูลและศึกษาเพิ่มเติมจากทรพั ยากรการเรียนรูต้ ่างๆ เช่น หนงั สอื ตารา วารสาร
ส่อื การเรียนสอนต่างๆ การศึกษาในห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน อินเทอร์เน็ต หรอื ปรึกษาอาจารย์
ผู้เชีย่ วชาญในเนื้อหาสาขาเฉพาะ พรอ้ มทั้งประเมนิ ความถูกตอ้ ง

7. นาข้อมูลหรือความรู้ท่ีได้มาสังเคราะห์ อธบิ าย พสิ จู น์สมมติฐานและประยกุ ต์ให้เหมาะสมกับ
โจทยป์ ัญหา พรอ้ มสรุปเป็นแนวคิดหรือหลักการทัว่ ไป

ข้นั ตอนท่ี 1-5 เป็นขัน้ ตอนภายในกระบวนการกลุ่มในห้องเรียน ขน้ั ตอนที่ 6 เป็นกจิ กรรมของ
ผู้เรียนรายบคุ คลนอกห้องเรยี น และขั้นตอนที่ 7 เป็นกจิ กรรมท่กี ลบั มาในกระบวนกล่มุ อีกครั้ง

1.5 การเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื วธิ ีวจิ ัย (Research-based Learning) การ
เรยี นรูท้ ี่เนน้ การวิจัยถือไดว้ ่าเปน็ หัวใจของบัณฑิตศึกษา เพราะเป็นการเรียนทเ่ี นน้ การแสวงหาความร้ดู ้วย
ตนเองของผ้เู รียนโดยตรง เป็นการพัฒนากระบวนการแสวงหาความรู้ และการทดสอบความสามารถทางการ
เรยี นรดู้ ว้ ยตนเองของผู้เรียน ซ่งึ สมหวงั พธิ ยิ านุวฒั น์ และทัศนยี ์ บญุ เติม (2540) ไดเ้ สนอรปู แบบการจัดการ
เรียนรโู้ ดยใชก้ ารวจิ ยั เป็นฐานไว้ 4 รปู แบบ ดงั น้ี

1. การจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้กระบวนการวจิ ยั คือการให้ผูเ้ รยี นไดฝ้ กึ ปฏิบัตทิ าวิจัยในระดบั ต่างๆ
เช่น การทาการทดลองในห้องปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์ การศึกษารายกรณี (Case Study) การทาโครงงาน การ
ทาวจิ ัยเอกสาร การทาวจิ ัยฉบบั จิ๋ว (Baby Research) การทาวิทยานิพนธ์ เป็นต้น

15

2. การสอนโดยใหผ้ ู้เรียนรว่ มทาโครงการวิจัยกบั อาจารย์หรือเปน็ ผูช้ ว่ ยในโครงการวจิ ยั (Under
Study Concept) ในกรณีนผี้ สู้ อนตอ้ งเตรียมโครงการวจิ ัยไวร้ องรับเพ่ือให้ผเู้ รยี นมโี อกาสได้ทาวจิ ัย เชน่
ร่วมเกบ็ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล อย่างไรก็ตามวิธนี ี้จะมขี ้อเสยี ท่ผี เู้ รียนไม่ไดเ้ รียนร้กู ระบวนการทาวิจัย
ครบถ้วนทกุ ขั้นตอน

3. การสอนโดยให้ผเู้ รียนศกึ ษางานวจิ ยั เพอื่ เรียนรอู้ งค์ความรู้ หลกั การและทฤษฎีทใี่ ช้ในการวจิ ัย
เร่อื งนัน้ ๆ วธิ ีการต้งั โจทย์ปัญหา วิธีการแกป้ ัญหา ผลการวจิ ยั และการนาผลการวจิ ัยไปใช้และศกึ ษาตอ่ ไป ทา
ใหผ้ ้เู รยี นเขา้ ใจกระบวนการทาวิจยั มากข้นึ

4. การสอนโดยใช้ผลการวจิ ยั ประกอบการสอน เป็นการใหผ้ ู้เรียนไดร้ ับรู้วา่ ทฤษฎีข้อความรใู้ หม่ๆ
ในศาสตรข์ องตนในปจั จุบนั เป็นอยา่ งไร นอกจากนีย้ ังเป็นการสรา้ งศรทั ธาตอ่ ผูส้ อนรวมท้ังทาให้ผสู้ อนไมเ่ กิด
ความเบอื่ หน่ายท่ตี อ้ งสอนเนื้อหาเดมิ ๆ ทกุ ปี

2.กระบวนการเรียนรู้ผ่านการส่ือสารอย่างสร้างสรรค์ เพราะการส่ือสารเป็นกระบวนการส่งหรือ
ถ่ายทอดเรื่องราว ข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ เหตุการณ์ ต่าง ๆ จากผู้สอนยังไปผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย
ดงั นี้

2.1 การฝึกทักษะในการฟังอย่างลึกซ้ึง(Deep Listening) โดยใช้เทคนิค สุนทรียสนทนา
(Dialogue) เป็นการฝึกทักษะการฟังอย่างลึกซึ้งทาให้รู้จักตนเองมากขึ้น ฝึกการเป็นผู้ฟังท่ีดี ฟังผู้อื่นพูดอย่าง
ต้ังใจ ฟังให้มาก พูดให้น้อยลง ไม่พูดแทรกขณะอีกฝ่ายกาลังพูด ทาให้ฟังและได้ยินมากขึ้น เป็นกระบวนการ
เรยี นรู้ท่ีสามารถนามาปรบั ใชใ้ นการทางานหรือการดารงชีวติ ได้เปน็ อย่างดี

2.2 การฝกึ ทักษะการแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยใชเ้ ทคนคิ Communities of Practice หรือ CoP ซง่ึ
เป็นการดงึ ความรูท้ ี่อยู่ในตวั บุคคลออกมา เพ่ือแลกเปลี่ยนและทาให้เกิดการเรยี นรู้

2.3 การฝึกทักษะการทางานเป็นทีม, เรียนรู้แบบกลุ่ม ปฏิบัติงานกลุ่ม เป็นวิธีสอนท่ีครูมอบหมาย
ให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ร่วมมือกันศึกษาค้นคว้าหาวิธีการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติกิจกรรมตาม
ความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจ เปน็ การฝกึ ใหน้ กั เรยี นทางานรว่ มกันตามวิธแี ห่งประชาธิปไตย

2.4 การฝึกทักษะการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร ใช้เทคโนโลยีเพ่ือวิจัย จัดระบบ ประเมิน และ
สื่อสารสารสนเทศ ใช้เคร่ืองมือสื่อสาร เช่ือมโยงเครือข่าย (คอมพิวเตอร์ เคร่ืองเล่นมีเดีย ฯลฯ) และ social
network อย่างถูกต้อง เหมาะสม เพื่อเข้าถึง (access) จัดการ (manage) ผสมผสาน (integrate) ประเมิน
(evaluate) และสร้าง(create) สารสนเทศ เพ่ือทาหน้าที่ในเศรษฐกิจฐานความรู้ปฏิบัติตามคุณธรรมและ
กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการเขา้ ถึงและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

16

3. การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ข้ันตอน (5 STEPs)กระบวนการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้
บรรลผุ ลตามที่คาดหวังนนั้ มีมากมายหลายวิธี กระบวนการจัดการเรยี นรู้แบบบันได 5 ขน้ั ก็เป็นอีกวธิ ีหนึ่งที่
น่าสนใจ ท่ีครูสามารถนาไปปรับใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามบริบทและธรรมชาติของวิชา โดยเฉพาะ
การจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั มขี ั้นตอนดังน้ี

ขน้ั ตอนท่ี 1 การเรียนรู้ตง้ั คาถาม หรือข้นั ตั้งคาถาม
เป็นที่ให้นักเรียนฝึกสังเกตสถานการณ์ ปรากฏการณ์ต่างๆ จนเกิดความสงสัย จากน้ันฝึกให้เด็กต้ังคาถาม
สาคญั รวมท้งั การคาดคะเนคาตอบ ด้วยการสืบค้นความรู้จากแหลง่ ตา่ งๆ และสรปุ คาตอบชวั่ คราว

ขน้ั ตอนที่ 2 การเรียนรแู้ สวงหาสารสนเทศ
เป็นขั้นตอนการออกแบบ/วางแผนเพื่อรวบรวมข้อมูล สารสนเทศ จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ รวมทั้งการทดลอง
เป็นขนั้ ที่เดก็ ใช้หลักการนิรภัย (Deduction reasoning) เพอ่ื การออกแบบขอ้ มูล

ขน้ั ตอนที่ 3 การเรียนรู้เพ่อื สรา้ งองค์ความรู้
เป็นขั้นตอนท่ีเด็กมีการคิดวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพ การสื่อความหมายข้อมูลด้วยแบบต่างๆ
หรือด้วยผังกราฟิก การแปรผล จนถึงการสรุปผล หรือการสร้างคาอธิบาย เป็นการสร้างองค์ความรู้ ซ่ึงเป็น
แก่นความรปู้ ระเภท

1. ขอ้ เทจ็ จริง
2. คานยิ าม
3. มโนทัศน์
4. หลกั การ
5. กฏ
6. ทฤษฏี

ขน้ั ตอนท่ี 4 การเรียนร้เู พื่อการส่อื สาร
คือ ข้ันนาเสนอความรู้ด้วยการมใช้ภาษาท่ีถูกต้อง ชัดเจน และเป็นท่ีเข้าใจ อาจเป็นการนาเสนอภาษา และ
นาเสนอดว้ ยวาจา

ขน้ั ตอนท่ี 5 การเรียนรู้เพอื่ ตอบแทนสังคม

17

เป็นข้ันตอนการฝึกเด็กให้นาความรู้ที่เข้าใจ นาการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์เพื่อส่วนรวม หรือเห็นต่อประโยชน์
ส่วนรวมด้วยการทางานเป็นกลุ่ม ร่วมสร้างผลงานที่ได้จากการแก้ปัญหาสังคมอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งอาจเป็น
ความรู้ แนวทางสิง่ ประดษิ ฐ์ ซง่ึ อาจเป็นนวัตกรรม ด้วยตวามรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม อันเป็นการแสดงออกของการ
เกื้อกลู และแบ่งปันให้สังคมมสี ันตอิ ยา่ งยั่งยืน

จะเห็นได้ว่า การจัดกระบวนการเรียนรู้ ครูต้องยึดความสมดุลจึงจะส่งผลให้การจัดการเรยี นรู้สาหรับ
นักเรียนเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป้าหมายการเรียนในศตวรรษท่ี 21 คือ การปูพื้นฐาน ความรู้และ
ทักษะสาหรับการมีชีวิตท่ีดีในภายหน้า ลักษณะของการเรียนรู้จึงเป็นสมดุลระหว่างคุณลักษณะในตารางฝั่ง
ซ้ายและขวา 15 ประการ ดังน้ี

ข้ึนกับครู/ครูเป็นตวั ต้งั (Teacher-directed) เด็กเป็นหลกั (Leaner-centered)

สอน แลกเปลี่ยนเรยี นรู้

ความรู้ ทกั ษะ

เนือ้ หา กระบวนการ

ทักษะพื้นฐาน ทักษะประยุกต์

ข้อความจริงและหลักการ คาถามและปญั หา

ทฤษฎี ปฏิบัติ

หลกั สูตร โครงการ

ช่วงเวลา ความต้องการ

เหมอื นกนั ทั้งหอ้ ง (One-size-fits-all) เหมาะสมรายบุคคล (Personalized)

แขง่ ขนั รว่ มมอื

ห้องเรยี น ชมุ ชนทัว่ โลก

ขนึ้ กบั ครู/ครูเป็นตวั ตัง้ (Teacher-directed) เดก็ เป็นหลกั (Leaner-centered)

ตามตารา ใชเ้ วบ็

สอบความรู้ ทดสอบการเรยี นรู้

เรียนเพ่อื โรงเรียน เรยี นเพอ่ื ชวี ติ

จะเห็นได้ว่า การเรียนรู้แบบใฝ่รู้กับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 มีแนวคิดและลักษณะของการจัดการ
เรียนรู้คล้ายกัน น่ันคือ ต้องมีความสัมพันธ์ มีขั้นตอนและกระบวนการท่ีเป็นลาดับ ท่ีผู้เรียนสามารถมีส่วน
ร่วมกับการเรียนการสอนได้ เช่น การกาหนดปัญหาที่ผู้เรียนสนใจ การทากิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรยี นสามารถ
วิเคราะห์และสามารถบูรณาการกับรายวิชาอื่น ๆ ได้ด้วยตนเอง และการสอนที่ถือว่ามีประสิทธิภาพ น้ัน ครู
ต้องมีคุณสมบัติมากกว่าการเป็นผู้ท่ีทาหน้าท่ีสอน (Instructor) ครูต้องมีลักษณะของผู้ท่ีสามารถช้ีแนะการ
เรียนรู้ (Learning Coaching) และสามารถทาหน้าท่ีเป็นผู้นานักเรียนท่องเที่ยวไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้ได้

18

(Learning Travel Agent) ซึ่งบทบาทของครูจากยุคสมัยก่อนจาเป็นต้องมีการเปล่ียนแปลงเมื่อก้าวสู่ยุคแห่ง
ศตวรรษท่ี 21 เน่อื งจากครใู นโลกยุคใหม่ต้องมีความรอบรมู้ ากกวา่ การเป็นผ้ดู ูแลรายวชิ าที่สอนเทา่ นั้น แต่ครูมี
บทบาทของการเพ่ิมพูนความรู้แก่นักเรยี น เสริมสร้างทักษะท่ีจาเป็นต่อการประกอบอาชพี รวมทั้งไอซีทีได้เข้า
มามบี ทบาททางการศึกษาและเปน็ ส่วนหนง่ึ ของชีวิตประจาวันของคนทัว่ โลก ไอซที ีในปจั จุบนั จึงไมใ่ ช่เป็นเพยี ง
แหล่งข้อมูลข่าวสารเท่าน้ัน ครูจึงต้องคิดว่าจะบูรณาการการจัดการเรียนรู้ให้เข้ากับไอซีทีได้อย่างไร ซ่ึง
คุณลกั ษณะของครูในยุคศตวรรษที่ 21 หรอื เรยี กว่า e-Teacher จะประกอบด้วย 9 คณุ ลักษณะทคี่ รพู ึงปฏิบัติ
มดี งั นี้

1. Experience คือ มปี ระสบการณก์ ารเรยี นรแู้ บบใหม่ ใช้เคร่อื งมือต่างๆ เช่น Internet , e-Mail การใช้ CD

2. Extended คือ มีทักษะการค้นหาความรู้ได้ตลอดเวลา เพราะ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต สามารถใช้ได้ตลอด
24 ชั่วโมง ทไ่ี หนก็ได้ ใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชนใ์ นการหาความร้ดู ้วยเทคโนโลยี

3. Expanded คอื การขยายผลของความรูน้ ั้นสู่นักเรียน ประชาชนท่วั ไป และชุมชน สามารถถ่ายทอดความรู้
ลง CD , VDO โทรทศั นห์ รอื บน Web เพ่ือให้เกดิ หารเพ่มิ ความรทู้ ี่เป็นประโยชนข์ องบุคลากรโดยรวม

4. Exploration คือ สามารถเลือกเนื้อหาที่ทันสมัย เอกสารอ้างอิง ค้นคว้าท้ังสาระและบันเทิง เพ่ือให้เกิด
ความคิดสรา้ งสรรค์ เพอ่ื นามาออกแบบการเรยี นการสอน

5. Evaluation คอื เป็นนกั ประเมินท่ีดี สามารถใชเ้ ทคโนโลยีในการประเมนิ ผล

6. End-User คือ เป็นผู้ใช้ปลายทางที่ดี เช่น สามารถ Browse ไป Web Site ท่ีมีคุณค่าบนอินเทอร์เน็ตและ
เปน็ ผูใ้ ชเ้ ทคโนโลยีได้อย่างหลากหลาย

7. Enabler คือ สามารถใช้เทคโนโลยีสร้างบทเรียนและเนื้อหาเพิ่มเติมมาใช้ในการประกอบการเรียนการสอน
สามารถใช้ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์มาสร้างบทเรียน อย่างน้อยที่สุดก็สามารถสร้างการนาเสนอเน้ือหาด้วย
Power Point เป็นการจูงใจให้นักเรียนสนใจในการเรียนมากข้ึน หรือการใช้ Authoring tool ต่าง ๆ มาสร้าง
บทเรยี นในรูปแบบอิเลก็ ทรอนิกส์

8. Engagement คือ ครูท่ีร่วมมือกันแลกเปล่ียนความเห็น หาแนวร่วม เพื่อให้เกิดชุมชน เช่น การคุยกันบน
Web ทาใหม้ ีความคิดใหมๆ่ มีขอ้ เสนอแนะ เกดิ ชุมชนครบู น Web

9. Efficient and Effective คือ ครูท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จะต้องเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีได้อย่าง
คลอ่ งแคล่ว เปน็ ผู้ผลิต ผูก้ ระจาย และผู้ใช้ความรู้

2. สารานกุ รมพรรณไม้
ความหมายของสารานกุ รม

19

สารานกุ รม หรอื คาวา่ Cyclopedia ซึ่งให้ความหมายเหมอื นกนั คือเรื่องคัดยอ่ ทีถ่ ูกเขียนขน้ึ สาหรับ

การรวบรวมความรู้ เป็นคาสมาสจากคาวา่ ”สาร”และ”อนุกรม” กล่าวคือเปน็ ความรูท้ ี่เปน็ เรือ่ งราวถกู จัดเรยี ง

ในลาดบั จะมที ั้งประเภทความรู้ทั่วไป และความรู้เฉพาะด้านเชน่ สารานกุ รมการเก่ียวกับการแพทย์

คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือ จดั ทาเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ เช่น สารานุกรมสาหรับเยาวชน

สารานกุ รมทเี่ ป็นท่ีรจู้ ักกันดีได้แก่ สารานุกรมบรเิ ตนนิกา (Encyclopedia Britannica) สารานกุ รมท่ี

เก่าแก่ทส่ี ุดในโลกที่มกี ารตีพิมพต์ พี ิมพ์ฉบบั แรกในภาษาอังกฤษในช่วงปี พ.ศ. 2311-2314 (ค.ศ. 1768–1771)

ในเมืองเอดนิ บะระ สกอตแลนด์ ซงึ่ ในปัจจบุ นั ได้มกี ารตีพิมพแ์ ละจาหน่ายในฉบบั ซีดี

สารานุกรมสามารถเปน็ เร่ืองราวเกีย่ วกับเร่ืองทว่ั ไป ดงั ที่ปรากฏในสารานุกรมที่มชี ื่อเสยี ง

สารานกุ รมบรเิ ตนนิกาในภาษาอังกฤษและสารานกุ รมบร็อกเฮาส์ (Brockhaus)ในภาษาเยอรมนั หรอื

สารานกุ รมอาจจะเปน็ เร่ืองราวเฉพาะทางเช่น สารานุกรมเก่ยี วกับ การแพทย์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา หรือ

อาจจะเปน็ สารานุกรมท่ีครอบคลมุ เนอ้ื หาในแตล่ ะภมู ิภาค ประเทศ หรือกลมุ่ ชน และขณะทีบ่ างสารานุกรม

จัดทาขนึ้ เฉพาะกลุ่มเป้าหมาย เชน่ สารานกุ รมสาหรบั เยาวชน ท่จี ะมเี นื้อหาทีอ่ ่านงา่ ย และเขา้ ใจงา่ ย

สารานุกรมจะใชก้ ารจดั เรยี งหัวข้อ 2 ลักษณะ คือ เรยี งตามอกั ขระ และ เรยี งตามกลุม่ เนอื้ หา ในยคุ ปัจจุบันมี

การพัฒนาของเทคโนโลยีได้มีการนาสารานกุ รมมาจัดเกบ็ ในรูปแบบใหม่รวมถึงการจัดเรียงลาดับขอ้ มลู ดัง

ตัวอย่างเชน่ โครงการวกิ ิพีเดยี และ เอชทูจีทู (h2g2) เพ่ือให้การใช้งานสารานุกรมง่ายต่อการใช้

สารานุกรมเปน็ คาสมาสจากคา สาร และ อนกุ รม มีความหมายรวมวา่ สาระ หรอื เร่ืองราว ซึง่ มกี าร

จดั เรียงเป็นลาดบั หมวดหมู่ คาวา่ สารานุกรมในภาษาอังกฤษ คือ Encyclopedia หรอื Encyclopædia ซ่ึงมี

ที่มาจากภาษากรีก εγκύκλιος παιδεία (enkyklios paideia; “in a circle of instruction”) จาก

คาวา่ εγκύκλιος หมายถึง circuit shaped. โดย κύκλος หมายถึง circuit และ παιδεία

หมายถึง instruction. คาว่า Encyclopedia นี้บางครั้งกใ็ ชว้ า่

(แมน้ มาส ชวลติ , 2543) ได้อธบิ ายวา่ “สารานกุ รม” เป็นหนังสือรวมเร่ืองราวตา่ ง ๆคานีป้ ระกอบดว้ ย

คา ๒ คา คือ “สาร” และ “อนุกรม” พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถานพ.ศ. ๒๕๒๕ ให้นยิ ามของคา

“สาร” ว่า แก่นเน้ือแท้ ส่วนสาคญั ข้อใหญ่ใจความ ถอ้ ยคาคาวา่ “อนกุ รม” หมายถงึ ลาดับ ระเบียบ ชั้นสอง

คาน้ีรวมกนั เข้าโดยวธิ ีสมาสเปน็ คาเดียวคือ “สารานกุ รม” หมายถึงเร่ืองราวท่เี ป็นเนื้อแทเ้ ปน็ แกน่ สารนามา

เรียบเรียงโดยใช้ถอ้ ยคา จดั ระเบียบเรอื่ งแต่ละเรื่องตามลาดบั ให้อย่ดู ้วยกันในหนังสือเล่มเดยี วกนั หรือหลาย

เล่มแต่เป็นชดุ เดียวกนั คาน้ีใช้เรียกชื่อหนงั สืออา้ งองิ หรือหนังสอื อุเทศประเภทหน่งึ ลักษณะทวั่ ไปของ

หนังสือน้ี คือ อธบิ ายเรื่องราวต่าง ๆ ที่มนษุ ย์ไดเ้ รยี นรู้ และไดค้ ิดข้นึ ตง้ั แตโ่ บราณสมยั จนถึงปัจจบุ ัน มีทัง้

ความร้ทู ่จี ัดเปน็ วิชาหรือเปน็ ศาสตร์ และความรู้ท่วั ๆ ไปที่ควรร้หู รอื นา่ รู้ ผู้จัดทาสารานุกรม จะจดั หมวดหมู่

และลาดับความสาคญั ของคาอธิบายเรื่องราวเหลา่ น้ี เรยี งลาดับอย่ใู นเล่มเดยี วกนั หรือชดุ เดียวกนั ตามลาดับ

ความสาคญั ของแต่ละวชิ าบ้าง ตามลาดับความสัมพนั ธ์ของแตล่ ะวิชา และสาขาวิชาในกลุม่ วิชานัน้ ๆ บา้ ง

ตามลาดบั ตัวอักษรตัวแรกของคาซ่ึงใชเ้ รียกช่ือวิชาหรือเรื่องราวนนั้ ๆ บ้าง

20

หนงั สอื สารานุกรมเป็นหนังสอื ซึง่ ผู้มีความรรู้ บั รองกันท่วั ไปวา่ เปน็ หนังสอื ซึ่งเชอื่ ถือได้ แมว้ า่

สารานกุ รมบางเล่มจะมีข้อผิดพลาด หรือล้าสมัยเพราะไมม่ ีการปรับปรงุ แก้ไขเพ่มิ เติมข้อมลู ใหมๆ่ ใหท้ นั

กาลเวลา และความก้าวหน้าทางวชิ าการผูจ้ ัดทาหรือผู้รวบรวมสารานุกรมจะเลอื กสรรเร่อื งราวทผี่ ูม้ ีความรู้

เชอื่ ถอื ไดเ้ ปน็ ผเู้ ขยี น มหี ลกั ฐานของการคน้ ควา้ นาไปอา้ งองิ ได้ มวี ธิ เี รยี บเรยี งซงึ่ ทาใหส้ ามารถคน้ เรอ่ื งราวท่ี

ตอ้ งการรไู้ ด้อยา่ งรวดเร็ว เช่น มีดัชนคี ้นเรอื่ งอยูท่ ้ายเล่ม หรอื ในเล่มสุดท้ายของชดุ มกี ารเรยี งเรอ่ื งตามลาดับ

ตัวอักษรตัวแรกของคาทเ่ี รียกเรอื่ งราวน้ันๆ เป็นต้น

การจัดทาหนงั สือรวมวิชาความรูใ้ นสมยั โบราณนั้น เทา่ ที่ทราบและมหี ลักฐานปรากฏวา่ นักการศึกษาชาวโรมัน

ชือ่ พลินี (Pliny) ซึ่งมอี ายุอยู่ระหวา่ ง พ.ศ. ๕๖๖-๖๒๒ เปน็ ผูจ้ ดั ทาข้ึนเขาเรียกหนังสอื ของเขาวา่ ประวตั ิ

ธรรมชาติ (Natural History) เป็นหนงั สือชดุ มี ๓๗ เลม่ ๒,๔๙๓ บท และมีเรอ่ื งราว ๒๐,๐๐๐ เรื่อง รวม

เรอื่ งดาราศาสตร์ โลหวิทยา ภมู ิศาสตร์ สตั วศาสตร์แพทยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ประดิษฐกรรม ศลิ ปกรรม พชื

กรรม เวทมนตร์คาถา ฯลฯ เรื่องเหลา่ น้เี ขาไม่ไดแ้ ต่งเอง หากรวบรวมจากหนงั สือตา่ งๆ ที่ผูร้ ู้หลายร้อยคนเขยี น

ไว้แลว้ พลนิ ีกลา่ วไว้ในคานาของหนงั สือชุดนว้ี า่ เร่ืองของเขามีเร่ืองราวทุกเรื่องทกุ วชิ าทอี่ ยใู่ นวงจรการศกึ ษา

ซง่ึ ชาวกรีกเรยี กหนงั สือทีร่ วมวชิ าเหล่านว้ี ่า เอนไซโคลปเี ดีย (Encyclopaedia)

ความสาคัญของหนังสือสารานกุ รม

ความรใู้ นวชิ าการตลอดจนเรื่องราวขา่ วสารข้อมลู ท่ัวไปเกย่ี วกบั ปรากฏการณธ์ รรมชาติและข้อเทจ็ จริง

ตา่ ง ๆ ที่เกิดข้นึ โดยพฤตกิ รรมของมนษุ ยน์ ัน้ เป็นสงิ่ ท่ีก่อใหเ้ กิดพฒั นาการในตัวคนและสงั คม วิชาการเปน็

ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญามนุษยชาติ เปน็ แหล่งทรัพยากรทใี่ ช้ไมห่ มดสิ้นยงิ่ ใช้ก็ยิง่ เพ่มิ พูน พฒั นาการของมนษุ ย์

ตง้ั แตส่ มัยแรกเริม่ มาจนถงึ ปจั จุบนั ได้อาศัยทรัพยส์ นิ ทางปัญญาทีบ่ รรพชนสร้างไว้ และบนั ทกึ ไว้ เปน็ มรดกตก

ทอดถงึ ชนในรนุ่ ปจั จบุ นั หนงั สอื สารานกุ รมเปน็ หนงั สอื ซงึ่ รวมวชิ าความรู้ และเรอื่ งราวตา่ ง ๆ ทม่ี นษุ ยเ์ รยี นรู้

และได้คดิ สรา้ งสรรค์ไวท้ ัง้ หมดจงึ นบั เปน็ คลังทรัพย์สนิ ทางปญั ญา ทบี่ ริบรู ณใ์ นตวั เอง เปดิ โอกาสใหผ้ ูใ้ ฝร่ ู้

สามารถอ่านเพ่ือแสวงหา ความรดู้ ว้ ยตนเองไดท้ ุกเวลาตามความสามารถของตน เหมือนห้องสมุดขนาดเล็กที่

เคลอ่ื นยา้ ยได้ตามผู้เปน็ เจ้าของ ความรู้ในหนังสอื สารานุกรมที่สรา้ งขึ้นใน แตล่ ะยุคแตล่ ะสมัยจะทนั สมัยทสี่ ดุ

สาหรับยุคนัน้ ๆ

นอกจากจะเป็นคลังทรัพย์สนิ ทางปญั ญาของมนุษย์แลว้ หนังสอื สารานกุ รมยังมสี ว่ นในการสรา้ งและ

พัฒนาวธิ ีการจัดระบบความรู้ต่าง ๆ มกี ารจัดหมวดหมูค่ วามรู้ เรียงลาดบั ความสาคัญของความรู้ ช้ใี ห้เหน็

ความสัมพันธ์ระหวา่ งความรู้ในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ การสร้างคาแทนเนื้อเรื่อง และการเลือกคาสาคัญท่ีมีอยู่ในเรือ่ ง

แตล่ ะเรอ่ื งมาจัดทาเป็นดชั นีค้นเรื่องท้ายเลม่ หรือในเล่มสุดท้ายของชุดทง้ั เพอื่ อานวยความสะดวกในการค้นหา

เรอื่ งทีต่ ้องการ วิธกี ารเหล่านี้เปน็ ต้นเค้าสว่ นหนึ่งของวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตรใ์ นปัจจุบนั

ปจั จุบันนี้ สารานุกรมเป็นหนงั สอื อ้างองิ ซึ่งห้องสมดุ ทุกแหง่ จาเปน็ ต้องมี ผู้สนใจใฝ่หาความร้บู างคนทมี่ ีกาลัง

ทรพั ย์พอจะซือ้ ไว้เปน็ ของตนกจ็ ะซ้ือไวเ้ พราะจะคน้ หาเร่ืองราวทีต่ อ้ งการไดเ้ กอื บทกุ เรื่องในเวลาจากัด หนังสอื

สารานุกรมในปัจจุบนั มีมากมายหลายประเภท หลายรปู แบบมที ั้งสาหรบั เด็กและสาหรับผู้ใหญ่ และมหี นังสือ

สารานกุ รมทั่วไป และสารานุกรมเฉพาะวิชา

21

ลกั ษณะเฉพาะของสารานกุ รม
สนุ ติ ย์ เย็นสบาย(2543 :70) อา้ งถงึ สทุ ธลิ กั ษณ์ อาพันวงศ์ ได้กลา่ วถงึ ลกั ษณะเฉพาะของ

สารานุกรม ไว้ดังน้ี
1. สารานุกรมมที ้ังชนิดเล่มเดียวจบ และชนิดเป็นชดุ หลายเลม่ จบ
2. สารานกุ รมสามารถอ่านได้หลายระดบั ท้ังขนั้ ง่ายสาหรบั เยาวชนหรอื ผู้มคี วามรู้ในระดบั ปาน

กลาง และขัน้ ยากสาหรบั ผมู้ ีความร้สู งู
3. สารานุกรมประกอบด้วยบทความทางวชิ าการดา้ นตา่ งๆ โดยสังเขป เขยี นโดยผู้ทรงคุณวฒุ ิ

จดั เรยี งตามลาดับอักษร
4. มีชอ่ื เตม็ หรอื อักษรยอ่ ของผูเ้ ขียนบทความกากบั ไว้ท่ีท้ายเรือ่ งทุกเรื่อง
5. มภี าพประกอบบทความบางเร่ือง
6. สารานกุ รมของต่างประเทศสว่ นมากจะมบี รรณานกุ รมโดยจัดไวท้ า้ ยบทความแต่ละเรื่อง
7. มีดรรชนีคน้ คว้าเร่ืองย่อย ๆ ในเลม่ สารานุกรมบางชนิดแยกเลม่ ไวต้ า่ งหาก

วธิ ีใช้สารานุกรม
1) พจิ ารณาดวู ่าเร่ืองทตี่ อ้ งการเป็นความรพู้ ้ืนฐาน หรอื ความรู้เป็นเร่อื งเฉพาะวิชา
2) เลือกใชส้ ารานุกรมให้ถูกกับเร่อื งทีต่ ้องการ เช่น

2.1) ความรู้พ้ืนฐานง่าย ๆ ส้ัน ๆ ใช้สารานกุ รมทัว่ ไปสาหรับเยาวชน
2.2) ความรู้พ้นื ฐานอย่างละเอยี ดใช้สารานกุ รมทัว่ ไปสาหรับผูใ้ หญ่
2.3) ความรู้เฉพาะวิชา ให้เลือกใช้สารานกุ รมเฉพาะวิชา ซ่ึงแบ่งออกเปน็ สาขาวชิ าต่างๆ
3) เปิดดูดรรชนีเพื่อดูเรื่องที่ต้องการค้นหาว่าอยู่ในเล่มใด หน้าเท่าไรโดยพิจารณาให้ถูกกับลักษณะของ
สารานกุ รม เช่น
3.1) เปิดดูดรรชนที า้ ยเล่ม (สารานกุ รมสาหรบั เยาวชนและสารานุกรมบางชุดดรรชนอี ยดู่ ้านหนา้ )
3.2) เปดิ ดดู รรชนที เี่ ลม่ สุดท้ายของชุด (สารานุกรมสาหรับผ้ใู หญแ่ ละสารานุกรมบางชุดอยู่ทา้ ยเลม่ )
4) ดอู ักษรนาเล่ม หรือคาแนะที่สันหนังสือ เพอ่ื ดวู า่ เรอ่ื งที่ตอ้ งการอย่เู ลม่ ใด
5) กอ่ นใชส้ ารานุกรมแตล่ ะชุดควรอ่านวธิ ใี ชเ้ ปน็ ลาดับแรก แลว้ จึงคน้ หาเร่อื งท่ตี ้องการ

สารานุกรมสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท คอื
1. สารานกุ รมท่วั ไป( General Encyclopedias) เป็นหนงั สอื อา้ งอิงท่ีรวบรวมความรู้ทกุ แขนง

วชิ า มีทั้งใหข้ ้อมูลอย่างละเอียดและอย่างสงั เขปอธิบายเรอื่ งราวเพ่ือเป็นพื้นฐานความรเู้ กย่ี วกับศาสตร์ทกุ
สาขาวิชา เชน่ สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวและ
World Book Encyclopedia ฯลฯ

22

2. สารานุกรมเฉพาะวชิ า (Subject Encyclopedias) เป็นสารานกุ รมที่รวบรวมความร้สู าขาใด
สาขาหน่ึง หรือรวบรวมเรื่องราวแขนงวิชาใดวชิ าหนึง่ โดยเฉพาะ จะอธิบายเรื่องราวละเอยี ดลึกซง้ึ กว่า
สารานกุ รมทัว่ ไป เช่น สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมวฒั นธรรมภาคใต้ ฯลฯ

4. การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศใน จัดการเรยี นการสอนและการเรียนรู้
ความหมายและความสาคญั ในการนา ICT มาใชใ้ นการเรียนรู้
โดยความเปน็ จริงแล้ว ครเู ราใช้ ICT จัดการเรยี นการสอนมานานแลว้ เพียงแต่ยงั ใช้รปู แบบเดมิ ซ่ึงหากมีการ
พัฒนาโดยใชเ้ ทคโนโลยีทเ่ี ก่ียวขอ้ งตง้ั แตก่ ารรวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพมิ พ์ การสรา้ งงาน
การสอื่ สารข้อมลู ฯลฯ ซึง่ รวมไปถึงการใหบ้ ริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล จะทาให้การจดั การเรียนการสอน
มปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน นกั เรียนสามารถค้นคว้าหาความร้จู ากแหลง่ ความรู้ทห่ี ลากหลายมากยง่ิ ขึ้น
ICT หมายถึง การนาเทคโนโลยีดจิ ติ อล เคร่ืองมือส่ือสาร หรือเครือค่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการเข้าถึง จัดการ
บรู ณาการ ประเมินผล และสรา้ งขอ้ มลู

เป้าหมายของการใช้ ICT เพ่ือการเรยี นรู้
– เป็นเคร่ืองมือชว่ ยเพม่ิ ผลงาน และการติดต่อสอ่ื สาร
– ความรว่ มมอื ของนักเรยี น โดยการวเิ คราะห์ขอ้ มูลรว่ มกัน
– บริหารจดั การขอ้ มูล โดยการค้นควา้ ข้อมลู
– ความรว่ มมือของครู โดยครูทางานร่วมกนั เอง ทางานรว่ มกับนักเรียน และเพื่อนภายนอกโรงเรียน
– ความรว่ มมอื ระหว่างโรงเรียน โดยนักเรียนทางานรว่ มกับผูอ้ น่ื ทีอ่ ย่นู อกโรงเรียน
– การสร้างงาน โดยการจัดทาชิน้ งาน การเผยแพรผ่ ลงาน
– ชว่ ยบททวนบทเรียน โดยซอรฟ์ แวรเ์ สริมการเรียน
ICT จะมีความสาคัญ กต็ ่อเมื่อ
– ถกู ใช้เปน็ เครื่องมือแกป้ ญั หา และพฒั นาความคดิ วิเคราะห์
– ใช้ในการสร้างกลยุทธ์ เพื่อไขปัญหาที่ซับซ้อน และพัฒนาความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง สาหรับเร่ืองทสี่ นใจ

ประโยชน์จากการนาระบบ ICT มาประยุกต์ใช้ พอสรปุ ไดด้ ังน้ี

ความสะดวกรวดเรว็ ในระหว่างการดาเนินงาน
2. ลดปรมิ าณผูด้ าเนนิ งานและประหยดั พลังงานเชื้อเพลงิ ได้อกี ทางหนง่ึ
3. ระบบการปฏบิ ตั งิ านเปน็ ไปอย่างมีระเบียบมากขน้ึ กวา่ เดิม
4. ลดข้อผดิ พลาดของเอกสารในระหวา่ งการดาเนนิ การได้
5. สร้างความโปรง่ ใสให้กบั หนว่ ยงานหรือองค์กรได้

23

6. ลดปรมิ าณเอกสารในระหวา่ งการดาเนินงานไดม้ าก (กระดาษ)
7. ลดขนั้ ตอนในระหวา่ งการดาเนินการได้มาก
8. ประหยัดเน้อื ที่จดั เกบ็ เอกสาร (กระดาษ)
เทคโนโลยสี ารสนเทศได้เข้ามามบี ทบาทต่อการศึกษาอยา่ งมาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางดา้ นคอมพวิ เตอร์และ
การส่ือสารโทรคมนาคมมบี ทบาทที่สาคัญตอ่ การพัฒนาการศึกษาดังน้ี
1. เทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มามีสว่ นชว่ ยเรื่องการเรยี นรู้ ปจั จุบันมเี ครื่องมือทชี่ ่วยสนับสนุนการเรยี นรู้หลาย
ด้านมีระบบคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (CAI) ระบบสนับสนุนการรับรูข้ า่ วสาร เชน่ การค้นหาขอ้ มลู ขา่ วสารเพ่ือการ
เรียนรใู้ น World Wide Web
2. เทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการจดั การศึกษาโดยเฉพาะการจดั การศึกษาสมยั ใหมจ่ าเป็นต้อง
อาศยั ขอ้ มลู ขา่ วสารเพื่อการวางแผน การดาเนนิ การ การตดิ ตามและประเมนิ ผลซ่ึงอาศยั คอมพิวเตอร์และ
ระบบสอ่ื สารโทรคมนาคมเขา้ มามบี ทบาทท่ีสาคัญ
3. เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การสอื่ สารระหวา่ งบคุ คล ในเกือบทุกวงการทั้งทางด้านการศึกษาจาเป็นต้องอาศยั
สื่อสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั บุคคล เชน่ การสอื่ สารระหว่างผ้สู อนกบั ผเู้ รียน โดยใชอ้ งค์ประกอบที่สาคัญชว่ ย
สนับสนุนใหเ้ กิดประสิทธภิ าพในการดาเนินงาน เช่น การใชโ้ ทรศพั ท์ โทรสาร ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ เทเล
คอมเฟอเรนซ์ เป็นต้น
4. พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเกิดการศกึ ษาในรูปแบบใหม่ กระตุ้นความสนใจแก่ผเู้ รียน โดยใช้
คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอน (Computer-Assisted Instruction : CAI) และการเรยี นรูโ้ ดยใชค้ อมพิวเตอร์
(Computer-Assisted Learning : CAL) ทาให้ผ้เู รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจในบทเรยี นมากย่ิงขึน้ ไมซ่ ้าซาก
จาเจผู้เรียนสามารถเรยี นรูส้ ง่ิ ต่างๆ ไดด้ ว้ ยระบบทเี่ ป็นมลั ตมิ ีเดีย นอกจากนัน้ ยังมีบทบาทต่อการนามาใชใ้ น
การสอนทางไกล (Distance Learning) เพ่ือผู้ดอ้ ยโอกาสทางการศึกษาในชนบททห่ี ่างไกล

เทคโนโลยีกับการเรียนการสอน
เทคโนโลยีจะเกีย่ วข้องกบั การเรยี นการสอน 3 ลกั ษณะ คือ

1. การเรยี นรู้เกย่ี วกบั เทคโนโลยี (Learning about Technology) ได้แก่เรียนรรู้ ะบบการทางาน
ของคอมพวิ เตอร์ เรียนรู้จนสามารถใชร้ ะบบคอมพวิ เตอร์ได้ ทาระบบข้อมูลสารสนเทศเป็น สอื่ สารข้อมูล
ทางไกลผา่ น Email และ Internet ได้ เป็นตน้

2. การเรียนร้โู ดยใชเ้ ทคโนโลยี (Learning by Technology) ไดแ้ ก่การเรยี นรูค้ วามรใู้ หม่ ๆ และฝึก
ความสามารถ ทักษะ บางประการโดยใช้สอ่ื เทคโนโลยี เชน่ ใชค้ อมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (CAI) เรยี นรู้ทักษะใหม่ ๆ
ทางโทรทัศน์ทส่ี ง่ ผา่ นดาวเทยี ม การค้นควา้ เร่ืองท่ีสนใจผ่าน Internet เป็นต้น

3. การเรยี นรกู้ บั เทคโนโลยี (Learning with Technology) ไดแ้ ก่การเรยี นร้ดู ้วยระบบการสื่อสาร 2
ทาง กบั เทคโนโลยี เช่น การฝกึ ทกั ษะภาษากับโปรแกรมท่ใี หข้ อ้ มลู ย้อนกลบั ถึงความถูกต้อง (Feedback) การ
ฝึกการแก้ปัญหากับสถานการณจ์ าลอง เป็นต้น

24

แนวคิดในการเพิม่ คุณคา่ ของเทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้

1. การใช้เทคโนโลยพี ัฒนากระบวนการทางปญั ญา ระบบคอมพิวเตอร์ทจ่ี ะช่วยพฒั นาผ้เู รยี นให้
มีความฉลาดในกระบวนการทางปัญญา โดยครูอาจจัดขอ้ มูลในเร่อื งตา่ ง ๆ ในวชิ าทีส่ อน ให้ผู้เรียนฝกึ รบั รู้
แสวงหาข้อมูล นามาวิเคราะหก์ าหนดเปน็ ความคดิ รวบยอดและใช้คอมพิวเตอรช์ ว่ ยแสดงแผนผังความคดิ รวบ
ยอด (Concept Map) โยงเปน็ กฎเกณฑ์ หลักการ ซึง่ ผสู้ อนสามารถจดั สถานการณใ์ หผ้ ้เู รียนฝกึ การนา
กฎเกณฑ์ หลักการไปประยกุ ต์ จนสรปุ เป็นองค์ความรู้อย่างมีเหตผุ ล บนั ทึกสะสมไวเ้ ปน็ คลังความร้ขู องผูเ้ รียน
ต่อไป
2. การใช้เทคโนโลยีพฒั นาความสามารถในการแก้ปัญหา การเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผ้เู รียนเปน็ ศนู ย์กลางสามารถ
ออกแบบแผนการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมโี อกาสทาโครงงานแสวงหาความรูต้ ามหลักสูตรเพื่อแกป้ ัญหาการ
เรียนรลู้ กั ษณะนี้จะเร่ิมต้นด้วยการกาหนดประเด็นเร่ือง ตามมาดว้ ยการวางแผนกาหนดข้อมูลหรือสาระที่
ต้องการ ผสู้ อนอาจจัดบัญชีแสดงแหล่งข้อมลู ทัง้ จากเอกสารสิ่งพิมพแ์ ละจาก Electronic Sources เชน่ ชอื่
ของ Web ต่าง ๆ ใหผ้ ู้เรยี นแสวงหาขอ้ มลู วเิ คราะห์ สังเคราะห์ เปน็ คาตอบ สรา้ งเปน็ องค์ความร้ตู ่าง ๆ โดย
ใช้เทคโนโลยีเปน็ เครอ่ื งมือช่วย และครูช่วยกากับผลการเรียนรู้ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานคุณภาพท่ตี ้องการ

การจัดปัจจยั สนับสนนุ การใช้เทคโนโลยีชว่ ยการเรียนรู้

ปจั จัยพ้นื ฐานคอื การสร้างความพร้อมของเครือ่ งมืออุปกรณ์ตา่ ง ๆ ใหม้ สี มรรถนะและจานวนเพยี งต่อ

การใชง้ านของผู้เรียน รวมถงึ การอานวยความสะดวกใหผ้ เู้ รยี นสามารถใช้เทคโนโลยไี ดต้ ลอดเวลาจะเปน็ ปจั จยั

เบ้ืองต้นของการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนรู้ สิ่งที่ควรเป็นปจั จยั เพิ่มเตมิ คือ

1. ครสู ร้างโอกาสในการใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรู้ การทค่ี รูออกแบบกระบวนการเรียนรใู้ หเ้ อ้ือตอ่

การทากิจกรรมประกอบการเรยี นรู้ เป็นกิจกรรมท่ีตอ้ งใชก้ ระบวนการแสวงหาความร้จู ากแหล่งข้อมูลตา่ ง ๆ

ท้งั จากการสังเกตในสถานการณจ์ ริง การทดลอง การคน้ คว้าจากสอ่ื ส่ิงพมิ พ์และจากสอ่ื Electronic

2. ครแู ละผู้เรียนจดั ทาระบบแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้ ปัจจัยดา้ นแหล่งข้อมลู

สารสนเทศ (Information Sources) เปน็ ตวั เสรมิ ท่สี าคัญทชี่ ว่ ยเพิม่ คุณคา่ ของระบบเทคโนโลยีเพือ่ การเรียน

การสอน ครแู ละผเู้ รยี นควรช่วยกันแสวงหาแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศทมี่ ีเน้ือหาสาระตรงกบั หลักสูตรหรือสนอง

ความสนใจของผู้เรยี น

3. สถานศกึ ษาจดั ศนู ย์ข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้ ศนู ยข์ อ้ มูลสารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้

ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรูข้ องครูและผเู้ รียน เรียกว่าหอ้ งสมดุ เสมอื น (Virtual Library) หรอื E –

Library จะมีคุณประโยชนใ์ นการมแี หลง่ ข้อมลู สารสนเทศเพ่อื การศึกษาคน้ คว้าในวทิ ยาการสาขาต่าง ๆ

4. การบริการของกรมหรอื หนว่ ยงานกลางทางเทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นรู้ กรมตน้ สังกดั หรือ

หนว่ ยงานกลางดา้ นเทคโนโลยคี วรสง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยขี องสถานศึกษาด้วยการบริการด้านข้อมูล

สารสนเทศ

25

รปู แบบการใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้
ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ และการแขง่ ขนั การพัฒนาทางดา้ นซอฟต์แวร์ ในปัจจุบนั สง่ ผลให้
ประเทศต่าง ๆ นาคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ นดา้ นการศกึ ษากนั มาก การใชค้ อมพิวเตอร์ชว่ ยสอน(Computer
Assisted Instruction) มีบทบาทและมีประสิทธภิ าพยิ่งข้นึ โดยมรี ูปแบบการใช้ ICT ดงั น้ี
1. จดั การเรียนรู้ “ตลอดเวลา” (Anytime) เวลาใดกส็ ามารถเรียนรไู้ ด้ ระยะแรกเร่ิมใหน้ ักเรียนสามารถใช้
Computer สบื ค้นหาความรู้จากห้องสมุด ซ่ึงมเี คร่ืองคอมพิวเตอรใ์ หบ้ ริการระบบ Internet
2. เรยี นรู้จากแหล่งเรยี นรู้ “ทุกหนแหง่ ” (Anywhere) นกั เรยี นสามารถเรยี นรรู้ ว่ มกนั จากสื่อต่างๆ เชน่
คอมพวิ เตอร์ วดี ิทัศน์ โทรทศั น์ CAI และอนื่ ๆ
3. การใหท้ กุ คน (Anyone) ได้เรียนรู้พัฒนาตนเองอย่างเต็มศกั ยภาพของตน ตง้ั แต่ระดับอนบุ าลเปน็ ตน้ ไป

การใช้ ICT เพอ่ื การเรียนรู้
การเรียนรใู้ นปัจจุบนั แตกตา่ งจากเดมิ ไปอย่างสนิ้ เชงิ ซง่ึ หมายความว่า ผู้เรยี นมีโอกาส มีอิสระในการเรียนรู้
ด้วยตนเอง สร้างองคค์ วามรู้ สร้างทักษะด้วยตนเอง ครูเปลยี่ นบทบาทจากผ้สู อนมาเปน็ ผู้ให้คาแนะนา
นอกจากนที้ งั้ ครูและศษิ ย์สามารถเรยี นรไู้ ปพรอ้ มกันได้ การจดั การเรยี นทโี่ รงเรยี นดาเนนิ การไดใ้ นขณะนี้
1. การสอนโดยใช้สื่อ CAI ช่วยสอนให้เกิดการเรียนรตู้ ามความสนใจ เชน่ วิชาคณิตศาสตร์ วชิ าภาษาไทย วิชา
วทิ ยาศาสตร์ วชิ าสงั คม หรือ สปช. วชิ าภาษาองั กฤษ
2. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนรู้จกั สบื คน้ วิทยาการใหม่ ๆ จากอนิ เทอรเ์ นต็ จาก E-book จาก E-Library
3. ส่งเสรมิ การเรียนรู้และสรา้ งเจตคตทิ ดี่ ีในการเรียนและการค้นควา้ หาความรู้ โดยกาหนดใหผ้ ู้เรยี นได้เลน่ เกม
การศึกษา (Education Games ) ทีผ่ ่านการวเิ คราะห์ของครูผู้รบั ผดิ ชอบว่าไมเ่ ปน็ พิษภยั ตอ่ ผู้เลน่ และเป็น
การสร้างเสริมความคดิ สร้างสรรค์ทด่ี ใี ห้กับเด็ก
4. ใช้แผนการสอนแบบ ICT บูรณาการเรียนรู้ในสาระวชิ าตา่ งๆ เชน่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
และ คอมพิวเตอร์
5. จดั ระบบข้อมลู สารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารจดั การเรียนรู้
6. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการจดั ระบบและเผยแพร่ความรู้
7. จัดระบบข้อมลู สารสนเทศแหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรียน และภมู ิปญั ญาชุมชนท้องถิ่น
8. พฒั นาเครอื ข่ายการเรยี นร้ใู นการจัดการเรียนรู้ของผสู้ อน

26

5. เครื่องมือในการสืบค้นข้อมลู
1. ความหมายของเครือ่ งมือสืบค้นขอ้ มูล

เสิรช์ เอนจิน้ (search engine) คือ โปรแกรมท่ีช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมลู บนอนิ เทอรเ์ น็ต
โดยครอบคลมุ ทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคล่ือนไหว เพลง ซอฟตแ์ วร์ แผนที่ ข้อมูลบคุ คล กลุ่มขา่ ว และอ่ืน ๆ
ซึ่งแตกต่างกันไปแลว้ แตโ่ ปรแกรมหรอื ผ้ใู หบ้ ริการแตล่ ะราย. เสิรช์ เอนจนิ้ ส่วนใหญ่จะค้นหาขอ้ มลู จากคาสาคัญ
(คยี ์เวริ ์ด) ที่ผ้ใู ช้ป้อนเข้าไป จากน้นั ก็จะแสดงรายการผลลัพธท์ มี่ ันคดิ วา่ ผูใ้ ช้น่าจะต้องการขน้ึ มา ในปจั จุบัน
เสริ ช์ เอนจิ้นบางตัว เชน่ กเู กิล จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลพั ธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนา
ประวัตทิ ่บี ันทึกไวน้ ้ัน มาชว่ ยกรองผลลัพธใ์ นการคน้ หาคร้งั ต่อ ๆ ไป

2. ประเภท Search Engine

หลักการใหญ่ๆท่ใี ช้ในการสบื ค้นโดยทว่ั ไป จะมดี ังน้ี
1. สืบคน้ จากชือ่ เวบ็ ไซต์ในตาแหน่งยูอาร์แอล
2. สืบค้นจากคาท่มี ีอยใู่ นชื่อเร่ือง
3. สืบค้นจากคาสาคัญ (Key Word)
4. สืบค้นจากสว่ นสาคัญทใี่ ช้อธบิ ายหรอื บอกลักษณะ
5. สบื ค้นจากคาท่ีมีอยูใ่ นเนื้อหาของไซต์
สามารถแบง่ ตามลกั ษณะของฐานขอ้ มลู ได้ 5 ประเภท ได้แก่ การคน้ หาข้อมูลจากคาสาคญั การคน้ หาขอ้ มลู
จากหมวดหมู่ การคน้ หาข้อมูลจากเสริ ์ชเอนจิ้นหลายๆ เวบ็ ไซต์ การคน้ หาขอ้ มูลจากภาษาธรรมชาติ และการ
คน้ หาขอ้ มลู เฉพาะทาง

2.1 การคน้ หาข้อมูลจากคาสาคัญ(Keyword Index or Free test Search Engines) เป็นการค้นหา
ขอ้ มูล โดยการคน้ จากข้อความในWeb Pageท่ีไดผ้ ่านการสารวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างนอ้ ยๆ ก็
ประมาณ 200-300 ตัวอกั ษรแรกของWeb Pageนนั้ ๆ โดยการอา่ นน้ีจะหมายรวมไปถงึ อา่ นขอ้ ความที่อยู่ใน
โครงสรา้ งภาษา HTML ซ่ึงอยใู่ นรูปแบบของข้อความทีอ่ ยู่ในคาส่งั Alt ซ่งึ เปน็ คาสั่งภายใน TAG คาสง่ั ของ
รูปภาพ แต่จะไม่นาคาสง่ั ของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และคาสั่งในภาษา JAVA มาใช้ในการคน้ หา วิธีการ
คน้ หาของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสาคัญกับการเรียงลาดับข้อมูลกอ่ น-หลงั และความถใ่ี นการ
นาเสนอข้อมลู น้ัน การคน้ หาขอ้ มลู โดยวิธกี ารเชน่ น้จี ะมีความรวดเรว็ มาก แตม่ ีความละเอียดในการจัดแยก
หมวดหม่ขู องข้อมูลค่อนขา้ งน้อย เนอ่ื งจากไม่ได้คานึงถึงรายละเอยี ดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากวา่ ตอ้ งการ
แนวทางดา้ นกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วธิ กี ารนกี้ ใ็ ช้ไดผ้ ลดี

27

2.2 การคน้ หาจากหมวดหมู่ (Subject Directories or Directory search Engine) การจาแนก
หมวดหมูข่ ้อมลู Search Engine ประเภทน้ี จะจดั แบง่ โดยการวิเคราะห์เน้ือหา รายละเอียด ของแต่ละWeb
Page ว่ามีเน้ือหาเก่ียวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนจ้ี ะใช้แรงงานคนในการพิจารณาWeb Page ซ่งึ ทาใหก้ าร
จดั หมวดหมขู่ ้ึนอยู่กบั วจิ ารณญาณของคนจดั หมวดหมแู่ ต่ละคนว่าจะจดั เกบ็ ข้อมลู นัน้ ๆ อย่ใู นเครือข่ายข้อมลู
อะไร ดงั นนั้ ฐานข้อมลู ของ Search Engine ประเภทน้จี ะถกู จัดแบง่ ตามเนอ้ื หากอ่ น แลว้ จงึ นามาเปน็
ฐานข้อมลู ในการคน้ หาต่อไป การคน้ หาค่อนข้างจะตรงกับความตอ้ งการของผู้ใช้ และมีความถกู ต้องในการ
คน้ หาสงู เป็นต้นวา่ หากเราต้องการหาข้อมลู เก่ยี วกับเว็บไซต์ หรือWeb Pageทน่ี าเสนอข้อมลู เก่ียวกับ
คอมพิวเตอร์ Search Engine กจ็ ะประมวลผลรายชอ่ื เว็บไซต์ หรือWeb Pageท่เี ก่ียวกบั คอมพิวเตอรล์ ว้ นๆ
มาให้

2.3. การค้นหาข้อมูลจากเสริ ์ชเอนจิ้นหลายๆ เวบ็ ไซต์ (Meta search Engines) จุดเด่นของการ
คน้ หาด้วยวธิ กี ารน้ี คือ สามารถเชอ่ื มโยงไปยัง Search Engine ประเภทอน่ื ๆ และยงั มคี วามหลากหลายของ
ขอ้ มูล แต่การค้นหาด้วยวธิ ีนม้ี ีจดุ ดอ้ ย คือ วิธีการนจี้ ะไม่ใหค้ วามสาคัญกบั ขนาดเลก็ ใหญข่ องตวั อักษร และ
มกั จะผ่านเลยคาประเภท Natural Language (ภาษาพดู ) ดงั นน้ั หากจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็
ขอให้ตระหนกั ถงึ ข้อบกพร่องเหล่านดี้ ้วย

2.4 การคน้ หาข้อมลู จากภาษาธรรมชาติ (Natural-language Search Engines) เป็นการพัฒนา

เสิรช์ เอนจ้นิ ให้เขา้ ใจภาษาธรรมชาตหิ รือคาถามจากมนษุ ยเ์ พม่ิ เตมิ จากการใชค้ าสาคัญที่มลี ักษณะเปน็ คานาม
หรอื คาศัพท์ทางวชิ าการในการค้นหาขอ้ มูล โดยขอ้ มลู ที่ได้จากการค้นหาจะรวมไปถึงข้อมลู ทเ่ี กย่ี วกบั คาสาคญั
น้นั เช่น เมื่อคน้ หาขอ้ มลู ของคาวา่ เทคโนโลยี จะไดข้ ้อมูลท่ีเกีย่ วข้องกับเทคโนโลยที งั้ หมด เช่น ประวตั ขิ อง
เทคโนโลยี ความหมายของเทคโนโลยี และประโยชนข์ องเทคโนโลยี

2.5 การค้นหาข้อมลู เฉพาะทาง(Resource or site-specific Search Engines) สรา้ งข้นึ เพื่อค้นหา
ขอ้ มลู แบบเฉพาะเจาะจง ภายในเสริ ช์ เอนจ้นิ จะนาเสนอเฉพาะข้อมลู ทีก่ าหนดไว้เท่าน้ัน ผู้ใหบ้ รกิ ารเสิร์ชเอน
จน้ิ ประเภทนจ้ี ะเปน็ หนว่ ยงานหรอื องค์กรเฉพาะในดา้ นนนั้ ๆ ข้อมูลท่ีไดจ้ งึ มกั จะคน้ หาไม่ได้จากเสิร์ชเอนจน้ิ ป
ระเภทอนื่ การคน้ หาข้อมลู แบบนีเ้ หมือนการคน้ หาขอ้ มลู จากคาสาคัญ ตวั อยา่ งขอ้ มูลจากเสริ ์ชเอนจน้ิ ชนดิ น้ี
เช่น หมายเลขโทรศัพท์ เกม การท่องเทีย่ ว

3.การทางานของ Search Engine ประกอบไปดว้ ย ๓ สว่ นหลกั ๆ คือ

1. Spider หรือ Web Robot จะเป็นตัวท่ที าหนา้ ที่เข้าสารวจเวบ็ ไซตต์ ่างๆ แลว้ ดงึ ข้อมูลเหล่านน้ั มา
อัพเดทใสใ่ นรายการฐานข้อมูล สว่ นมาก Spider มักจะเขา้ ไปอัพเดทขอ้ มลู เปน็ รายเดือน

28

2. ฐานขอ้ มลู (Database) เป็นสว่ นที่เกบ็ รายการเวบ็ ไซต์ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะมีขนาดใหญเ่ พยี ง
พอที่จะรองรับกับการเติบโตของเว็บไซต์ในปัจจบุ ัน การออกแบบฐานข้อมลู ท่ีดีกเ็ ป็นสว่ นสาคญั เพราะถ้า
ฐานข้อมูลออกแบบมาทางานช้าก็ทาใหก้ ารรอผลนานและจะไม่ได้รบั ความนิยมไปในท่สี ุด

3.โปรแกรม Search Engine มีหนา้ ทรี่ บั คาหรอื ข้อความทผี่ ้ใู ชง้ านป้อนเข้ามา แลว้ เข้าคน้ หาตาม
เวบ็ ไซตต์ า่ งๆ ทจ่ี ดั เกบ็ ไวใ้ นฐานขอ้ มลู จากนน้ั กจ็ ะรายงานผลเวบ็ ไซตท์ คี่ น้ พบใหก้ บั ผใู้ ช้ การสบื คน้ ดว้ ยวธิ นี ้ี
นอกจากจะต้องมรี ะบบการสบื คน้ ขอ้ มลู ท่รี วดเร็วและมีประสทิ ธภิ าพแลว้ การกล่ันกรองผลทไ่ี ด้ เพอ่ื ใหต้ รงกับ
ความต้องการของผ้ใู ช้ก็เปน็ อีกสว่ นหนึง่ ทส่ี าคัญของการสบื คน้ ข้อมลู
4. แอพพลิเคช่ันสืบค้นชนิดพรรณไม้

รายชื่อแอพลิเคชนั

1. Like That Garden

Like That Garden

แอพพลิเคชน่ั ทีเ่ ป็นเหมือนสารานกุ รมพืชสวน ช่วยค้นหาชือ่ ดอกไม้ด้วยการนาภาพถ่ายไปเปรียบเทียบกับคลัง
ภาพในฐานข้อมูล เพ่ือระบุข้อมลู ชนิดพนั ธุแ์ ละวธิ กี ารดแู ลต้นไม้

29

2. Nature Gate

Advertisement

Nature Gate

แอพพลิเคชน่ั นี้สามารถค้นหาข้อมูลของพืชพร้อมกบั การกาหนดรายละเอยี ดในการค้นหา เชน่ ความสูง สีดอก
ลักษณะใบ เพ่ือระบุใหเ้ ฉพาะเจาะจง และยังสามารถคน้ หาชนิดของนก ผเี สื้อและปลาได้

3. Garden Answers

my Garden

Answers

แอพพลิเคชน่ั ทร่ี วบรวมข้อมลู ของต้นไม้ไว้มากถงึ 20,000 ชนิด สามารถคน้ หาไดท้ ั้งจากช่ือและภาพถา่ ย
ภายในเวลาอนั รวดเร็ว นอกจากนี้ถ้าหากมปี ญั หาหรือข้อสงสยั เกย่ี วกับตน้ ไม้ เช่น แมลง โรคพชื

30

4. PlantNet Plant Identification

Advertisement

PlantNet Plant Identification

แอพพลเิ คชน่ั นเี้ ปน็ ทั้งเครื่องมือในการค้นหา การสารวจ และ แลกเปลยี่ นข้อมูล โดยจะมีการจดั หมวดหมขู่ อง
ข้อมลู ภาพถ่าย แบ่งออกเป็นสว่ นใบ ดอก ผล และ ลาต้น ทาให้การคน้ หาสามารถระบุไดอ้ ยา่ งถูกต้องแมน่ ยา
และเรายงั สามารถแชร์ข้อมูลและภาพถ่ายเพื่อ update เปน็ คลังข้อมูลทางพฤกษศาสตร์รว่ มกนั ได้

31

5. picturethis : Identification Plant

picturethis : Identification Plant

แอพพลิเคช่นั น้ีเปน็ ทั้งเครื่องมือในการคน้ หา การสารวจ และ แลกเปลย่ี นข้อมลู โดยสามารถแยกแยะ
พชื ชนิดตา่ งๆ จากรูปถา่ นทแ่ี ม่นยา จากฐานข้อมูลรูปภาพพชื ที่มขี นาดใหญห่ ลายพันล้านรปู และนามา
วิเคราะห์ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ทาใหส้ ามารถแยกแยะพชื ไดแ้ มน่ ยา ทุกส่วนประกอบของพืช เช่น ใบ
ดอก ผล

วธิ กี ารใช้แอพลเิ คช่ัน
1. ติดตง้ั application picturethis : Identification Plant บนสมารท์ โฟน
2. ถา่ ยรปู พืชท่ีต้องการ ทงั้ ต้น หรือเฉพาะสว่ น เช่น ใบ หรือดอก
3. ระบบจะวเิ คราะหส์ ่วนประกอบ และบอกข้อมูลของพืช ได้แก่ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ คาอธิบายเบอ้ื งต้น
ความหมาย การเพาะปลูก การใชป้ ระโยชน์จากพืชชนดิ น้ัน

32

บทที่ 3
วธิ ีดาเนินการวจิ ยั

ในการวิจยั เรือ่ ง ผลของการใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) ที่มตี ่อความสามารถใน
การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสืบค้นข้อมูลเพ่ือจัดทาหนังสอื สารานกุ รมพรรณไม้ในโรงเรยี นสายปัญญา
ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์

ผ้วู จิ ัยได้ดาเนนิ การตามขัน้ ตอนดงั น้ี
1. การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย
2. เนือ้ หาทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย
3. ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการวิจยั
4. เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการศึกษา
5. การดาเนนิ การวจิ ยั และเก็บรวบรวมขอ้ มูล
6. การจดั กระทาข้อมูลและการวเิ คราะห์ข้อมูล

ข้นั ตอนการดาเนนิ การ

1. การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายทีใ่ ช้ในการวิจัยเปน็ นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/2 และ 5/3 ภาคเรยี นที่ 2 ประจาปี

การศึกษา 2561 โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา
เขต 1 กรุงเทพมหานคร จานวน 60 คน
2. เนื้อหาที่ใชใ้ นการวจิ ัย

เน้ือหาที่ใช้ในการวิจัยในคร้งั นี้เปน็ เน้ือหาในกลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า ว 30243
ชีววทิ ยา 3 โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของพืชดอก ซง่ึ ประกอบด้วยเน้ือหาดงั ตอ่ ไปน้ี

- ลกั ษณะของพชื ใบเล้ียงเด่ียว และใบเล้ียงคู่
- ปจั จัยท่ีส่งผลต่อการรกั ษาดุลยภาพในพืช
3. ระยะเวลาท่ีใช้ในการวจิ ัย
ผวู้ ิจยั ดาเนนิ การวิจัยในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2560 โดยดาเนินการในช่วงระหว่างวันท่ี 7-25
มกราคม 2562 รวมระยะเวลาทงั้ ส้ิน 3 สัปดาห์
4. เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการศกึ ษา

เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการศกึ ษาคร้งั น้ี ได้แก่
4.1 แผนการจัดการเรียนรู้แบบ 5 ข้นั ตอน (5 STEPs) เวลาในการจัดการเรยี นรู้ 3 สัปดาห์

จานวน 9 คาบเรียน
4.2 แบบประเมนิ ผลงงานการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื ค้นข้อมลู จากหนังสือ

สารานุกรมพรรณไม้

33

5. การสรา้ งและหาคณุ ภาพแผนการจัดการเรยี นรู้
1. ศึกษาและวิเคราะหห์ ลกั สตู รวิชาชวี วทิ ยา ในการศกึ ษาและวเิ คราะห์หลกั สตู รวิชา วิทยาศาสตร์
ผูว้ จิ ัยไดด้ าเนนิ การดงั นี้
2. วิเคราะหอ์ งค์ประกอบของรายวิชา โดยจาแนกออกเปน็ 3 ส่วน คือ กจิ กรรม เนื้อหา และ
ตวั ชวี้ ัด
3. วิเคราะหก์ ิจกรรมรายวชิ าชีววทิ ยา โดยนาเอากจิ กรรมท่ีกาหนดในรายวชิ ามา วเิ คราะห์หา
รูปแบบการสอน
3.1 วเิ คราะห์สาระการเรยี นรรู้ ายวชิ าวิทยาศาสตร์ โดยนาเอาเนื้อหาหลักของรายวชิ ามา
วิเคราะห์เน้อื หาย่อย
3.2 วิเคราะหต์ ัวชวี้ ัด โดยนาเอาตัวชว้ี ดั แตล่ ะข้อมาจาแนกเป็นด้าน คือ ดา้ นความรู้ ทกั ษะ
กระบวนการ และด้านคุณลกั ษณะ
3.3 จัดหนว่ ยการเรียนรู้รายวิชาชวี วิทยา ผู้วจิ ัยได้นา้ ขอ้ มูลจากการวิเคราะหห์ ลกั สูตรมาจัด
หนว่ ย การเรียนรู้วิชาชวี วทิ ยา จานวน 1 หนว่ ย คอื โครงสร้างและหนา้ ท่ีของพืชดอก
เน่อื งจากนักเรยี นจะไดฝ้ ึกความสามารถในการคน้ คว้า สบื ค้นชนดิ ของพรรณไม้ ลักษณะ
ของพชื ทส่ี อดคลอ้ งกบั เนือ้ หาในหน่วยการเรียน
4. ศกึ ษา ค้นคว้า นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
4.1 ผู้วจิ ยั ไดศ้ ึกษา ค้นควา้ เกยี่ วกับนวัตกรรมการเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสมกบั หน่วยการเรียนรูน้ ี้
โดยผ้ศู กึ ษาพิจารณาแลว้ เห็นวา่ รปู แบบการสอนท่ีเหมาะสมกบั หน่วยนมี้ ากที่สดุ คือ
กระบวนจดั การเรียนรู้ 5 STEPs
5. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ผวู้ จิ ยั ได้นาหน่วยการเรียนรู้เร่อื ง โครงสรา้ งและหน้าท่ีของพืชดอก สอนโดยใช้รปู แบบ
การจัดการเรยี นรู้ 5 STEPs มาเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ เสริมบทเรยี น เพ่ือพัฒนาการ
ค้นคว้าของนกั เรยี น โดยผู้วิจยั ไดด้ าเนินการตามลาดบั ดงั ตอ่ ไปน้ี
5.1 กาหนดกรอบแนวคดิ การเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ดงั นี้
5.2 กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 5 STEPs เปน็ บันไดใหน้ ักเรยี นพัฒนาไปสู่คุณลกั ษณะที่พงึ
ประสงคโ์ ดยครูจะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจและมีความสามารถในการพฒั นาผเู้ รยี น
กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 5 STEPs ประกอบด้วย
1) การเรียนรูต้ ้งั คาถาม ( Learning to Question )
2) การเรียนรเู้ พ่ือแสวงหาความรู้ (Learning to Search)
3) การเรียนรเู้ พ่ือสรา้ งองค์ความรู้ ( Learning to Construct )
4) การเรยี นรู้เพ่ือสื่อสาร ( Learning to Communicate )
5) การเรยี นรู้เพ่ือตอบแทนสังคม ( Learning to Service )

6. ดาเนินการเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้

34

7. ประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยใช้แบบประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้ ซึ่งเปน็ แบบ Rating scale

นาข้อมลู ทไ่ี ด้มาปรบั ปรงุ แผนให้สมบรู ณ์

8. ใหผ้ ู้เชยี่ วชาญตรวจพจิ ารณาแผนการจดั การเรียนรู้

9. หลังจากผวู้ จิ ยั ได้จดั ทาแผนการเรียนร้เู รียบร้อยแลว้ ไดน้ าแผนดงั กล่าวไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิจารณา

ระดบั คุณภาพ ของแผนการจัดการเรยี นรู้ ตามเกณฑ์ท่กี าหนด

4.50 - 5.00. ระดบั มากทีส่ ุด

3.50 - 4.49 ระดับมาก

2.50 - 3.49 ระดบั ปานกลาง

1.50 - 2.49 ระดับน้อย

1) - 1.49 ระดบั น้อยทีส่ ดุ

10. ปรับปรงุ และแก้ไขแผนการจัดการเรยี นรใู้ ห้เป็นแผนการจัดการเรียนรทู้ สี่ มบูรณ์

11. นาแผนการจดั การเรยี นรู้ไปทดลองใช้จรงิ กบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี5 แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ ภาคเรยี นท่2ี ปกี ารศึกษา 2562

วธิ ีดาเนนิ การทดลองและการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ผวู้ ิจยั ได้ดาเนนิ การทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 ตั้งแต่วนั ที่ 7-25 มกราคม 2562 ตาม

ขั้นตอนดงั น้ี

1. ผู้วิจยั ดาเนนิ การสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ตามทว่ี างแผนไว้ ดังน้ี

กระบวนการเรยี นรู้เรยี นรู้ 5 STEPs

วนั เดอื นปีท่ีสอน จานวนชัว่ โมง หมายเหตุ

กระบวนการเรียนรูเ้ รยี นรู้ 5

STEPs

ขนั้ ตัง้ คาถาม 7 มกราคม 62 2

ขน้ั แสวงหาความรู้ 8-15 มกราคม62 4

ข้ันสรา้ งองค์ความรู้ 15-19 มกราคม 2562 2

ขั้นเพ่ือการส่ือสาร 20-25 มกราคม 2562 2

ขนั้ ตอบแทนสังคม 20-25 มกราคม 2562 2

2. นาแบบประเมนิ ผลงงานจากหนังสือสารานุกรมพรรณไม้ ประเมินผลงานของนักเรียน

35

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ผลการศกึ ษาเร่ือง ผลของการใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขนั้ ตอน (5 STEPs) ทมี่ ีต่อความสามารถ

ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื คน้ ข้อมูลเพอื่ จดั ทาหนังสอื สารานุกรมพรรณไม้ในโรงเรยี นสาย
ปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ มี

ลาดบั การนาเสนอข้อมูล ดังนี้

1. ผลการหาระดับคุณภาพของแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ข้นั ตอน

(5 STEPs)

2. แบบประเมินผลงงานการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื คน้ ข้อมลู จากหนงั สือ

สารานุกรมพรรณไม้

ผลการหาระดบั คุณภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยผเู้ ชี่ยวชาญ

จากการนาแผนการจดั การเรียนรทู้ ไี่ ด้จัดทาขน้ึ ไปให้ผเู้ ช่ียวชาญ จานวน 3 คน ตรวจพิจารณา

คุณภาพ ปรากฏผลดงั ตาราง

ตาราง แสดงผลการประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้ โดยกระบวนการจดั การเรยี นรู้ 5 STEPs วชิ า

ชีววิทยา3 เรอื่ งโครงสร้างและหน้าทขี่ องพืชดอก ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 จากการตรวจพจิ ารณาโดย

ผเู้ ชีย่ วชาญ

รายการประเมิน ผลการประเมินผูเ้ ชีย่ วชาญ เฉล่ีย

1 23

1. ออกแบบและเขยี นแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4 54 4.33
ก่อน ลว่ งหนา้ ทกุ คร้ังก่อนสอน

2. แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สอดคล้องตาม 5 5 5 5.00
มาตรฐานการเรยี นรู้และจดุ ประสงค์การเรียนรู้

3. แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เปดิ โอกาสให้ผู้เรียน 5 5 5

ได้พัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5.00

สารสนเทศและการสบื คน้ ข้อมูล จากแหลง่ ตา่ ง ๆ

4. แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ น้นผู้เรียนได้ศึกษา 5 5 5

ค้นควา้ อย่างหลากหลายวิธี สามารถสรา้ งองค์ความรู้ 5.00

ไดด้ ว้ ยตนเอง

5. แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ มีการออกแบบส่อื 4 4 4

นวัตกรรม ทีเ่ นน้ กระบวนการคดิ วเิ คราะหแ์ ละการ 4.00

คิดสรา้ งสรรค์

36

รายการประเมิน ผลการประเมนิ ผูเ้ ช่ียวชาญ เฉลีย่

1 23 4.67
4.33
6. แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ระบุวิธีประเมนิ ผลท่ี 5 4 5 4.62

หลากหลาย ตามสภาพจรงิ

7. หลงั จัดกจิ กรรมการเรยี นรคู้ รูไดน้ าบันทึกหลังการจดั 4 4 5

กิจกรรมการเรียนไปแกป้ ัญหาในโอกาสต่อไปทกุ คร้ัง

เฉลย่ี

จากตาราง แสดงให้เห็นวา่ ผู้เช่ยี วชาญประเมินแผนการจดั การเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย เท่ากบั 4.6
คดิ เป็นระดับ มากที่สุด

แบบประเมินผลงงานการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื ค้นข้อมูล จากช้ินงาน หนงั สือสารานุกรม

พรรณไม้

การประเมนิ ผลการทาหนงั สือสารานุกรมพรรณไม้ โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์

รายการประเมนิ ม.5/2 ม.5/3

1. การค้นควา้ แสวงหาคาตอบ 44

2. การใชแ้ หลง่ การเรยี นรใู้ นการสืบคน้ ที่หลากหลาย 4 3

3. การใช้เทคโนโลยีในการสืบคน้ และหาคาตอบ 4 4

4. การบันทกึ ข้อมูล 44

5. การอา้ งองิ แหล่งข้อมูลทน่ี า่ เช่ือถือ 43

6. การแลกเปล่ยี นสื่อสารความคิดเห็นภายในกลุ่ม 3 4

7. การสรปุ องค์ความรู้ 44

8. องค์ประกอบของเล่มครบ สมบูรณ์ 44

9. รูปเล่มสวยงาม น่าสนใจ 44

เฉล่ีย 3.89 3.78

เฉลยี่ (รวม) 3.83

จากตาราง แสดงใหเ้ ห็นวา่ นักเรียนจัดทาหนังสือสารานุกรมพรรณไมใ้ นโรงเรยี น โดยมี
คะแนนในการประเมนิ เฉลี่ยรวมเทา่ กับ 3.83 คิดเปน็ ระดับ ดีมาก

37

บทที่ 5
สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

ในการศึกษาเร่ือง ผลของการใชก้ ระบวนการเรยี นรูแ้ บบ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) ท่มี ีตอ่ ความสามารถ
ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการค้นคว้าขอ้ มลู ทางวิทยาศาสตร์เพอ่ื จดั ทาหนังสือสารานกุ รมพรรณไมใ้ น
โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์-
คณิตศาสตร์ มีประเดน็ สาคญั สรุปไดด้ งั นี้

วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา
1. เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื ค้นข้อมูล ของนักเรียน
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้แบบ ๕ ขน้ั ตอน
2. เพ่อื จดั ทาหนงั สือสารานุกรมพรรณไม้ ในโรงเรียนสายปัญญาในพระบรมราชินูปถัมภท์ ่ีเปน็
ปจั จุบัน

วิธีการดาเนนิ การศึกษา
1. การกาหนดกลมุ่ เป้าหมาย
กลุม่ เปา้ หมายท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั เปน็ นกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5/2 และ 5/3 ภาคเรยี นท่ี 2 ประจาปี

การศึกษา 2561 โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
กรงุ เทพมหานคร จานวน 60 คน

2. เนื้อหาที่ใชใ้ นการวจิ ยั
เนือ้ หาที่ใช้ในการวจิ ยั ในครง้ั นี้เป็นเนอ้ื หาในกล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ รายวชิ า ว 30243

ชวี วทิ ยา 3 โครงสร้างและหนา้ ทข่ี องพืชดอก เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้เสรมิ เพ่ือสง่ เสริมความสามารถในการ
ใชเ้ ทคโนโลยี และการค้นควา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ของนักเรียน

ระยะเวลาท่ใี ช้ในการวิจยั
ผวู้ ิจยั ดาเนนิ การวิจยั ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โดยดาเนนิ การในช่วงระหว่างวันที่ 7-25
มกราคม 2562 รวมระยะเวลาทั้งสิน้ 3 สัปดาห์
3. เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการศกึ ษา เคร่อื งมือทใี่ ชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่
3.1 แผนการจัดการเรยี นรู้แบบ 5 ขนั้ ตอน (5 STEPs) เวลาในการจัดการเรียนรู้ 3 สัปดาห์ จานวน 9

คาบเรยี น
3.2 แบบประเมินผลงงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสืบคน้ ข้อมลู จากหนงั สือสารานกุ รม

พรรณไม้
4. การดาเนินการทดลอง ตามแผนการจดั การเรยี นรแู้ บบ5ขัน้ ตอน

สรุปผลการศกึ ษา
1. นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสืบค้นทางวิทยาศาสตร์ โดย
ประเมนิ จากแบบประเมินผลงาน หนงั สอื สารานุกรมพรรณไมข้ องนกั เรียน รอ้ ยละ 90

38

2. นกั เรยี นท่ไี ด้รบั การสอนโดยกระบวนการจดั การเรียนรู้ 5 STEPs สามารถใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสบื คน้ ทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือสร้างผลงาน หนงั สอื สารานกุ รมพรรณไม้
ทเี่ ปน็ ปัจจบุ นั ได้ ร้อยละ 100

โดยผลจากการวเิ คราะห์ข้อมูลจากการวิจัยครั้งน้ี มีประเด็นนามาอภิปรายดงั น้ี
1. แผนการจัดการเรียนรู้ โดยกระบวนการจัดการเรียนรู้ 5 STEPs วชิ าชวี วิทยา3 เรอื่ งโครงสรา้ งและ

หนา้ ทีข่ องพืชดอก ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ผ้วู จิ ัยได้ศึกษาและ วเิ คราะหห์ ลกั สูตร นาข้อมลู การวเิ คราะห์
หลักสตู รมาจดั หน่วยการเรยี นรู้ เร่อื งโครงสร้างและหน้าท่ขี องพืชดอก เน่ืองจากเปน็ เร่ืองท่ีนักเรยี น
ควรจะรจู้ ักพืชหลายๆชนดิ และจาแนกลกั ษณะของพืชใบเล้ียงคูแ่ ละใบเล้ยี งเดีย่ ว และฝึก
ความสามารถในการคน้ ควา้ ข้อมลู จากแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ ผู้วจิ ัยได้ศึกษา ค้นควา้ เกี่ยวกับนวตั กรรม
การเรียนรทู้ เี่ หมาะสมกบั หน่วยการเรยี นรเู้ ร่อื งน้ี คือ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 5 STEPs และเขยี น
แผนการจัดการเรยี นรู้ นาแผนให้ ผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจ และ ประเมินพจิ ารณาระดับคุณภาพของแผน
โดยใชก้ ารประเมนิ แบบ Rating scale ตาม เกณฑ์ที่กาหนด นาแผนทผ่ี ่านการตรวจโดยผูเ้ ช่ียวชาญ
ปรับปรุงแก้ไข ใหเ้ ป็นแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่สี มบรู ณ์ นาแผนไปทดลองใชจ้ ริง ตามขัน้ ตอนทกี่ าหนด
ไว้ โดยเป็นแผนเสริมความสามารถในการใช้เทคโนโลยแี ละการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ เสรมิ ไปกับ
การเรยี นเน้อื หาในห้องเรียนปกติ พบวา่ นักเรียนร้อยละ 70 ไม่รูจ้ กั ช่ือพรรณไม้ในโรงเรียน และไม่
ทราบวา่ มีต้นไมช้ นดิ ใดบ้างภายในโรงเรียน ครจู งึ นาเขา้ สู่กระบวนการเรยี นรู้ และแนะนาการสืบค้น
ขอ้ มลู จากแหล่งข้อมลู ต่างๆ เช่น อนิ เทอรเ์ น็ต ผ้รู ูภ้ ายในโรงเรยี น แอพลิเคชนั สืบคน้ พรรณไม้ใน
โรงเรียน
2. นักเรยี นที่ไดร้ ับการสอนโดยกระบวนการจดั การเรียนรู้ 5 STEPs วชิ าชวี วิทยา3 เร่ืองโครงสร้างและ
หน้าที่ของพชื ดอก ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 เปน็ วิธที ่คี รูใช้จดั กระบวนการเรยี นรู้ทีเ่ นน้ พฒั นาผูเ้ รียนให้
ศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเองผ่านกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ นักเรยี นทีเ่ รียนด้วยกระบวนการน้ี จะมี
แรงจงู ใจในการแกป้ ัญหาสงู เชอ่ื มโยงความรกู้ บั โลกความเปน็ จรงิ นกั เรยี นเป็นผูเ้ ลือกวธิ ีการค้นหา
คาตอบ กาหนดแหล่งข้อมลู จากนนั้ ลงมอื ปฏิบัตแิ ละค้นควา้ ด้วยตนเอง นักเรียนจะสามารถบูรณาการ
ความรู้และ ทักษะในการแก้ปัญหา สรุปข้อคน้ พบ และสรา้ งความรูใ้ หม่ แลกเปลย่ี นเรียนร้ซู งึ่ กันและ
กัน และสามารถ นา้ ไปใช้ในชวี ติ จรงิ ได้ โดยสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียนแต่ละ STEPs ในกระบวนการ
จดั การเรียนรู้

STEPs 1 ตง้ั คาถาม ต้ังสมมติฐาน จากแบบสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียนขณะรว่ ม กิจกรรม
สามารถ ตงั้ คาถามใหมเ่ พ่อื การสารวจ และแสดง ความคิดเหน็ ของตนเองและรบั ฟังความคิดเห็นของ
ผ้อู ่นื อยใู่ นระดบั ดีมากคิดเป็นรอ้ ยละ95.45
STEPs 2 แสวงหาสารสนเทศ จากแบบสังเกตพฤติกรรมนักเรยี น สามารถวางแผนการสังเกต เสนอ
การสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคน้ ควา้ และคาดการณส์ ิง่ ท่จี ะพบจากการสารวจตรวจสอบ เลือกอุปกรณ์ที่

39

ถูกต้องเหมาะสมในการสารวจตรวจสอบใหไ้ ด้ข้อมูลท่ีเช่ือถือได้ บันทึกข้อมลู ในเชิงปริมาณ และคุณภาพและ
ตรวจสอบผลกบั สงิ่ ทีค่ าดการไว้ จากแหลง่ เรียนรู้ อยู่ในระดับดีมาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87.87

STEPs 3 สรา้ งองค์ความรู้ จากแบบสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียน เป็นข้นั ที่นักเรียนมกี ารบนั ทกึ ข้อมูลเชิง
ปรมิ าณ และคุณภาพ และตรวจสอบผลกบั สง่ิ ท่ีคาดการณ์ไว้ นาเสนอผลและ อธิบายและสรปุ สง่ิ ทีไ่ ดเ้ รยี นรู้
บนั ทกึ และอธบิ ายผลการสารวจตรวจสอบตามความเป็นจริงมีการอ้างองิ ข้อมูลด้วยแบบต่าง ๆสรปุ ผลสรา้ ง
องค์ความร้ดู ว้ ยตนเองได้อยู่ในระดบั ดีมากคิดเปน็ รอ้ ยละ 94.54

STEPs 4 การสือ่ สาร นกั เรยี นสามารถนาเสนอความร้ดู ว้ ยการใชภ้ าษาท่ีถกู ต้อง ชัดเจน จากแบบ
สงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียน สังเกต สารวจ และทดลองตามข้ันตอนท่ีกาหนด ลงความคิดเหน็ และอภปิ ราย
สรุปผลการสงั เกตสารวจและทดลองอย่างมเี หตผุ ล บนั ทกึ ผลการสงั เกต สารวจและทดลอง นาเสนอสอ่ื สารส่ิง
ทีเ่ รียนให้ผอู้ นื่ เข้าใจได้ สามารถออกแบบและสร้างสารานุกรมพรรณไม้ อยู่ในระดับดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ
91.81

STEPs 5 การตอบแทนสงั คม นักเรยี นนา้ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์เพ่ือสว่ นรวม เหน็ ประโยชน์ต่อ
ส่วนรวมดว้ ยการทางานเป็นกล่มุ รว่ มกันสร้างผลงานท่ไี ดจ้ ากการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ จากแบบสังเกต
พฤติกรรมนกั เรียน สามารถสรา้ งหนังสอื สารานุกรมพรรณไม้ โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์
นาเสนอส่งิ ทเ่ี รยี นรู้ได้อย่าง ชดั เจน เทย่ี งตรง มเี หตผุ ลกบั เพ่ือนรว่ มงานและตอบคาถามได้ อยู่ในระดับดีมาก
คดิ เปน็ ร้อยละ 94.54

สอดคลอ้ งกับทฤษฎีการสรา้ งองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง การเรียนร้เู กดิ จากกระบวนการและวิธีการของ
ผเู้ รียน ในการสร้างความรตู้ ามความเขา้ ใจ จากประสบการณเ์ ชอ่ื วา่ การเรยี นรู้เป็นเรื่องเฉพาะตวั การ
ตคี วามหมายของสงิ่ ทีเ่ รียนรเู้ ปน็ ไปตามประสบการณเ์ ดิม ความเชอื่ ความสนใจภมู ิหลงั การสรา้ งความรู้ เป็น
กระบวนการท้ังทางด้านสติปัญญาและสังคม เปน็ แนวคดิ ของ ปีอาเจ ( Piaget ) และ วีกอ๊ ตสกี
( Vygotsky) และทฤษฎกี ารสรา้ งความรู้ด้วยตนเองโดยการสรา้ งสรรคช์ ้นิ งาน การเรียนรทู้ ีเ่ กดิ จากการสรา้ ง
พลังความรู้ ในตนเองและผ้เู รียน หากผ้เู รียนมีโอกาส ได้สรา้ งความคิดและน้าความคดิ ของตนเองไปสรา้ งสรรค์
ช้ินงานโดยอาศยั ส่ือ และเทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสมจะทาให้เห็นความคดิ น้นั ออกมาเป็นรปู ธรรมทชี่ ดั เจน เม่อื
ผู้เรียนสรา้ งสิง่ หนึง่ สิ่งใดขัน้ มาที่หมายถึง การสร้างความรู้ขึ้นในตนเอง ความรู้ท่ผี เู้ รยี นสรา้ งขนึ้ ในตนเองจะมี
ความหมายต่อผู้เรียน จะอยู่คงทน ไมล่ ืมง่าย สามารถถา่ ยทอดใหผ้ ู้อื่นเข้าใจความคิดของตนเองไดด้ ี และเปน็
รากฐานใหส้ ามารถสรา้ งความรูใ้ หมไ่ ด้ อยา่ งไม่มที สี่ ิ้นสดุ ทฤษฎนี พ้ี ัฒนาขึ้นโดย
เพเพอร์ท ( Papert) (http://www.qlf.or.th)

40

บรรณานกุ รม

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสรา้ งการเรียนร้เู พื่อศษิ ย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มลู นิธิสดศรสี ฤษดิ์-วงศ์
วัชรินทร์ โพธิ์เงิน, พรจติ ประทมุ สวุ รรณ และสันติ หตุ ะมาน. การจดั การเรยี นการสอนแบบโครงงานเป็น

ฐาน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
นนั ทา วิทวฒุ ศิ กั ดิ.์ สารนิเทศและการศกึ ษาค้นควา้ . พมิ พ์ครง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ :ด.ี ดี.บุค๊ สโตร์, 2536.
สทุ ธลิ ักษณ์ อาพนั วงศ.์ การใช้บริการห้องสมุดและการเขียนรายงานการค้นควา้ . พิมพ์ครงั้ ที่ 8.

กรุงเทพฯ :ไทยวัฒนาพานิช, 2535.
สนุ ิตย์ เย็นสบาย. ความร้เู บื้องตน้ เก่ียวกบั หนงั สืออ้างองิ . พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ :

ภาควชิ าบรรณารักษศาสตร์ คณะวิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบนั ราชภฎั
บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา,2543.
______ . สารนิเทศเพือ่ การศกึ ษาคน้ ควา้ . กรุงเทพฯ :ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะวิชา

มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา,2539.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์.การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการเรยี นการสอน.พิมพ์ครัง้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ:

โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ศนู ย์เทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพิวเตอร์แหง่ ชาต.ิ 2551.
วรพจน์ วงศก์ ิจรุ่งเรอื งและอธปิ จติ ตฤกษ์ (แปล). ทกั ษะแห่งอนาคตใหม่ : การศกึ ษาเพ่อื ศตวรรษที่ 21.
กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์ Open Worlds. 2554.
วิจารณ์ พานชิ . วิถสี ร้างการเรียนรูเ้ พ่อื ศษิ ย์ ในศตวรรษท่ี 21. พิมพค์ รัง้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ : มูลนธิ ิสดศรี
-สฤษวงศ์. 2555. www. addkutec3.com/wp-content/uploads/2012/11/ทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่-21.pdf

ภาคผนวก

42

ภาคผนวก

1. เครื่องมอื ในการทาวจิ ยั
1) แผนการจัดการเรยี นรู้
2) แบบประเมนิ ชิ้นงาน

2. ภาพประกอบ
3. ผลงานนกั เรยี น

------------------------------------

โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์

แผนการจัดการเรยี นรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ า ชวี วทิ ยา 3 รหสั วิชา ว30243
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ช้นั เรยี นท่สี อน ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/10
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 เร่อื ง โครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องพืชดอก
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 จานวน 9 คาบเรยี น

ครผู ู้สอน นายปรมินทร์ แก้วกลา่ ศรี

 มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบ
ตา่ งๆ ของสง่ิ มีชวี ิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารส่ิงที่เรียนรแู้ ละนาความรู้
ไปใชใ้ นการดารงชีวติ ของตนเองและดูแลสิง่ มีชวี ิต

 สาระสาคัญ
โครงสร้างของพชื ประกอบไปด้วยสว่ นประกอบสาคัญ ไดแ้ ก่ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด โดย
ส่วนประกอบต่างๆจะแตกต่างกันในพชื แต่ละชนดิ

 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ด้านความรู้ นกั เรยี นมีความสามารถ
1. ระบุบรเิ วณต่างๆภายในราก ลาตน้ และใบของพชื ไดถ้ ูกต้อง
2. อธบิ ายลักษณะสาคัญของแต่ละบรเิ วณภายในราก ลาต้นและใบของพชื ได้ถูกต้อง
3. บอกความแตกตา่ งของโครงสรา้ งราก ลาต้น และใบ ของพืชใบเลี้ยงเดีย่ วและใบเล้ียงคู่ได้
ด้านทกั ษะ นักเรียนมคี วามสามารถ
1. การทางานเป็นกลุม่
2. การจัดทารูปเล่มสารานุกรมพรรณไม้
3. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการคน้ ควา้ ข้อมลู ทางวทิ ยาศาสตร์
ดา้ นทศั นคติ นกั เรยี นมีความสามารถ
1. มคี วามใฝ่ร้ใู ฝเ่ รียน
2. มคี วามมงุ่ ม่นั ในการทางาน
3. ตรงตอ่ เวลา

 สาระการเรียนรู้
พชื ดอก จาแนกจากใบเล้ยี ง ซึ่งแบง่ ได้เปน็ 2 กลมุ่ คือ 1. พืชใบเล้ียงเด่ยี ว (Monocotyledon) 2. พืช

ใบเล้ียงคู่ (Dicotyledon)ข้อเปรียบเทียบระหว่างพชื ใบเลยี้ งเดีย่ วและพืชใบเลยี้ งคู่
1. ใบเลี้ยง

44

– พชื ใบเลย้ี งเดย่ี ว มใี บเลยี้ ง 1 ใบ – พชื ใบเลย้ี งคู่ มใี บเล้ยี ง 2 ใบ
2. เส้นใบ

– พืชใบเลีย้ งเด่ยี ว มเี สน้ ใบแบบขนาน – พืชใบเล้ยี งคู่ มีเส้นใบแบบร่างแห
3. ราก

– พืชใบเลี้ยงเด่ียว มรี ะบบรากฝอย– พืชใบเล้ยี งคู่ มรี ะบบรากแก้ว
4. ท่อลาเลยี ง

– พชื ใบเลี้ยงเดีย่ ว มีมดั ทอ่ ลาเลยี งแบบกระจัดกระจาย
– พชื ใบเลยี้ งคู่ มมี ัดท่อลาเลยี งเรียงเปน็ วงโดยรอบลาต้น
5. แคมเบียม
– พืชใบเลีย้ งเดี่ยว สว่ นใหญไ๋ ม่มแี คมเบียมและไม่มกี ารเจรญิ ด้านขา้ ง
– พืชใบเลย้ี งคู่ มแี คมเบยี มและเจริญด้านข้าง

 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการส่อื สาร (สอื่ สารกับคุณครู ผู้รู้ผ้เู ชยี่ วชาญ และเพื่อนๆ ในการไดม้ าซึง่ คาตอบ)
2. ความสามารถในการคิด (การคิดแก้ปญั หา และพยายามหาคาตอบ)
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา (ออกแบบวิธีการในการได้มาซ่ึงคาตอบ หรือส่ิงทีส่ งสยั )
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต (การทางานร่วมกบั ผ้อู ่ืน , รจู้ กั พรรณไม้ในโรงเรยี น)
5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี (การใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต และเทคโนโลยใี นการสืบค้นขอ้ มลู ทาง
วทิ ยาศาสตร์)

 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
- ใฝเ่ รียนรู้ (ศึกษาค้นควา้ และเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง)
- อย่อู ย่างพอเพียง (ใช้เทคโนโลยีที่มี เชน่ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์มอื ถอื เพ่อื หาคาตอบ
- มุ่งม่นั ในการทางาน (ตงั้ ใจทางาน เพื่อให้ไดผ้ ลงานทส่ี าเร็จ)
- มจี ิตสาธารณะ (มจี ติ ใจ รักและดูแลพรรณไมใ้ นโรงเรียน)

 กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขัน้ ที่ 1 ตั้งคาถาม ( 15 นาท)ี
1. ครูพดู คุยกบั นักเรยี นเกีย่ วกับพรรณไม้ภายในโรงเรียน วา่ นักเรียนรจู้ กั ต้นไม้อะไรบา้ งในโรงเรียนสาย
ปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ (นกั เรียนตอบตามความรู้ และประสบการณเ์ ดมิ ของนักเรียน )
2. ครใู ห้นกั เรยี นเหน็ ถึงปัญหาชนดิ ของพรรณไมใ้ นโรงเรยี นวา่ มีการเปลี่ยนแปลงไป เนอื่ งจากการ
ปรบั ปรุงภูมิทศั น์ของโรงเรียนใหม่ ทาให้พรรณไม้ในโรงเรียนเปลย่ี นไป ครูใหน้ ักเรียนฝึกต้ังปญั หา มี
ปัญหาอะไรเกิดข้ึนบ้าง (มีพชื หลายชนิดที่นกั เรยี นไม่ทราบช่ือ หรอื มกี ารเปล่ียนแปลงตาแหน่งของ
พรรณไม้
ขน้ั ท่ี 2 แสวงหาสารสนเทศ

45

1. ครใู ห้นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน โดยคละความสามารถ
2. ครกู าหนดให้นักเรยี นดาเนินการค้นคว้าหาคาตอบ ดงั น้ี

2.1 ให้นักเรียนกาหนดหนา้ ทข่ี องทกุ คนภายในกลุ่ม
2.2 ออกแบบ และวางแผนแนวทางการรวบรวมขอ้ มูลพรรณไม้ในโรงเรียนสายปัญญา
2.3 แหล่งคน้ คว้าในการหาข้อมูลพรรณไม้ทน่ี ักเรยี นสงสยั
2.4 วธิ ีการจดั ทาหนังสอื พรรณไม้ในโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์
3. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอแนวทางในการสืบคน้ และหาข้อมลู
4. ครกู าหนดเวลาใหน้ ักเรยี นลงมือในการสบื คน้ ข้อมลู พรรณไม้ เป็นเวลา 1 สัปดาห์
5. ครใู หน้ ักเรยี นรายงานผลการสืบค้นเป็นระยะ เพ่ือเป็นการกระตนุ้ และชว่ ยนกั เรียนในการแกไ้ ขปญั หา
ตา่ งๆ เช่น วิธกี ารหาข้อมูล และแหลง่ เรียนรตู้ า่ งๆ
6. ครูแนะนาวธิ ีการหาขอ้ มลู พรรณไม้ โดยใช้ แอพพลเิ คชันที่สามารถตรวจสอบพรรณไมไ้ ด้ โดยใช้ระบบ
AI หรอื ปญั ญาประดิษฐ์ เพ่ือใหไ้ ด้ช่ือวทิ ยาศาสตรใ์ นการสบื คน้ หาขอ้ มลู ต่อไป
ขน้ั ที่ 3 สรา้ งความรู้
1. นักเรียนนาข้อมูลที่ได้จากการสบื คน้ จากแหลง่ ข้อมูลต่างๆ รวมถึงการถ่ายภาพพรรณไม้ มาวิเคราะห์
และจาแนกพืช ออกเปน็ กลุม่ ได้แก่ พชื ไม่มีดอก และพืชมดี อก (ใบเลย้ี งเดย่ี ว หรือ ใบเลย้ี งค)ู่
2. นาขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการวิเคราะห์ มาจัดกระทาข้อมลู และนาเสนอในรูปแบบของผลงาน หนงั สือ
สารานุกรมพรรณไม้ ในโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์
ขัน้ ที่ 4 สื่อสาร
1. นกั เรียนนาเสนอผลการคน้ คว้าพรรณไมใ้ นโรงเรยี น
2. คุณครแู นะนา และเสนอแนะปรบั ปรงุ การนาเสนอ และปรับปรุงผลงานใหด้ ียงิ่ ข้ึน
ขนั้ ที่ 5 ตอบแทนสังคม
1. นกั เรียนนาผลงาน หนังสือสารานุกรมพรรณไม้ ในโรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ จัด
แสดงในกิจกรรมรักษพ์ รรณพฤกษา ของโรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

 ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้
1. แอพพลเิ คชัน ค้นหาพรรณไม้ picture this
2. คอมพวิ เตอร์/แทปเลต็ เช่อื มตอ่ อนิ เทอร์เน็ต
3. โทรศพั ท์ smart phone
4. หอ้ งสมุดโรงเรยี น

46

 การวัดและประเมินผล

สงิ่ ทต่ี ้องการวัดและประเมินผล วิธกี ารวัด เครือ่ งมือ เกณฑ์การผ่าน

ด้านความรู้ นักเรียนมี - การตอบคาถามในชัน้ แบบประเมนิ ชิ้นงาน วธิ ีการวดั

ความสามารถ เรยี น หนงั สือสารานุกรม นาคะแนนรวมทีไ่ ดจ้ ากการ

1. ระบุบริเวณตา่ งๆภายในราก ลา - การทาหนงั สอื พรรณไม้ โรงเรียนสาย วดั ด้วยเคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการ

ตน้ และใบของพชื ได้ถูกต้อง สารานกุ รมพรรณไม้ ปญั ญา ในพระบรม ประเมินมาคดิ เปน็ ค่าร้อยละ

2. อธบิ ายลักษณะสาคญั ของแตล่ ะ - การแสดงความคิดเห็น ราชนิ ูปถมั ภ์ จากนัน้ นาค่าร้อยละมา

บรเิ วณภายในราก ลาตน้ และใบของ และการร่วมอภิปรายใน เทียบกบั เกณฑ์การประเมิน

พืชไดถ้ ูกต้อง ชน้ั เรียน เพ่ือแปลความหมาย

3.บอกความแตกต่างของโครงสร้าง เกณฑก์ ารประเมินและการ

ราก ลาต้น และใบ ของพชื ใบเลี้ยง แปลความหมาย

เดี่ยวและใบเลีย้ งคู่ได้ ร้อยละ 80 ขึน้ ไป =ดีมาก

รอ้ ยละ 70-79 = ดี
ด้านทักษะ (P) - การบันทกึ ในเอกสาร แบบประเมนิ ชิ้นงาน รอ้ ยละ 60-69 = พอใช้

ด้านทักษะ นักเรยี นมคี วามสามารถ ประกอบการเรยี น หนังสือสารานกุ รม ร้อยละ 50-59 = ปรับปรุง
1.การทางานเปน็ กลุ่ม พรรณไม้ โรงเรียนสาย

2. การจัดทารูปเลม่ สารานุกรม ปญั ญา ในพระบรม เกณฑ์การผ่าน

พรรณไม้ ราชนิ ูปถัมภ์ นักเรยี นต้องผ่านเกณฑ์ขน้ั

3.การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ ตา่ ท่ีระดบั พอใช้ (เท่ากับ

การค้นคว้าขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์ หรือมากกว่าร้อยละ 60)

ด้านทศั นคติ (A) - การมสี ว่ นร่วมกจิ กรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม

ดา้ นทัศนคติ นักเรียนมีความสามารถ ของนักเรยี นในชน้ั เรียน การทางานเปน็ กลุ่ม

1.มคี วามใฝ่รูใ้ ฝเ่ รียน และรายบุคคล

2.มคี วามมงุ่ มั่นในการทางาน

3. ตรงตอ่ เวลา

47

บันทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
................................................................................................... ...................................................
......................................................................................................................................................
................................................................................................... ...................................................
................................................................................................... ...................................................
................................................................................................... ...................................................
................................................................................................... ...................................................

ลงชื่อ...................................................
(นายปรมนิ ทร์ แก้วกลา่ ศร)ี

ขอ้ เสนอแนะของหวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
(.....) ทราบ
(.....) เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ทีส่ อดคล้องตามาตรฐาน และตวั ชวี้ ดั ของรายวิชา
(.....) เป็นแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่สามารจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยมุง่ เน้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั

ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม (ถ้ามี)
..............................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ...................................................
(นางอรุณศรี ทวีโภคา)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสานศึกษา/ผูท้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
(.....) ทราบ
(.....) เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ทส่ี อดคล้องตามาตรฐาน และตัวชีว้ ดั ของรายวชิ า
(.....) เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ทส่ี ามารจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยมงุ่ เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั

ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม (ถา้ ม)ี
........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.....................................................
(............................................................)
หัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย


Click to View FlipBook Version