The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประกาศค่าเป้าหมายปีการศึกษา_2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nonchanschool.2474, 2024-03-11 03:04:08

ประกาศค่าเป้าหมายปีการศึกษา_2566

ประกาศค่าเป้าหมายปีการศึกษา_2566

ประกาศโรงเรียนบ้านโนนจาน(เนตรขันธ์ราษฎร์บำรุง) เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ กำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย และ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ------------------------------------------------- ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เป็นการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ที่กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษา ไทยในอนาคตประกอบกับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและ ภายนอกของทุกระดับการศึกษาและประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา9(3)มาตรา48 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ โรงเรียนบ้านโนนจาน(เนตรขันธ์ราษฎร์บำรุง) ได้กำหนดให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับปฐมวัย และกำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับปฐมวัย ปี การศึกษา 2566 จากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง เครือข่าย ภาคี 4 ฝ่าย นักเรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และชุมชน ให้เหมาะสมและ สอดคล้องกัน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินคุณภาพภายใน และรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบต่อไป เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้าน โนนจาน(เนตรขันธ์ราษฎร์บำรุง) มีคุณภาพและมาตรฐาน จึงกำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับปฐมวัย ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ โดยได้รับความ เห็นชอบจากมติที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2566 ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 (นางสุจิรา รุ่งรัตน์ตระกูล) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านโนนจาน(เนตรขันธ์ราษฎร์บำรุง)


ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านโนนจาน(เนตรขันธ์ราษฎร์บำรุง) เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาโรงเรียนบ้านโนนจาน(เนตรขันธ์ราษฎร์บำรุง) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2566 วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ค่าเป้าหมายการพัฒนา เป้าหมาย ระดับคุณภาพ แปลผล มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ 4 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเลิศ 4 1) มีความสามารถในการอ่าน การ เขียน การสื่อสาร และ การคิด คำนวณ ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 75 มีความสามารถ ในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและ การคิด คำนวณระดับดีขึ้นไป ดีเลิศ 4 2)มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แก้ปัญหา ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 75 มีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ แก้ปัญหาระดับ ดีขึ้นไป ดีเลิศ 4 3)มีความสามารถในการสร้าง นวัตกรรม ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 75 มีความสามารถ ในการสร้างนวัตกรรมระดับดีขึ้นไป ดีเลิศ 4 4)มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การ สื่อสาร ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 75 มีความสามารถ ใน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ระดับดีขึ้นไป ดีเลิศ 4 5)มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตาม หลักสูตรสถานศึกษา ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่ม สาระการเรียนรู้ ระดับดีขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย ร้อยละ 75 ขึ้นไป ดีเลิศ 4 6)มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจต คติที่ดีต่องานอาชีพ ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 80 มีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ระดับดีขึ้นไป ยอดเยี่ยม 5 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 5 1) มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 80 มีคุณลักษณะที่ พึง ประสงค์และค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กำหนด ระดับดีขึ้นไป ยอดเยี่ยม 5 2) มีความภูมิใจในท้องถิ่น และ ความเป็นไทย เรียนจำนวนร้อยละ 85 มีความภูมิใจใน ท้องถิ่นและความเป็นไทย ระดับดีขึ้นไป ยอดเยี่ยม 5 3) ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน บนความ แตกต่างและ หลากหลาย ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 85 ยอมรับที่จะอยู่ ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ระดับดีขึ้นไป ยอดเยี่ยม 5 4) มีสุขภาวะทางร่างกายและ จิต สังคม ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 80 มีสุขภาวะ ทาง ร่างกายและจิตสังคม ระดับดีขึ้นไป ยอดเยี่ยม 5


มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ค่าเป้าหมายการพัฒนา เป้าหมาย ระดับคุณภาพ แปลผล มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 5 2.1)มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และ พันธกิจที่สถานศึกษากำหนด ชัดเจน สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และ พันกิจ ที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน สอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา ความต้องการชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปได้ในการปฏิบัติทันต่อการเปลี่ยนแปลง ยอดเยี่ยม 5 2.2)มีระบบบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษา สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษาที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีการนำข้อมูลมาใช้ใน การปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่องและ เป็นแบบอย่างได้ ยอดเยี่ยม 5 2.3) ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่ เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษามีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการ ที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุกกลุ่ม เป้าหมายเชื่อมโยง กับชีวิตจริง ยอดเยี่ยม 5 2.4)พัฒนาครูและบุคลากรให้มี ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ สถานศึกษามีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มี ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามความ ต้องการของครูและสถานศึกษา และจัดให้มี ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนา งาน และการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม 5 2.5)จัดสภาพแวดล้อมทาง กายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการ จัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมทาง กายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการ จัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและมีความ ปลอดภัย ยอดเยี่ยม 5 2.6)จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ สถานศึกษามีการจัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศที่มีคุณภาพเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกับสภาพสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 5


มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ค่าเป้าหมายการพัฒนา เป้าหมาย ระดับคุณภาพ แปลผล มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ 4 3.1)จัดการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตได้ ครูจำนวนร้อยละ 75 มีการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตาม มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตร สถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริงและ สามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มีนวัตกรรมใน การจัดการเรียนรู้และมีการ เผยแพร ดีเลิศ 4 3.2)ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อ การ เรียนรู้ ครูจำนวนร้อยละ 75 มีการใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่งเรียนรู้รวมทั้งภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่เอื้อต่อการเรียนรู้โดยสร้างโอกาสให้ ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ดีเลิศ 4 3.3) มีการบริหารจัดการชั้นเรียน เชิงบวก ครูจำนวนร้อยละ 80 มีการบริหารจัดการ ชั้นเรียนเชิงบวก เด็กรักที่จะเรียนรู้ และ เรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ยอดเยี่ยม 5 3.4)ตรวจสอบและประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ และนำผล มา พัฒนาผู้เรียน ครูจำนวนร้อยละ 80 มีการตรวจสอบและ ประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน โดย ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและ ประเมินผลที่ เหมาะสมกับเป้าหมายในการ จัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และนำผลมา พัฒนาผู้เรียน ยอดเยี่ยม 5 2.5)มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ ให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อปรับปรุง และพัฒนา การจัดการเรียนรู้ ครูจำนวนร้อยละ 75 มีชุมชนแห่งการ เรียนรู้ ทางวิชาชีพระหว่างครูและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อ พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ครูและ ผู้เกี่ยวข้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ ดีเลิศ 4 ระดับคุณภาพในภาพรวม ดีเลิศ


เกณฑ์การประเมินคุณภาพเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโนนจาน(เนตรขันธ์ราษฎร์บำรุง) ประจำปีการศึกษา 2566 มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเรียน 1.1ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การ เขียน การสื่อสารและการคิด คำนวณ 5 ยอดเยี่ยม ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณตามระดับชั้นสูงกว่าเป้าหมายสถานศึกษา กำหนด ร้อยละ 3 ขึ้นไป 4 ดีเลิศ ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณตามระดับชั้นสูงกว่าเป้าหมายสถานศึกษา กำหนดไม่เกินร้อยละ 3 3 ดี ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณตามระดับชั้นสูงกว่าเป้าหมายสถานศึกษา กำหนด 2 ปานกลาง ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณตามระดับชั้นสูงกว่าเป้าหมายสถานศึกษา กำหนด หรือต่ำกว่าเป้าหมายไม่เกินร้อยละ 3 1 กำลังพัฒนา ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณตามระดับชั้นสูงกว่าเป้าหมายสถานศึกษา กำหนด หรือต่ำกว่าเป้าหมายเกินร้อยละ 3 2) มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และแก้ปัญหา 5 ยอดเยี่ยม จำนวนผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไปมีความสามารถในการ คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและแก้ปัญหาในระดับดีขึ้นไป 4 ดีเลิศ จำนวนผู้เรียนร้อยละ 70-79 ขึ้นไปมีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาในระดับดีขึ้นไป 3 ดี จำนวนผู้เรียนร้อยละ 60-69 ขึ้นไปมีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาในระดับดีขึ้นไป 2 ปานกลาง จำนวนผู้เรียนร้อยละ 60-69 ขึ้นไปมีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาในระดับดีขึ้นไป 1 กำลังพัฒนา จำนวนผู้เรียนร้อยละ 60-69 ขึ้นไปมีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาในระดับดีขึ้นไป


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา 3) มีความสามารถในการสร้าง นวัตกรรม 5 ยอดเยี่ยม ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความสามารถในการ สร้าง นวัตกรรม ระดับดีขึ้นไป 4 ดีเลิศ ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 70-79 ขึ้นไป มีความสามารถใน การสร้าง นวัตกรรม ระดับดีขึ้นไป 3 ดี ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 60-69 ขึ้นไป มีความสามารถใน การสร้าง นวัตกรรม ระดับดีขึ้นไป 2 ปานกลาง ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 50-59 ขึ้นไป มีความสามารถใน การสร้าง นวัตกรรม ระดับดีขึ้นไป 1 กำลังพัฒนา ผู้เรียนจำนวนต่ำกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป มีความสามารถ ในการสร้าง นวัตกรรม ระดับดีขึ้นไป 4) มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร 5 ยอดเยี่ยม ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับดีขึ้นไป 4 ดีเลิศ ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 70-79 ขึ้นไป มีความสามารถใน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับดีขึ้น ไป 3 ดี ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 60-69 ขึ้นไป มีความสามารถใน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับดีขึ้น ไป 2 ปานกลาง ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 50-59 ขึ้นไป มีความสามารถใน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับดีขึ้น ไป 1 กำลังพัฒนา ผู้เรียนจำนวนต่ำกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป มีความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับดี ขึ้นไป


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา 5 ยอดเยี่ยม ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับดีขึ้นไป สูงกว่าเป้าหมายสถานศึกษากำหนด ร้อย ละ 2 ขึ้นไป 4 ดีเลิศ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับดีขึ้นไป สูงกว่าเป้าหมายสถานศึกษากำหนด ไม่ เกินร้อยละ 2 ขึ้นไป 3 ดี ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับดีขึ้นไป เป็นไปตามเป้าหมายสถานศึกษากำหนด 2 ปานกลาง ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับดีขึ้นไป สูงกว่าเป้าหมายสถานศึกษากำหนด หรือ ต่ำกว่าเป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2 1 กำลังพัฒนา ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับดีขึ้นไป ต่ำกว่าเป้าหมายสถานศึกษากำหนดเกิน ร้อยละ 2 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และ เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 5 ยอดเยี่ยม ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ระดับดีขึ้นไป 4 ดีเลิศ ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 70-79 ขึ้นไป มีความรู้ ทักษะ พื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ระดับดีขึ้นไป 3 ดี ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 60-69 ขึ้นไป มีความรู้ ทักษะ พื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ระดับดีขึ้นไป 2 ปานกลาง ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 50-59 ขึ้นไป มีความรู้ ทักษะ พื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ระดับดีขึ้นไป 1 กำลังพัฒนา ผู้เรียนจำนวนต่ำกว่าร้อยละ 50 มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ระดับดีขึ้นไป


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากำหนด 5 ยอดเยี่ยม ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และค่านิยมที่ดีตามที่ สถานศึกษากำหนด ระดับดีขึ้นไป สูงกว่าเป้าหมาย สถานศึกษากำหนด ร้อยละ 2 ขึ้นไป 4 ดีเลิศ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และค่านิยมที่ดีตามที่ สถานศึกษากำหนด ระดับดีขึ้นไปสูงกว่าเป้าหมาย สถานศึกษากำหนดไม่เกินร้อยละ 2 3 ดี ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และค่านิยมที่ดีตามที่ สถานศึกษากำหนด ระดับดีขึ้นไป เป็นไปตามเป้าหมาย สถานศึกษากำหนด 2 ปานกลาง ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และค่านิยมที่ดีตามที่ สถานศึกษากำหนด ระดับดีขึ้นไปเป็นไปตามเป้าหมาย สถานศึกษากำหนด หรือต่ำกว่าเป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2 1 กำลังพัฒนา ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และค่านิยมที่ดีตามที่ สถานศึกษากำหนด ระดับดีขึ้นไป ต่ำกว่าเป้าหมาย มากกว่าร้อยละ2 2) มีความภูมิใจในท้องถิ่นและ ความเป็นไทย 5 ยอดเยี่ยม ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย ระดับดีขึ้นไป 4 ดีเลิศ ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 70-79 มีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยขึ้นไป ระดับดีขึ้นไป 3 ดี ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 60-69 มีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย ระดับดีขึ้นไป 2 ปานกลาง ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 50-59 ขึ้นไป มีความภูมิใจใน ท้องถิ่นและความเป็นไทย ระดับดีขึ้นไป 1 กำลังพัฒนา ผู้เรียนจำนวนต่ำกว่าร้อยละ 50 มีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย ระดับดีขึ้นไป


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา 3) ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความ แตกต่างและหลากหลาย 5 ยอดเยี่ยม ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 80 ขึ้นไป ยอมรับที่จอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่างและหลากหลาย ระดับดีขึ้นไป 4 ดีเลิศ ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 70-79 ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่างและหลากหลาย ระดับดีขึ้นไป 3 ดี ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 60-69 ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่างและหลากหลาย ระดับดีขึ้นไป 2 ปานกลาง ผู้เรียนจำนวนร้อยละ 50-59 ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่างและหลายหลาย ระดับดีขึ้นไป 1 กำลังพัฒนา ผู้เรียนจำนวนต่ำกว่าร้อยละ 50 ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่างและหลากหลาย ระดับดีขึ้นไป 4) มีสุขภาวะทางร่างกายและจิต สังคม 5 ยอดเยี่ยม ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ระดับดีขึ้นไป สูงกว่าเป้าหมายสถานศึกษากำหนด ร้อยละ 2 ขึ้นไป 4 ดีเลิศ ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ระดับดีขึ้นไป สูงกว่าเป้าหมายสถานศึกษากำหนดไม่เกินร้อยละ 2 3 ดี ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ระดับดีขึ้นไป เป็นไปตามเป้าหมายสถานศึกษากำหนด 2 ปานกลาง ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ระดับดีขึ้นไป เป็นไปตามเป้าหมายสถานศึกษากำหนด หรือต่ำกว่า เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2 1 กำลังพัฒนา ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ระดับดีขึ้นไป ต่ำกว่าเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 2


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธ กิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 5 ยอดเยี่ยม มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด ชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความ ต้องการชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปได้ในการปฏิบัติ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม 4 ดีเลิศ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด ชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความ ต้องการชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปได้ในการปฏิบัติ 3 ดี มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด ชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา เป็นไปได้ใน การปฏิบัติ 2 ปานกลาง มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด ชัดเจนเป็นไปได้ในการปฏิบัติ 1 กำลังพัฒนา มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด ไม่ชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษา 5 ยอดเยี่ยม มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีการนำข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่องและเป็นแบบอย่างได้ 4 ดีเลิศ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาโดยความร่วมมือของ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 3 ดี มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา 2 ปานกลาง มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ส่งผลต่อ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1 กำลังพัฒนา มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ที่ไม่ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่ เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเป้าหมาย 5 ยอดเยี่ยม มีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบ ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริงและเป็นแบบอย่างได้ 4 ดีเลิศ มีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบ ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง 3 ดี มีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบ ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 2 ปานกลาง มีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบ ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา 1 กำลังพัฒนา มีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบ ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มี ความเชี่ยวชาญทางวิชาการ 5 ยอดเยี่ยม มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนางาน และการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ 4 ดีเลิศ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนางาน และการเรียนรู้ของผู้เรียน 3 ดี มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนางาน 2 ปานกลาง มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา 1 กำลังพัฒนา มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพ


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทาง กายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการ จัดการเรียนรู้ 5 ยอดเยี่ยม มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและ ภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและมีความปลอดภัย สูง 4 ดีเลิศ มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและ ภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและมีความปลอดภัย 3 ดี มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและ ภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้ที่มีความปลอดภัยสูง 2 ปานกลาง มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและ ภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้ 1 กำลังพัฒนา มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและ ภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคม แต่ยัง ไม่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ 5 ยอดเยี่ยม มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพเพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกับสภาพสถานศึกษา 4 ดีเลิศ มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพ สถานศึกษา 3 ดี มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ตามสภาพของ สถานศึกษา 2 ปานกลาง มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ 1 กำลังพัฒนา มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้แต่ยังไม่ครอบคลุม


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 5 ยอดเยี่ยม ครูจำนวนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีการจัดการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริงและสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ และมีการเผยแพร่ 4 ดีเลิศ ครูจำนวนร้อยละ 70-79 มีการจัดการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริงและสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ และมีการเผยแพร่ 3 ดี ครูจำนวนร้อยละ 60-69 มีการจัดการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริงและสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ และมีการเผยแพร่ 2 ปานกลาง ครูจำนวนร้อยละ 50-59 มีการจัดการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริงและสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ และมีการเผยแพร่ 1 กำลังพัฒนา ครูจำนวนร้อยละ 50 มีการจัดการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริงและสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ และมีการเผยแพร่


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 5 ยอดเยี่ยม ครูจำนวนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีการใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่งเรียน รวมทั้งภูมปัญญาท้องถิ่นที่ เอื้อต่อการเรียนรู้โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง 4 ดีเลิศ ครูจำนวนร้อยละ 70-79 มีการใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่งเรียน รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ เอื้อต่อการเรียนรู้โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง 3 ดี ครูจำนวนร้อยละ 60-69 มีการใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่งเรียน รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ เอื้อต่อการเรียนรู้โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง 2 ปานกลาง ครูจำนวนร้อยละ 50-59 มีการใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่งเรียน รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ เอื้อต่อการเรียนรู้โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง 1 กำลังพัฒนา ครูจำนวนต่ำกว่าร้อยละ 50 มีการใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่งเรียน รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ เอื้อต่อการเรียนรู้โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียน เชิงบวก 5 ยอดเยี่ยม ครูจำนวนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีการบริหารจัดการชั้น เรียนเชิงบวกเด็กรักที่จะเรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมี ความสุข 4 ดีเลิศ ครูจำนวนร้อยละ 70-79 มีการบริหารจัดการชั้นเรียน เชิงบวกเด็กรักที่จะเรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมี ความสุข 3 ดี ครูจำนวนร้อยละ 60-69 มีการบริหารจัดการชั้นเรียน เชิงบวกเด็กรักที่จะเรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมี ความสุข 2 ปานกลาง ครูจำนวนร้อยละ 50-59 มีการบริหารจัดการชั้นเรียน เชิงบวกเด็กรักที่จะเรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมี ความสุข 1 กำลังพัฒนา ครูจำนวนต่ำกว่าร้อยละ 50 มีการบริหารจัดการชั้น เรียนเชิงบวกเด็กรักที่จะเรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมี ความสุข


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ และนำผลมา พัฒนาผู้เรียน 5 ยอดเยี่ยม ครูจำนวนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีการตรวจสอบและ ประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือ และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายใน การจัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และนำ ผลมาพัฒนาผู้เรียน 4 ดีเลิศ ครูจำนวนร้อยละ 70-79 มีการตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและ วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการ จัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และนำผลมา พัฒนาผู้เรียน 3 ดี ครูจำนวนร้อยละ 60-69 มีการตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและ วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการ จัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และนำผลมา พัฒนาผู้เรียน 2 ปานกลาง ครูจำนวนร้อยละ 50-59 มีการตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและ วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการ จัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และนำผลมา พัฒนาผู้เรียน 1 กำลังพัฒนา ครูจำนวนต่ำกว่าร้อยละ 50 มีการตรวจสอบและ ประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือ และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายใน การจัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และนำ ผลมาพัฒนาผู้เรียน


มาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 5 ยอดเยี่ยม ครูจำนวนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพระหว่างครูและผู้เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูและผู้เกี่ยวข้องมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ และเป็นแบบอย่างที่ดี 4 ดีเลิศ ครูจำนวนร้อยละ 70-79 มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพระหว่างครูและผู้เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูและผู้เกี่ยวข้องมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ และเป็นแบบอย่างที่ดี 3 ดี ครูจำนวนร้อยละ 60-69 มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพระหว่างครูและผู้เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูและผู้เกี่ยวข้องมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ และเป็นแบบอย่างที่ดี 2 ปานกลาง ครูจำนวนร้อยละ 50-59 มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพระหว่างครูและผู้เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูและผู้เกี่ยวข้องมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ และเป็นแบบอย่างที่ดี 1 กำลังพัฒนา ครูจำนวนต่ำกว่าร้อยละ 50 มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพระหว่างครูและผู้เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูและผู้เกี่ยวข้องมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ และเป็นแบบอย่างที่ดี


ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านโนนจาน(เนตรขันธ์ราษฎร์บำรุง) เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาโรงเรียนบ้านโนนจาน(เนตรขันธ์ราษฎร์บำรุง) ระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 256๖ มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก ดีเลิศ ๑.๑ มีการพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและดูแลความปลอดภัยของ ตนเองได้ ดีเลิศ ๑.๒ มีการพัฒนาด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม แลและแสดงงอออกทางอารมณ์ได้ ดีเลิศ ๑.๓ มีการพัฒนาการด้านสังคม ช่วยแหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ดีเลิศ ๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ ได้ ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ ยอดเยี่ยม ๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทขอองท้องถิ่น ยอดเยี่ยม ๒.๒ จัดครุให้เพียงพอกับชั้นเรียน ยอดเยี่ยม ๒.๓ ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านกากรรจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม ๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ ยอดเยี่ยม ๒.๕ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ ยอดเยี่ยม ๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ดีเลิศ ๓.๑ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ดีเลิศ ๓.๒ สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข ดีเลิศ ๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ดีเลิศ ๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงแลละนำผลประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ดีเลิศ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ


เกณฑ์การประเมินคุณภาพเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโนนจาน(เนตรขันธ์ราษฎร์บำรุง) ประจำปีการศึกษา 2566 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก ระดับคุณภาพ ดีเลิศ ประเด็นพิจารณา รายการตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายความสำเร็จ 1.1 มีพัฒนาการด้าน ร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ ดี และดูแลความปลอดภัย ของตนได้ 1) เด็กร้อยละ 75 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย 2) เด็กร้อยละ 75 มีสุขภาพอนามัยและสุขนิสัยที่ดี 3) เด็กร้อยละ 75 ปฏิบัติตนตามข้อตกลงของห้องเรียน รวมทั้ง เล่นและปฏิบัติ กิจกรรมได้อย่างปลอดภัยต่อตนเอง และต่อผู้อื่น 4) เด็กร้อยละ 75 รู้และปฏิบัติตนที่หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย 5) เด็กร้อยละ 85 สามารถเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว 1.2 มีพัฒนาการด้าน อารมณ์ จิตใจ ควบคุมและ แสดงออกทางอารมณ์ได้ 1)เด็กร้อยละ 85 ร่าเริง แจ่มใสสามารถแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ได้สอดคล้องกับ สถานการณ์อย่างเหมาะสมตามวัย 2) เด็กร้อยละ 75 กล้าพูด กล้าแสดงออกได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ 3) เด็กร้อยละ 80 สนใจศิลปะ-ดนตรี มีความสุขและแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหว ประกอบเพลง จังหวะ และดนตรีได้ และสร้างผลงานศิลปะ ได้เหมาะสมตามวัย 4) เด็กร้อยละ 75 มีความเมตตา กรุณา มีน้ำใจ ช่วยเหลือและแบ่งปัน 5) เด็กร้อยละ 75 สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จได้ด้วยตนเอง 6) เด็กร้อยละ 75 รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย และรู้จักอดกลั้นต่อสิ่ง เร้าใจที่มากระทบหรือพบเห็น 7) เด็กร้อยละ 75 มีจิตสำนึกและค่านิยมที่ดี เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรมจริยธรรมตามที่สถานศึกษากำหนด 8) เด็กร้อยละ 85 ยอมรับและพอใจในความสามารถและผลงานของตนเอง และผู้อื่น


ประเด็นพิจารณา รายการตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายความสำเร็จ 1.3 มีพัฒนาการด้าน สังคม ช่วยเหลือตนเอง และ เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 1) เด็กร้อยละ 82 สามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ เหมาะสม 2) เด็กร้อยละ 75 มีวินัยในตนเอง เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วย ตนเอง 3) เด็กร้อยละ 75 ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและพอเพียง 4) เด็กร้อยละ 75 สามารถดูแลรักษาธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอกห้องเรียน รวมทั้งทิ้งขยะได้ถูกที่ด้วยตนเอง 5) เด็กร้อยละ 80 สามารถปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้เหมาะสมกับ กาลเทศะ เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ 6) เด็กร้อยละ 85 สามารถเล่นหรือทำงานร่วมกับผู้อื่น และยอมรับหรือเคารพ ความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ 7) เด็กร้อยละ 75 สามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้เหมาะสมกับ สถานการณ์ 1.4 มีพัฒนาการด้าน สติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ 1) เด็กร้อยละ 75 สามารถสนทนาโต้ตอบ และเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 2) เด็กร้อยละ 75 สามารถ จับคู่ เปรียบเทียบ จำแนก จัดกลุ่ม และเรียงลำดับ เหตุการณ์ได้ 3) เด็กร้อยละ 75 สามารถตั้งคำถามในสิ่งที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และค้นหา คำตอบโดยใช้วิธีการที่หลากหลายด้วยตนเองได้ 4) เด็กร้อยละ 75 สามารถระบุปัญหา สร้างทางเลือก และเลือกวิธีแก้ปัญหาได้ 5) เด็กร้อยละ 75 สามารถ สามารถอธิบาย เชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นใน สถานการณ์หรือการกระทำได้ 6) เด็กร้อยละ 75 มีความสามารถในการคิดรวบยอด และคิดเชิงเหตุผลทาง คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 7) เด็กร้อยละ 80 สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งาน ศิลปะ การเคลื่อนไหว และท่าทางการเล่นอิสระ 8) เด็กร้อยละ 70 สามารถใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้อง ดิจิตอล เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และแสวงหาความรู้ได้


มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารจัดการ ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ประเด็นพิจารณา รายการตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายความสำเร็จ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุม พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ ท้องถิ่น 1) สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย และบริบทของท้องถิ่น อีกทั้งมีการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาให้สอดคล้องและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2) สถานศึกษาออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อมและไม่เร่งรัด วิชาการ เน้นการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการและความ แตกต่างของเด็กปกติ และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ รวมทั้งสอดคล้องกับวิถีชีวิตของ ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้น เรียน 1) สถานศึกษามีการจัดครูให้เหมาะสมกับกับภารกิจการเรียนการสอน หรือจัด ครูที่จบการศึกษาปฐมวัย หรือผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย อย่างเพียงพอกับ ชั้นเรียน 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความ เชี่ยวชาญด้านการจัด ประสบการณ์ 1) สถานศึกษาส่งเสริมให้ครู(ปฐมวัย)ทุกคนมีทักษะในการจัดประสบการณ์และ การประเมินพัฒนาการเด็ก อีกทั้งใช้ประสบการณ์สำคัญ ในการออกแบบและ จัดกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) สถานศึกษาส่งเสริมให้ครู(ปฐมวัย)ทุกคนมีการสังเกตและประเมินเด็กเป็น รายบุคคล 3) สถานศึกษาส่งเสริมให้ครู(ปฐมวัย)ทุกคนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และ ครอบครัว 4) สถานศึกษาส่งเสริมให้ครู(ปฐมวัย)ทุกคนพัฒนาการจัดประสบการณ์เด็กด้วย การใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้(Professional Learning Community: PLC) เป็น วิธีการในการพัฒนา 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและ สื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่าง ปลอดภัยและเพียงพอ 1) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความ ปลอดภัยของเด็ก 2) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือร่วมใจ 3) สถานศึกษาจัดมุมประสบการณ์ที่หลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อสำหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย สื่อเทคโนโลยี สื่อ เพื่อการสืบเสาะหาความรู้


มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารจัดการ ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ประเด็นพิจารณา รายการตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายความสำเร็จ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุม พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ ท้องถิ่น 1) สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย และบริบทของท้องถิ่น อีกทั้งมีการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาให้สอดคล้องและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2) สถานศึกษาออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อมและไม่เร่งรัด วิชาการ เน้นการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการและความ แตกต่างของเด็กปกติ และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ รวมทั้งสอดคล้องกับวิถีชีวิตของ ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้น เรียน 1) สถานศึกษามีการจัดครูให้เหมาะสมกับกับภารกิจการเรียนการสอน หรือจัด ครูที่จบการศึกษาปฐมวัย หรือผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย อย่างเพียงพอกับ ชั้นเรียน 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความ เชี่ยวชาญด้านการจัด ประสบการณ์ 1) สถานศึกษาส่งเสริมให้ครู(ปฐมวัย)ทุกคนมีทักษะในการจัดประสบการณ์และ การประเมินพัฒนาการเด็ก อีกทั้งใช้ประสบการณ์สำคัญ ในการออกแบบและ จัดกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) สถานศึกษาส่งเสริมให้ครู(ปฐมวัย)ทุกคนมีการสังเกตและประเมินเด็กเป็น รายบุคคล 3) สถานศึกษาส่งเสริมให้ครู(ปฐมวัย)ทุกคนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และ ครอบครัว 4) สถานศึกษาส่งเสริมให้ครู(ปฐมวัย)ทุกคนพัฒนาการจัดประสบการณ์เด็กด้วย การใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้(Professional Learning Community: PLC) เป็น วิธีการในการพัฒนา 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและ สื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่าง ปลอดภัยและเพียงพอ 1) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความ ปลอดภัยของเด็ก 2) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือร่วมใจ 3) สถานศึกษาจัดมุมประสบการณ์ที่หลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อสำหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย สื่อเทคโนโลยี สื่อเพื่อการสืบเสาะหาความรู้


ประเด็นพิจารณา รายการตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายความสำเร็จ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยี และสื่อการเรียนรู้เพื่อ สนับสนุนการจัด ประสบการณ์สำหรับครู 1. สถานศึกษาอำนวยความสะดวก และให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์สำหรับครูอย่างเพียงพอและ เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพ ที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 1) สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ที่เหมาะสมและ ต่อเนื่อง มีการชี้แนะระหว่างการปฏิบัติงาน ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานของ สถานศึกษา บูรณาการการปฏิบัติงานและเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วน ร่วมจนเป็นแบบอย่างที่ดีและได้รับการยอมรับจากชุมชนและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 2) สถานศึกษามีการนิเทศภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ระดับคุณภาพ ดีเลิศ ประเด็นพิจารณา รายการตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายความสำเร็จ 3.1 จัดประสบการณ์ที่ ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ ทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม ศักยภาพ 1) ครู(ปฐมวัย)ทุกคนมีการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลใน การจัดประสบการณ์/กิจกรรม และช่วยเหลืออย่างเหมาะสมกับเด็ก 2) ครู(ปฐมวัย)ทุกคนมีแผนและใช้แผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมี พัฒนาการครบทุกด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่าง สมดุล เต็มศักยภาพโดยความร่วมมือของพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชนและ ผู้เกี่ยวข้อง และเป็นแบบอย่างที่ดี 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับ ประสบการณ์ตรง เล่น และ ปฏิบัติอย่างมีความสุข 1) ครู(ปฐมวัย)ทุกคนสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติ กิจกรรม เรียนรู้ลงมือทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข 3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ ใช้สื่อ และ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 1) ครู(ปฐมวัย)ทุกคนจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนได้ สะอาด ปลอดภัย อากาศถ่ายเทสะดวก เด็กมีส่วนร่วมในการจัดห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การจัดมุมต่าง ๆ การเก็บดูแลรักษาของเล่น สิ่งของเครื่องใช้ ให้เป็น ระเบียบสวยงาม 2) ครู(ปฐมวัย)ทุกคนใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้ กลุ่มย่อย สื่อ ของเล่นที่กระตุ้นให้คิดและหาคำตอบ


ประเด็นพิจารณา รายการตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายความสำเร็จ 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็ก ตามสภาพจริง และนำผล การประเมินพัฒนาการเด็ก ไปปรับปรุงการจัด ประสบการณ์และพัฒนา เด็ก 1) ครู(ปฐมวัย)ทุกคนประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย 2) ครู(ปฐมวัย)ทุกคนมีการวิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 3) ครู(ปฐมวัย)ทุกคนมีการนำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพ การกำหนดค่าเป้าหมาย 1. ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการประเมินต่าง ๆ ที่ผ่านมา เพื่อเป็นข้อมูลฐานในการกำหนดค่าเป้าหมาย 2. การกำหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกำหนดเป็น ระดับคุณภาพ ๕ ระดับ เพื่อให้สอดคล้องกับการ ประเมิน ดังนี้ ระดับ ยอดเยี่ยม ร้อยละ 90-100 ระดับ ดีเลิศ ร้อยละ 80-89 ระดับ ดี ร้อยละ 70-79 ระดับ ปานกลาง ร้อยละ 60-69 ระดับ กำลังพัฒนา ร้อยละ 50-59


Click to View FlipBook Version