The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข่าวประชาสัมพันธ์ประจำเดือนกันยายน
โรงเรียน..........................
สังกัด สพป.พัทลุงเขต 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kannikamoenwong, 2021-09-09 10:46:34

ข่าวประชาสัมพันธ์ประจำเดือนกันยายน

ข่าวประชาสัมพันธ์ประจำเดือนกันยายน
โรงเรียน..........................
สังกัด สพป.พัทลุงเขต 2

การปฏริ ูปการศึกษา

ดร.สดุ าพร ทองสวสั ดิ์

หลกั การและกรอบแนวคดิ

ระบบการศกึ ษา

ประกอบดวยปจจัยตาง ๆ ท่ีสําคัญคือครูหลักสูตรสถานศึกษาและ
กระบวนการสรางและถายทอดความรูประเด็นสําคัญที่สุดในการปฏิรูประบบ
การศึกษาน้ีคือ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาสงเสริมและยกระดับ
มาตรฐานวิชาชีพครูคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาอยางยั่งยืนเปนวิชาชีพ
ที่มีคุณคาปจจัยสําคัญอื่น ๆ คือระบบการบริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาลมีการ
กระจายอํานาจและทรัพยากรสูตรทองถิ่นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและ
สงเสริมการมีสวนรวมทุกภาคสวนสงเสริมผลใหการศึกษามีสัมฤทธิผลสําหรับ
ผเู รียนทั้งประเทศทัง้ ในเมอื งชนบทท้ังทมี่ ีฐานะดแี ละยากจน

หลกั การและกรอบแนวคดิ

ระบบการเรยี นรู

คือระบบที่เอื้ออํานวยใหผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเองอยางตอเน่ือง
ตลอดชีวิตมีนิสัยใฝเรยี นรูมคี วามสามารถคดิ วิเคราะหแ กปญหาและมีคุณธรรมนํา
ความรูโดยอาจอยูในระบบการศึกษามีปจจัยและเคร่อื งมือตา ง ๆ เพ่ือสนบั สนุนให
เกิดการเรียนรูท่ผี ูเรียนสามารถเขาถึงไดท ุกแหงและทุกเวลาประเดน็ สําคัญตอการ
ปฏิรูประบบการเรียนรูคือการเนนความสําคัญของปจจัยท่ีเอ้ืออํานวยใหเกิดการ
เรียนรูนับต้ังแตครูผูปกครองชุมชนบุคคลตัวอยางสื่อมวลชนรวมถึงสื่อการเรียน
การสอนและเทคโนโลยีเปนตน จากหลักการและกรอบแนวคิดดังกลาวอาจเสนอ
วสิ ยั ทศั นส าํ หรับการปฏิรูปการศึกษาคร้งั น้ไี ดด ังนี้

หลักการและกรอบแนวคดิ

วสิ ัยทศั น “คนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยา งมีคณุ ภาพ”

ปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูอยางเปนระบบโดยมุงเนนการพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาการเพิ่มโอกาสการศึกษาและเรียนรูและสงเสริม
การมีสวนรวมของทุกภาคสวนเพ่ือใหค นไทยทุกคนไดเรียนรูตลอดชีวิตรวมท้ังใน
ระบบโรงเรียนนอกระบบโรงเรียนและตามอัธยาศัยอยางมีคุณภาพในทุกระดับ
ประเภทการศึกษา

หลกั การและกรอบแนวคิด

เปาหมาย ภายใน พ.ศ. 2561 มีการปฏริ ูปการศกึ ษาและการเรยี นรู
อยางเปนระบบโดยเนน ประเดน็ หลกั 3 ประการคือ

1. คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรูของคนไทยพัฒนาผูเรียนสถานศึกษาแหลง
เรียนรูสภาพแวดลอมหลักสูตรและเน้ือหาพัฒนาวิชาชีพครูใหเปนวิชาชีพที่มีคุณคา
สามารถดึงดดู คนเกงคนดีมีใจรักและเปนครูคณาจารยไ ดอยา งย่ังยืนภายใตระบบบริหาร
จดั การทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ

2. โอกาสทางการศึกษาและเรียนรูเพ่ิมโอกาสการศึกษาและเรียนรูอยางทั่วถึงและมี
คุณภาพเพ่ือใหประชาชนทุกคนทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเขาถึงการศึกษาและการเรียนรู
ตลอดชวี ติ

3. สงเสรมิ การมสี ว นรว มของทุกภาคสว นของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษาโดยเพมิ่
บทบาทของผทู ่ีอยูภายนอกระบบการศกึ ษาดวย

หลกั การและกรอบแนวคิด

ประเดน็ หลกั ท้ัง 3 ประการนสี้ ง ผลใหคนไทยยคุ ใหม

(1) สามารถเรียนรไู ดดว ยตนเองรกั การอา นและมนี ิสัยใฝเ รียนรูต ลอดชีวิต
(2) มีความสามารถในการส่ือสารสามารถคิดวเิ คราะหแ กปญ หาคดิ รเิ รม่ิ สรา งสรรค
(3) มีจิตสาธารณะมรี ะเบียบวินัยเห็นแกประโยชนส วนรวมสามารถทาํ เปนกลุม
(4) มีศีลธรรมคุณธรรมจริยธรรมคานิยมจิตสํานึกและ ความภูมิใจ ในความเปนไทยยึดม่ัน

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ

นโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา

การปฏริ ปู การศกึ ษาของประเทศไทยในปจจบุ ันเกดิ จาก
ปจจยั พ้นื ฐานทสี่ ง ผลกระทบจนทาํ ใหเกิดความจําเปน ทีจ่ ะตองมีการปฏริ ปู
การศึกษาอนั เน่อื งมาจากสาเหตหุ ลายประการดังน้ี

1. ปจ จยั ภายนอก
2. ปจ จัยภายใน

กรอบแนวคดิ องคประกอบยุทธศาสตรแ ละเปา หมาย
การปฏิรปู การศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธิการ

กรอบแนวทางการปฏิรปู การศึกษา

วิสยั ทัศน

คนไทยทุกคนมีโอกาส และมีความเสมอภาคในการไดรับบริการ
การศึกษาอยางทั่วถึงโดยทุกคน ทุกสวนในสังคมมีสวนรวมในการ
รับผิดชอบจดั การศกึ ษากระบวนการเรยี นรโู ดยเนน ผเู รียนเปนศนู ยก ลาง
และเรียนรูอยางมีความสุขมีคุณภาพมาตรฐานสูงเปนท่ีพึงพอใจของ
สงั คมโดยมีครูเกงครดู ีมีคณุ ภาพ ตามมาตรฐานวิชาชพี ครูมกี ระบวนการ
บริหารจัดการศึกษาท่ีกระจายอํานาจใหทุกฝายมีสวนรวมโปรงใส
และตรวจสอบได

กรอบแนวทางการปฏริ ปู การศึกษา

วตั ถุประสงค

1. เพ่อื ใหค นไทยทกุ คนมโี อกาสไดร บั บริการการศกึ ษาอยางท่วั ถงึ และมคี ุณภาพ

2. เพ่ือใหม กี ารระดมสรรพกาํ ลงั จากทกุ สว นมารว มจดั การศกึ ษา

3. เพอื่ สง เสรมิ ใหผ เู รยี นไดเ รียนรูและพฒั นาตนเองตามศกั ยภาพและมสี วนรวมในการพฒั นา
สังคมไปสูสังคมแหงการเรียนรูบนพ้ืนฐานของวัฒนธรรมไทยและสามารถดํารงตนอยูในสังคม
โลกอยางเปนสขุ

4. เพื่อผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีความรูความสามารถและ
คณุ ลกั ษณะท่ไี ดค ณุ ภาพและมาตรฐานวชิ าชีพ

5. เพ่ือสงเสริมใหเกิดกระบวนการบริหารจัดการศึกษาท่ีกระจายอํานาจทุกฝายมีสวนรวมมี
ความโปรง ใสชดั เจนตรวจสอบได

กรอบแนวทางการปฏริ ูปการศึกษา

เปา หมาย

1. การปฏริ ปู การศกึ ษาใหส อดคลอ งกบั พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหงชาติและสถานการณใ น
อนาคตจะตอ งเนน การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโดยเฉพาะคณุ ภาพของผูเรียนเปน สําคัญ

2. การปฏิรูปการศึกษามุงเนนการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนจะเกิดข้ึนไดจะตองจัดทําการ
ปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอนการปฏิรูปหลักสูตรการปฏิรูปวิชาชีพครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษาและการปฏริ ูประบบบริหารและการจดั การ

3. การปฏริ ปู การศึกษาจะตองเร่มิ ตน จากหอ งเรียนแตละหอ งโรงเรยี นแตล ะแหงในแตล ะพ้นื ที่
จนกลายเปนการเปล่ยี นแปลงการศกึ ษาท้ังระบบครอบคลุมทง้ั ประเทศ

องคประกอบหลกั ของการปฏริ ูปการศกึ ษา

1. ดานการปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอนจัดการเรียนการสอนท่ีเนนความสําคัญของผูเรียน
เปนหลักสงเสริมใหผเู รียนสามารถเรียนรูไดด วยตนเองเต็มตามศกั ยภาพประเมินผลการเรียน
จากการปฏิบัติจริงปรับบทบาทของครูจากผูถายทอดเปนผูช้ีแนวทางในการเรียนใหชุมชน
และภูมิปญญาทองถิ่นมีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอนและถายทอดความรูและใช
นวตั กรรมเทคโนโลยีถา ยทอดความรตู า ง ๆ เพื่อการเรยี นการสอน

2. ดานการปฏิรูปหลักสูตรพัฒนาหลักสูตรที่เนนการตอบสนองความตองการของผูเรียนและ
ชุมชนมีกระบวนการและเน้ือหาท่ีครอบคลุมเช่ือมโยงและตอเน่ืองกันทุกระดับและประเภท
การศึกษาท้ังดานความรูความสามารถความคิดริเร่ิมสรางสรรคคุณธรรมจริยธรรมเนนการ
กระจายอํานาจใหสถานศึกษาจัดทําหลักสูตรทองถิ่นและใหแตละทองถ่ินกําหนดมาตรฐาน
การศึกษาในระดับท่ีเหมาะสมกับตนเองไดสําหรับสวนกลางจะจัดทําหลักสูตรแกนกลางและ
มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ

องคประกอบหลกั ของการปฏริ ูปการศึกษา

3. ดานการปฏิรูปวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาปรับกระบวนการผลิตการใชและการ
พัฒนาครูผูบริหารและบุคลากรทางการศึกษาอยางเปนระบบและตอเน่ืองตลอดจนปรับปรุง
สวัสดิการและคาตอบแทนใหเหมาะสมพัฒนามาตรฐานวิชาชีพครูผูบริหารสถานศึกษา
ผบู รหิ ารการศกึ ษาและบุคลากรทางการศกึ ษา

4. ดานการปฏริ ปู ระบบบรหิ ารและการจัดการระบบบรหิ ารและการจดั การใหมเี อกภาพและ
กระจายอาํ นาจสทู อ งถ่นิ โดยเนน สถานศกึ ษาเปน หนว ยวางแผนยทุ ธศาสตรการจดั การศึกษา
ในทอ งถิ่นเปดโอกาสใหบ คุ คลครอบครวั ชมุ ชนองคก รพฒั นาระบบการวางแผนการระดมและ
จัดสรรทรพั ยากรการควบคมุ กาํ กบั ตดิ ตามประเมนิ ผลท่เี อือ้ ตอการพฒั นาคณุ ภาพและ
ประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษา

ยุทธศาสตรการปฏิรปู การศกึ ษา

สาระสําคัญของยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาโดยคํานึงถึงหลักการ
ตอ ไปน้ี

1. กระจายอํานาจใหสถานศึกษามีอิสระและความคลองตัวในการบริหารและ
ตัดสินใจในกิจการของสถานศึกษารับผิดชอบในการจัดการศึกษาใหแกผูเรียน
และสอดคลองกับสภาพพ้ืนทีใ่ หลดบทบาทหนว ยงานสว นกลางเปน หนวยงานใน
การกํากับประสานและสงเสริมดานนโยบายแผนมาตรฐานการศึกษาทรัพยากร
การศึกษาการตดิ ตามประเมินผลและสนับสนุนการดาํ เนนิ งานของหนว ยปฏิบัติ

2. สายแผนยุทธศาสตรจัดทาํ แผนยุทธศาสตรห รอื แผนปรบั ปรงุ ต้งั แตระดับ
กระทรวงกรมจงั หวดั เขตพน้ื ทจี่ นถงึ สถานศึกษาใหเ ปนเคร่อื งมือสําคัญในการ
ปฏิรปู การศึกษา

ยุทธศาสตรการปฏิรปู การศกึ ษา

3. เปดโอกาสการมีสวนรวมใหหนวยงานทั้งภาครัฐภาคเอกชนองคกรทองถิ่นและ
ผูประกอบการเขามามีสวนรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางานในทุกระดับ
สรางแนวรว มการปฏริ ปู การศกึ ษาใหเ กิดข้นึ ในสงั คมและชมุ ชน

4. ประกันคุณภาพใหมีระบบประกันคุณภาพการศึกษามีการควบคุมตรวจสอบ
แทรกแซงและประเมนิ คุณภาพและใหมกี ารรายงานผลตอสาธารณะ

5. เนนผูเรียนเปนศูนยกลางยึดหลักทุกคนสามารถเรียนรูไดจัดรูปแบบและ
กระบวนการเรียนรูใหเหมาะสมกับสภาพผูเรียนปรับบทบาทของครูเพ่ือ
สนับสนุนการเรียนรอู ยา งสมบรู ณและกวา งขวาง

มติ ขิ องการปฏิรปู การศกึ ษา

การนาํ การปฏิรูปการศึกษาใหสําเร็จที่จะทาํ ใหผ ูเรยี นมคี ณุ ภาพมีมาตรฐานสงู ในระดบั
ส า ก ล น้ั น ต อ ง เ ป น ก า ร ผ ส ม ผ ส า น ข อ ง อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ใ น ส า ม มิ ติ ด ว ย กั น อั น ไ ด แ ก มี มิ ติ ด า น
องคประกอบดานยุทธศาสตรและดานปจจัยสรางเสริมการเรียนรูการดําเนินงานการปฏิรูป
การศึกษาตองดําเนินงานท้ัง 3 มิตคิ ือองคประกอบ 4 ดานไดแกปฏิรูปกระบวนการเรยี นการสอน
ปฏิรูปหลักสูตรปฏิรูปวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาและการปฏิรูประบบบริหารโดยใช
ยทุ ธศาสตรในการดาํ เนนิ งาน 5 ยทุ ธศาสตรค อื การกระจายอาํ นาจการมสี วนรว มของผทู เ่ี กี่ยวขอ ง
การใชแผนยุทธศาสตร การประกันคุณภาพการยึดผูเรียนเปนศูนยกลางท้ังน้ีตองคํานึงและ
ตระหนักในดานภาวะผูนําทางการเรียนการสอนความคาดหวังผลสัมฤทธ์ิสูงจุดเนนทางการสอน
สรางบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีเก้ือกูลมีการติดตามความกาวหนาในการดําเนินงานการมี
สว นรว มและการใชค วามสาํ คัญกบั เวลาทใ่ี ชใ นการเรียนซ่ึงเปน ปจ จยั สรา งเสรมิ

เงอื่ นไขความสาํ เร็จในการปฏริ ปู การศกึ ษา

การบรรลุการศึกษาจะบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวจะตองพัฒนา
คุณภาพการเรียนการสอนพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพพัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพและพัฒนา
ระบบการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพซึ่งจะสงผลใหการจัดการศึกษามีคุณภาพและสงผลใหการจัด
การศกึ ษามีความเปนเลิศไดจึงจาํ เปน ตองพิจารณาเง่ือนไขท่ีจะสงผลตอ ความสําเร็จ 3 ประการ
ไดแก

1. เวลาการปฏิรูปการศึกษาจะตองอาศัยระยะเวลาดังน้ันผูบริหารครูผูปกครองตองรวมมือกัน
เพื่อเปล่ียนแปลงระบบการศึกษา

2. การฝกอบรมการพัฒนาบคุ ลากรทีเ่ กี่ยวของกบั การปฏิรูปการศกึ ษาเพอ่ื ใหความรคู วามเขาใจ
เปลย่ี นแปลงความเช่อื เปล่ยี นแปลงแนวคดิ และเปลย่ี นแปลงวธิ ปี ฏบิ ัติ

3. การส่ือสารการสื่อสารเปนเครื่องมือสําคัญอยางย่ิงตอการปลูกฝงความเชื่อเพื่อใหเกิดความ
ศรัทธาและการนําไปปฏบิ ตั ไิ ดตอ ไป

แนวทางการดาํ เนนิ งานปฏิรูปการศกึ ษา

การดําเนินงานการปฏิรูปการศึกษาในมิติขององคป ระกอบ 4 ดานคือดานกระบวนการ
เรียนการสอนดานหลักสูตรดานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาและดานระบบบริหาร
จัดการหนวยงานขององคกรตั้งแตสถานศึกษาจังหวัดเขตพื้นที่กรมและกระทรวงมีภาระและ
บทบาทหนา ท่ีแตกตางกนั เพื่อสนองตอเปา หมายของงานอยางเดียวกันคอื การพฒั นาการศึกษาให
เปน เลศิ ผเู รยี นมีความคิดรเิ รม่ิ สรางสรรคแ ละมคี ุณธรรมโดยมภี ารกจิ และบทบาทท่สี าํ คัญดงั นี้

1. หนวยงานระดับสถานศึกษามีบทบาทหนาท่ีในการจัดทําแผนยุทธศาสตรปรับปรุง
การศึกษาในสถานศึกษาปฏิบัติงานตามแผนนิเทศกํากับติดตามประเมินและรายงานผล
ดําเนินงานตามแผนเพื่อใหการจัดการเรียนการสอนสามารถพัฒนาคุณภาพของผูเรียนใหได
มาตรฐานสงู ในระดบั สากลและเกิดการเปล่ียนแปลงทางการศึกษาอยางแทจริงตอ เนอ่ื งและยัง่ ยืน

แนวทางการดําเนนิ งานปฏิรปู การศึกษา

2. หนวยงานระดับจังหวัดเขตพื้นที่มีบทบาทในการจัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนา
การศึกษาในจังหวัดเขตพ้นื ท่เี ตรียมความพรอ มและดําเนนิ การประสานงานสนับสนุนนิเทศกํากับ
ติดตามและรายงานผลการดําเนินงานการปฏิรูปการศึกษาในสถานศึกษาทุกระดับทุกประเภทใน
จังหวดั เขตพืน้ ทซี่ ึง่ จะมีทงั้ สว นท่ีเปนภาพรวมของทกุ หนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ ารและ
สว นที่เปนเฉพาะหนวยงานตามความเหมาะสมและจําเปน

3. หนวยงานระดับกรมสํานักงานคณะกรรมการฯ มีบทบาทหนาท่ีเสนอนโยบาย
แผนพัฒนามาตรฐานการศึกษาและหลักสูตรแกนกลางท่ีสอดคลองกับนโยบายและแผน
ยุทธศาสตรพ ัฒนาการศึกษาเตรยี มความพรอมและกาํ หนดแนวทางการปฏิรูปการศึกษาเฉพาะใน
สวนที่กรมสํานักงานคณะกรรมการรับผิดชอบสนับสนุนทรัพยากรใหหนวยงานปฏิบัติในระดับ
จังหวัดเขตพ้ืนที่และสถานศึกษาดําเนินงานใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพตลอดจนนิเทศ
ตรวจสอบและประเมนิ ผลตามแผนของกรมสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ

แนวทางการดาํ เนินงานปฏริ ูปการศกึ ษา

4. หนว ยงานระดับกระทรวงมีบทบาทหนาท่กี ําหนดนโยบายแผนและยุทธศาสตรการ
พัฒนาการศึกษาโดยภาพรวมกําหนดมาตรฐานการศึกษาปรบั ปรุงแกไขกฎหมายเพ่ือการปฏิรูป
การศึกษาสรางพื้นฐานและเตรียมความพรอมในการปฏิรูปการศึกษาสนับสนุนดําเนินการปฏิรูป
การศึกษาดานตาง ๆ กํากับติดตามตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบาย
กระทรวงรวมทั้งประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของตลอดจนประชาสัมพันธชี้แจงใหบุคคลที่
เกี่ยวของและประชาชนทั่วไปเกิดความเขาใจและสนับสนุนรวมมือในการดําเนินงานการปฏิรูป
การศึกษาของกระทรวง

แนวทางการดาํ เนินงาน
การปฏริ ปู การศึกษาในระดบั สถานศกึ ษา

ดา นกระบวนการเรยี นการสอน

การปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอนทุกระดับถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุดจะตองสงเสริมให
ผูเรียนพัฒนาเต็มศักยภาพและมีความสุขโดยยึดหลักผูเรียนเปนศูนยกลางจัดสาระการเรียนรูบูรณาการ
ความรูและทักษะตาง ๆ อยางเหมาะสมกับระดับการศึกษาและสอดคลองกับความตองการของผูเรียน
ชมุ ชนและประเทศใหม กี ารประเมนิ ผลการเรยี นรูต ามสภาพจรงิ โดยมีแนวทางดังน้ี

1. จัดกระบวนการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางใหผูเรียนไดเรียนรูตามสภาพจริงมี
วธิ กี ารเรยี นรแู ละมที กั ษะแสวงหาความรสู รา งความรูไดด ว ยตนเองโดยการ

2. จัดทําสาระการเรียนรูใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลาง และสอดคลองกับความสนใจความ
ถนดั ความตอ งการผเู รยี นและชมุ ชนโดยการ

แนวทางการดําเนนิ งาน
การปฏริ ูปการศึกษาในระดับสถานศกึ ษา

ดานกระบวนการเรียนการสอน

3. จัดบรรยากาศสภาพแวดลอมและองคประกอบอื่น ๆ ท่ีสงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยาง
ตอ เน่อื ง

4. ใหบ คุ ลากรองคก รและสถาบันในทองถ่นิ มี สวนรว มในกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยการ

5. มกี ารทาํ วิจัยในชน้ั เรียน

6. ประเมินผลตามสภาพจริงโดยเนนประเมินควบคูไปกับการเรียนการสอนและประเมินจากการ
ปฏบิ ตั ิงานจริง

7. ใหผเู รยี นศึกษาคน ควาดวยตนเองจากแหลง การเรยี นรตู า ง ๆ

8. มรี ะบบนิเทศตดิ ตามประเมนิ ภายใน

9. ประชาสมั พนั ธร ปู แบบการเรียนการสอนของสถานศึกษา

แนวทางการดําเนนิ งาน
การปฏริ ปู การศึกษาในระดบั สถานศกึ ษา

ดานหลักสตู ร

1. สาระของหลกั สตู รใหส อดคลอ งกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานในสวนท่ีเก่ียวขอ ง
โดยชมุ ชนและทอ งถิ่น

2. พัฒนาหลักสูตรและจัดแผนการเรียนท่ีหลากหลายใหสอดคลองกับสภาพความพรอมความ
ตอ งการของผูเรยี นและชมุ ชน

3. บรหิ ารการใชห ลักสูตรทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ลและประสิทธภิ าพตามมาตรฐานที่กําหนด

4. ดาํ เนนิ การตามระเบยี บเทยี บโอนผลการเรยี น

แนวทางการดาํ เนนิ งาน
การปฏริ ปู การศึกษาในระดบั สถานศกึ ษา

ดา นวิชาชพี ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

พัฒนาบุคลากรทุกฝายท่ีเก่ียวของในระดับสถานศึกษาและประชาชนในชุมชนใหเปนทีมงาน
ทม่ี คี ุณภาพเพ่อื ผลกั ดนั ใหเ กดิ การพฒั นาการศกึ ษาอยางแทจ รงิ

1. สรา งความตระหนกั จิตวญิ ญาณและจรรยาบรรณของวชิ าชพี

2. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม คี ณุ ภาพตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชพี

3. สนบั สนนุ สง เสริมครูและบคุ ลากรในสถานศึกษาใหพ ฒั นาตนเองอยา งตอ เนอื่ ง

4. ตดิ ตามประเมนิ ผลโดย

5. การรายงานสสู าธารณชน

แนวทางการดาํ เนนิ งาน
การปฏริ ปู การศึกษาในระดบั สถานศกึ ษา

ดานการบรหิ ารและจดั การ

1. การบริหารและจัดการแบบศึกษาแบบเบ็ดเสร็จซ่ึงเปนการบริหารจัดการศึกษาในลักษณะท่ี
สถานศกึ ษามอี ํานาจในการบรหิ ารแบบเบด็ เสรจ็ ดา นการเงินคนวชิ าการและอนื่ ๆ

2. จดั ใหม ีระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา

3. ปรบั ปรงุ บรรยากาศและส่งิ แวดลอ มและองคป ระกอบทเ่ี ลอื ดออกการเรยี นรู

4. สนบั สนนุ สง เสรมิ ใหม กี ารใชเ ทคโนโลยเี พ่อื การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

5. สนบั สนนุ สงเสรมิ ใหม ีการใชทรัพยากรรวมกนั

แนวทางการดําเนนิ งานการปฏิรปู การศกึ ษาในระดับสถานศึกษา

ดานการบริหารและจัดการ

6. ใหสทิ ธิโอกาสเสมอภาคทางการศกึ ษา

7. ประชาสมั พันธเ ผยแพรข า วสารขอมลู

8. จัดโรงเรยี นเปน ศูนยกลางการเรียนรูของชมุ ชน

9. กาํ กบั ตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล

กลา วโดยสรปุ การปฏิรูปการศึกษาเปนการเรงรดั ใหโรงเรียนและสถานศึกษาทุกระดับจัดการศึกษา
ใหม มี าตรฐานคณุ ภาพทัดเทยี มกนั และกระจายบรกิ ารการศกึ ษาใหครอบคลุมทกุ พ้ืนท่ีเรงปฏริ ูประบบการ
ผลิตการสรรหาพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอยางตอเนื่องปฏิรูปหลกั สูตรและกระบวนการเรียน
การสอนทุกระดับทุกประเภทตลอดจนการกระจายอํานาจใหสถานศึกษามีอํานาจตัดสินใจดานบริหาร
และการจัดการศกึ ษาใหเหมาะสมและสอดคลอ งกบั สภาพวถิ คี วามเปน อยใู นทอ งถิ่นใหม ากท่สี ดุ รวมทั้งใน
ครอบครวั ชมุ ชนและเอกชนทีม่ สี ว นรว มในการจดั การศึกษา

ปฏิรูปการศกึ ษาและการเรียนรูอยา งเปน ระบบ

โดยศึกษาประเด็นปญหาหลักในการศึกษาและการเรียนรูที่ยึดโยงกันและเนนการ
ปรับปรุงแกไขอยางเปนระบบมิใชท่ีเพียงจุดใดจุดหน่ึงแยกจากกันตั้งแตการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาและการเรียนรูโดยปรับกระบวนทัศนการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนสามารถ
พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงคพัฒนาครูคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาท่ีให
สามารถเลือกอํานวยใหเกิดการเรียนรูโดยการสรางครูยคุ ใหมท ่ีมคี วามรูความสามารถมีใจ
รักมีคุณธรรมจริยธรรมเขามาเปนครูคณาจารยและปรับระบบบริหารจัดการใหมี
ประสิทธิภาพคลองตัวเพ่ือโอกาสทางการศึกษาและสงเสรมิ การมีสวนรวมในการ บริหาร
และจัดการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาผเู รยี นเปน สําคญั

ปฏิรูปการศึกษาและการเรยี นรูอยา งเปนระบบ

ในการนี้จําเปนตองมีกลไกหรือหนวยงานที่วิเคราะหปญหาของระบบการศึกษาและเรียนรูการ
เช่ือมโยงกับระบบเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมกฎหมายของประเทศและเสนอแนวทางปฏิรูประบบอยาง
เปนข้ันตอนโดยกําหนดประเด็นสําคัญของระบบการศึกษาการเรียนรูท่ีตองการปฏิรูปอยางเรงดวนดวย
การพัฒนาคุณภาพไทยยุคใหมท่ีมีนิสัยใฝเรียนรูต้ังแตปฐมวัยสามารถเรียนรูดวยตนเองและแสวงหา
ความรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิตมีความสามารถในการส่ือสารสามารถคิดวิเคราะหแกปญหาคิดริเร่ิม
สรางสรรคมีจิตสาธารณะมีระเบียบวินัยคํานึงถึงประโยชนสวนรวมสามารถทํางานเปนกลมุ ไดอยางเปน
กัลยาณมิตรมีศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรมคานิยมมีจิตสํานึกและความภูมิใจในความเปนไทยยึดม่ันการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุขรังเกียจการทุจริตและตอตานการซื้อ
สิทธิ์ขายเสียงสามารถเทาทันโลกมีสุขภาพกายสุขภาพใจท่ีสมบูรณแข็งแรงเปนกําลังพลท่ีมีคุณภาพมี
ทักษะความรูพ้ืนฐานท่ีจําเปนมีสมรรถนะความรูความสามารถสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ
รวมท้งั มโี อกาสเรยี นรูอยา งเทา เทียมเสมอภาคจงึ กาํ หนดแนวทางการปฏิรปู ดงั น้ี

พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู เพ่ือใหมีการพัฒนาการศึกษาและเรียนรูในทุกระดับประเภท
การศึกษาทไ่ี ดมาตรฐานตามเกณฑจ งึ ควรเรง ดาํ เนนิ การ

การผลิตและพัฒนากําลังคนที่มีคุณภาพ
มสี มรรถนะและมคี วามรคู วามสามารถ

มาตรการหลกั

1. พัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติเพื่อการรับรองสมรรถนะความรูความสามารถของ
ผูสําเร็จการศึกษาในทุกระดับประเภทการศึกษาโดยเฉพาะคุณวุฒิวิชาชีพเพ่ือการรับรองสมรรถนะ
ความรูความสามารถในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพและตามความตองการของผูจางงานและ
พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะระบบการจา งงานและกําหนดเงนิ เดอื นคา ตอบแทนตามสมรรถนะเพื่อจงู ใจ
ผเู รยี นอาชวี ศกึ ษามากข้นึ

2. จัดการศึกษาและเรียนรูอาชีวศึกษาโดยเนนการปฏิบัติในสัดสวนมากกวาทฤษฎีและการ
เรียนรูงานอาชีพขยายการศึกษาระบบทวิภาคีสหกิจศึกษาและการฝกงานใหมากขึ้นรวมท้ังสงเสริมการ
ทํางานระหวางเรียนการพัฒนาระบบสะสมหนวยการเรียนทํานองธนาคารหนวยกิตเพ่ือสงเสริมการ
เรยี นรคู วบคกู บั การทาํ งาน

การผลติ และพฒั นากําลงั คนท่ีมีคณุ ภาพ
มสี มรรถนะและมคี วามรคู วามสามารถ

มาตรการหลกั

3. พัฒนาระบบเตรยี มความพรอ มและการแนะแนวการศึกษาและอาชพี ใหผ เู รียนรูจกั ตนเองและ
สาขาอาชีพตาง ๆ ต้ังแตระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือเลือกเรียนตามความสนใจความถนัดและความ
ตอ งการ

4. พัฒนาหลักสูตรฐานวิชาชีพตอยอดจากการศึกษาภาคบังคับเพ่ือใหผูจบการศึกษามีทักษะ
ความรดู านอาชีพสามารถออกไปประกอบอาชีพไดหากไมศ กึ ษาตอ รวมท้ังสนับสนุนการศกึ ษาและเรยี นรู
เพื่อประกอบอาชพี อิสระ

5. จัดต้ังสถาบันการอาชีวศึกษาใหสอดคลองกับการพัฒนากลุมจังหวัดและจัดหลักสูตร
อาชวี ศึกษาระดับตน (ปวช. 3 ป) ระดับกลาง (ปวช. 2 ป) และระดับเทคโนโลยเี ฉพาะทาง (ปรญิ ญาตรี
2-3 ป) ใหมีความตอเน่ืองเช่ือมโยงกัน เพ่ือผลิตกําลังคนตามตองการของตลาดแรงงานโดยเนนความ
รวมมือกบั สถานประกอบการ

การผลิตและพฒั นากําลังคนท่ีมีคุณภาพ
มีสมรรถนะและมคี วามรคู วามสามารถ

มาตรการหลกั

6. สรางกลไกและวิจัย และถายทอดความรูและเทคโนโลยีระหวางภาคธุรกิจเอกชนสถาน
ประกอบการกับสถาบนั อดุ มศกึ ษาและอาชวี ศกึ ษา

7. กําหนดทิศทางความตองการกําลังคนและสรางระบบเครือขายความรวมมือในการผลิตและ
พัฒนากําลังคนจากภาคสวนตาง ๆ ท้ังสมาคมวิชาชีพสถานประกอบการองคกรผูใชกําลังพล
สถาบันการศกึ ษาผผู ลติ

เปาหมายยทุ ธศาสตรแ ละตวั บง ชกี้ ารปฏริ ูป
การศึกษาในทศวรรษท่ี 2 (พ.ศ. 2552-2561)

เพ่ือใหการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 บรรลุเปาหมายตามวัตถุประสงค
คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ี 2 (กนป.) ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน
จึงกําหนดเปาหมายยุทธศาสตรตัวบงช้ีและคาเปาหมายสําหรับการดําเนินงานตั้งแตบัดน้ีจน
สิน้ สดุ พ. ศ. 2561 ดังน้ี

เปา หมายยุทธศาสตรขอ 1 คนไทยและการศกึ ษาไทยมีคุณภาพและไดม าตรฐานระดับสากล

เปาหมายยุทธศาสตรขอ 2 คนไทยใฝรู สามารถเรียนรูไดดวยตนเองรักการอานและแสวงหา
ความรูอยางตอ เนื่อง

เปาหมายยุทธศาสตรและตัวบง ชก้ี ารปฏริ ูป
การศึกษาในทศวรรษท่ี 2 (พ.ศ. 2552-2561)

เปา หมายยุทธศาสตรขอ 3 คนไทยใฝดี มคี ณุ ธรรมพนื้ ฐานมจี ิตสาํ นึกและคา นิยมท่พี ึงประสงคเหน็
แกประโยชนสว นรวมมีจิตสาธารณะมีวฒั นธรรมประชาธปิ ไตย
เปาหมายยุทธศาสตรขอ 4 คนไทยคิดเปนทําเปนแกปญหาไดมีทักษะในการคิดและปฏิบัติมี
ความสามารถในการแกปญหามคี วามคดิ ริเร่ิมสรา งสรรคม ีความสามารถในการส่อื สาร

พันธกิจในการปฏริ ปู การศึกษา

พันธกิจทีต่ องปฏิบัติในการปฏิรูปการศึกษาตั้งแตหมวด 2 ถึงหมวดเกาสิทธิและหนา ที่
ทางการศกึ ษา มรี ายละเอยี ดดังน้ี

1. ดําเนินการใหบ ุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานไมนอ ย
กวา 12 ปอยางทวั่ ถงึ และมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจ า ย

2. ดําเนินการใหบุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกายจิตใจสติปญญาอารมณสังคม
การสือ่ สารและการเรียนรหู รอื มรี างกายพกิ ารหรอื ทพุ พลภาพหรอื บคุ คลซึ่งไมส ามารถพึง่ ตนเองได
หรอื ไมม ผี ดู ูแลหรอื ดอยโอกาสมีสิทธิและโอกาสไดร ับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานเปน พิเศษรวมทง้ั การจัด
การศกึ ษาสําหรบั บคุ คลซงึ่ มีความสามารถพิเศษดวยรูปแบบทีเ่ หมาะสม

3. ออกกฎกระทรวงเพื่อรองรับสิทธิของคนพิการท่ีจะไดรบั ความสะดวกส่ือบริการและ
ความชว ยเหลอื อ่ืนทางการศึกษา

พันธกจิ ในการปฏิรูปการศึกษา

4. ออกกฎกระทรวงเพอ่ื รองรบั สทิ ธใิ นการจดั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานของบุคคลครอบครัว
องคก รชุมชนองคก รเอกชนองคก รวชิ าชพี สถาบัน ศาสนาสถานประกอบการและสถาบันสงั คมอน่ื

5. ดําเนินการใหบิดามารดาหรือผูปกครองไดรับการสนับสนุนจากรัฐใหมีความรู
ความสามารถในการอบรมเลยี้ งดูและการใหการศึกษาแกบ ตุ รหรอื บุคคลซงึ่ อยใู นความดแู ล

6. ออกกฎหมายรองรับสิทธิของบดิ ามารดาหรือผูปกครองในอันท่ีจะไดรับเงินอุดหนนุ
จากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซ่ึงอยูในความดูแลท่ีครอบครวั จัด
ใหแ ละไดรับการลดหยอนหรือยกเวน ภาษีสําหรบั คา ใชจ า ยการศึกษา

พนั ธกจิ ในการปฏิรปู การศกึ ษา

7. ดําเนินการใหบุคคลครอบครัวชุมชนองคกรชุมชนองคกรเอกชนองคกรวิชาชีพ
สถาบันศาสนาสถานประกอบการและสถาบันอ่ืนซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดรับ
การสนับสนุนจากรัฐใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซ่ึงอยูในความดูแล
รบั ผิดชอบ

8. ออกกฎหมายรองรับสิทธิของบุคคลครอบครัวชุมชนองคกรชุมชนองคกรเอกชน
องคกรวิชาชีพสถาบันศาสนาสถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นซ่ึงสนับสนุนหรือจัด
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานในอันท่ีจะไดรับเงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและ
ไดรับการลดหยอนหรือยกเวน ภาษสี าํ หรับคา ใชจายการศกึ ษา

การพัฒนาคุณภาพครู
ตามแนวทางการปฏริ ปู การศึกษา

1.พัฒนาระบบผลติ ครคู ณาจารยและการศกึ ษา
2. การพฒั นาครูคณาจารยแ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
3. การใชค รคู ณาจารยผบู รหิ ารและบคุ ลากรดา นอาชวี ศกึ ษา
4. พัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษาและแหลง เรียนรูยคุ ใหม
5. พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการใหม
6. พฒั นาระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลใหมีความโปรงใสเปนธรรมและมีระบบ
การตรวจสอบทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
7. พัฒนาการบรหิ ารจดั การเพอื่ เพ่มิ โอกาสทางการศึกษาอยางมคี ุณภาพ

การพัฒนาคุณภาพครู
ตามแนวทางการปฏิรปู การศึกษา

8. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการเพอื่ สงเสริมสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนภาคเอกชนและ
ทุกภาคสวนในการจัดการศึกษาและสนับสนุนการศกึ ษาและเรยี นรใู หมากข้นึ

8.1 สงเสริมการมีสวนรวมของบุคคลครอบครัวชุมชนองคกรชุมชนเอกชนองคกร
เอกชนองคกรวิชาชีพสถาบันศาสนาสถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนในการจัดการศึกษา
และสนับสนุนการศกึ ษาใหม ากขึน้

8.2 สงเสริมบทบาทองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเขามารวมจัดและสนับสนุน
การศึกษามากขนึ้

8.3 พัฒนาระบบบรกิ ารจดั การทรพั ยากรเพ่อื การศึกษาใหมปี ระสิทธภิ าพ

สรุป

การปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) รฐั บาลจะมงุ เนน ใหค นไทยไดเรียนรูตลอดชวี ิตอยาง
มีคุณภาพโดยมีเปาหมายภายใน พ.ศ. 2561 โดยเนนประเด็นหลัก 3 ประการคือ 1 คุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาและเรียนรูของคนไทยพัฒนาผูเรียนสถานศึกษาแหลงเรียนรูสภาพแวดลอมหลักสูตรและเนื้อหาพัฒนา
วิชาชีพครใู หเปนวิชาชีพท่ีมีคุณคาสามารถดึงดูดคนเกงคนดีมีใจรักมาเปนครูคณาจารยไดอยางยง่ั ยนื ภายใตระบบ
บรหิ ารจัดการท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ 2 โอกาสทางการศกึ ษาและเรียนรูเพ่มิ โอกาสการศึกษาและเรียนรูอยางท่ัวถึงและมี
คุณภาพเพื่อใหประชาชนทุกคนทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเขาถึงการศึกษาและการเรียนรูอยางตลอดชีวิต 3 สงเสริม
การมสี วนรวมของทุกภาคสวนของสังคมในการบรหิ ารและจัดการศึกษาโดยเพ่มิ บทบาทของผูที่อยูภายนอกระบบ
การศึกษาไมใชสวนหน่ึงสวนใดของระบบ และพิจารณาระบบการศึกษาและเรียนรูในฐานะที่เปนสวนหน่ึงของ
ระบบการพัฒนาประเทศซึ่งตองเชื่อมโยงกับการพัฒนาระบบอ่ืนทั้งดานเศรษฐกิจสังคมการเมืองเกษตรกรรม
สาธารณสุขการจางงานเปนตน โดยวิเคราะหประเด็นหลักท้ังสามประการน้ีจะสงผลใหคนไทยยุคใหมเปนบุคคล
ดังนี้ 1 สามารถเรียนรูไดดวยตนเองรักการอานและมีนิสัยใฝรูเรียนรูตลอดชีวิต 2 มีความสามารถในการสื่อสาร
สามารถคิดวิเคราะหแกปญหาคิดริเร่ิมสรางสรรค 3 มีจิตสาธารณะมีระเบียบวินัยเห็นแกประโยชนสวนรวม
สามารถทาํ งานเปนกลุม 4 มีศีลธรรมคุณธรรมจรยิ ธรรมคานิยมสิทธ์ิความภาคภูมิใจในความเปนไทยและสามารถ
กา วทันโลก


Click to View FlipBook Version