The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์
ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง
จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noomsiri30, 2023-01-31 21:29:27

การจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565

การจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์
ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง
จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565

51 2.4 ด้านผลผลิต (Product) ตารางที่ 4.5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความเห็นของกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามต่อการดำเนินงาน โครงการจัดการศึกษาหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดย ใช้ระบบ ห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ด้านผลผลิต (Product) (N=13) รายการ μ σ ระดับ 1) ความรู้ความเข้าใจในการจัดทำระบบห้องเรียนออนไลน์ 1. การจัดการระบบชั้นเรียนออนไลน์ 4.46 0.52 มาก 2. การใช้สื่อในระบบห้องเรียนออนไลน์ 4.46 0.66 มาก 3. การสร้างเอกสารประกอบการสอนในระบบห้องเรียน ออนไลน์ 4.54 0.52 มากที่สุด 4. การมอบหมายงาน (ใบงาน แบบฝึกหัด) 4.46 0.52 มาก 5. การทำแบบทดสอบ (ข้อสอบ ) 4.46 0.52 มาก 6. สื่อการเรียนการสอนสอดคล้องกับบทเรียน 4.62 0.51 มากที่สุด 7. การตรวจงานและการทดสอบ 4.38 0.65 มาก 8. การจัดทำและปรับปรุงแผนการสอน 4.46 0.52 มาก เฉลี่ยรวม 4.48 0.52 มาก 2) การใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ในการจัดการเรียน การสอน 9. บทเรียนและสื่อในระบบมีความครอบคลุมเนื้อหาสาระ ครบถ้วน 4.38 0.51 มาก 10. บทเรียนและสื่อในระบบมีความทันสมัย 4.69 0.48 มากที่สุด 11. บทเรียนและสื่อในระบบมีความสอดคล้องกับสภาพ ความต้องการใช้งาน 4.46 0.66 มาก 12. บทเรียนและสื่อในระบบมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ 4.54 0.52 มากที่สุด 13. เนื้อหาของแต่ละบทเรียนครบถ้วนสมบูรณ์กะทัดรัด ชัดเจน 4.46 0.66 มาก เฉลี่ยรวม 4.51 0.49 มากที่สุด 3) ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบห้องเรียน ออนไลน์ของครู 14. การเรียนรู้ในระบบห้องเรียนออนไลน์ทำให้นักศึกษามี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียนมากขึ้น 4.31 0.48 มาก


52 ตารางที่ 4.5 (ต่อ) รายการ μ σ ระดับ 15. การเรียนรู้ในระบบห้องเรียนออนไลน์ช่วยฝึกให้ นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ 4.31 0.48 มาก 16. มีช่องทางในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง ครู และนักศึกษา และระหว่างนักศึกษาด้วยกันเอง 4.46 0.52 มาก 17. ช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตัวเองของนักศึกษา 4.54 0.52 มากที่สุด 18. ช่วยให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น 4.54 0.52 มากที่สุด 19. ช่วยประหยัดเวลาในการเรียนการสอน 4.46 0.52 มาก 20. ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 4.38 0.51 มาก 21. ช่วยติดตามทบทวนเนื้อหาในช่วงที่ขาดหายไประหว่างเรียน 4.62 0.51 มากที่สุด 22. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอน 4.38 0.65 มาก เฉลี่ย 4.44 0.42 มาก เฉลี่ยรวม 4.48. 0.04 มาก จากตารางที่ 4.5 พบว่าผู้บริหารสถานศึกษาและครูกศน.อำเภอปลวกแดง มีความเห็นต่อการดำเนินงานโครงการ จัดการศึกษาหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ด้านผลผลิต (Product) โดยรวมมีค่าเฉลี่ยรวมระดับมาก ( =4.48, σ=0.04) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ความรู้ความเข้าใจในการจัดทำระบบห้องเรียนออนไลน์ พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.48, σ=0.52) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสื่อการเรียนการสอนสอดคล้องกับบทเรียนมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ ในระดับมากที่สุด ( =4.62, σ=0.51) รองลงมาการสร้างเอกสารประกอบการสอนในระบบห้องเรียนออนไลน์ค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่การตรวจงานและการทดสอบมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก( =4.38, σ=0.65) การใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ในการจัดการเรียนการสอน โดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.51, σ=0.49) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าบทเรียนและสื่อในระบบมีความทันสมัยมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมากที่สุด ( =4.69, σ=0.48) รองลงมาบทเรียนและสื่อในระบบมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือบทเรียนและสื่อในระบบมีความครอบคลุมเนื้อหาสาระครบถ้วน มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.38, σ=0.51) ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบห้องเรียนออนไลน์ของครู พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก ( =4.44, σ=0.42) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าช่วยติดตามทบทวนเนื้อหาในช่วงที่ขาดหายไประหว่างเรียน มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62, σ=0.51) รองลงมาช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตัวเองของ นักศึกษา และช่วยให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่การเรียนรู้ในระบบห้องเรียนออนไลน์ทำให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหา บทเรียนมากขึ้น การเรียนรู้ในระบบห้องเรียนออนไลน์ช่วยฝึกให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยอยู่ ในระดับมาก( =4.31, σ=0.48)


53 ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะของกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม เกี่ยวกับเกี่ยวกับโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ของครูกศน. ปัญหาเกี่ยวกับโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยองปีงบประมาณ 2565 ตามความเห็นของครู กศน. จำนวน 13 คน สรุปได้ว่าครูขาดทักษะในการใช้ระบบ ห้องเรียนออนไลน์เช่น การสำเนาข้อมูลไปใช้ ทำให้ข้อมูลแผนการสอนบางส่วนหายไป การจัดเรียงข้อมูลยังไม่เป็น ระบบ ทำให้เกิดข้อผิดพลาดในการนำข้อมูลไปใช้ครูบางคนไม่สามารถตอบคำถามและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างที่ นักศึกษาใช้ Google Classroom นักศึกษาใช้โทรศัพท์ต่างรุ่นกันทำให้มีปัญหาในการใช้ระบบที่แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของผู้ครู กศน.เกี่ยวกับโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยองปีงบประมาณ 2565 สรุปได้ว่า ควรพัฒนาศักยภาพครูในการจัดทำระบบห้องเรียน ออนไลน์อย่างต่อเนื่อง และให้ครูฝึกฝนการใช้งานอยู่สม่ำเสมอ ติดตามผลโดยการประชุมชี้แจงทำความเข้าใจในการ จัดระบบข้อมูลในห้องพักครู ส่งเสริมให้ครูจัดทำ จัดหาสื่อในระบบห้องเรียนออนไลน์ให้มีความหลากหลาย ครูต้อง สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน สร้างบรรยากาศทางการเรียนรู้ที่อบอุ่นและกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน จัดทำข้อตกลงของระหว่างผู้เรียนเพื่อสร้างความรับผิดชอบทางการเรียนให้ผู้เรียน เปิดโอกาสและสนับสนุนให้ผู้เรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สร้างแรงจูงใจในการเรียนออนไลน์ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ยืดหยุ่นใน การตอบคำถามตามความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน การปรับรูปแบบการนำสื่อในระบบห้องเรียนออนไลน์มาให้ นักศึกษาใช้ในช่องทางการสื่อสารอื่นๆ เช่น Facebook Line เพื่อให้นักศึกษาที่มีปัญหาในการเข้าใช้ Gmail ได้ใช้สื่อ ในห้องเรียนออนไลน์ พัฒนานักศึกษาแกนนำในด้านวิธีการใช้ Google Classroom และจัดระบบเพื่อนช่วยเพื่อนใน การเรียนการสอน ติดตามและทราบความก้าวหน้าของผู้เรียน เพื่อให้การสนับสนุนที่เหมาะสม จัดอบรมพัฒนา ผู้เรียนด้านวิธีการใช้ Google Classroom ดำเนินการติดตามผลการใช้งานของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง และเสนอแนะ ว่าแม้ Google classroom จะมีประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาทักษะบางประการของนักศึกษา แต่ก็เป็นเพียงส่วนเสริมระบบการสอนให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลมากขึ้น แต่การเรียนการสอนที่สมบรูณ์ยังคงต้อง ใช้ทักษะการสอนของครูผู้สอนเป็นหลักประกอบกัน ซึ่งนักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาด้านการเขียนหนังสือ จึงควรให้ ใบงานที่เป็นการเขียนตอบเพื่อพัฒนาทักษะในการเขียนหนังสือให้กับนักศึกษา จึงจะทำให้การจัดการเรียนการสอน ประสบความสำเร็จ นักศึกษามีทักษะความรู้ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน


54 การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามชุดที่2 (เก็บข้อมูลวันที่20 ตุลาคม 2565) แบบสอบถามสำหรับนักศึกษา กศน. จำแนกเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามตามเครื่องมือ ตารางที่ 4.6 จำนวนและร้อยละข้อมูลทั่วไปของนักศึกษา กศน. (N=156) ข้อมูลทั่วไปของนักศึกษา กศน. จำนวน(คน) ร้อยละ 1.เพศ ชาย 72 46.15 หญิง 84 53.85 รวม 156 100.00 2. ระดับการศึกษา ประถมศึกษา 7 4.49 มัธยมศึกษาตอนต้น 64 41.67 มัธยมศึกษาตอนปลาย 85 58.33 รวม 156 100.00 3. อายุ ต่ำกว่า 20 ปี 40 24.86 21 – 30 ปี 83 52.49 31 – 40 ปี 22 13.81 41 – 50 ปี 10 7.18 51 ปี ขึ้นไป 1 1.66 รวม 156 100.00 จากตารางที่ 4.6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 53.85 การศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเป็นร้อยละ 58.33 และมีช่วงอายุ 21 – 30 ปีคิดเป็นร้อยละ 52.49 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจต่อการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของนักศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และเรียนโดยใช้ระบบ ห้องเรียนออนไลน์ ตารางที่ 4.7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความพึงพอใจต่อการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของ นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่ ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และเรียนโดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ (N=156) รายการ S.D. ระดับ 1. ความสะดวกในการเข้าใช้ห้องเรียนออนไลน์ 4.36 0.60 มาก 2. ความง่ายของตำแหน่งเมนู 4.07 0.61 มาก 3. ขนาดตัวอักษร รูปแบบ อ่านง่ายสบายตา 4.38 0.53 มาก 4. หน้าต่างการใช้งานไม่ซับซ้อน 4.20 0.62 มาก 5. ความรวดเร็วในการตอบสนองการใช้งานห้องเรียน ออนไลน์ 4.31 0.66 มาก


55 รายการ S.D. ระดับ 7. การลำดับเนื้อหาต่อเนื่องสัมพันธ์กัน 4.24 0.60 มาก 8. กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้องกับเนื้อหา 4.31 0.55 มาก 9. ความสะดวกในการเชื่อมโยง(ลิงค์)ไปยังเนื้อหาที่จัดไว้ ในห้องเรียน 4.36 0.56 มาก 10. การเรียนในห้องเรียนออนไลน์ช่วยฝึกให้เกิดการ ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง 4.29 0.58 มาก 11. ห้องเรียนออนไลน์ช่วยให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 4.38 0.61 มาก 12. การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับครู 4.31 0.63 มาก 13. ห้องเรียนเข้าถึงได้ง่ายและสะดวก 4.33 0.63 มาก 14. ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล 4.27 0.61 มาก 15. ความน่าสนใจของห้องเรียนออนไลน์ 4.24 0.56 มาก 16. ห้องเรียนออนไลน์กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ 4.47 0.62 มาก 17. ช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตัวเอง 4.33 0.56 มาก 18. การนำเสนอเนื้อหาน่าสนใจ 4.29 0.65 มาก 19. สื่อการเรียนการสอนสอดคล้องกับบทเรียน 4.29 0.58 มาก 20. สื่อเหมาะสมกับการเรียนรู้ 4.33 0.56 มาก 21. เปิดโอกาสได้สอบถามและอภิปราย 4.22 0.63 มาก 22. มีโอกาสได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง 4.36 0.52 มาก 23. ความสะดวกรวดเร็วในการทราบผลการเรียน 4.44 0.54 มาก 24. มีโอกาสได้ทบทวนเนื้อหาความรู้ได้หลายครั้ง 4.33 0.60 มาก 25. มีความอิสระในการเรียนไม่ถูกจำกัดด้วยเวลา 4.42 0.58 มาก 26. ช่วยให้เข้าใจเนื้อหาการเรียนมากยิ่งขึ้น 4.20 0.54 มาก 27. มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนในห้องเรียนออนไลน์ 4.36 0.67 มาก 28. มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนในห้องเรียนออนไลน์ 4.22 0.55 มาก 29. ประสิทธิภาพและคุณภาพของห้องเรียนออนไลน์ โดยรวม 4.31 0.63 มาก 30. ความพึงพอใจในภาพรวมต่อห้องเรียนออนไลน์ 4.44 0.62 มาก เฉลี่ยรวม 4.31 0.40 มาก จากตารางที่ 4.7 พบว่านักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง มีความพึงพอใจต่อการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยรวมระดับมาก ( =4.31, S.D.=0.40) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ห้องเรียนออนไลน์กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.47, S.D.=0.62) รองลงมาความสะดวกรวดเร็วในการทราบผลการเรียนและความพึงพอใจในภาพรวมต่อห้องเรียน ออนไลน์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.44, S.D.=0.54) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่ความง่ายของตำแหน่งเมนูมี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก( =4.07, S.D.=0.61)


56 ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ระบบห้องเรียน ออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และเรียนโดยใช้ระบบ ห้องเรียนออนไลน์ ปัญหาเกี่ยวกับการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ตามความคิดเห็นของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และ เรียนโดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์จำนวน 156 คน สรุปได้ว่า ขาดทักษะการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต ทักษะการ ใช้ Google Classroom ของนักศึกษาต่างกัน ตำแหน่งเมนูของระบบในโทรศัพท์แต่ละรุ่นไม่เหมือนกัน ทำให้เกิด ปัญหาในการใช้งาน แนบไฟล์ส่งงานไม่ครบ ไม่สะดวกในการใช้งาน Gmail คิดว่ายุ่งยากในการใช้ระบบห้องเรียน ออนไลน์ สัญญาณอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร และไม่เพียงพอ การตอบคำถามในห้องเรียนยังล่าช้า ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ตามความคิดเห็นของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565และเรียนโดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์จำนวน 156คน สรุปได้ว่า ควรพัฒนาทักษะการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต พัฒนา ทักษะการใช้ Google Classroom ของนักศึกษา ปรับรูปแบบการนำสื่อในระบบห้องเรียนออนไลน์มาให้นักศึกษาใช้ ในช่องทางการสื่อสารอื่นๆ เช่น Facebook Line เพื่อให้นักศึกษาที่มีปัญหาในการเข้าใช้ Gmail ได้ใช้สื่อในห้องเรียน ออนไลน์ และควรพัฒนาปรับปรุงเพิ่มความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต


57 บทที่ 5 สรุปการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัย เรื่องการประเมินโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้ระบบห้องเรียน ออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัยอภิปรายผลและข้อเสนอแนะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ในการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยไว้ดังนี้ 1. ประเมินโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง รวม 4 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต 2. ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา กศน.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีต่อการใช้ระบบห้องเรียน ออนไลน์ รวม 3 ด้าน คือ ด้านการเข้าถึงห้องเรียนออนไลน์ด้านคุณภาพของระบบห้องเรียนออนไลน์ และด้านการ พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประชากร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ครู กศน.ในสังกัดของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง และนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่ลงทะเบียนเรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และใช้ ระบบห้องเรียนออนไลน์จำแนกเป็น 1) ครู กศน. จำนวน 20 คน 2) นักศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัด ระยอง ที่ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ จำนวน 623 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์โดยกำหนดเป็นร้อยละของประชากรในการพิจารณา (ธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543) ถ้า ขนาดประชากรเป็นหลักร้อย ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อย 25% ในการวิจัยครั้งนี้กำหนดกลุ่มตัว จากร้อยละ 25 ของประชากร 623 คน ได้กุล่มตัวอย่างจำนวน 156 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารหนังสือ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จำนวน 2 ชุด มีดังนี้ ชุดที่1 แบบสอบถามสำหรับ ครู กศน. มี 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ปลวกแดง จังหวัดระยอง เพื่อประเมินด้านบริบท (Context) ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ด้านกระบวนการ (Process) และด้านผลผลิต (Product) มีลักษณะเป็นมาตรประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ดังนี้ 5 หมายถึง มีความสอดคล้อง/มีความเห็นด้วย อยู่ในระดับ มากที่สุด 4 หมายถึง มีความสอดคล้อง/มีความเห็นด้วย อยู่ในระดับ มาก 3 หมายถึง มีความสอดคล้อง/มีความเห็นด้วย อยู่ในระดับ ปานกลาง 2 หมายถึง มีความสอดคล้อง/มีความเห็นด้วย อยู่ในระดับ น้อย 1 หมายถึง มีความสอดคล้อง/มีความเห็นด้วย อยู่ในระดับ น้อยที่สุด


58 ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์เป็นแบบสอบถามปลายเปิด (Open – end Form) ชุดที่2 แบบสอบถามสำหรับนักศึกษา กศน. มี 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ปลวกแดง จังหวัดระยอง มีลักษณะเป็นมาตรประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ดังนี้ 5 หมายถึง มีความสอดคล้อง/มีความเห็นด้วย อยู่ในระดับ มากที่สุด 4 หมายถึง มีความสอดคล้อง/มีความเห็นด้วย อยู่ในระดับ มาก 3 หมายถึง มีความสอดคล้อง/มีความเห็นด้วย อยู่ในระดับ ปานกลาง 2 หมายถึง มีความสอดคล้อง/มีความเห็นด้วย อยู่ในระดับ น้อย 1 หมายถึง มีความสอดคล้อง/มีความเห็นด้วย อยู่ในระดับ น้อยที่สุด ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์เป็นแบบสอบถามปลายเปิด (Open – end Form) การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามผู้วิจัยได้ดำเนินการตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. วิจัยดำเนินการแจ้งครูผู้สอน และนักศึกษา กศน.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ลงทะเบียนเรียน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ เพื่อดำเนินการเก็บรวบรวมแบบสอบถามในสถานศึกษา 2. ผู้วิจัยส่งแบบสอบถาม ให้ครูผู้สอน จำนวน 13 ฉบับ และนักศึกษา กศน.ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ จำนวน 156 ฉบับ 3. การเก็บรวบรวม ผู้วิจัยรับแบบสอบถามกลับคืนด้วยตนเอง ได้รับแบบสอบถามกลับคืนครบ จาก ครูผู้สอน จำนวน 13 ฉบับ และนักศึกษา จำนวน 156 ฉบับ คิดเป็น ร้อยละ 100 สรุปผลการวิจัย จากการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดของการประเมินโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัด ระยองสรุปได้ดังนี้ 1. สรุปผลการสอบถามสำหรับครู กศน. 1) ข้อมูลบทบาทหน้าที่ของผู้ตอบแบบสอบถามเป็น ครูอาสาสมัครคิดเป็นร้อยละ 50.00 และเป็น ครู กศน.ตำบล คิดเป็นร้อยละ 50.00 เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 83.33 มีการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อย ละ 83.33 และมีอายุ ระหว่าง 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.33 2) ผลการประเมินโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้ระบบห้องเรียน ออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยองตามความคิดเห็น ของครู กศน. ดังนี้ ด้านบริบท (Context) โดยรวมมีค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด ( =4.63, σ=0.12) เมื่อพิจารณา รายข้อย่อยพบว่า แผนการศึกษาชาติและนโยบายพบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.50, σ=0.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสอดคล้องกับการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62, σ=0.51) รองลงมาสอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) ค่าเฉลี่ยต่ำสุด


59 คือสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี คุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข” มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.38, σ=0.65) นโยบายของสถานศึกษา พบว่าโดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.69, σ=0.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสอดคล้องกับนโยบายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษามากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมากที่สุด ( =4.77, σ=0.60) รองลงมาส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการศึกษามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.69, S.D. σ==0.63) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62, σ=0.65) วัตถุประสงค์ของโครงการ พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565และสอดคล้องกับนโยบายของสถานศึกษามากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.69, σ=0.63) รองลงมามีความชัดเจนสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62, σ=0.51)ค่าเฉลี่ย ต่ำสุดคือสอดคล้องกับสภาพความต้องการของครูและนักศึกษา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.31, σ=0.63) เป้าหมายของโครงการพบว่า โดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.74, σ=0.36) เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่าส่งผลให้ครูได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในการสร้างห้องเรียนออนไลน์มากที่สุด มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.85, σ=0.38) รองลงมาส่งผลให้ครูนำไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ได้กิจกรรมและการดำเนินงานมีความชัดเจนและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ การประเมินผลโครงการ และตัวชี้วัดความสำเร็จ มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.77, σ=0.44) และผลที่คาดว่าจะได้รับของโครงการ มีความสัมพันธ์สอดคล้องและเหมาะสมกับวัตถุประสงค์และการ ดำเนินการของโครงการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) โดยรวมมีค่าเฉลี่ยรวมระดับมาก ( =4.32, σ=0.15) เมื่อพิจารณา รายข้อพบว่า บุคลากร พบว่าโดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.43 , σ=0.43) เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อพบว่าผู้บริหารสถานศึกษาและครูกศน.อำเภอปลวกแดง มีความเห็นว่าผู้บริหารส่งเสริมสนับสนุนให้แก่ บุคลากรในหน่วยงานได้เรียนรู้และผู้บริหารมีความรู้ความสามารถและวิสัยทัศน์ในการพัฒนาโครงการมากที่สุด มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.85, σ=0.38) รองลงมาผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ สามารถตอบคำถามหรือข้อ สงสัยเกี่ยวกับโครงการได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.62, σ=0.51) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ นักศึกษามีความพร้อมในการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์นักศึกษามีความรู้พื้นฐานการใช้อินเทอร์เน็ต มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมาก ( =3.92, σ=0.64) งบประมาณ พบว่าโดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.29 , σ=0.56) เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีการจัดทำเอกสารสรุปรายการใช้จ่ายงบประมาณของโครงการอย่างชัดเจนและมีการวาง แผนการใช้จ่ายงบประมาณตามโครงการมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.38, σ=0.65) รองลงมาการ ดำเนินโครงการมีความเหมาะสมกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรรมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.31, σ=0.63) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคืองบประมาณที่ใช้สำหรับดำเนินโครงการมีความเหมาะสมเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.08, σ=0.49) วัสดุอุปกรณ์ พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.12, σ=0.65) เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อพบว่า สื่อ วัสดุและครุภัณฑ์เพียงพอในการดำเนินโครงการมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.15, σ=0.69) รองลงมาสื่อ วัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนและพัฒนาการดำเนินงานโครงการมีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.08, σ=0.64)


60 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.45, σ=0.40) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อย่อยพบว่าความสามารถในการบริหารจัดการโครงการของผู้บริหารและบุคลากรใน สถานศึกษามีความมุ่งมั่น ทุ่มเท อุทิศตนในการร่วมกิจกรรมมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) รองลงมาการให้ความรู้ ประชุมชี้แจง สื่อสารประชาสัมพันธ์ ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการและสาระเนื้อหาตามองค์ประกอบของโครงการมีความชัดเจนสามารถปฏิบัติได้ มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.46, σ=0.52) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือความพร้อมในการอำนวยความสะดวกเมื่อเกิดปัญหา ในการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.31, σ=0.48) ด้านกระบวนการ (Process) โดยรวมมีค่าเฉลี่ยรวมระดับมาก ( =4.48, σ=0.11) เมื่อ พิจารณารายข้อพบว่า การวางแผน พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.48, σ=0.45) เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อพบว่ามีการประชุมเพื่อวางแผนการทำงาน มีการมอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) รองลงมามีการร่วมกันกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน มีการตรวจสอบการ วางแผน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.46, σ=0.52) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่การกำหนดวัน เวลาและสถานที่ใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในโครงการมีความชัดเจน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก( =4.38, σ=0.51) การปฏิบัติการอบรมพัฒนาครู พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.57, σ=0.46) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อบรมการบริหารจัดการและออกแบบกระบวนการเรียนรู้ออนไลน์อบรมปฏิบัติการ จัดทำแผนการสอน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบ ห้องเรียนออนไลน์และอบรมปฏิบัติการจัดทำสื่อวิดีทัศน์ ด้วยโปรแกรม Wondershare Filmora มากที่สุด มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62, σ=0.51) รองลงมาอบรมการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่อบรมการบริหารจัดการและออกแบบกระบวนการ เรียนรู้ออนไลน์อบรมปฏิบัติการจัดทำแผนการสอน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.46, σ=0.52) การปฏิบัติการสร้างสื่อ พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.53, σ=0.49) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า การบริหารชั้นเรียนด้วยการใช้ Google Classroom มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.69, σ=0.48) รองลงมาการจัดทำแบบทดสอบด้วย Google Form และสร้างเว็บไซต์บทเรียน ออนไลน์ทาง Google Sites มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62, σ=0.51) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่การ ติดต่อสื่อสารผ่านทาง Gmail มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.31, σ=0.63) การปฏิบัติการจัดทำแผนการสอนโดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.60, σ=0.48) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า จัดทำแผนการสอนโดยใช้สื่อในระบบห้องเรียนออนไลน์มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.69, σ=0.48) รองลงมาแผนการจัดการเรียนรู้กระตุ้นความสนใจได้ดีและเนื้อหาตรงตาม จุดประสงค์การเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62, σ=0.51) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือกิจกรรมการเรียนการ สอนส่งเสริมทักษะการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ให้กับนักศึกษาและสื่อการสอนมีความสอดคล้องกับเนื้อหาสาระและ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) การปฏิบัติการสร้างระบบห้องเรียนออนไลน์ พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.37, σ=0.43) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสามารถเข้าถึงเนื้อหาของบทเรียนได้อย่างรวดเร็วมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) รองลงมาเนื้อหาของแต่ละบทเรียนครบถ้วนสมบูรณ์กะทัดรัด ชัดเจน มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.46, σ=0.52) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่ภาษาที่ใช้ในเนื้อหาเหมาะสมกับผู้เรียน มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก( =4.23, σ=0.44)


61 การปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์ พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.58, σ=0.51) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าครูสามารถจัดทำระบบห้องเรียนออนไลน์ได้ ครูสามารถใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ในการจัดการเรียนการสอนได้มกาที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.69, σ=0.48) รองลงมาครูสามารถจัดทำสื่อการสอนด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์ได้และเนื้อหาและแบบทดสอบ กระตุ้นให้เรียนรู้ด้วยตนเองมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.66) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่แบบทดสอบ สอดคล้องและตรงประเด็นกับเนื้อหามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.46, σ=0.66) การตรวจสอบประเมินผล พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.35, σ=0.43) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าการกำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาในการประเมินผลโครงการตามความเหมาะสม มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.46, σ=0.51) รองลงมามีการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินโครงการอย่าง เหมาะสมและต่อเนื่องมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.38, σ=0.51) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่มีการรายงานผลการ นิเทศติดตามผลการดำเนินโครงการมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.23, σ=0.44) การปรับปรุงและการพัฒนาพบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.48, σ=S.D.=0.11) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์อย่าง ต่อเนื่องมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.46, σ=0.52) รองลงมาการวิเคราะห์ผลการจัดกิจกรรมเพื่อหา แนวทางพัฒนาปรับปรุงแก้ไขในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.23, σ=0.44) ด้านผลผลิต (Product) โดยรวมมีค่าเฉลี่ยรวมระดับมาก ( =4.48, σ=0.04) เมื่อพิจารณา รายข้อพบว่า ความรู้ความเข้าใจในการจัดทำระบบห้องเรียนออนไลน์ พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก ( =4.48, σ=0.52) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าสื่อการเรียนการสอนสอดคล้องกับบทเรียนมากที่สุด มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62, σ=0.51) รองลงมาการสร้างเอกสารประกอบการสอนในระบบห้องเรียน ออนไลน์ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่การตรวจงานและการทดสอบมี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก( =4.38, σ=0.65) การใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ในการจัดการเรียนการสอน โดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.51, σ=0.49) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าบทเรียนและสื่อในระบบมีความทันสมัยมากที่สุด มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.69, σ=0.48) รองลงมาบทเรียนและสื่อในระบบมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือบทเรียนและสื่อในระบบมีความครอบคลุมเนื้อหา สาระครบถ้วน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.38, σ=0.51) ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบห้องเรียนออนไลน์ของครู พบว่าโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ ในระดับมาก ( =4.44, σ=0.42) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าช่วยติดตามทบทวนเนื้อหาในช่วงที่ขาดหายไป ระหว่างเรียนมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62, σ=0.51) รองลงมาช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วย ตัวเองของนักศึกษา และช่วยให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.54, σ=0.52) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่การเรียนรู้ในระบบห้องเรียนออนไลน์ทำให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียนมากขึ้น การเรียนรู้ในระบบห้องเรียนออนไลน์ช่วยฝึกให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการ เรียนรู้มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก( =4.31, σ=0.48) 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยองปีงบประมาณ 2565 ดังนี้ ปัญหาเกี่ยวกับโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ


62 ปลวกแดง จังหวัดระยองปีงบประมาณ 2565 ตามความเห็นของครู กศน.จำนวน 13 คน สรุปได้ว่าครูขาดทักษะใน การใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ เช่น การสำเนาข้อมูลไปใช้ ทำให้ข้อมูลแผนการสอนบางส่วนหายไป การจัดเรียง ข้อมูลยังไม่เป็นระบบ ทำให้เกิดข้อผิดพลาดในการนำข้อมูลไปใช้ครูบางคนไม่สามารถตอบคำถามและแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้นระหว่างที่นักศึกษาใช้ Google Classroom นักศึกษาใช้โทรศัพท์ต่างรุ่นกันทำให้มีปัญหาในการใช้ระบบที่ แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา และครูเกี่ยวกับโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษา นอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยองปีงบประมาณ 2565 สรุปได้ว่า ควรพัฒนาศักยภาพ ครูในการจัดทำระบบห้องเรียนออนไลน์อย่างต่อเนื่อง และให้ครูฝึกฝนการใช้งานอยู่สม่ำเสมอ ติดตามผลโดยการ ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจในการจัดระบบข้อมูลในห้องพักครู ส่งเสริมให้ครูจัดทำ จัดหาสื่อในระบบห้องเรียน ออนไลน์ให้มีความหลากหลาย ครูต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน สร้างบรรยากาศทางการเรียนรู้ที่ อบอุ่นและกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน จัดทำข้อตกลงของระหว่างผู้เรียนเพื่อสร้างความรับผิดชอบทางการเรียนให้ ผู้เรียน เปิดโอกาสและสนับสนุนให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สร้างแรงจูงใจในการเรียนออนไลน์ เพื่อกระตุ้นให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ยืดหยุ่นในการตอบคำถามตามความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน การปรับรูปแบบ การนำสื่อในระบบห้องเรียนออนไลน์มาให้นักศึกษาใช้ในช่องทางการสื่อสารอื่นๆ เช่น Facebook Line เพื่อให้ นักศึกษาที่มีปัญหาในการเข้าใช้ Gmail ได้ใช้สื่อในห้องเรียนออนไลน์ พัฒนานักศึกษาแกนนำในด้านวิธีการใช้ Google Classroom และจัดระบบเพื่อนช่วยเพื่อนในการเรียนการสอน ติดตามและทราบความก้าวหน้าของผู้เรียน เพื่อให้การสนับสนุนที่เหมาะสม จัดอบรมพัฒนาผู้เรียนด้านวิธีการใช้ Google Classroom ดำเนินการติดตามผล การใช้งานของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง และเสนอแนะว่าแม้ Google classroom จะมีประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการ สอนและการพัฒนาทักษะบางประการของนักศึกษา แต่ก็เป็นเพียงส่วนเสริมระบบการสอนให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากขึ้น แต่การเรียนการสอนที่สมบรูณ์ยังคงต้องใช้ทักษะการสอนของครูผู้สอนเป็นหลักประกอบกัน ซึ่ง นักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาด้านการเขียนหนังสือ จึงควรให้ใบงานที่เป็นการเขียนตอบเพื่อพัฒนาทักษะในการเขียน หนังสือให้กับนักศึกษา จึงจะทำให้การจัดการเรียนการสอนประสบความสำเร็จ นักศึกษามีทักษะความรู้ ตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา กศน. ในการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์มีดังนี้ . 1)ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 54.14 การศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 49.17 และมีช่วงอายุ 21 – 30 ปีคิดเป็นร้อยละ 52.49 2) นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง มี ความพึงพอใจต่อการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยรวมระดับมาก ( =4.31, S.D.=0.40) เมื่อพิจารณา รายข้อพบว่า ห้องเรียนออนไลน์กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.47, S.D.=0.62) รองลงมาความสะดวกรวดเร็วในการทราบผลการเรียนและความพึงพอใจในภาพรวมต่อห้องเรียนออนไลน์ มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก ( =4.44, S.D.=0.54) และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่ความง่ายของตำแหน่งเมนูมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( =4.07, S.D.=0.61) 3) ปัญหาเกี่ยวกับการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ตามความคิดเห็นของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และเรียนโดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์จำนวน 156 คน สรุปได้ว่า ขาดทักษะการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต


63 ทักษะการใช้ Google Classroom ของนักศึกษาต่างกัน ตำแหน่งเมนูของระบบในโทรศัพท์แต่ละรุ่นไม่เหมือนกัน ทำ ให้เกิดปัญหาในการใช้งาน แนบไฟล์ส่งงานไม่ครบ ไม่สะดวกในการใช้งาน Gmail คิดว่ายุ่งยากในการใช้ระบบ ห้องเรียนออนไลน์ สัญญาณอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร และไม่เพียงพอ การตอบคำถามในห้องเรียนยังล่าช้า ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ตามความคิดเห็นของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และเรียนโดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์จำนวน 181 คน สรุปได้ว่า ควรพัฒนาทักษะการใช้งานระบบ อินเทอร์เน็ต พัฒนาทักษะการใช้Google Classroom ของนักศึกษา ปรับรูปแบบการนำสื่อในระบบห้องเรียน ออนไลน์มาให้นักศึกษาใช้ในช่องทางการสื่อสารอื่นๆ เช่น Facebook Line เพื่อให้นักศึกษาที่มีปัญหาในการเข้าใช้ Gmail ได้ใช้สื่อในห้องเรียนออนไลน์ และควรพัฒนาปรับปรุงเพิ่มความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต อภิปรายผล จากการประเมินโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 พบข้อสังเกตที่สามารถนำมาอภิปรายผลได้ดังนี้ 1. ผลการประเมินด้านบริบท (Context) ของโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 พบว่าครูกศน.อำเภอปลวกแดง มีความเห็นด้วย ในระดับมากว่าการดำเนินงานโครงการมีความสอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติและนโยบาย นโยบายของสถานศึกษา วัตถุประสงค์ของโครงการมีความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ตรงกับความต้องการพัฒนาด้านการศึกษาในปัจจุบัน สอดคล้องกับสภาพความต้องการของ ครูและนักศึกษา สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง เหมาะกับบริบทของชุมชน เป้าหมายของโครงการ ทำให้ให้ครูได้รับการ พัฒนาความรู้และทักษะในการสร้างห้องเรียนออนไลน์ สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนได้ กิจกรรมและการดำเนินงานมีความชัดเจนและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ การประเมินผลโครงการและ ตัวชี้วัดความสำเร็จ มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับของโครงการ มีความสัมพันธ์ สอดคล้องและเหมาะสมกับวัตถุประสงค์และการดำเนินการของโครงการ ซึ่งสอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 (2560:ฉ) ที่มีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา 4 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนาระบบและ กระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะ และสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ 3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และ ร่วมมือผนึกกำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 4) เพื่อนำประเทศ ไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำภายในประเทศลดลง 2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ของโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 พบว่าครูกศน.อำเภอปลวกแดง มี ความเห็นด้วยในระดับมากว่า ผู้บริหารส่งเสริมสนับสนุนให้แก่บุคลากรในหน่วยงานได้เรียนรู้ มีความรู้ความสามารถ และวิสัยทัศน์ในการพัฒนาโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ สามารถตอบคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับโครงการ ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ครูมีความรู้ความสามารถในการนำเทคโนโลยีมาใช้งาน ครูมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ และ แนวทางการดำเนินงานของโครงการ นักศึกษามีความรู้พื้นฐานการใช้อินเทอร์เน็ต นักศึกษามีความพร้อมในการใช้ ระบบห้องเรียนออนไลน์ สื่อ วัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนและพัฒนาการดำเนินงานโครงการมีความ เหมาะสม เพียงพอในการดำเนินโครงการ สอดคล้องกับงานวิจัยของซีตีอัยเซาะห์ ปูเตะ และคณะ (2561:429) ได้ ทำการศึกษาเรื่อง การใช้ Google Classroom ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมความรับผิดชอบ


64 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้อง 10 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปัตตานี พบว่าการเรียนโดยใช้ Google Classroom สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนได้สูงขึ้น เห็นได้จาก เพราะการใช้ Google Classroom ช่วยให้ ผู้เรียนเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาประกอบการเรียน ใบงาน หรือกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นที่ไหน เวลา ใดก็สามารถเข้าถึง Google Classroomได้ตลอดเวลา ซึ่งเป็นการเพิ่มการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้มากขึ้นนอกเหนือจากการ เรียนในชั้นเรียน ความสามารถในการบริหารจัดการโครงการของผู้บริหาร การให้ความรู้ ประชุมชี้แจง สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ บุคลากรในสถานศึกษามีความ มุ่งมั่น ทุ่มเท อุทิศตนในการร่วมกิจกรรม การกำหนดบทบาทหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ มีความเหมาะสม ความ พร้อมในการอำนวยความสะดวกเมื่อเกิดปัญหาในการจัดกิจกรรม สาระเนื้อหาตามองค์ประกอบของโครงการมีความ ชัดเจนสามารถปฏิบัติได้ 3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ (Process) ของโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 พบว่าครูกศน.อำเภอปลวกแดง มี ความเห็นด้วยในระดับมากว่า การดำเนินงานโครงการมีการประชุมเพื่อวางแผนการทำงาน มีการมอบหมายหน้าที่ ผู้รับผิดชอบงาน ร่วมกันกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบการวางแผน และกำหนดวัน เวลาและสถานที่ใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในโครงการมีความชัดเจน เห็นด้วยในระดับมากในการอบรมพัฒนาครูการสร้างสื่อ การ จัดทำแผนการสอนกระตุ้นความสนใจได้ดีเนื้อหาตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้มีกิจกรรมการเรียนการสอนส่งเสริม ทักษะการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ให้กับนักศึกษา สื่อการสอนมีความสอดคล้องกับเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์ การเรียนรู้ในรายวิชา การใช้สื่อในการสร้างชั้นเรียน สามารถเข้าถึงเนื้อหาของบทเรียนได้อย่างรวดเร็ว การเชื่อมโยง เมนูในหน่วยการเรียนรู้เข้าถึงได้ง่าย ไม่สับสน มีความยืดหยุ่น ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล รูปแบบของ ระบบห้องเรียนออนไลน์กระตุ้นความสนใจได้ดี เนื้อหาของแต่ละบทเรียนครบถ้วนสมบูรณ์กะทัดรัด ชัดเจน เนื้อหามี ความยากง่ายเหมาะสมสำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเอง ภาษาที่ใช้ในเนื้อหาเหมาะสมกับผู้เรียน ครูสามารถจัดทำสื่อการ สอนด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์ได้ ใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ในการจัดการเรียนการสอนได้ มีแบบทดสอบ สอดคล้อง ตรงประเด็นกับเนื้อหาและกระตุ้นให้เรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับดนัยศักดิ์ กาโร(2560:223) เสนอ เรื่องการประยุกต์ใช้ Google for Education ในการให้คำปรึกษานักศึกษาสายครู กล่าวว่าการใช้งาน Google Classroom นำมาใช้ในการสร้างเป็นห้องเรียนออนไลน์ไว้สำหรับพบปะพูดคุยหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่างๆ กัน ระหว่างอาจารย์และนักศึกษา โดยที่อาจารย์สามารถเข้าไปสร้างห้องเรียนไว้ใน Google Classroom ได้ที่ https://classroom.google.com จากนั้นดำเนินการเพิ่มผู้เรียนด้วยอีเมล เข้ามาในห้องเรียนหรือจะนำรหัสในการ เข้าห้องเรียนไปแจ้งให้นักศึกษาทราบ ซึ่งจะได้ห้องเรียนออนไลน์ ทั้งนี้ได้นำมาใช้สำหรับเป็นช่องทางในการ ติดต่อสื่อสารกับนักศึกษา รวมถึงแจ้งข่าวประกาศต่างๆ กำหนดให้นักศึกษาส่งเอกสารต่างๆ เช่น หน้าจอการยืนยัน การลงทะเบียน ใบเสร็จในการชำระค่าลงทะเบียน โดยที่อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถที่จะดำเนินการติดตามได้อย่าง สะดวกและรวดเร็วเพราะในระบบจะทำการแจ้งว่ามีนักศึกษาคนใดส่งเอกสารเข้ามาในระบบหรือไม่ ทำให้อาจารย์ที่ ปรึกษาสามารถที่จะติดตามได้อย่างรวดเร็วโดยการแจ้งผ่านทางอีเมล โพส (post) ติดตามในห้องเรียนออนไลน์ หรือ นำไปลงในปฏิทินเพื่อให้ส่ง SMS แจ้งเตือนไปยังนักศึกษา ในการดำเนินงานโครงการมีการตรวจสอบประเมินผล โดย กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาในการประเมินผลโครงการตามความเหมาะสม มีการนิเทศติดตามผลการดำเนิน โครงการอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง มีวิธีการและระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติจริงสามารถทำได้ตามแผน มีการ รายงานผลการนิเทศติดตามผลการดำเนินโครงการ มีการปรับปรุงและการพัฒนาการวิเคราะห์ผลการจัดกิจกรรมเพื่อ หาแนวทางพัฒนาปรับปรุงแก้ไขในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ ห้องเรียนออนไลน์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 (2565:5) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ 3.3 พัฒนาศักยภาพคนด้านทักษะและความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรู้และ ทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้สามารถใช้ Social Media และ Application ต่างๆ


65 ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน 2) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมี ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับ ตนเองได้ 4. ผลการประเมินด้านผลผลิต (Product) ของโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 พบว่าครูกศน.อำเภอปลวกแดง มีความเห็นด้วย ในระดับมากว่าโครงการส่งเสริมให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำระบบห้องเรียนออนไลน์ การจัดการ ระบบ การใช้สื่อ การสร้างเอกสาร การมอบหมายงาน (ใบงาน แบบฝึกหัด) การทำแบบทดสอบ (ข้อสอบ) สื่อการ เรียนการสอนสอดคล้องกับบทเรียน การตรวจงานและการทดสอบ การจัดทำและปรับปรุงแผนการสอน ประกอบการ สอนในระบบห้องเรียนออนไลน์บทเรียนและสื่อในระบบมีความครอบคลุมเนื้อหาสาระครบถ้วน บทเรียนและสื่อใน ระบบมีความทันสมัย มีความสอดคล้องกับสภาพความต้องการใช้งาน มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ เนื้อหาของแต่ละ บทเรียนครบถ้วนสมบูรณ์กะทัดรัด ชัดเจน มีความพึงพอใจในระดับมากต่อการใช้งานระบบห้องเรียนออนไลน์ ว่าการ เรียนรู้ในระบบห้องเรียนออนไลน์ทำให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียนมากขึ้น ช่วยฝึกให้ นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ มีช่องทางในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง ครูและนักศึกษา และ ระหว่างนักศึกษาด้วยกันเอง ช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตัวเองของนักศึกษา มีความกระตือรือร้นในการเรียน มากขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเรียนการสอน ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ช่วยติดตามทบทวนเนื้อหา ในช่วงที่ขาดหายไประหว่างเรียน และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งการสอนด้วยระบบห้องเรียน ออนไลน์เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้พัฒนาความรู้ มีทักษะการสืบค้น ศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด และพัฒนาทักษะด้านต่าง ซึ่งสอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 – 2579 (2565:16) ทักษะสำคัญจำเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วยทักษะที่เรียกตามคำย่อว่า3Rs + 8Cs โดย 3Rs ประกอบด้วย อ่านออก (Reading) เขียนได้ (WRiting) คิดเลขเป็น (ARithmetics) และ 8Cs ประกอบด้วย ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจต่าง วัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และ ภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 5. ผลการประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ตามความคิดเห็นของนักศึกษาศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 และเรียนโดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ พบว่านักศึกษา กศน.อำเภอปลวกแดง มีความพึงพอใจใน การเรียนด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์ในระดับมาก ความสะดวกในการเข้าใช้ห้องเรียนออนไลน์ ความง่ายของ ตำแหน่งเมนู ขนาดตัวอักษร รูปแบบ อ่านง่ายสบายตา หน้าต่างการใช้งานไม่ซับซ้อนความรวดเร็วในการตอบสนอง การใช้งานห้องเรียนออนไลน์รูปแบบการเข้ามาใช้งานในห้องเรียนออนไลน์เข้าใจง่าย การลำดับเนื้อหาต่อเนื่อง สัมพันธ์กัน กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้องกับเนื้อหา ความสะดวกในการเชื่อมโยง(ลิงค์)ไปยังเนื้อหาที่จัดไว้ใน ห้องเรียน การเรียนในห้องเรียนออนไลน์ช่วยฝึกให้เกิดการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง ห้องเรียนออนไลน์ ช่วยให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับครู ห้องเรียนเข้าถึงได้ง่ายและสะดวก ความ รวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล ความน่าสนใจของห้องเรียนออนไลน์ ห้องเรียนออนไลน์กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ ช่วย ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตัวเอง การนำเสนอเนื้อหาน่าสนใจ สื่อการเรียนการสอนสอดคล้องกับบทเรียน สื่อ


66 เหมาะสมกับการเรียนรู้ เปิดโอกาสได้สอบถามและอภิปราย มีโอกาสได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง ความสะดวก รวดเร็วในการทราบผลการเรียน มีโอกาสได้ทบทวนเนื้อหาความรู้ได้หลายครั้ง มีความอิสระในการเรียนไม่ถูกจำกัด ด้วยเวลา ช่วยให้เข้าใจเนื้อหาการเรียนมากยิ่งขึ้น มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนในห้องเรียนออนไลน์ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน ในห้องเรียนออนไลน์ ประสิทธิภาพและคุณภาพของห้องเรียนออนไลน์โดยรวม ความพึงพอใจในภาพรวมต่อ ห้องเรียนออนไลน์ระดับมาก สอดคล้องกับ สายพิณ แก้วชิงดวง (2554:46) ที่ได้ศึกษาเรื่องการพัฒนาห้องเรียน ออนไลน์สำหรับรายวิชาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา พบว่าข้อดีของการเรียนการสอนผ่านห้องเรียนออนไลน์ มีความ สะดวกสบายในการเข้าเรียน และมีอิสระในการเรียน สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้มากขึ้น รวมทั้งสามารถศึกษาได้ ทุกที ทุกเวลาที่มีเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สามารถศึกษาเนื้อหาต่างๆ ได้หลายครั้งหากไม่เข้าใจ และสามารถแบ่งปัน ข้อมูลกับผู้เรียนด้วยกันและผู้สอนได้ง่าย ทำให้กล้าถามปัญหาต่างๆ ได้มากขึ้นเพราะไม่เห็นหน้าตากัน อีกทั้งผู้เรียน สามารถตรวจสอบงานว่าส่งครบถ้วนหรือไม่ และสามารถรู้ผลคะแนนได้ทันที 6. ปัญหาของการดำเนินการโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 พบว่าครูกศน.และนักศึกษา กศน.อำเภอปลวกแดงมี ความเห็นว่า ครูขาดทักษะในการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ เช่น การสำเนาข้อมูลไปใช้ ทำให้ข้อมูลแผนการสอน บางส่วนหายไป การจัดเรียงข้อมูลยังไม่เป็นระบบ ทำให้เกิดข้อผิดพลาดในการนำข้อมูลไปใช้ครูบางคนไม่สามารถ ตอบคำถามและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างที่นักศึกษาใช้ Google Classroom นักศึกษาใช้โทรศัพท์ต่างรุ่นกันทำให้ มีปัญหาในการใช้ระบบที่แตกต่างกัน นักศึกษาขาดทักษะการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต ทักษะการใช้ Google Classroom ของนักศึกษาต่างกัน ตำแหน่งเมนูของระบบในโทรศัพท์แต่ละรุ่นไม่เหมือนกัน ทำให้เกิดปัญหาในการใช้ งาน แนบไฟล์ส่งงานไม่ครบ ไม่สะดวกในการใช้งาน Gmail คิดว่ายุ่งยากในการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์สัญญาณ อินเทอร์เน็ตไม่เสถียร และไม่เพียงพอ การตอบคำถามในห้องเรียนยังล่าช้า สอดคล้องกับสายพิณ แก้วชิงดวง (2554:45) ที่ได้ศึกษาเรื่องการพัฒนาห้องเรียนออนไลน์สำหรับรายวิชาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา พบว่าปัญหาและ ข้อจำกัดในการเข้าห้องเรียนออนไลน์ ได้แก่นักศึกษาไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ ทำให้ไม่สะดวกในการเข้าห้องเรียนออนไลน์ และพบปัญหาอินเตอร์เน็ตช้า ไม่สามารถเข้าถึงได้ทำให้การส่งงานไม่เป็นไปตามกำหนดเวลา ถึงร้อยละ 8.3 7. ข้อเสนอแนะการดำเนินการโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 พบว่าครูกศน.และนักศึกษา กศน.อำเภอปลวกแดงมีความเห็น ว่า ควรพัฒนาศักยภาพครูในการจัดทำระบบห้องเรียนออนไลน์อย่างต่อเนื่อง และให้ครูฝึกฝนการใช้งานอยู่สม่ำเสมอ ติดตามผลโดยการประชุมชี้แจงทำความเข้าใจในการจัดระบบข้อมูลในห้องพักครู ส่งเสริมให้ครูจัดทำ จัดหาสื่อใน ระบบห้องเรียนออนไลน์ให้มีความหลากหลาย ครูต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน สร้างบรรยากาศ ทางการเรียนรู้ที่อบอุ่นและกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน จัดทำข้อตกลงของระหว่างผู้เรียนเพื่อสร้างความรับผิดชอบ ทางการเรียนให้ผู้เรียน เปิดโอกาสและสนับสนุนให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สร้างแรงจูงใจในการเรียนออนไลน์ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ยืดหยุ่นในการตอบคำถามตามความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน การ ปรับรูปแบบการนำสื่อในระบบห้องเรียนออนไลน์มาให้นักศึกษาใช้ในช่องทางการสื่อสารอื่นๆ เช่น Facebook Line เพื่อให้นักศึกษาที่มีปัญหาในการเข้าใช้ Gmail ได้ใช้สื่อในห้องเรียนออนไลน์ พัฒนานักศึกษาแกนนำในด้านวิธีการใช้ Google Classroom และจัดระบบเพื่อนช่วยเพื่อนในการเรียนการสอน ติดตามและทราบความก้าวหน้าของผู้เรียน เพื่อให้การสนับสนุนที่เหมาะสม จัดอบรมพัฒนาผู้เรียนด้านวิธีการใช้ Google Classroom ดำเนินการติดตามผล การใช้งานของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง และเสนอแนะว่าแม้ Google classroom จะมีประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการ


67 สอนและการพัฒนาทักษะบางประการของนักศึกษา แต่ก็เป็นเพียงส่วนเสริมระบบการสอนให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากขึ้น แต่การเรียนการสอนที่สมบรูณ์ยังคงต้องใช้ทักษะการสอนของครูผู้สอนเป็นหลักประกอบกัน ซึ่ง นักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาด้านการเขียนหนังสือ จึงควรให้ใบงานที่เป็นการเขียนตอบเพื่อพัฒนาทักษะในการเขียน หนังสือให้กับนักศึกษา จึงจะทำให้การจัดการเรียนการสอนประสบความสำเร็จ นักศึกษามีทักษะความรู้ ตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรพัฒนาทักษะการใช้งาน ระบบอินเทอร์เน็ต พัฒนาทักษะการใช้ Google Classroom ของนักศึกษา ปรับรูปแบบการนำสื่อในระบบห้องเรียน ออนไลน์มาให้นักศึกษาใช้ในช่องทางการสื่อสารอื่นๆ เช่น Facebook Line เพื่อให้นักศึกษาที่มีปัญหาในการเข้าใช้ Gmail ได้ใช้สื่อในห้องเรียนออนไลน์ และควรพัฒนาปรับปรุงเพิ่มความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต สอดคล้องกับ สายพิณ แก้วชิงดวง (2554:46) ได้ศึกษาเรื่องการพัฒนาห้องเรียนออนไลน์สำหรับรายวิชาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา ให้ข้อเสนอแนะว่าปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้รับความนิยมและขยายตัวอย่าง รวดเร็ว การพัฒนาห้องเรียนควรระมัดระวังในเรื่องของเนื้อหา การวัดผลประเมินผล และควรมีการฝึกความมีวินัย ความซื่อสัตย์ในการเข้าใช้ห้องเรียนออนไลน์ เนื่องจากนักศึกษาสามารถคัดลอกข้อมูล แบบฝึกหัด และแบบทดสอบ ของผู้อื่นมาส่ง โดยมิได้เข้าไปศึกษาด้วยตนเองจริงๆ จากข้อจำกัดข้างต้น ผู้วิจัยเห็นว่าการเรียนการสอนผ่านห้องเรียน ออนไลน์เหมาะสมสำหรับใช้สอนเสริมกับห้องเรียนปกติ หรือใช้สอนเพิ่มเติมเพื่อให้นักศึกษาที่เก่ง หรือต้องการศึกษา ซ้ำๆ สามารถเข้าเรียนรู้ได้หลายครั้งตามความต้องการ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหาและเรื่องราวต่างๆ อย่างชัดเจน ขึ้น และช่วยเติมเต็มให้นักศึกษาที่เรียนอ่อนได้มีโอกาสเรียนรู้ด้วยตนเองนอกห้องเรียนได้ นอกจากนั้นควรมีการ กำหนดเวลาที่สามารถติดต่อสื่อสารได้ทันที ทันเวลา มีการส่งข้อมูลย้อนกลับให้ผู้เรียนทราบโดยเร็ว เพื่อให้การเรียน การสอนในห้องเรียนออนไลน์ ใกล้เคียงกับห้องเรียนปกติมากที่สุด ข้อเสนอแนะ จากการประเมินโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาการจัดการศึกษาหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ดังต่อไปนี้ 1. ควรพัฒนาครูด้านนำเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารทางไกลผ่านเครือข่ายสังคมและโมบายแอป พ ลิเคชัน ได้แก่ Facebook, Gmail, Google Application for education, Calendar, Line, Google Drive, Google docs, Google calendar, Google Translate, YouTube, Google Search มาใช้ในการจัดการเรียนการ สอนระบบห้องเรียนออนไลน์ 2. ควรอบรมพัฒ นาผู้เรียนด้านการใช้สื่อต่างๆ ในการเรียนด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์ 3. ควรปรับรูปแบบการนำสื่อในระบบห้องเรียนออนไลน์มาให้นักศึกษาใช้ในช่องทางการสื่อสารอื่นๆ เช่น Facebook Line เพื่อให้นักศึกษาที่มีปัญหาในการเข้าใช้Gmail ได้ใช้สื่อในห้องเรียนออนไลน์ 4. ควรพัฒนาปรับปรุงเพิ่มความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ตของสถานศึกษา เพื่อให้บริการนักศึกษา ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนปกติ ร่วมกับห้องเรียนออนไลน์ หรือ การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนปกติคู่ขนานไปกับการจัดการเรียนการสอนผ่านห้องเรียนออนไลน์ เพื่อให้การ จัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพขึ้น และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน 2. ควรทำการวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน


68 บรรณานุกรม การศึกษานอกโรงเรียน (2536) การประเมินโครงการศึกษานอกโรงเรียน เอกสารอัดสำเนา (เอกสาร นำเสนอประกอบการอบรมการประเมินโครงการการศึกษานอกโรงเรียน) กรุงเทพมหานคร กองแผนงาน กรมการศึกษานอกโรงเรียน กฤษดา กรุดทอง (2541) หลักการประเมินโครงการ การประเมินโครงการ. ราชบุรี ศูนย์การศึกษา นอกโรงเรียนภาคกลาง กฤษณา สิกขมาน (2554) การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการสื่อสารภาษาอังกฤษธุรกิจ โดยการใช้การสอน แบบ E-Learningกรุงเทพมหานคร รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัย ศรีปทุม จำเนียร สุขหลายและคณะ (2540) แบบจำลอง CIPP รวมบทความทางการประเมินโครงการ กรุงเทพมหานคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซีตีอัยเซาะห์ปูเตะและคณะ(2561) วิจัยเรื่องการใช้Google Classroom ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ห้อง10 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปัตตานีนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จากวารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ การเรียนรู้เชิงรุก ครั้งที่ 6 “Active Learning ตอบโจทย์ Thailand 4.0 อย่างไร”วันที่ 26 - 27 มีนาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ หน้า 429 ฐาปนีย์ธรรมเมธา (2557) อีเลิร์นนิง : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ e-Learning: from theory to practice โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย กรุงเทพมหานคร สานักคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ณัฏฐ์ โอธนาทรัพย์ (2554) การเรียนรู้เชิงผสมผสาน 2.0 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยอินเทอร์เน็ต แอพพลิเคชั่น ในระดับอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ณัฎฐ์สิตา ศิริรัตน์ (2548) แนวทางการสร้างและพัฒนาบทเรียน E-Learning กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว ดนัยศักดิ์ กาโร (2560:223) การประยุกต์ใช้ Google for Education ในการให้คำปรึกษานักศึกษา สายครูวารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ธีรวุฒิ เอกะกุล (2543) ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ อุบลราชธานี สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี ธันยพร แสงจันทร์ และคณะ (2554) การพัฒนาบทเรียน E-Learning วิชาหลักการออกแบบและ พัฒนาโปรแกรม กรุงเทพมหานคร โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ นิกร จันภิลม และคณะ (2562) เทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0 บทความ ใน วารสาร ปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม - เมษายน 2562 หน้า 308-309 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กำหนดอำนาจหน้าที่ของสถานศึกษา (2551,25 มีนาคม) ราช


69 กิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 60 ง หน้า 2-3 ประชุม รอดประเสริฐ (2529) การบริหารโครงการ พิมพ์ครั้งที่1 กรุงเทพมหานคร เนติกุลการพิมพ์ พิสณุ ฟองศรี (2549) การประเมินทางการศึกษาแนวคิดสู่การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 2) สำนักพิมพ์ เทียมฝ่าการพิมพ์ พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2548) การประเมินโครงการ ในประมวลชุดวิชา การประเมินและการจัดการโครงการ ประเมิน หน่วยที่ 7 สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2557) การประเมินโครงการ ประมวลสาระชุดวิชา การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 7 เอกสารการสอนมหาวิทยาลัยสุโขมัยธรรมาธิราช พิมพ์ครั้งที่ 2 นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน้า 12 พุฒิพงษ์ มะยา (2560) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พาณิชยกรรม เรื่องการตั้ง ราคาขายของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน โดยใช้บทเรียนออนไลน์ (Google classroom) กรุงเทพมหานคร โครงการหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง พรศักดิ์ หอมสุวรรณ และคณะ (2562) ระดับความพึงพอใจระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ ออนไลน์ผ่านกูเกิ้ลคลาสรูมภายในวิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรมยานยนต์จากรายงาน สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎ กำแพงเพชร 22 ธันวาคม 2562 แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2562 (2562) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอแก่งกระจาน หน้า 11 ราชบัณฑิตยสถาน (2542) พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน กรุงเทพมหานคร อักษรเจริญทัศน์ (2550) ทิศทางและอาณาบริเวณการประเมิน พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รัตนะ บัวสนธ์(2540) การประเมินผลโครงการ: การวิจัยเชิงประเมิน กรุงเทพมหานครคอมแพคท์พริ้นท์ วิไล แสงเหมือนขวัญ (2549) แนวคิดการประเมินโครงการ ในกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 เอกสารประกอบการ อบรมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้มี หรือเลื่อนเป็นวิทยฐานะ เชี่ยวชาญ หน้า 43 – 89 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 ศิริชัย กาญจนวาสี(2547) ทฤษฎีการประเมิน พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพมหานครจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศุภชัย สุขะนันท์ และกรกนก วงศ์พานิช ( 2545) เปิดโลก e-Learning การเรียนการสอนบน อินเทอร์เน็ต กรุงเทพมหานคร ซีเอ็ดยูเคชั่น. สายพิณ แก้วชินดวง (2554) การพัฒนาห้องเรียนออนไลน์สำหรับรายวิชาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา กรุงเทพมหานคร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สุรศักดิ์ ปาเฮ (2553) สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 2 แพร่ ห้างหุ้นส่วนจำกัด แพร่ไทยอุตสาหการพิมพ์


70 สุพักตร์ พิบูลย์ และกานดา นาคะเวช (2548) การประเมินผลความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการ ในประมวลชุดวิชาการประเมินและการจัดการโครงการประเมิน หน่วยที่ 8 สาขาวิชา ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สุภาพร พิศาลบุตร (2543) การวางแผนและการบริหารโครงการ กรุงเทพมหานคร ศูนย์เอกสารและ ตำรา สถาบันราชภัฏสวนดุสิต สงบ ลักษณะ (2530) แนวคิดบางประการเกี่ยวกับการประเมินโครงการของหลักสูตร วารสารวิจัย ทางการศึกษา 17(3) หน้า 27-31 สมคิด พรมจุ้ย (2544) เทคนิคการประเมินโครงการ พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพมหานคร นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สมบัติ สุวรรณพิทักษ์(2541) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินโครงการ ราชบุรีศูนย์การศึกษา นอกโรงเรียนภาคกลาง สมหวัง พิธิยานุวัฒน์(2538) การประเมินโครงการทางการศึกษา หนังสือรวมบทความ เล่มที่ 4 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2540) ความรู้พื้นฐานสำหรับการประเมินโครงการทางการศึกษา อ้างใน สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ (บก.) รวมบทความทางการประเมินโครงการ หน้า 101-121 พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2553) วิธีวิทยาการประเมิน : ศาสตร์แห่งคุณค่า พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้า 21 (2544) วิธีวิทยาการประเมินศาสตร์แห่งคุณค่า พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร : กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ม.ป.ป., เอกสารอัดสำเนา สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ และคณะ (2544) รวมบทความทางการประเมินโครงการชุดรวมบทความ เล่มที่ 4 กรุงเทพมหานคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 6 สรรรัชต์ ห่อไพศาล (2544) นวัตกรรมและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในสหัสวรรษใหม่ : กรณีการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ วารสารศรีปทุมปริทัศน์. ปีที่1 ฉบับที่2 ก.ค. – ธ.ค.44 หน้า 93-104 สำนักงาน กศน. (2551). หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรุงเทพมหานคร ไทยพับบลิค เอ็ดดูเคชั่น หน้า 1-12 (2562) นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 1-13 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2542) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กรุงเทพมหานคร หน้า 19 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(2560) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560–2564 กรุงเทพมหานคร หน้า 4 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2560) แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 – 2579 กรุงเทพมหานคร บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด หน้า ฉ, ญ-ฏ, 2-4, 8-9, 16, 67-70


71 สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ (2545) ชุดวิชาการประเมินเพื่อพัฒนา ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองใช้ ประกอบการเรียนการสอน เอกสารอัดสำเนา อินทิรา พาลีนุด และคณะ (2554) การทดสอบหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของ ผู้เรียนในการเรียนแบบ E-Learning โดยผ่านระบบสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ กรุงเทพมหานคร โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. อุทัย บุญประเสริฐ (2527) การบริหารแผนและโครงการ : ระบบและกระบวนการติดตาม ควบคุม กำกับและประเมินผล กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแห่งชาติกระทรวงศึกษาธิการ อัญชลี ธรรมะวิธีกุล (2552) การประเมินโครงการ สาระสังเขปออนไลน์ค้นคืนวันที่ 8 สิงหาคม 2562 จาก https://panchalee.wordpress.com/2009/04/28/projectevaluation1/


72 ภาคผนวก


73 แบบสอบถามเพื่อการวิจัย เรื่อง การประเมินโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 (สำหรับครู กศน.) ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ✓ลงใน หน้าข้อความที่เลือกตามความเป็นจริง 1. บทบาทหน้าที่ของผู้ตอบแบบสอบถาม ครู กศน.ตำบล ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครูศรช. ครูสอนคนพิการ ครูปวช. 2. เพศ ชาย หญิง 3. ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี 4. อายุ 21 – 30 ปี 31 – 40 ปี 41 – 50 ปี 51 ปี ขึ้นไป ตอนที่ 2 แบบสอบถามการดำเนินการ คำชี้แจง โปรดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2562 โดยทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่องตามระดับความคิดเห็น ตามรายการประเมิน ดังนี้ 5 หมายถึง ระดับคุณภาพมากที่สุด 4 หมายถึง ระดับคุณภาพมาก 3 หมายถึง ระดับคุณภาพปานกลาง 2 หมายถึง ระดับคุณภาพน้อย 1 หมายถึง ระดับคุณภาพน้อยที่สุด 1. ด้านบริบท (Context) ข้อ ข้อคำถามในการประเมิน ระบบห้องเรียนออนไลน์ ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 1) แผนการศึกษาชาติและนโยบาย 1 สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 2 สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 3 สอดคล้องกับการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา 4 สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ “คนไทยทุกคนได้รับ การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข” 2) นโยบายของสถานศึกษา 5 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 6 สอดคล้องกับนโยบายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 7 ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้ เกิดประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา


74 ข้อ ข้อคำถามในการประเมิน ระบบห้องเรียนออนไลน์ ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 3) วัตถุประสงค์ของโครงการ 8 มีสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 9 มีความสอดคล้องกับความต้องการพัฒนาด้านการศึกษาในปัจจุบัน 10 สอดคล้องกับนโยบายของสถานศึกษา 11 สอดคล้องกับสภาพความต้องการของครูและนักศึกษา 12 มีความสอดคล้องกับเป้าหมายของโครงการ 13 มีความชัดเจนสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง 14 มีความสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและชุมชน 4) เป้าหมายของโครงการ 15 ส่งผลให้ครูได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในการสร้างห้องเรียนออนไลน์ 16 ส่งผลให้ครูนำไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนได้ 17 กิจกรรมและการดำเนินงานมีความชัดเจนและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ 18 การประเมินผลโครงการและตัวชี้วัดความสำเร็จ มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ โครงการ 19 ผลที่คาดว่าจะได้รับของโครงการ มีความสัมพันธ์สอดคล้องและเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และการดำเนินการของโครงการ


75 2. ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ข้อ ข้อคำถามในการประเมิน ระบบห้องเรียนออนไลน์ ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 1) บุคลากร 1 ผู้บริหารส่งเสริมสนับสนุนให้แก่บุคลากรในหน่วยงานได้เรียนรู้ 2 ผู้บริหารมีความรู้ความสามารถและวิสัยทัศน์ในการพัฒนาโครงการ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ สามารถตอบคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับ โครงการได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน 4 ครูมีความรู้ความสามารถในการนำเทคโนโลยีมาใช้งาน 5 ครูมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ และแนวทางการดำเนินงานของโครงการ 6 นักศึกษามีความรู้พื้นฐานการใช้อินเทอร์เน็ต 7 นักศึกษามีความพร้อมในการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ 2) งบประมาณ 8 งบประมาณที่ใช้สำหรับดำเนินโครงการมีความเหมาะสมเพียงพอ 9 มีการวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณตามโครงการ 10 มีการจัดทำเอกสารสรุปรายการใช้จ่ายงบประมาณของโครงการอย่างชัดเจน 11 การดำเนินโครงการมีความเหมาะสมกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรร 3) วัสดุอุปกรณ์ 12 สื่อ วัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนและพัฒนาการดำเนินงาน โครงการมีความเหมาะสม 13 สื่อ วัสดุและครุภัณฑ์เพียงพอในการดำเนินโครงการ 4) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 14 ความสามารถในการบริหารจัดการโครงการของผู้บริหาร 15 การให้ความรู้ ประชุมชี้แจง สื่อสารประชาสัมพันธ์ ผู้รับผิดชอบและ ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 16 บุคลากรในสถานศึกษามีความมุ่งมั่น ทุ่มเท อุทิศตนในการร่วมกิจกรรม 17 การกำหนดบทบาทหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ มีความเหมาะสม 18 ความพร้อมในการอำนวยความสะดวกเมื่อเกิดปัญหาในการจัดกิจกรรม 19 สาระเนื้อหาตามองค์ประกอบของโครงการมีความชัดเจนสามารถปฏิบัติได้ 3. ด้านกระบวนการ (Process) ข้อ ข้อคำถามในการประเมิน ระบบห้องเรียนออนไลน์ ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 1) การวางแผน 1 มีการประชุมเพื่อวางแผนการทำงาน 2 มีการมอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน 3 มีการร่วมกันกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน 4 มีการตรวจสอบการวางแผน


76 ข้อ ข้อคำถามในการประเมิน ระบบห้องเรียนออนไลน์ ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 5 การกำหนดวัน เวลาและสถานที่ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในโครงการมีความชัดเจน 2) การปฏิบัติ 2.1) การอบรมพัฒนาครู 6 การผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 7 การบริหารจัดการและออกแบบกระบวนการเรียนรู้ออนไลน์ 8 ทักษะด้านดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา 9 การปฏิบัติการจัดทำแผนการสอน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ 10 การปฏิบัติการจัดทำสื่อวิดีทัศน์ 2.2) การสร้างสื่อ 11 การบันทึกข้อมูลบนคลาวด์ ด้วย Google Drive 12 การติดต่อสื่อสารผ่านทาง Gmail 13 การจัดทำแบบทดสอบด้วย Google docs 14 การจัดทำแบบทดสอบด้วย Google Form 15 สร้างเว็บไซต์บทเรียนออนไลน์ทาง Google Sites 16 การบริหารชั้นเรียนด้วยการใช้ Google Classroom 2.3) การจัดทำแผนการสอน 17 จัดทำแผนการสอนโดยใช้สื่อในระบบห้องเรียนออนไลน์ 18 แผนการจัดการเรียนรู้กระตุ้นความสนใจได้ดี 19 เนื้อหาตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 20 กิจกรรมการเรียนการสอนส่งเสริมทักษะการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ให้กับนักศึกษา 21 สื่อการสอนมีความสอดคล้องกับเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชา 2.4) การสร้างระบบห้องเรียนออนไลน์ 22 การใช้สื่อในการสร้างชั้นเรียน 23 สามารถเข้าถึงเนื้อหาของบทเรียนได้อย่างรวดเร็ว 24 การเชื่อมโยงเมนูในหน่วยการเรียนรู้เข้าถึงได้ง่าย ไม่สับสน 25 มีความยืดหยุ่น ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล 26 รูปแบบของระบบห้องเรียนออนไลน์กระตุ้นความสนใจได้ดี


77 ข้อ ข้อคำถามในการประเมิน ระบบห้องเรียนออนไลน์ ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 27 เนื้อหาของแต่ละบทเรียนครบถ้วนสมบูรณ์กะทัดรัด ชัดเจน 28 เนื้อหามีความยากง่ายเหมาะสมสำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเอง 29 ภาษาที่ใช้ในเนื้อหาเหมาะสมกับผู้เรียน 2.5) การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์ 30 ครูสามารถจัดทำสื่อการสอนด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์ได้ 31 ครูสามารถจัดทำระบบห้องเรียนออนไลน์ได้ 32 ครูสามารถใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ในการจัดการเรียนการสอนได้ 33 แบบทดสอบสอดคล้องและตรงประเด็นกับเนื้อหา 34 เนื้อหาและแบบทดสอบกระตุ้นให้เรียนรู้ด้วยตนเอง 3) การตรวจสอบประเมินผล 35 การกำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาในการประเมินผลโครงการตามความเหมาะสม 36 มีการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินโครงการอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง 37 วิธีการและระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติจริงสามารถทำได้ตามแผน 38 มีการรายงานผลการนิเทศติดตามผลการดำเนินโครงการ 4) การปรับปรุงและการพัฒนา 39 การวิเคราะห์ผลการจัดกิจกรรมเพื่อหาแนวทางพัฒนาปรับปรุงแก้ไขในการจัด กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 40 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์อย่างต่อเนื่อง 4. ด้านผลผลิต (Product) ข้อ ข้อคำถามในการประเมิน ระบบห้องเรียนออนไลน์ ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 1) ความรู้ความเข้าใจในการจัดทำระบบห้องเรียนออนไลน์ 1 การจัดการระบบชั้นเรียนออนไลน์ 2 การใช้สื่อในระบบห้องเรียนออนไลน์ 3 การสร้างเอกสารประกอบการสอนในระบบห้องเรียนออนไลน์ 4 การมอบหมายงาน (ใบงาน แบบฝึกหัด) 5 การทำแบบทดสอบ (ข้อสอบ ) 6 สื่อการเรียนการสอนสอดคล้องกับบทเรียน


78 ข้อ ข้อคำถามในการประเมิน ระบบห้องเรียนออนไลน์ ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 7 การตรวจงานและการทดสอบ 8 การจัดทำและปรับปรุงแผนการสอน 2) การใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ในการจัดการเรียนการสอน 9 บทเรียนและสื่อในระบบมีความครอบคลุมเนื้อหาสาระครบถ้วน 10 บทเรียนและสื่อในระบบมีความทันสมัย 11 บทเรียนและสื่อในระบบมีความสอดคล้องกับสภาพความต้องการใช้งาน 12 บทเรียนและสื่อในระบบมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ 13 เนื้อหาของแต่ละบทเรียนครบถ้วนสมบูรณ์กะทัดรัด ชัดเจน 3) ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบห้องเรียนออนไลน์ของครู 14 การเรียนรู้ในระบบห้องเรียนออนไลน์ทำให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เนื้อหาบทเรียนมากขึ้น 15 การเรียนรู้ในระบบห้องเรียนออนไลน์ช่วยฝึกให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการ เรียนรู้ 16 มีช่องทางในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง ครูและนักศึกษา และระหว่าง นักศึกษาด้วยกันเอง 17 ช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตัวเองของนักศึกษา 18 ช่วยให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น 19 ช่วยประหยัดเวลาในการเรียนการสอน 20 ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 21 ช่วยติดตามทบทวนเนื้อหาในช่วงที่ขาดหายไประหว่างเรียน 22 ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอน ตอนที่ 3 แบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 คำชี้แจง โปรดเขียนระบุปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ...............................................................................................................................................................


79 แบบสอบถามเพื่อการวิจัย เรื่อง การประเมินโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 (สำหรับนักศึกษา กศน.อำเภอปลวกแดง) ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ✓ลงใน หน้าข้อความที่เลือกตามความเป็นจริง 1. เพศ ชาย หญิง 2. ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย 3. อายุ ต่ำกว่า 20 ปี 21 – 30 ปี 31 – 40 ปี 41 – 50 ปี 51 ปี ขึ้นไป ตอนที่ 2 แบบสอบถามการดำเนินการโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษา


80 นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 คำชี้แจง โปรดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 โดยทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องตามระดับความคิดเห็น ตามรายการ ประเมิน ดังนี้ 5 หมายถึง ระดับคุณภาพมากที่สุด 4 หมายถึง ระดับคุณภาพมาก 3 หมายถึง ระดับคุณภาพปานกลาง 2 หมายถึง ระดับคุณภาพน้อย 1 หมายถึง ระดับคุณภาพน้อยที่สุด ข้อ ข้อคำถามการประเมินความพึงพอใจ ในการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 1 ความสะดวกในการเข้าใช้ห้องเรียนออนไลน์ 2 ความง่ายของตำแหน่งเมนู 3 ขนาดตัวอักษร รูปแบบ อ่านง่ายสบายตา 4 หน้าต่างการใช้งานไม่ซับซ้อน 5 ความรวดเร็วในการตอบสนองการใช้งานห้องเรียนออนไลน์ 6 รูปแบบการเข้ามาใช้งานในห้องเรียนออนไลน์เข้าใจง่าย 7 การลำดับเนื้อหาต่อเนื่องสัมพันธ์กัน 8 กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้องกับเนื้อหา ข้อ ข้อคำถามการประเมินความพึงพอใจ ในการใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 9 ความสะดวกในการเชื่อมโยง(ลิงค์)ไปยังเนื้อหาที่จัดไว้ในห้องเรียน 10 การเรียนในห้องเรียนออนไลน์ช่วยฝึกให้เกิดการค้นคว้าหาความรู้ เพิ่มเติมด้วยตนเอง 11 ห้องเรียนออนไลน์ช่วยให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 12 การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับครู 13 ห้องเรียนเข้าถึงได้ง่ายและสะดวก 14 ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล 15 ความน่าสนใจของห้องเรียนออนไลน์ 16 ห้องเรียนออนไลน์กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ 17 ช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตัวเอง 18 การนำเสนอเนื้อหาน่าสนใจ 19 สื่อการเรียนการสอนสอดคล้องกับบทเรียน 20 สื่อเหมาะสมกับการเรียนรู้ 21 เปิดโอกาสได้สอบถามและอภิปราย 22 มีโอกาสได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง 23 ความสะดวกรวดเร็วในการทราบผลการเรียน 24 มีโอกาสได้ทบทวนเนื้อหาความรู้ได้หลายครั้ง


81 25 มีความอิสระในการเรียนไม่ถูกจำกัดด้วยเวลา 26 ช่วยให้เข้าใจเนื้อหาการเรียนมากยิ่งขึ้น 27 มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนในห้องเรียนออนไลน์ 28 มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนในห้องเรียนออนไลน์ 29 ประสิทธิภาพและคุณภาพของห้องเรียนออนไลน์โดยรวม 30 ความพึงพอใจในภาพรวมต่อห้องเรียนออนไลน์ ตอนที่ 3 แบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 คำชี้แจง โปรดเขียนระบุปัญหาและข้อเสนอแนะในการในการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ ของศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปีงบประมาณ 2565 ............................................................................................................................................................. ... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ...................................


Click to View FlipBook Version