The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

5 การขยายกำลังคลื่นเสียงด้วยทรานซิสเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anont989, 2022-05-12 22:24:53

5 การขยายกำลังคลื่นเสียงด้วยทรานซิสเตอร์

5 การขยายกำลังคลื่นเสียงด้วยทรานซิสเตอร์

การขยายกำลงั คลืน่ เสียงด้วยทรานซสิ เตอร์

การขยายกาลังคลื่นเสียงด้วยทรานซสิ เตอร์
5.1 การเพ่ิมความดงั เสียง
การเพิ่มความดงั เสียง คือสัญญาณเสียงท่ีถูกขยายให้มีความแรงเพ่ิมข้ึน จะตอ้ งมีรูปร่างสัญญาณคง

เดิมไม่เกิดความผิดเพ้ียน การขยายสัญญาณเสียงให้ไดค้ ุณภาพดี จะตอ้ งมีการขยายสัญญาณเสียงเพิ่มข้ึนเป็ น
ลาดบั ก่อนส่งต่อไปยงั ภาคขยายเสียงภาคสุดทา้ ย ท่ีจะไดอ้ ตั ราการขยายสัญญาณเสียงมากที่สุด ภาคขยายเสียง
ภาคสุดท้ายที่สามารถขยายสัญญาณเสียงให้มีความแรงมากท่ีสุดโดยสัญญาณเสียงไม่เกิดความผิดเพ้ียน คือ
วงจรขยายกาลงั ก่อนส่งสญั ญาณเสียงไปขบั ลาโพงให้เกิดเสียงดงั ออกมา

ส่วนท่ีจะทาให้เกิดผลดังกล่าว ข้ึนอยู่กับการจัดระบบการทางานของวงจรขยายเสียงได้อย่าง
เหมาะสม ตามคลาสวงจรขยายสัญญาณเสียงคลาสต่างๆ คลาสการขยายสัญญาณเสียงที่ใช้สาหรับวงจรขยาย
กาลงั ได้แก่ คลาส B, AB และคลาส D ซ่ึงเป็ นคลาสที่สามารถนามาใช้งานในการขยายกาลังเสียงได้ โดยมี
รูปแบบการจดั วงจรทางานทแี่ ตกตา่ งกนั ไป แบ่งรูปแบบการจดั วงจร ขยายกาลงั ออกไดเ้ ป็น วงจรขยายเสียงแบบ
พชุ – พุล (Push – Pull Audio Amplifier) และวงจร ขยายเสียงแบบคอมพลเี มนตารี (Complementary Amplifier)

5.2 วงจรขยายเสียงแบบพุช – พลุ
วงจรขยายเสียงแบบพุช – พุล เป็ นวงจรขยายกาลังแบบหน่ึงท่ีถูกสร้างข้ึนมาใช้งานในการขยาย

สัญญาณเสียงภาคสุดทา้ ย โดยการจดั วงจรขยายเสียงในคลาส B หรือคลาส AB ดว้ ยอุปกรณ์สารก่ึงตวั นา 2 ตวั
ทาหน้าที่ขยายสัญญาณเสียงซีกละตวั ต่อทางานร่วมกบั หมอ้ แปลงก่อนส่งออกเอาตพ์ ุต จึงเรียกวงจรขยายเสียง
ชนิดพุช – พุลว่าวงจรขยายเสียงชนิดใชห้ มอ้ แปลงทางเอาตพ์ ุต หรือชนิด OT (Output Transformer) โดยใชห้ มอ้
แปลงช่วยทาให้เกิดสัญญาณเสียงครบท้งั สองซีก ไดส้ ัญญาณเสียงออกเอาต์พุตเหมอื นกบั สัญญาณเสียงอินพุตท่ี
ป้อนเขา้ มา

1. วงจรขยายเสียงแบบพุช – พุลคลาส B เป็ นการจดั วงจรขยายเสียงให้ทรานซิสเตอร์แต่ละซีกเป็ น
แบบคลาส B วงจรขยายเสียงแบบพชุ – พุลคลาส B ใช้ NPN ทรานซิสเตอร์ แสดงดงั รูปที่ 5.1

รูปท่ี 5.2 วงจรขยายเสียงแบบพชุ – พุลคลาส B ใช้ NPN ทรานซิสเตอร์

วงจรขยายเสียงแบบพชุ - พลุ คลาส B เมอ่ื นามาใชง้ านสามารถทาการขยายสัญญาณ เสียงให้มีระดับ
ความแรงเพ่ิมมากข้ึนส่งออกเอาตพ์ ุตท้งั ซีกบวกและซีกลบไดก้ ็ตาม แต่เกิดปัญหาตามมา คือไดร้ ูปสัญญาณเสียง
ขยายออกมาไม่เหมือนสัญญาณเสียงทางอินพุตท่ีป้อนเขา้ มา เกิดความผิดเพ้ียนของสัญญาณเสียงข้ึนตรงรอยต่อ
เรียกความผดิ เพ้ียนน้ีว่า ความผิดเพ้ียนระหว่างรอยต่อ หรือความผิดเพ้ียนตดั ขา้ ม (Crossover Distortion) ความ
ผิดเพ้ยี นตดั ขา้ มของสัญญาณ เสียง แสดงดงั รูปท่ี 5.2

รูปท่ี 5.2 ความผิดเพ้ยี นตดั ขา้ มของสัญญาณเสียง เกิดจากวงจรขยายเสียงพชุ – พุลคลาส B

2. วงจรขยายเสียงแบบพชุ – พุลคลาส AB เป็นการจดั วงจรขยายเสียงใหท้ รานซิสเตอร์แต่ละซีกเป็น
แบบคลาส AB เพ่ือช่วยแกค้ วามผิดเพ้ียนตัดขา้ มของวงจรขยายเสียงแบบพุช – พุลคลาส B ให้หมดไป วงจร
ทางานยงั คงใช้ NPN ทรานซิสเตอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ ตามเดิม โดยเพ่ิมชุดตวั ตา้ นทานช่วยจ่ายไบแอสให้ขา B
ของ NPN ทรานซิสเตอร์ ท้งั 2 ตวั เพ่ือให้ทรานซิสเตอร์พร้อมในการทางาน และสามารถทางานทันที่เม่ือมี
สญั ญาณเสียงป้อนเขา้ มาทางอนิ พุต โดยไมม่ แี รงดนั ไฟฟ้าตา้ นกลบั ระหวา่ งรอยต่อ PN จากคา่ ดีพลชี นั ริจิน มาทา
ให้การขยายสัญญาณเสียงเกิดความผิดเพ้ียน ค่าความผิดเพ้ียนตดั ขา้ มหมดไป วงจรขยายเสียงแบบพุช – พุล
คลาส AB ใช้ NPN ทรานซิสเตอร์ แสดงดงั รูปที่ 5.3

รูปท่ี 5.3 ความผดิ เพ้ยี นตดั ขา้ มของสัญญาณเสียง เกิดจากวงจรขยายเสียงพชุ – พลุ คลาส B

5.3 วงจรขยายเสียงแบบคอมพลเี มนตารี
วงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารี เป็นวงจรขยายเสียงท่ีถกู พฒั นามาจากวงจรขยายเสียงแบบพุช –

พุล เพื่อแกข้ อ้ เสียของวงจรขยายเสียงแบบพุช – พุล ที่ตอ้ งใชห้ มอ้ แปลงร่วมในการทางาน เกิดปัญหาตามมาใน
เรื่องของคุณภาพของเสียงแหลมลดลงจากการตา้ นของขดลวดหมอ้ แปลง เกิดเสียงฮึม (Hum) จากการสั่นในขณะ
หมอ้ แปลงทางาน และหมอ้ แปลงที่ใชม้ ีขนาดใหญ่น้าหนกั มาก เกิดความไม่สะดวกต่อการทางานและการใชง้ าน

วงจรขยายเสียงท่ีถูกพัฒนาข้ึนใหม่ โดยตัดหม้อแปลงท้ังหมดในวงจรขยายเสียงท้ิงไป สร้าง
วงจรขยายเสียงใหม่แบบไม่มีหมอ้ แปลงเขา้ มาร่วมใช้งาน ถูกเรียกว่า วงจรขยายเสียงแบบพุช – พุลไม่มีหม้อ
แปลง (Transformerless Push – Pull Amplifier) ทาให้วงจรขยายเสียงแบบน้ีสามารถให้การตอบสนองต่อความถี่
เสียงไดด้ ีตลอดย่าน นิยมเรียกวงจรขยายเสียงแบบน้ีว่า วงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารี เป็ นที่นิยมใช้งาน
อยา่ งแพร่หลาย

วงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีท่ีนิยมผลิตออกมาใช้งาน สามารถแบ่งรูปแบบการจดั วงจร
ทางานออกได้ 2 ชนิด แตกต่างกนั ตามชุดแหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้าท่ีใช้จ่ายในการทางานของวงจรขยายเสียง
วงจรขยายเสียงแบบคอมพลเี มนตารีใช้แหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้าในการทางานเพียงชุดเดียว มีชื่อเรียกวา่ ชนิดไม่มี
หม้อแปลงท่ีเอาต์พุต หรือ ชนิด OTL (Output Transformer Less) ใช้ตัวเก็บประจุที่เอาต์พุตทางานแทนหม้อ
แปลง และวงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีใช้แหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้าในการทางาน 2 ชุด มีชื่อเรียกว่า ชนิด
ไม่มีตัวเก็บประจุท่ีเอาต์พุต หรือ ชนิด OCL (Output Capacitor Less) โดยต่อเอาต์พุตของวงจรขยายเสียงเข้า
ลาโพงโดยตรง

1. วงจรขยายเสียงคอมพลเี มนตารีคลาส AB จ่ายไบแอสด้วยตัวต้านทาน ในวงจร ขยายเสียงคอมพลี
เมนตารีแบบพ้ืนฐาน วงจรจะประกอบดว้ ยทรานซิสเตอร์ 2 ตวั ต่างชนิดกนั คอื ชนิด PNP และ NPN ใช้ชนิดละ 1
ตวั โดยทรานซิสเตอร์ท้งั 2 ตวั จะตอ้ งมีคุณสมบตั ิต่างๆ ในการทางานเหมือนกนั สามารถนามาจบั เขา้ คู่กนั ได้
(Match Pair) มีอุปกรณ์ประกอบร่วมท้ัง R และ C ช่วยในการทางาน โดยจัดค่าแรงดันไฟฟ้าไบแอสให้
วงจรขยายเสียงคอมพลเี มนตารีเป็นคลาส AB เพอื่ ไมใ่ ห้เกิดความผิดเพ้ยี นตดั ขา้ มข้นึ ไดค้ ุณภาพสัญญาณเสียงที่
สมบูรณอ์ อกมา วงจรขยายเสียงคอมพลีเมนตารีแบบพ้ืนฐานคลาส AB แสดงดงั รูปท่ี 5.4

รูปท่ี 5.4 วงจรขยายเสียงคอมพลีเมนตารีพ้นื ฐานคลาส AB จา่ ยไบแอสดว้ ยตวั ตา้ นทาน

2. วงจรขยายเสียงคอมพลีเมนตารีคลาส AB จ่ายไบแอสด้วยไดโอด ในวงจรขยายเสียงคอมพลีเมน
ตารีแบบพ้ืนฐานคลาส AB จ่ายไบแอสดว้ ยตวั ตา้ นทานแบ่งแรงดนั ไฟฟ้า R1, R2 และ R3 ท่กี ลา่ วมาในขอ้ 1 เกิด
ปัญหาในส่วนของค่าแรงดนั ไฟฟ้าไบแอสท่ีจา่ ยออกมาจากตวั ตา้ นทานท้งั สามตวั มคี า่ คงทต่ี ายตวั ตลอดเวลา ไม่มี
การปรับเปลี่ยนค่าตามความตอ้ งการของตวั ทรานซิสเตอร์ตามความเหมาะสม ส่งผลให้ทรานซิสเตอร์ทางานไม่
เหมาะสมตามความตอ้ งการ ทาให้สญั ญาณเสียงท่ถี กู ขยายออกมาไม่คงท่ี วงจรขยายเสียงทางานแบบไมเ่ สถียร

ปัญหาดังกล่าวสามารถแก้ไขได้ ด้วยการจัดวงจรจ่ายแรงดันไฟฟ้าไบแอสให้ขา B ของ
ทรานซิสเตอร์ท้งั 2 ตวั ใหม่ โดยแทนที่ตวั R2 ดว้ ยไดโอดต่ออนุกรม 2 ตวั เพื่อทาให้การจ่ายไบแอสของวงจร
เป็นแบบไบแอสอตั โนมตั ิ (Automatic Bias) วงจรขยายเสียงคอมพลีเมนตารีแบบพ้ืนฐานคลาส AB จ่ายไบแอส
ดว้ ยไดโอด แสดงดงั รูปที่ 5.5

รูปท่ี 5.5 วงจรขยายเสียงคอมพลเี มนตารีพ้ืนฐานคลาส AB จ่ายไบแอสดว้ ยตวั ตา้ นทาน

5.4 การทางานของวงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีชนิด OTL
วงจรขยายเสียงแบบพชุ – พลุ ไมม่ ีหมอ้ แปลง หรือที่รู้จกั ทวั่ ไปในช่ือ วงจรขยายเสียงแบบคอมพลี

เมนตารีชนิด OTL เป็นวงจรขยายเสียงชนิดที่ไม่ใชห้ มอ้ แปลงในการทางานของวงจร รวมท้ังทางเอาตพ์ ุตก่อน
ตอ่ ไปลาโพง และใช้แหล่งจา่ ยแรงดนั ไฟฟ้าให้วงจรเพียงชุดเดียว ทาให้ทรานซิสเตอร์ท้งั 2 ตวั ต่อวงจรคอมพลี
เมนตารี สามารถทางานขยายสัญญาณเสียงไดเ้ พียงซีกเดียว ต่ออนุกรมกบั เอาตพ์ ุตของวงจรก่อนออกลาโพง มา
ช่วยในการทางาน ทาให้ทรานซิสเตอร์สามารถขยายสัญญาณเสียงซีกทเ่ี หลือน้ีได้ ไดส้ ัญญาณเสียงส่งออกลาโพง
มีครบท้งั 2 ซีก วงจรขยายเสียงแบบคอมพลเี มนตารีชนิด OTL แสดงดงั รูปท่ี 5.6

รูปท่ี 5.6 วงจรขยายเสียงแบบคอมพลเี มนตารีชนิด OTL

ขอ้ เสียของวงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีชนิด OTL คือการใส่ C2 ท่ีเอาตพ์ ุตมีผลต่อการตา้ น
สญั ญาณเสียงความถี่ต่าหรือเสียงทมุ้ ผ่านออกลาโพงไดน้ อ้ ยลง ทาใหเ้ สียงทุม้ ในวงจร ขยายเสียงชนิดน้ีมีความดงั
ลดลง

ขอ้ ดีของวงจรขยายเสียงแบบคอมพลเี มนตารีชนิด OTL คือเมื่อทรานซิสเตอร์ตวั ใดตวั หน่ึงหรือท้งั คู่
เกิดการลดั วงจร ไม่ส่งผลต่อการทาใหล้ าโพงเกิดการชารุดเสียหาย เพราะกระแสไฟฟ้ากระแสตรงจานวนมากที่
เกิดจากการลัดวงจรของทรานซิสเตอร์ ไม่สามารถไหลผ่านไปยงั ลาโพงได้ เนื่องจาก C2 ทาหน้าท่ีต้าน
แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงจากแหล่งจา่ ยไมใ่ ห้ผ่านไปยงั ลาโพง

5.5 การทางานของวงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีชนิด OCL
จากขอ้ เสียของวงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีชนิด OTL ทีเ่ อาตพ์ ุตมีตวั เก็บประจุตอ่ อนุกรมกบั

ลาโพง ส่งผลตอ่ การตา้ นสญั ญาณเสียงความถี่ต่าหรือเสียงทมุ้ ให้ผา่ นออกลาโพงไดน้ อ้ ยลง ทาให้วงจรขยายเสียง
แบบคอมพลเี มนตารีชนิด OTL มีการตอบสนองความถ่ีต่าหรือเสียงทมุ้ ลดนอ้ ยลง

การแก้ข้อเสียวงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีชนิด OTL เพ่ือให้วงจรขยายเสียงสามารถ
ตอบสนองต่อความถ่ีไดค้ รอบคลุมย่านความถ่ีเสียงท้งั หมด โดยดดั แปลงวงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารี
ใหม่ ดว้ ยการตัดตวั เก็บประจุที่ต่ออนุกรมกบั ลาโพงออก และต่อข้วั เอาตพ์ ุตของวงจรขยายเสียงเขา้ กบั ลาโพง
โดยตรง วงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีชนิดน้ีมีชื่อเรียกว่าชนิดไม่มีตวั เก็บประจเุ อาต์พุต หรือชนิด OCL
การจ่ายแรงดนั ไฟฟ้าเล้ียงวงจรตอ้ งเพิ่มแหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้าเป็น 2 ชุด มีจุดกราวดเ์ ป็นจุดร่วมการทางานของ
แหลง่ จ่ายแรงดนั ไฟฟ้าท้งั 2 ชุด วงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีชนิด OCL แสดงดงั รูปที่ 5.7

รูปที่ 5.7 วงจรขยายเสียงแบบคอมพลเี มนตารีชนิด OCL

ขอ้ เสีย ของวงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีชนิด OCL คือเม่ือทรานซิสเตอร์ตวั ใดตวั หน่ึงหรือ
ท้งั คเู่ กิดการลดั วงจร ทาใหเ้ กิดกระแสไฟฟ้ากระแสตรงจานวนมากไหลผ่านลาโพง ส่งผลให้ลาโพงเกิดการชารุด
เสียหายทนั ที จาเป็นตอ้ งตอ่ เพ่มิ อุปกรณ์ป้องกนั ลาโพงชารุดเสียหายเขา้ ท่ีเอาตพ์ ตุ ของวงจรขยายเสียงชนิดน้ี

ข้อดี ของวงจรขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีชนิด OCL คือสัญญาณเสียงท่ีถูกขยายออก มาทุก
ความถ่ีสามารถส่งผ่านออกลาโพงได้โดยตรง ไดว้ งจรขยายเสียงท่ีให้การตอบสนองความถ่ีเสียงทุกความถ่ี
ออกมาใชง้ าน เป็นวงจรขยายเสียงทใี่ ห้คุณภาพเสียงออกมาไดส้ มบรู ณ์แบบ

5.6 การขยายแบบดาร์ลงิ ตัน
วงจรดาร์ลิงตนั (Darlington Circuit) เป็ นการนาวงจรขยายทรานซิสเตอร์ต่อวงจรร่วมกนั 2 ตวั ต่อ

เป็ นวงจรขยายสัญญาณชนิดสองภาคต่อเน่ืองกนั ช่วยเพิ่มอัตราขยายให้กับวงจรมากข้ึน นิยมนาไปใช้งานใน
วงจรขยายเสียง โดยต่อวงจรภาคขบั กาลงั เขา้ กบั วงจรภาคขยายกาลงั วงจรขยายแบบดาร์ลิงตนั พ้ืนฐานแบ่งการ
ตอ่ วงจรออกได้ 3 แบบ แสดงดงั รูปท่ี 5.8

รูปที่ 5.8 วงจรขยายแบบดาร์ลิงตนั พ้ืนฐาน

5.7 ภาคขยายกาลังเสียงแบบคอมพลีเมนตารีบริสุทธ์ชิ นดิ OTL
ภาคขยายกาลงั เสียงแบบคอมพลีเมนตารีบริสุทธ์ิชนิด OTL เป็นภาคขยายกาลงั เสียงของวงจรขยาย

เสียง ที่ภายในวงจรประกอบดว้ ยการทางาน 2 ภาคต่อวงจรร่วมกนั คือภาคขับกาลงั และภาคขยายกาลงั ต่อวงจร
ทางานร่วมกนั เป็นวงจรขยายกาลงั เสียงท่ีตอ้ งการเพม่ิ อตั ราการขยายเสียงของวงจรใหแ้ รงมากย่งิ ข้ึน โดยนาภาค
ขบั กาลงั และภาคขยายกาลงั มาต่อวงจรร่วมกนั แบบวงจรขยายดาร์ลิงตนั มที รานซิสเตอร์ทต่ี ่อในภาคขยายกาลงั
ใช้ทรานซิสเตอร์ต่างชนิดกนั ตวั หน่ึงเป็น NPN อีกตวั หน่ึงเป็น PNP เรียกการตอ่ วงจรคอมพลีเมนตารีแบบน้ีว่า
วงจรคอมพลีเมนตารีบริสุทธ์ิ หรือวงจรเพรียวคอมพลีเมนตารี (Pure Complementary Circuit) วงจรขยายกาลงั
เสียงแบบคอมพลีเมนตารีบริสุทธ์ิชนิด OTL แสดงดงั รูปที่ 5.9

รูปท่ี 5.9 วงจรขยายกาลงั เสียงแบบคอมพลีเมนตารีบริสุทธ์ิชนิด OTL

5.8 ภาคขยายกาลังเสียงแบบคล้ายคอมพลเี มนตารีชนดิ OTL
ภาคขยายกาลังเสียงแบบคอมพลีเมนตารีบริสุทธ์ิของวงจรรูปที่ 5.10 หัวข้อที่ 5.7 ในส่วนของ

ภาคขยายกาลงั ทรานซิสเตอร์กาลงั Q3 และ Q4 จะตอ้ งใช้ทรานซิสเตอร์ต่างชนิดกนั คือ PNP และ NPN มาจบั คู่
กนั ทรานซิสเตอร์กาลังท้ังคู่ต้องมีคุณสมบัติในการทางานเหมือนกันจึงสามารถจบั เขา้ คู่กันได้ เกิดปัญหาท่ี
ทรานซิสเตอร์กาลงั ตา่ งชนิดกนั มีคณุ สมบตั ใิ นการทางานเหมือนกนั มาจบั เขา้ คกู่ นั หาไดย้ ากและเกิดความยงุ่ ยาก

เพ่ือแกไ้ ขปัญหาที่เกิดข้ึนน้ี จึงเปล่ียนวงจรภาคขยายกาลังมาใชท้ รานซิสเตอร์กาลงั ชนิดเดียวกนั หรือ
เบอร์เดียวกนั ท้งั คู่ ใช้ไดท้ ้งั PNP ท้งั คู่ หรือ NPN ท้งั คู่ ช่วยให้การจบั คู่ทรานซิสเตอร์ กาลงั ที่เหมาะสมทาไดง้ ่าย
ข้ึน เกิดความสะดวกในการต่อใชง้ าน เรียกการตอ่ วงจรคอมพลเี มนตารีแบบน้ีวา่ วงจรคลา้ ยคอมพลเี มนตารี หรือ
วงจรควอซิคอมพลเี มนตารี (Quasi Complementary Circuit) วงจรขยายกาลงั เสียงแบบคลา้ ยคอมพลีเมนตารีชนิด
OTL แสดงดงั รูปท่ี 5.10

รูปท่ี 5.10 วงจรขยายกาลงั เสียงแบบคลา้ ยคอมพลีเมนตารีชนิด OTL

แบบฝึ กหดั หน่วยที่ 5

ตอนที่ 1 เขยี นเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ทถี่ ูกตอ้ งท่สี ุด

1. ภาคใดของเคร่ืองขยายเสียงที่ให้การขยายสัญญาณเสียงได้แรงท่ีสุด

ก. ขยายแรงดนั ไฟฟ้า ข. ขยายดาร์ลงิ ตนั

ค. ขยายกาลงั ง. ขบั กาลงั

2. วงจรขยายเสียงแบบพชุ – พลุ ด้วยทรานซิสเตอร์นยิ มจดั วงจรขยายด้วยคลาสใด
ก. A ข. B
ค. D ง. AB

3. ขยายเสียงแบบพชุ – พลุ ด้วยทรานซิสเตอร์จัดวงจรขยายคลาสใดทาให้เสียงเกิดความผิดเพยี้ น

ก. A ข. B

ค. D ง. AB

4. Q1 T2 วงจรขยายเสียงตามรูปเป็ นวงจรชนดิ ใด
T1
ก. OT ข. OCL
R1 R3 VCC
ค. OTL ง. OLT
-+

R2 R4

Q2

5. จากรูปข้อ 4 จัดวงจรขยายแบบคลาสใด ข. B
ก. A ง. AB
ค. D

6. จากรูปข้อ 4 ตวั ต้านทาน R1, R2 ทาหน้าทอี่ ะไร
ก. กาหนดแรงดนั ไฟฟ้าไบแอสตรงใหข้ า B ของ Q1, Q2
ข. จากดั กระแสไฟฟ้าไหลผ่านหมอ้ แปลง T1 ทีพ่ อเหมาะ
ค. จดั เฟสสัญญาณเสียงจ่ายให้ขา B ของ Q1, Q2 ถกู ตอ้ ง
ง. ลดทอนความแรงสญั ญาณเสียงให้มีค่าพอเหมาะก่อนจา่ ยให้ขา B ของ Q1, Q2

7. วงจรขยายเสียงคอมพลเี มนตารีแบบใดใชแ้ หลง่ จา่ ยแรงดนั ไฟฟ้า 2 ชุดในการทางาน

ก. OLC ข. OCL

ค. OTL ง. OLT

8. R1 วงจรขยายเสียงตามรูปเป็ นวงจรชนดิ ใด

Q1 ก. OLC ข. OCL
R2 R4 +C2 +
C1 R5 - VCC ค. OTL ง. OLT

R3 Q2

9. จากรูปข้อ 8 ตวั ต้านทาน R2 ทาหน้าที่อะไร
ก. ปรบั การทางานของ Q1, Q2 ใหท้ างานเทา่ กนั
ข. จดั เฟสสัญญาณเสียงทถ่ี กู ตอ้ งจา่ ยใหข้ า B ของ Q1, Q2
ค. จ่ายแรงดนั ไฟฟ้าไบแอสตรงคา่ เลก็ นอ้ ยใหข้ า B ของ Q1, Q2
ง. ลดทอนความแรงสญั ญาณเสียงใหม้ ีคา่ พอเหมาะก่อนจา่ ยให้ขา B ของ Q1, Q2

10. จากรูปข้อ 8 ตัว Q1, Q2 ต่อวงจรทางานแบบใด

ก. อนุกรม ข. พชุ – พุล

ค. ดาร์ลิงตนั ง. คอมพลเี มนตารี


Click to View FlipBook Version